Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การศึกษาระดับทักษะวอลเลย์บอลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564

การศึกษาระดับทักษะวอลเลย์บอลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564

Published by ศุทธวีร์ ศรีสุทธะ, 2022-05-29 08:30:39

Description: การศึกษาระดับทักษะวอลเลย์บอลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ
ตำแหน่ง พนักงานราชการ
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30

Search

Read the Text Version

การศึกษาระดบั ทักษะวอลเลยบ์ อล ของนกั เรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 นายศทุ ธวรี ์ ศรสี ทุ ธะ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 จงั หวัดเชยี งใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การศกึ ษาระดับทกั ษะวอลเลยบ์ อลของนกั เรยี นระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 กิตตกิ รรมประกาศ รายงานการวิจยั เร่อื ง การศึกษาระดบั ทกั ษะวอลเลย์บอลของนักเรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 น้ี สาเรจ็ ลงได้ด้วยความกรุณาและความชว่ ยเหลือจาก บุคลากรหลายฝ่าย ซงึ่ ผู้ศึกษาใครข่ อขอบคุณดงั ต่อไปนี้ ขอบคณุ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ พลศึกษา รองผู้อานวยการโรงเรียน ผู้ให้ความกรุณารับเป็นท่ีปรึกษา ให้คาแนะนา ข้อคิดเห็นและ ขอ้ เสนอแนะ สง่ ผลใหก้ ารศึกษาสาเร็จลลุ ว่ งด้วยดี ต่อการศกึ ษาวจิ ยั ในครั้งน้ี ขอขอบพระคุณคณะผู้บริหารและครูโรงเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ท่ีให้ความ อนุเคราะห์สถานที่ในการทาวจิ ัยและขอบใจนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ท่ีให้ความ ร่วมมือดว้ ยดใี นการศึกษาคร้งั น้ี ซึ่งได้ข้อมลู ทเ่ี ป็นประโยชน์ยิง่ สุดท้ายนี้ ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อคุณแม่ ท่ีคอยช่วยเหลือและเป็นกาลังใจ ตลอดจน ขอบพระคุณเพื่อนๆ ทุกคนท่ีคอยให้ความช่วยเหลือ ให้คาแนะนา และเป็นกาลังใจเสมอ จนการศึกษาใน คร้ังน้ีสาเร็จลลุ ว่ งไปได้ดว้ ยดี หากการศึกษาวิจยั ฉบับนม้ี ีความผิดพลาดประการใด ผวู้ ิจยั กข็ ออภยั มา ณ ที่น้ี ดว้ ย ( นายศทุ ธวีร์ ศรีสุทธะ ) 25 มีนาคม 2565 โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสุทธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ก

การศึกษาระดบั ทกั ษะวอลเลย์บอลของนกั เรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศกึ ษา 2564 ชือ่ เร่อื ง การศกึ ษาระดบั ทักษะวอลเลย์บอลของนกั เรยี นระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 ชื่อผวู้ จิ ยั นายศทุ ธวีร์ ศรีสุทธะ สถาบัน โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2564 บทคดั ยอ่ การวิจัยในคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเร่ือง การศึกษาระดับทักษะวอลเลย์บอลของนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 คร้ังนี้วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับ ทกั ษะวอลเลย์บอลของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ ได้แก่ นักเรียนชายและหญิง ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ 30 ที่มีการจัดการเรยี นการสอนวอลเลย์บอลใน ปีการศึกษา 2564 จานวน 85 คน เป็น ชาย 35 คน เป็นหญิง 50 คน เคร่ืองมอื ทีใ่ ชใ้ นการวิจยั แบบทดสอบทักษะวอลเลย์บอลของเฮลแมน (Hellman Volleyball Test) ซ่ึงมีความเช่ือม่ันจากการทดสอบซา้ แตล่ ะรายการ และรวมทกุ รายการเท่ากบั 66 - 84 และ มีความเที่ยงตรงเชิงสภาพโดยบุคคลประเมินค่าเป็นเกณฑ์แต่ละรายการ และรวมทุกรายการเท่ากับ 50 - 73 (ผาณิต บิลมาศ. 2548 : 76 - 78) เป็นเคร่ืองมือในการทดสอบทักษะวอลเลย์บอล ประกอบด้วย การด๊ิก การ เช็ท และการตบ การจัดกระทาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่ามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean) ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) คา่ สงู สุด (Maximum) คา่ ต่าสดุ (Minimum) คา่ มัธย ฐาน (Median) ฐานนิยม (Mode) ของ คะแนนที่ได้จากการทดสอบทักษะวอลเลย์บอลแต่ละรายการ ของ นักเรียนชายและนักเรียนหญงิ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 และ ระดับทักษะวอลเลย์บอลโดยใช้คะแนนที่ (T – Score) จาแนกตามเพศ แต่ละรายการท่ี ทดสอบ คือ ทักษะ การด๊ิก ทกั ษะการเซท็ และทกั ษะการตบ และรวมทกุ รายการท่ที ดสอบ ผลการวิจัยพบว่า ระดับทักษะวอลเลย์บอลโดยใช้คะแนนที (T-Score) ของนักเรียนชายช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 จานวน 35 คน พบว่า มีค่าเฉลี่ยโดย ภาพรวม มีค่าเท่ากับ 37.15 เม่ือพิจารณาตามทักษะ พบว่า ทักษะท่ีมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ทักษะการตบ มี ค่าเฉล่ีย เท่ากับ 14.49 รองลงมา คือ ทักษะการด๊ิก มีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 13.51 และทักษะที่มีค่าเฉล่ียนอ้ ยท่สี ดุ คือ ทักษะการเซ็ท มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 9.51 และ ระดับทักษะวอลเลย์บอลโดยใช้คะแนนที (T-Score) ของ นักเรยี นหญงิ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 50 คน พบว่า มีค่าเฉล่ียโดยภาพรวม มีค่าเท่ากับ 25.14 เมื่อพิจารณาตามทักษะ พบว่า ทักษะที่มีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด คือ ทักษะการตบ มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 15.34 รองลงมา คือ ทักษะการดิ๊ก มีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 8.46 และทักษะท่ีมี ค่าเฉลีย่ น้อยท่สี ุด คอื ทกั ษะการเซ็ท มีคา่ เฉลยี่ เท่ากับ 1.34 โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ข

การศกึ ษาระดบั ทกั ษะวอลเลย์บอลของนักเรยี นระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 สารบญั หนา้ ก กิตตกิ รรมประกาศ ข บทคดั ย่อ ค สารบญั จ สารบญั ตาราง ฉ สารบญั ภาพ บทท่ี 1 บทนา 1 4 1.1 ทม่ี าและความสาคัญ 4 1.2 วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย 4 1.3 ความสาคญั ของการวจิ ัย 4 1.4 ขอบเขตของวิจัย 5 1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ 6 1.6 กรอบแนวคิดในการวิจยั 7 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง 7 2.1 เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง 9 14 2.1.1 หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2544 16 2.1.2 องค์ประกอบทกั ษะกีฬาวอลเลยบ์ อล 24 2.1.3 ประโยชน์ของการเลน่ กฬี าวอลเลยบ์ อล 26 2.1.4 ความหมายของการวดั และประเมนิ ผล 26 2.1.5 หลักการวดั ผล 29 2.1.6 คุณลกั ษณะของแบบทดสอบทกั ษะที่ดี 31 2.1.7 หลกั เกณฑก์ ารเลอื กแบบทดสอบ 31 2.1.8 ประโยชนข์ องแบบทดสอบทกั ษะ 34 2.2 งานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวข้อง 36 2.2.1 งานวิจัยในต่างประเทศ 36 2.2.2 งานวิจัยในประเทศ 36 บทท่ี 3 วธิ ดี าเนินการวิจยั 36 3.1 การกาหนดประชากร 37 3.2 เครื่องมอื ทใี่ ช้ในการวจิ ยั 3.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3.4 การจดั กระทาข้อมูลและวเิ คราะห์ข้อมลู โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสทุ ธะ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ค

การศกึ ษาระดบั ทกั ษะวอลเลยบ์ อลของนักเรยี นระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 สารบญั ( ตอ่ ) หน้า บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 38 4.1 การจดั กระทาข้อมลู และวเิ คราะหข์ อ้ มูล 38 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 39 44 บทท่ี 5 สรุปผลการวจิ ัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 44 5.1 สรปุ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู 45 5.2 อภิปรายผล 46 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 46 5.4 ขอ้ เสนอแนะสาหรับการวจิ ยั ครัง้ ตอ่ ไป 47 บรรณานกุ รม 50 ภาคผนวก 54 ภาคผนวก ก แบบทดสอบวอลเลย์บอลของเฮลแมน (Helmen Volleyball 56 Test) ภาคผนวก ข ภาพกิจกรรม ประวตั ิผู้วจิ ยั โดย นายศุทธวีร์ ศรีสทุ ธะ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 ง

การศกึ ษาระดบั ทักษะวอลเลยบ์ อลของนกั เรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 สารบญั ตาราง ตารางที่ หนา้ 1 แสดงค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด ค่ามัธยฐาน 39 ฐานนิยมจากการทดสอบทักษะวอลเลย์บอลแต่ละรายการของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษา ปีท่ี 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศกึ ษา 2564 ( ชาย = 35 , หญงิ = 50 ) 2 แสดงระดับทักษะวอลเลย์บอลโดยใช้คะแนนที (T-Score) ของนักเรียนชายชั้น 40 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 35 คน 3 แสดงระดับทักษะวอลเลย์บอลโดยใช้คะแนนที (T-Score) ของนักเรียนชายชั้น 42 มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 50 คน โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 จ

การศกึ ษาระดับทกั ษะวอลเลย์บอลของนกั เรียนระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 สารบัญภาพ หนา้ ภาพที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย 5 2 แสดงการจัดกิจกรรมการทดสอบทกั ษะวอลเลย์บอลของเฮลแมน 56 โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 ฉ

การศกึ ษาระดับทักษะวอลเลย์บอลของนักเรียนระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ทีม่ ำและควำมสำคัญ ทักษะเกิดการกระทาซาๆ หลายๆ ครังจนเกิดความชานาญ กีฬาในแต่ละชนิดแต่ละ ประเภทก็ เชน่ กนั กอ่ นท่จี ะประสบความสาเร็จ หรือก่อนทผ่ี เู้ ลน่ กีฬาได้ดนี นั ต้องมีปจั จยั หลาย ๆ อยา่ ง ทักษะกีฬาก็ เป็นส่วนหน่ึงที่สาคัญมากในการเล่นกีฬา ผู้เล่นกีฬาจะต้องอาศัยทักษะกีฬาใน แต่ละประเภทนัน ๆ มา ประกอบกับการเล่นกีฬาหรือการแข่งขันกีฬา จะเห็นได้ว่าการแพ้-ชนะใน การแข่งขันกีฬาไม่ว่าจะเป็น ประเภทใด ทักษะจะเป็นส่วนหน่ึงในการตัดสินผลของการแข่งขัน เน่ืองจากการมีทักษะกีฬาท่ีดีย่อมจะ ได้เปรยี บคู่แขง่ อย่เู สมอ ผฝู้ ึกฝนกฬี าจึงตอ้ งอาศัยระยะเวลาใน การหม่นั ฝึกฝนทกั ษะชนิดนนั ๆ อย่างจรงิ จงั จึงจะเกิดทักษะกับตนเองและสง่ ผลทาใหก้ ารเลน่ กฬี า ของตนมีประสทิ ธิภาพ วอลเลย์บอลเปน็ กีฬาประเภททีมชนิดหนึ่งที่นยิ มเลน่ ทงั ชายและหญงิ เพราะเป็นกฬี าที่ เล่นได้งา่ ย ผูเ้ ล่นสามารถเรียนรวู้ ธิ ีการเล่นไดไ้ ม่ยากนกั อีกทงั เป็นกจิ กรรมหน่งึ ในการเรยี นการสอน ของวิชาพลศึกษา ซ่ึงมีทักษะที่ใช้ประกอบการเล่นมากมาย ดังท่ี ผาณิต บิลมาศ (2528 : 2 - 3) กล่าวไว้ว่า วอลเลย์บอลมี พืนฐาน 6 อยา่ งของเทคนคิ ในการเล่นหรอื ทกั ษะ (Skill) และมวี ธิ ที ่จี ะ เลน่ ลูกวอลเลย์บอล 6 วธิ ใี หญ่ ๆ คอื 1.การเสริฟ (Service) 2.การดึก (Dig) 3.การรุก (Attack) 4.การเซ็ท (Setting) 5.การสกัดกัน (Blok) 6.การรับ (Defense) ในประเทศไทยมีการนากีฬา วอลเลย์บอล ไปจัดจัดการเรียนการสอนและจัดการ แข่งขันตังแต่ภายในโรงเรียนระหว่างโรงเรียน มหาวิทยาลัย ทังเยาวชน และประชาชน เช่น กีฬาสีใน โรงเรียน กีฬาระหว่างโรงเรียน กีฬานักเรียน ในจังหวัด กีฬามหาวิทยาลัย กีฬาเยาวชนแห่งชาติ กีฬา แห่งชาติ ผลดีของกีฬาวอลเลย์บอล สามารถช่วย ส่งเสริมให้ผู้ท่ีเล่นเกิดการพัฒนาในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา และยังก่อให้เกิดประโยชน์อีกมากมาย ดังที่ ชาญชัย ขันติศิริ (2542 : 19) ได้ กล่าวว่า การออกกาลัง กายด้วยการเล่นกีฬาที่แท้จริงแล้วก็คือ การนาเอาการเคลื่อนไหวท่ีมีเป้าหมายมา กระตนุ้ ใหบ้ คุ คล กระหายทจี่ ะทาอะไรให้บรรลุเป้าหมายนนั คนเราจงึ ถกู ชักชวนให้ออกกาลงั กายโดยไมร่ ูต้ ัว รู้แต่ เพียงว่าเราเล่นกีฬาเท่านัน เพราะการเล่นกีฬาร่างกายต้องมีการเคล่ือนไหว เมื่อมีการเคล่ือนไหว อวยั วะและระบบตา่ งๆ ภายในรา่ งกายกย็ อ่ มเกดิ การพฒั นาการไปในทางที่ดเี ม่ือร่างกายดี จติ ใจยอ่ ม ร่าเรงิ แจ่มใส การเล่นกีฬาวอลเลย์บอลเป็นทีมตอ้ งอาศัยปัจจัยหลายๆ อย่างเป็นองค์ประกอบในการเล่น ได้แก่ การนาเอาทักษะต่างๆ ของวอลเลย์บอลมาผสมผสานกัน รวมทังต้องมีการคาดคะเนท่ีดี มี ไหวพริบ การ ประสานงาน ความคล่องแคล่วว่องไว การตัดสินใจที่รวดเร็วและถูกต้อง การควบคุม อารมณ์ ความ รับผิดชอบต่อหน้าที่ และความสามัคคีกันในทีม พฤติกรรมเหล่านีเป็นส่วนประกอบท่ีช่วยให้การเล่น วอลเลย์บอลประสบผลสาเร็จ ทาให้มีประสิทธิภาพในการเล่นทีมสูง นักกีฬา วอลเลย์บอลบางคนแม้จะมี โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 1

การศกึ ษาระดับทกั ษะวอลเลยบ์ อลของนกั เรยี นระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 ทักษะพืนฐานต่างๆ ดี แต่เม่ือลงเล่นเป็นทีมกลับไม่ประสบผลสาเร็จใน การเล่นเท่าที่ควร (สมภพ สุวรรณ พนั ธ์, 2539 : 1) (ผาณติ บลิ มาศ. 2528 : 49) ได้กล่าววา่ กลยุทธท์ ีมท่ีมากมายหลายอย่าง หมายความวา่ แบบการ เล่นทุกอย่างมีความสาคัญเหมือนกัน เป็นหน้าที่ของผู้สอนที่จะแก้ปัญหา และเห็นว่า แบบไหนเหมาะสม เม่อื นามาใช้แลว้ ทาให้ทมี ไดเ้ ปรยี บและมคี วามสัมพนั ธก์ นั ดี ทักษะพนื ฐานและ ความสามารถมีความสาคัญ ต่อทีมมาก กลยุทธ์ทีมนันมีจดุ เด่นกว่ากลยุทธ์บุคคลตรงท่ีกลยุทธท์ ีมมี การจัดวางแผนของบริเวณการเล่น ในหลายๆ ระบบ อย่างไรก็ตาม การเล่นทีมต้องเล่นหลายๆ แบบและจะเล่นแบบไหนขึนอยู่กับความ เหมาะสมท่ีผู้สอนจะแนะนา และอาจมีความแตกต่างกัน ออกไปในแต่ละครังของการเล่น ความสามารถ เฉพาะตัวของผู้เล่นแต่ละคน การเล่นได้เฉพาะแบบ จะเป็นหลักสาคัญในการกาหนดแบบแผนการเล่น ขนาดของรูปร่างความแข็งแรงและความสามารถ ในทกั ษะพนื ฐาน 6 อย่าง ในการวัดผลเชื่อว่าอะไรท่ีมีอยู่ จะต้องมีปริมาณ และวัดสิ่งมีปรมิ าณ ปริมาณนีสามารถ วัดได้เมื่อ นากฎนีมาประยุกต์ใช้ในวิชาพลศึกษา จะสรุปได้ว่า ลักษณะต่างๆ หรือองค์ประกอบ ต่างๆ ในตัวนักเรยี น สามารถวัดได้ องคป์ ระกอบเหลา่ นันได้แก่ การฝึกพนื ฐาน ทกั ษะกฬี า ความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับการกีฬา การฝึกและการเรียนรู้ทางสังคมต่างๆ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจริยศึกษา ในการประเมินสมัยก่อนจะประเมนิ นักเรียนโดยการแบ่งแยกประเมินออกเป็นส่วนๆ โดยเด็ดขาด แต่ในปัจจุบันประเมินส่วนร่วมของนกั เรียน ทังหมดและต้องเข้าใจวา่ เด็กเตบิ โตพฒั นาการเรียนรู้ อย่างเฉพาะเจาะจง นอกจากนันผู้สอนต้องตระหนัก ถึงหลักการที่ว่าคุณภาพบุคคลไม่ได้เกิดการ รวมส่วนประกอบย่อยๆ เสมอไป แม้ว่าจะเป็นการง่ายในการ วเิ คราะหผ์ เู้ รียนออกเป็นส่วนๆ แต่ ขบวนการสงั เคราะห์ให้บุคคลเป็นเอกบุคคลจะเป็นขบวนการท่ียากกว่า การนาเอาองคป์ ระกอบ ย่อยๆ ของบุคคลมารวมกนั (ผาณิต บิลมาศ. 2530 : 2) การสอนพลศึกษาในปัจจุบันมีแนวโน้มเปล่ียนแปลงไปจากการสอนพลศึกษาสมัยก่อนมาก กล่าวคือ การสอนพลศึกษาในปัจจุบันส่วนใหญ่มุ่งส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะกีฬาต่างๆ ซ่ึงถ้าผู้สอน สามารถจัดกจิ กรรมต่างๆ ใหน้ ักเรยี นมสี ่วนร่วมอย่างเหมาะสมแล้ว จะช่วยทาให้นกั เรียนเกิด พฒั นาทกั ษะ กฬี า และสามารถเล่นได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและทาใหม้ ีมาตรฐานสูงขนึ ได้ ซง่ึ แงข่ อง พลศกึ ษาแล้ว ทกั ษะ หมายถงึ 1. การกระทาท่ีมุ่งไปสกู่ ารผลติ กระบวนการเคล่ือนไหวท่มี เี ทคนคิ ท่ดี ี 2. การกระทาหรอื ระบบการกระทาไปส่เู ป้าหมายที่ตังไว้ 3. ความสามารถในการเรียนรู้ท่ีนาไปสู่ผลท่ีค่อนข้างจะแม่นยาด้วยเวลา หรือพลังงานท่ีน้อย (กรมพลศึกษา, 2535 : 6) ทักษะเกิดจากการกระทาบ่อยๆ หรือทาซาในรูปของการรับรู้ต่อส่ิงเร้า ตาแหน่งท่าทาง ของ ร่างกาย และเวลาในการตอบสนองอย่างต่อเนือ่ ง ในการเพ่ิมทักษะก่อนอืน่ จะตอ้ งทราบกลไกที่ ถูกต้องใน การเคล่อื นไหว และต้องผา่ นการฝึกซ้อมหลาย ๆ ครัง หลังจากนันจงึ จะเพมิ่ การตดั สนิ ใจเกี่ยวกับความเร็ว ระยะทาง เวลา และการพัฒนาสถานการณ์ของกิจกรรมนันๆ (สุวมิ ล ตงั สจั จพจน์ 2526 : 162) โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสุทธะ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 2

การศึกษาระดบั ทักษะวอลเลย์บอลของนกั เรยี นระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 ดงั นนั การจัดการเรียนการสอนวชิ าพลศกึ ษาใหบ้ รรลุเปา้ หมายตามจดุ ประสงคน์ ัน มี องคป์ ระกอบ หลายประการที่ครูจะต้องศึกษาทาความเข้าใจถงึ ปัจจยั ต่างๆ ทม่ี ผี ลตอ่ สภาพการเรียน การสอนและต่อตัว ผู้เรยี น ครผู ู้สอนจะตอ้ งจัดเนือหาสาระของกีฬาท่ีจะสอนให้สอดคลอ้ งและเหมาะ สมกับสภาพของนักเรียน แต่ละกลุ่ม และการประเมินผลการเรียนวิชาพลศึกษาจะต้องคานงึ ถึง พัฒนาการดา้ นศกั ยภาพของนกั เรียน เป็นรายบุคคลให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของหลักสูตรกาหนด ในการจัดการเรียนการสอนทักษะกีฬา วอลเลย์บอล นอกจากครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ และมีประสบการณ์ในการถ่ายทอดความรู้ ทกั ษะกีฬาให้แกผ่ ู้เรยี นได้อย่างถกู ต้องแลว้ จาเป็นต้อง คานึงถงึ องค์ประกอบที่สาคัญและมีผลต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียน (อนันต์ จึงสกุล. 2538 : 2) ดังที่ วรศักดิ์ เพียรชอบ (2527 : 76) ได้กล่าวว่า “การเรียนทักษะ ต่างๆ ครูควรกาหนดระยะเวลาและ กระจายเวลาในการฝึกให้เหมาะสมในกิจกรรมการเรียนแต่ละครัง โดยทว่ั ไปการเรยี นบ่อยครงั ใน ระยะเวลาสันจะไดผ้ ลทดี่ ีกว่าการเรยี นนอ้ ยครังและครังหนง่ึ เปน็ เวลานานๆ” ครูผู้สอนหรือผู้ฝึกกีฬา จาเป็นต้องศึกษาให้เกิดความรู้และมีประสบการณ์เกี่ยวกับการสอนท่ีมีผลต่อการ เรียนรทู้ กั ษะกีฬา ของผู้เรียนวา่ มจี านวนครังมากน้อยเพียงใด จงึ จะเกิดการเรยี นรไู้ ด้ดีและเปน็ ประโยชน์ต่อ ผู้เรียน โรงเรียน เนอื หาวชิ า และจดุ มุ่งหมายตามโครงสร้างของหลักสตู ร (อนันต์ จงึ สกุล. 2538 : 3) นักเรียนชันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 เป็นนักเรียนท่ีกาลังศึกษา อยู่ในช่วงชันท่ี 3 ที่มุ่งเน้นให้นักเรียน สามารถพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตัว มีความรับผิดชอบต่อสังคม และสามารถเสริมสร้างสุขภาพส่วนตัว ฯลฯ วอลเลย์บอลเป็นกิจกรรมหน่ึงของวชิ าพลศึกษาจงึ เปน็ สื่อท่เี หมาะสมในการนาไปใชพ้ ฒั นานกั เรียนในเรื่อง ดังกล่าว เน่ืองจากเม่ือได้เล่นแล้วจะก่อให้เกิด สุขภาพที่ดี และยังฝึกความรับผิดชอบได้ดีด้วย ขึนอยู่กับ ครผู สู้ อนว่าจะมวี ธิ ีการในการจัดการเรียนรู้ แบบใดท่จี ะก่อให้เกิดการพัฒนากับนกั เรียนได้มากท่ีสดุ การวัด ระดับทกั ษะกฬี าเป็นส่งิ หนงึ่ ที่มี ความสาคญั ในการจะนาผลมาสูก่ ารประเมนิ ผลการเรียนในวชิ าพลศึกษาว่า นักเรียนมคี วามสามารถ หรือมขี ้อบกพร่องอยา่ งไร ดงั นนั การวัดระดับทักษะจึงเปน็ ส่วนหน่ึงทท่ี าให้เกิดการ พัฒนาและสร้าง มาตรฐานต่อการเรียนการสอนพลศึกษา เป็นได้ทังการจัดรูปแบบในการเรียนและการ ประเมนิ ผล การเรยี นไดเ้ ปน็ อยา่ งดี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 มีการจดั การเรียนการสอนวิชาพลศกึ ษา โดยมี วอลเลยบ์ อลเป็น กิจกรรมหน่ึงที่นิยมนามาใช้กับนักเรียน และมักใช้ในการแข่งขันอยู่เป็นประจา เช่น กีฬาภายในโรงเรียน กีฬาระหว่างโรงเรียน กีฬาเขตพืนท่ีการศึกษา ผู้วิจัยมีประสบการณ์ในการเป็น ผู้สอน ผู้ฝึกสอน และผู้ ตัดสินวอลเลย์บอล มีความคิดเห็นระดับความสามารถทางด้านทักษะ วอลเลย์บอลของนักเรียนแต่ละ หอ้ งเรียนของโรงเรียนในสังกดั เทศบาลเมอื งอ่างทอง มีความแตกต่าง กนั ออกไป ผูว้ ิจัยจึงมคี วามสนใจที่จะ ศึกษาระดับทักษะวอลเลย์บอลของนักเรียนมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ซ่ึงกาลังเรียนอยู่ในโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 เพ่อื ทจี่ ะทราบระดับทกั ษะวอลเลยบ์ อลของนักเรยี นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ของ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 ว่ามีระดับทักษะอย่างไร ควรจะฝึกทักษะใดเพิ่มเตมิ หรือควรคงท่ีทักษะใดไว้ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาความก้าวหน้าของครู และนักเรียนในการจัดการ โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 3

การศกึ ษาระดับทักษะวอลเลย์บอลของนกั เรียนระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 เรียนการสอนพลศึกษา โดยเฉพาะกิจกรรมกีฬาวอลเลย์บอล และเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา ความก้าวหนา้ ของผู้ฝึกสอน และนกั กีฬาในการแข่งขนั วอลเลย์บอลในจงั หวดั เชียงใหมต่ อ่ ไป 1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องกำรวจิ ัย เพื่อศึกษาระดับทักษะวอลเลย์บอลของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ของโรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ 30 ปกี ารศกึ ษา 2564 1.3 ควำมสำคัญของกำรวิจัย ทาให้ทราบระดับทักษะวอลเลย์บอลของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 และเพ่ือสร้างระดับทักษะวอลเลย์บอลของนักเรียน ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 สามารถนาผลจาก การวัดระดับทักษะวอลเลย์บอลของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศกึ ษา 2564 ไปใชเ้ ป็นแนวทางในการศึกษาคน้ คว้า และการวิจยั เกย่ี วกับ วอลเลยบ์ อลต่อไป 1.4 ขอบเขตของกำรวิจยั 1.4.1 ประชำกรทีใ่ ชใ้ นกำรวจิ ัย กลมุ่ ประชากรทใี่ ช้ในการวิจยั ได้แก่ เปน็ นกั เรยี นชายและหญิง ชนั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ของโรงเรยี น ราชประชานุเคราะห์ 30 ท่ีมีการจัดการเรียนการสอนวอลเลย์บอลใน ปีการศึกษา 2564 จานวน 85 คน เปน็ ชาย 35 คน เป็นหญิง 50 คน 1.4.2 ตัวแปรทศี่ ึกษำ 1. ตวั แปรอสิ ระ ได้แก่ เพศ จาแนกเปน็ เพศชายและหญิง 2. ตัวแปรตาม ได้แก่ คะแนนท่ีได้จากการทดสอบวอลเลย์บอลของนกั เรียน ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 1.5 นิยำมศพั ท์เฉพำะ 1. ทักษะวอลเลย์บอล หมายถึง วิธีการปฏิบัติ หรือวิธีการเล่นต่างๆ ในกีฬา วอลเลย์บอล เช่น การเสิรฟ์ การดึก การเซท็ และการตบ เป็นตน้ 2. ระดับทักษะวอลเลย์บอล หมายถึง ตาแหน่งหรือความชานาญในการปฏิบัติต่างๆ ที่ ใช้ใน การเล่นวอลเลย์บอล เช่น การเสิร์ฟ การดึก การเซ็ท และการตบ เป็นต้น เมื่อวัดและทาการ ทดสอบแล้ว จะแสดงใหเ้ หน็ วา่ แต่ละคนมอี ยู่ หรอื ทาไดม้ ากน้อยเพยี งใด 3. นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 หมายถึง นักเรียนที่กาลังศึกษาในชันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรยี นวอลเลยบ์ อล ของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสุทธะ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 4

การศกึ ษาระดบั ทกั ษะวอลเลยบ์ อลของนักเรียนระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 1.6 กรอบแนวคิดในกำรวจิ ัย จากการศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎี ตลอดจนงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ผวู้ จิ ยั ได้นามาสร้างเป็นกรอบ ดังนี ตวั แปรอสิ ระ ตวั แปรตำม นักเรยี นชันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 คะแนนท่ีไดจ้ ากการทดสอบ - เพศชาย ทกั ษะวอลเลยบ์ อลของ - เพศหญิง นักเรยี น แบบทดสอบเฮลเมน - การดิ๊ก - การเซท็ - การตบ ภาพที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการวจิ ยั โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 5

การศกึ ษาระดับทกั ษะวอลเลยบ์ อลของนกั เรียนระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจยั ท่ีเก่ยี วข้อง จากการศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยทังในประเทศและต่างประเทศ ที่เกี่ยวข้องกับการวจิ ยั พอสรปุ ได้ดังนี 2.1 เอกสำรท่เี ก่ียวข้อง 2.1.1 หลักสูตรการศกึ ษาขนั พืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 2.1.2 องค์ประกอบทักษะกีฬาวอลเลยบ์ อล 2.1.3 ประโยชน์ของการเลน่ กฬี าวอลเลยบ์ อล 2.1.4 ความหมายของการวัดและประเมนิ ผล 2.1.5 หลักการวดั ผล 2.1.6 คุณลักษณะของแบบทดสอบทักษะทด่ี ี 2.1.7 หลกั เกณฑก์ ารเลอื กแบบทดสอบ 2.1.8 ประโยชน์ของแบบทดสอบทักษะ 2.2 งำนวจิ ัยที่เก่ียวขอ้ ง 2.2.1 งานวจิ ยั ในต่างประเทศ 2.2.2 งานวจิ ยั ในประเทศ โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสทุ ธะ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 6

การศึกษาระดับทกั ษะวอลเลย์บอลของนกั เรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศกึ ษา 2564 2.1 เอกสำรทเี่ กี่ยวขอ้ ง 2.1.1 หลักสูตรกำรศึกษำขัน้ พ้ืนฐำน พทุ ธศักรำช 2544 1) จดุ มุ่งหมำย หลักสูตรการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข และมีความเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนด จดุ หมาย ซึง่ ถือเป็นมาตรฐานการเรียนรใู้ หผ้ ู้เรียนเกดิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคด์ งั ตอ่ ไปนี 1. เห็นคุณค่าของตนเองมีวินัยในตนเองปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ตี นเองนับถือ มีคุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ มอนั พงึ ประสงค์ 2. มีความคดิ สรา้ งสรรค์ ใฝร่ ใู้ ฝเ่ รยี น รักการอา่ น รักการเขยี น และรักการค้นคว้า 3. มีความรู้อันเป็นสากล รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้า ทาง วิทยาการมีทักษะและศักยภาพในการจัดการส่ือสารและการใช้เทคโนโลยี ปรับวิธีคิด วิธีการทางาน ไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ 4. มีทักษะและกระบวนการ โดยเฉพาะทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ทักษะการคิด การสร้าง ปัญญา และทักษะในการดาเนนิ ชีวติ 5. รักการออกกาลงั กาย ดแู ลตนเองให้มีสขุ ภาพให้มสี ขุ ภาพและบคุ ลิกภาพทด่ี ี 6. มปี ระสิทธภิ าพในการผลติ และการบรโิ ภคมคี า่ นยิ มเป็นผผู้ ลิตมากกว่าเป็นผู้บรโิ ภค 7. เข้าใจในประวัติศาสตร์ของชาติไทย ภูมิใจในความเป็นไทย เป็นพลเมืองดี ยึดม่ัน ใน วถิ ีชวี ติ และการปกครองระบบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข 8. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญา ความเป็นไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสงิ่ แวดลอ้ ม 9. รกั ประเทศชาติและทอ้ งถนิ่ มุ่งทาประโยชน์และสรา้ งความดีงานใหส้ งั คม โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 7

การศกึ ษาระดับทักษะวอลเลย์บอลของนักเรยี นระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 หลักสูตรการศึกษาขันพนื ฐานได้กาหนดสาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่ม สุขศึกษาและพลศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มหน่ึงท่ีผู้เรียนต้องเรียนตลอด 12 ปีการศึกษาตังแต่ระดับประถมศึกษาจนถึง มัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย 5 สาระ และมาตรฐานการเรียนรูใ้ นแต่ละสาระดงั นี สุขศึกษำและพลศกึ ษำ สำระที่ 1 : กำรเจริญเตบิ โตและพฒั นำกำรของมนุษย์ มาตรฐาน พ 1.1 : เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเตบิ โต และพฒั นาการของมนษุ ย์ สำระท่ี 2 : กำรเจริญเติบโตและพัฒนำกำรของมนษุ ย์ มาตรฐาน พ 2.1 : เข้าใจและเห็นคุณค่าของชีวิต ครอบครัว เพศศึกษา และทักษะการ ดาเนนิ ชีวติ สำระที่ 3 : กำรเคลือ่ นไหว กำรออกกำลงั กำย กำรเล่นเกม กฬี ำไทย กีฬำสำกล มาตรฐาน พ 3.1 : เขา้ ใจ มที กั ษะในการเคลือ่ นไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกมและ กฬี า มาตรฐาน พ 3.2: การออกกาลังกาย การเล่นเกม และเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็น ประจา อย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนาใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและ ช่ืนชม ในสนุ ทรียภาพของการกฬี า สำระท่ี 4 : กำรสร้ำงเสริมสุขภำพ สมรรถภำพและกำรปอ้ งกนั โรค มาตรฐาน พ 4.1 : เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารง สุขภาพ การปอ้ งกนั โรคและการเสร้างเสริมสมรรถภาพเพือ่ สขุ ภาพ สำระที่ 5 : ควำมปลอดภัยในชวี ิต มาตรฐาน พ 5.1 : ป้องกันและหลกี เลี่ยงปจั จยั เสยี่ ง พฤติกรรมเสยี่ งตอ่ สขุ ภาพ อบุ ตั เิ หตุ การใช้ยาสารเสพติด และความรนุ แรง (กรมวชิ าการ, กระทรวงศึกษาธิการ, 2545 : 4) สรุปได้ว่า หลักสูตรการศึกษาขันพืนฐานมุ่งหมายให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของตนเอง รักการ เรียนมีความคิดและปรับได้ตามสถานการณ์ มีจิตสานึกในความเป็นไทย รักการออกกาลังกาย มุ่งสร้างสรรค์ ทาสิ่งดีงามในการจัดการเรียนการสอนวิชาพลศึกษาได้กาหนดสาระมาตรฐานไว้เป็น เกณฑ์ในการกาหนดคุณภาพของผู้เรียน สถานศึกษา ผู้สอน สามารถพัฒนาเพิ่มเติมได้ตามความ สนใจ ตามความถนัดของผเู้ รียน โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสทุ ธะ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 8

การศึกษาระดบั ทกั ษะวอลเลย์บอลของนกั เรยี นระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 2.1.2 องค์ประกอบทกั ษะกีฬำวอลเลย์บอล ทักษะวอลเลย์บอล หมายถึง วิธีการปฏิบัติหรือวิธีการเล่นต่างๆ ในกีฬาวอลเลย์บอล เช่น การเสิร์ฟ การฝกึ การเซท็ การตบ เปน็ ต้น ฉลอง ชาตรูประชีวิน (2532 : 8 – 15) ไดก้ ล่าวถงึ ทักษะของวอลเลย์บอลไว้ดงั นี 1. กำรดึก (Dig) คือ การใชแ้ ขนขา้ งเดยี วหรอื ทังสองตีลกู บอล มีวีธกี ารหลายวิธี คือ 1.1 การฝกึ แบบด้านหน้า เป็นทักษะที่ใชม้ ากท่ีสุดในการเลน่ เชน่ จากการเสิร์ฟ การรับ ลูกตบจากฝ่ายตรงข้าม การฝึกด้านหนา้ มีหลักการในการเล่นคือ ยืนหันหน้าเข้าหาลูกบอล แยกเท้าทังสอง ออกกวา้ งกว่าช่วงไหล่เลก็ น้อย การวางเทา้ โดยทว่ั ไปเป็นดังนี ผ้เู ลน่ ทย่ี นื ด้านซ้าย ของสนามให้วางเท้าขนาน ยกส้นเท้าขนึ เล็กน้อย งอเข่าทังสองหัวเข่าลาปลายเท้าเล็กน้อย โน้มตัว ไปขา้ งหนา้ ทงิ นาหนกั ลงบนหัวแม่ เท้าที่อยู่ข้างหน้า ยกมือทังสองอยู่ระดับหน้าท้อง ตามองลูกบอล ตลอดเวลา ขณะที่ลูกบอลลอยมาให้ เหยยี ดแขนลงใตล้ กู บอลอย่างรวดเร็วพร้อมกบั เบยี ดแขนทังสอง ข้างเขา้ หากัน 1.2 การกแบบลูกต่าด้านหน้าใช้ในกรณีท่ีลูกบอลพุ่งมาระดับต่ามีจุดตกอยู่ข้างหน้า ประมาณ 1 กา้ ว การกลูกตา่ ดา้ นหน้ามีหลกั การเล่น คือ ตอ้ งยอ่ ตวั ให้ตา่ ลงมากๆ ปลายเท้าขา้ งท่ี อยหู่ นา้ ชี ยงั ทิศทางที่ลกู บอลสง่ ออกไป เท้าข้างหลังชีเฉยี งออกด้านข้าง สน้ เท้าหลังพน้ พืน โลต้ วั ไป ขา้ งหนา้ ไหล่กด ลงไปขา้ งหน้า ข้อศอกกดต่าลงไปข้างต้นขา เตรียมพร้อมท่ีจะทาการฝึกโต้ลูกบอล ขณะท่ีดก๊ิ ต้องอาศัยแรง ช่วยจากการยันส้นเท้าสง่ ลูกบอลขึน 1.3 การดึกแบบลูกข้างลาตัว ใช้ในกรณีลูกบอลที่มาเร็วลูกเยืองไปข้างหน้าและ ต่า จาเป็นต้องคุกเข่าข้างหน่ึงลงรับ บางครังลูกบอลพุ่งมาเร็ว ต่าและห่างลาตัว ต้องเคลื่อนท่ีมารับ และ กลิงม้วนตัวลง การดิ๊กลูกขา้ งลาตวั มีหลักการเล่น คอื ผเู้ ล่นต้องเคลื่อนทไ่ี ปรับลกู บอล โดยใหก้ ้าวสุดท้ายของ เท้าข้างเดียวกันกับทิศทางที่ลูกบอลลอยมาพร้อมทังย่ืนแขนทังสองข้างออกไปดักทิศทาง ของลูกบอล แขนเหยยี ดตงึ และชิดกัน 1.4 การดกึ แบบลกู กลับหลงั ใชใ้ นกรณที ่ผี ้เู ล่นฝ่ายเดียงกนั เลน่ พลาด เพ่ือการตี ลูกบอล กลับไปในจังหวะท่ี 3 การฝึกลูกบอลกลับหลังมีหลักการเล่น คือ ผู้เล่นต้องรีบเคลื่อนที่ไปยัง จุดตกของลกู บอล หันหลังให้ทิศทางส่งลูกออก เมื่อเห็นลูกบอลมาจึงเหยยี ดแขนทังสองขา้ งให้ถงึ จุดตีลูกบอลจะสูงกวา่ การดึกด้านหน้าขณะออกแรงตตี ้องยกศรี ษะเงยหน้าและยืดเอวพร้อมกับ เหว่ียงแขนขนึ ไปขา้ งหลงั 1.5 การฝึกมือเดียว ใช้ในกรณีที่ลูกบอลมาต่าๆ มีความเร็วสูงระยะห่างจากลาตัวมาก การกมือเดียวมักใช้ผสมกับการกลิงตัวพุ่งหมอบหรือกระโดดพุ่งรับด้วยการดึกมือเดียวมีหลักการ เล่นคือ เมื่อลูกบอลอยู่ข้างหน้าให้เคล่ือนท่ีไปข้างหน้าโดยเร็ว ก้าวสุดท้ายต้องก้าวยาว พร้อมกับ โล้ตัวไปข้างหนา้ ยน่ื แขนข้างเดียวกับขาทก่ี ้าวออกไป ใช้ง่ามมือหรือหลังมือกระทบท่ีใต้ลกู บอล ขณะที่สัมผัสลูกบอลให้พลิก ข้อมือขึนด้วย เพื่อให้ลูกบอลเด้งขึน เมื่อลูกบอลอยู่ข้างลาตัวให้ก้าวเท้าสุดท้ายก้าวยาว และเป็นขาข้าง เดียวกับเท้านาออกไปด้านหน้าใช้ง่ามมือ หรือท่อนแขนกระทบที่ ข้างหลัง ด้านล่างของลูกบอล ให้บดิ เขา้ ขา้ งในเพ่ือช่วยการเหว่ยี งแขนดว้ ย โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 9

การศึกษาระดบั ทกั ษะวอลเลย์บอลของนักเรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 1.6 การดึกแบบพุ่งหมอบด้วยสองมือ ใช้ในกรณีท่ีรับลูกบอลที่พุ่งมาเร็วมีจุดตกของ ลูกบอลต่าและอยู่ไกลกับตัวผู้รับไม่สามารถเคลื่อนท่ีไปรับลูกบอลได้ทันการกพุ่งหมอบด้วยสองมือ มีหลกั การเลน่ คอื ผเู้ ลน่ โล้ตัวไปข้างหน้า ย่อตวั ต่า ใช้เท้าท่อี ยู่ขา้ งหน้ายนั พนื แล้วยืดตวั พงุ่ ออกไป ข้างหนา้ พร้อมกับเหยียดแขนทงั สองข้างรับลกู หลังจากด๊ิกลกู บอลแล้วทังสองมอื จะยนั พืนงอศอก ผอ่ นแรงตามเพ่ือ ลดแรงการพุ่งของลูกบอล ขณะเดียวกนั ยกศีรษะ แอ่นอก เพื่อปอ้ งกนั การกระแทก 1.7 การกแบบพุ่งหมอบดว้ ยมอื ขา้ งเดยี ว ใช้ในกรณที ี่ผู้เลน่ รบั ลูกท่หี ่างจากตวั ผู้รบั แตไ่ ม่ ไกลมากนกั ลูกบอลพงุ่ มาเรว็ จดุ ตกของลกู บอลต่า การดึกพุ่งหมอบด้วยมือข้างเดยี ว 1.8 การฝึกแบบลูกที่กระดอนออกจากตาข่าย ใช้ในกรณีท่ีลูกบอลกระดอนออกจาก ตามข่าย มีหลักการเล่นคือ ใช้สองมือหรือมือเดียวส่งลูกบอลมายังกลางสนามแดนของตน ย่อตัวลงต่ารอ จังหวะลกู บอลลอยตา่ จึงดึกลกู บอลขนึ 1.9 การดึกแบบลกู ตะแคง ใช้ในกรณที ใ่ี ช้รับเมอื่ ลูกตกลงมาในแนวดงิ่ ลงตรงๆ ห่าง จาก ตวั ผู้รับคอ่ นข้างไกล อาจจะอย่ขู า้ งหน้าหรือดา้ นข้างลาตัว การกลกู ตะแคงข้าง มีหลักการเลน่ คือ ผเู้ ล่นต้อง กา้ วขายาวๆ 1 กา้ วไปข้างหน้าหรอื ดา้ นขา้ ง เป็นการกา้ วไปในลกั ษณะงอเข่าต่า พรอ้ มกบั โนม้ ตวั ให้ร่างกาย ลดต่าลง นาหนักอยบู่ นเท้าหนา้ เหยียดแขนขนึ ไปขา้ งหน้าพร้อมกับยื่น เทา้ พุง่ ออกไปดิ๊กลกู บอลขนึ ขณะที่ ย่ืนแขนออกไปให้บิดตัวเข้าข้างในกลายเป็นตะแคง ข้างหลังจาก ดึกลูกบอลแล้วให้งอตัวส่วนสะโพกและ หลงั เข้าหากนั หอ่ ไหล่ เก็บทอ้ งอาศัยแรงกดลงของขา ยกตัว เก็บท้องแล้วยนื ขนึ 2. การเซ็ท (Set) คือ การตีลูกบอลด้วยปลายนิวมือทังสองข้างพร้อมกันโดย มีเป้าหมาย สาคญั เพ่อื สง่ ลกู บอลให้ผ้เู ลน่ คนอน่ื ตบ การเซท็ มีวธิ ีการเล่นหลายวิธี คอื 1.1 การเซท็ ลูกบอลไปขา้ งหน้า ใช้ในกรณี เพือ่ เซ็ทบอลใหผ้ ้เู ล่นทีอ่ ยู่ดา้ นหนา้ ของ ผเู้ ซ็ท ตบบอล การเซ็ทลูกบอลไปข้างหน้า มีหลักการเล่น คือ หันหน้าไปยังทิศทางท่ีลูกบอลพุ่งมา เท้าทังสอง แยกกันประมาณ 1 ช่วงไหล่ หรือกว้างกว่าช่วงไหล่เล็กน้อย ยืนให้ปลายเท้าเสมอกัน หรือเท้าใดเท้าหนึ่ง เป็นเท้านาก็ได้ ยกส้นเท้าขึนเล็กนอ้ ย ย่อเข่าแขม่วท้องโน้มตัวไปข้างหนา้ เล็ก น้อย ผ่อนไหล่ตามสบาย ไม่ เกรง็ ยกมอื ทังสองขึนในลักษณะการเซ็ท ขอ้ ศอกปล่อยลงตาม ธรรมชาติ ตามองดลู ูกบอลก่อนเซ็ทลูกบอล นิวมือทกุ นิวควรปลอ่ ยตามสบาย ไม่เกร็ง ผ่อนนิวและ ขอ้ มือเลก็ นอ้ ยขณะเซท็ ต้องอาศยั แรงจากการยันพืน ยดื ขา ยดื ตวั และแรงส่งจากนวิ มือ ข้อมอื ทอ่ นล่างขณะมือสัมผัสลูกบอลให้เกรง็ นวิ และข้อมอื เล็กนอ้ ยการ ออกแรงมากหรือนอ้ ย แล้วแตร่ ะยะ ทางท่ีส่งลกู บอลออกไป 2.2 การเซ็ทลูกบอลไปข้างหลังใช้ในกรณีที่เซ็ทลูกบอลให้ผู้เล่นท่ีอยู่ด้านหลังของ ผู้เซ็ท เป็นผู้ตบลูกบอลการเซท็ ลูกบอลไปด้านหลัง มีหลักการเล่นคือ ให้ผู้เล่นรีบเคลื่อนที่ไปยัง ลูกบอล ย่อตัวลง ยกมือทังสองข้างขึนตรงศีรษะ หงายข้อมือ กลางข้อศอกออก หักข้อมือมาข้างหลังนิวหัวแม่มือ ชีลงสู่พืน เงยหน้าขึนเซท็ ลูกบอลเมื่อลูกบอลอยู่เหนือใบหนา้ หรอื ศีรษะขณะเซ็ทให้ เหยียดท้อง อก และแขนทังสอง ขึนไปข้างหลัง อาศัยการพลิกข้อมือและแรงจากนิวหัวแม่มือดัน ลูกบอล พร้อมกับกระดูกข้อมือขึนโดยใช้ แรงจากลาตวั และขาชว่ ยสง่ ลูกบอลใหข้ า้ มศีรษะไปดา้ นหลงั โดย นายศุทธวีร์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 10

การศึกษาระดบั ทักษะวอลเลย์บอลของนักเรยี นระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 3. การเสิร์ฟ (Serve) คือ การตีลูกบอลจากเขตเสิร์ฟโดยผู้เล่นแดนหลังขวา ไปยังแดน คตู่ อ่ สู้ โดยใชแ้ ขนข้างใดเพียงข้างหนึ่ง การเสริ ฟ์ ทหี่ ลายวิธี คือ - การตลี ูกบอลคอ่ นขา้ งมาทางดา้ นหลัง ลกู บอลจะพุ่งเฉยี งขนึ - การตลี ูกบอลดา้ นล่าง ลกู บอลจะพงุ่ ขึนขา้ งบน - การตีลูกบอลตรงกลาง ลูกบอลจะพ่งุ ไปดา้ นหนา้ 3.1 การเสิร์ฟลูกบอลมือบนด้านหน้า เป็นลักษณะการเสิร์ฟจากการโยนลูกบอลขึน เหนอื ศรี ษะ ผเู้ สิร์ฟใชฝ้ ่ามือ หรอื กามือกระทบด้านหลงั ของลกู บอลให้ลอยข้ามตาข่ายไป การเสริ ฟ์ ลูกบอล มือบนด้านหน้า มีหลักการคือ ผู้เสริ ฟ์ หัวหนา้ เข้าตาขา่ ย เทา้ ซ้ายอยหู่ นา้ เทา้ ขวา งอเข่าเล็ก น้อย นาหนกั ตวั ทิงลงบนเทา้ ทีอ่ ยู่ข้างหลัง มอื ซา้ ยถือลูกบอลแลว้ ยกขึนไว้ระดับอก โยนลกู บอลดว้ ย มือซา้ ย โยนลกู บอลให้ น่ิงๆ ขึนไปเหนอื ไหลข่ วาเยืองไปข้างหลงั กางนิวออกเล็กน้อย บิดลาตัวไป ทางขวาเล็กนอ้ ย ยกศีรษะ แอ่น ท้อง ทงิ นาหนกั ตัวทังหมดลงบนเท้าขวา ขณะตีลกู บอลใชฝ้ า่ มอื ตี ลกู บอลลงตรงกลางส่วนหลังของลูกบอล 3.2 การเสิร์ฟลูกบอลมือบนด้านข้าง ในกรณีที่ผู้เสิร์ฟต้องการให้ลูกบอลมีความแรง ไป โด่ง ทาให้ลูกบอลตกเร็วขึน ทาให้ฝ่ายตรงข้ามรับลูกเสิร์ฟได้ยาก มีหลักการคือ ผู้เสิร์ฟยืนหันไหล่ ซ้าย เข้าหาตาข่าย ยืนแยกเท้าประมาณ 1 ช่วงไหล่ เท้าทังสองขนานกันหรือเท้าซ้ายอยู่หน้าเท้าขวา เล็กน้อย โน้มตัวไปข้างหน้าและงอเข่าทังสองเล็กน้อย นาหนักตัวอยู่บนเท้าทังสองข้างหรือลงบน เท้าขวามากกว่า เท้าซ้าย ถอื ลูกบอลไวร้ ะดบั หนา้ ทอ้ ง ใช้ฝา่ มอื ซ้ายโยนลูกบอลขนึ ตรงเหนือศรี ษะให้ ลกู บอลนิง่ ความสูงของ ลูกบอลจากมือประมาณ 1 เมตร ขณะโยนลูกบอลให้งอเข่าขวา ทิงนาหนักตัว ลงบนเท้าขวา โน้มตัวไป ทางขวาพร้อมกับบิดตัว เท้าขวายันพืนหมุนตัวอย่างรวดเร็วเข้าหาสนาม ถ่ายนาหนักตัวมาอยู่ท่ีเท้าซ้าย เหยียดแขนขวาตรงและเหวี่ยงเป็นวงโค้งไปข้างหน้า กางนิวออก เป็นวงโค้งเล็กน้อย จุดที่ฝ่ามือสัมผัสลูก บอลจะอยตู่ รงด้านหลงั ของลูกบอลค่อนข้างลา่ งเล็กนอ้ ย 3.3 การเสิรฟ์ ลูกบอลมอื ล่าง ใช้ในกรณที ี่ผู้เสิรฟ์ ต้องการความผดิ พลาดจากการเสิร์ฟ เล็กน้อย ใช้แรงในการเสิร์ฟนอ้ ย เสิร์ฟได้แม่นยา การเสิร์ฟลูกบอลมือล่างมีหลักการ คือ ผู้เสิร์ฟยืน ในเขต เสิร์ฟหัสหน้าเข้าหาตาข่าย เท้าแยกห่างกันประมาณ 1 ช่วงไหล่ เท้าซ้ายอยู่ข้างหนา้ เท้าขวา งอเข่าทังสอง เล็กน้อยถือลูกบอลด้วยมือซา้ ยยกลูกบอลไว้ระดับหนา้ ท้องโน้มตัวไปข้างหลังเล็กน้อย โยนลูกบอลด้วยมอื ซ้ายค่อนไปทางขวาลูกบอลหา่ งจากมือที่โยนประมาณ 20 – 30 ซม. ขณะโยน ลกู บอลให้เหว่ยี งแขนขวาไป ข้างหลังจังหวะทต่ี ีลูกบอลใหเ้ หวี่ยงแขนไปข้างหน้าพร้อมกับเทา้ ขวายนั พนื ขนึ ถ่ายนาหนักตวั ไปยังเทา้ หน้า ใชห้ วั ไหลเ่ ปน็ จุดเหว่ียงแขนขึนมาใชม้ อื ขวาตีลูกบอลบริเวณ หนา้ ท้อง ใช้สันมือหรอื ฝา่ มอื ตีตรงด้านล่างสว่ น หน้าของลูกบอล นาหนักตัวตามทิศทางท่ีตีลูกบอลนิวหัวแม่มือ ชีลงสู่พืน เงยหน้าขึนเซ็ทลูกบอลเมื่อลูก บอลอยู่เหนือใบหน้าหรือศีรษะขณะเซ็ทให้ เหยียดท้อง อก และแขนทังสองขึนไปข้างหลัง อาศัยการพลิก ข้อมือและแรงจากนิวหวั แม่มือดนั ลกู บอล พร้อมกับกระดกู ขอ้ มอื ขนึ โดยใชแ้ รงจากลาตัวและขาช่วยส่งลูก บอลให้ขา้ มศรี ษะไปดา้ นหลงั โดย นายศุทธวีร์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 11

การศกึ ษาระดบั ทักษะวอลเลย์บอลของนักเรยี นระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 3. การเสิรฟ์ (Serve) คอื การตลี ูกบอลจากเขตเสริ ์ฟโดยผเู้ ล่นแดนหลงั ขวา ไปยงั แดน คู่ ต่อสู้ โดยใชแ้ ขนขา้ งใดเพียงข้างหน่งึ การเสริ ์ฟทห่ี ลายวิธี คอื - การตีลกู บอลคอ่ นข้างมาทางด้านหลงั ลูกบอลจะพุ่งเฉยี งขึน - การตลี ูกบอลดา้ นลา่ ง ลกู บอลจะพุ่งขนึ ข้างบน - การตีลูกบอลตรงกลาง ลูกบอลจะพุ่งไปด้านหนา้ 3.1 การเสิร์ฟลูกบอลมือบนด้านหน้า เป็นลักษณะการเสิร์ฟจากการโยนลูกบอลขึน เหนอื ศรี ษะ ผู้เสริ ์ฟใชฝ้ ่ามือ หรอื กามือกระทบดา้ นหลงั ของลูกบอลให้ลอยขา้ มตาข่ายไป การเสิร์ฟ ลูกบอล มือบนด้านหน้า มีหลกั การคอื ผู้เสิรฟ์ หัวหน้าเข้าตาข่าย เทา้ ซ้ายอยู่หนา้ เท้าขวา งอเข่าเลก็ น้อย นาหนักตวั ทงิ ลงบนเทา้ ทอ่ี ยู่ข้างหลงั มือซ้ายถอื ลูกบอลแล้วยกขึนไวร้ ะดับอก โยนลูกบอลดว้ ย มอื ซ้าย โยนลูกบอลให้ นิง่ ๆ ขนึ ไปเหนือไหล่ขวาเยืองไปข้างหลงั กางนิวออกเล็กนอ้ ย บดิ ลาตัวไป ทางขวาเลก็ นอ้ ย ยกศีรษะ แอ่น ทอ้ ง ทิงนาหนักตวั ทังหมดลงบนเทา้ ขวา ขณะตีลกู บอลใช้ฝ่ามอื ตี ลูกบอลลงตรงกลางส่วนหลังของลกู บอล 3.2 การเสิร์ฟลูกบอลมือบนด้านข้าง ในกรณีท่ีผู้เสิร์ฟต้องการให้ลูกบอลมีความแรง ไป โด่ง ทาให้ลูกบอลตกเร็วขึน ทาให้ฝ่ายตรงข้ามรับลูกเสิร์ฟได้ยาก มีหลักการคือ ผู้เสิร์ฟยืนหันไหล่ ซ้าย เข้าหาตาข่าย ยืนแยกเท้าประมาณ 1 ช่วงไหล่ เท้าทังสองขนานกันหรือเท้าซ้ายอยู่หน้าเท้าขวา เล็กน้อย โน้มตัวไปข้างหน้าและงอเข่าทังสองเล็กน้อย นาหนักตัวอยู่บนเท้าทังสองข้างหรือลงบน เท้าขวามากกว่า เทา้ ซา้ ย ถอื ลกู บอลไว้ระดับหน้าทอ้ ง ใชฝ้ ่ามอื ซ้ายโยนลูกบอลขึนตรงเหนอื ศรี ษะให้ ลกู บอลน่ิงความสงู ของ ลูกบอลจากมือประมาณ 1 เมตร ขณะโยนลูกบอลให้งอเข่าขวา ทิงนาหนักตัว ลงบนเท้าขวา โน้มตัวไป ทางขวาพร้อมกับบิดตัว เท้าขวายันพืนหมุนตัวอย่างรวดเร็วเข้าหาสนาม ถ่ายนาหนักตัวมาอยู่ที่เท้าซ้าย เหยียดแขนขวาตรงและเหว่ียงเป็นวงโค้งไปข้างหน้า กางนิวออก เป็นวงโค้งเล็กน้อย จุดที่ฝ่ามือสัมผัสลูก บอลจะอยูต่ รงดา้ นหลงั ของลกู บอลค่อนขา้ งลา่ งเล็กน้อย 3.3 การเสริ ์ฟลูกบอลมือล่าง ใชใ้ นกรณที ผี่ เู้ สริ ฟ์ ต้องการความผดิ พลาดจากการเสิร์ฟ เล็กน้อย ใช้แรงในการเสิร์ฟนอ้ ย เสิร์ฟได้แม่นยา การเสิร์ฟลูกบอลมือล่างมีหลักการ คือ ผู้เสิร์ฟยืน ในเขต เสิร์ฟหัสหน้าเข้าหาตาข่าย เท้าแยกห่างกันประมาณ 1 ช่วงไหล่ เท้าซ้ายอยู่ข้างหนา้ เท้าขวา งอเข่าทังสอง เล็กน้อยถือลูกบอลด้วยมือซ้ายยกลูกบอลไว้ระดับหนา้ ท้องโน้มตัวไปข้างหลังเล็กนอ้ ย โยนลูกบอลด้วยมอื ซ้ายค่อนไปทางขวาลูกบอลหา่ งจากมอื ที่โยนประมาณ 20 – 30 ซม. ขณะโยน ลกู บอลใหเ้ หวย่ี งแขนขวาไป ขา้ งหลังจังหวะที่ตลี กู บอลให้เหวีย่ งแขนไปข้างหน้าพร้อมกับเท้าขวายนั พืนขนึ ถ่ายนาหนกั ตัวไปยงั เท้าหน้า ใชห้ วั ไหลเ่ ปน็ จุดเหวีย่ งแขนขึนมาใชม้ อื ขวาตีลกู บอลบริเวณ หนา้ ทอ้ ง ใชส้ นั มือหรอื ฝ่ามอื ตตี รงด้านลา่ งสว่ น หนา้ ของลกู บอล นาหนกั ตวั ตามทิศทางที่ตีลกู บอล 4. การตบ (Spike) คอื การตีลกู บอลจากที่สงู จากฝ่ายของผู้ตบใหข้ ้ามตาขา่ ยไปยังสนาม ฝา่ ยตรงขา้ ม การตบมีหลายลกั ษณะคอื 4.1 การตบลูกบอลริมตาข่าย มีหลักการเล่นคือ ผู้เล่นยืนแยกเท้าทังสองออกตาม ธรรมชาติ งอเขา่ เลก็ นอ้ ย โลต้ วั ไปข้างหนา้ เลก็ นอ้ ย ตอมองลูกบอลตลอดเวลา พรอ้ มท่จี ะวงิ่ ไปตาม ทศิ ทาง โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 12

การศกึ ษาระดับทกั ษะวอลเลย์บอลของนักเรียนระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 ที่ลกู บอลลอยมาให้ผู้เล่นวง่ิ หาลกู บอลโดยจะเร่ิมกา้ วแรกท่เี ท้าขวา แล้วเท้าซา้ ย ตามมาเปน็ ก้าวทีส่ อง ก้าว ท่สี ามจะก้าวเทา้ ขวาในลกั ษณะรวบเทา้ ปลายเท้าขวาจะเสมอ หรอื เหลื่อมกับปลาย เท้าซ้ายเล็กนอ้ ย พร้อม ที่จะทาการกระโดด ขณะกระโดดให้สปริงข้อเท้าพร้อมกับการเหวี่ยงแขนทัง สองขึน การเหวี่ยงแขนให้ กามอื หลวมๆ สองแขนแนบลาตวั กางแขนออกเล็กน้อย การเหวีย่ งแขน จะเหวย่ี งจากดา้ นหลังมาด้านหน้า พร้อมกระโดดขณะทีล่ อยตวั อยใู่ นอากาศ ใหร้ า่ งกายท่อนบนเอน ไปขา้ งหลงั และบดิ ไปทางขวาเล็กน้อย ยืด ท้องและอกขึน มือซ้ายยกขึนระดับหน้าอก ข้อศอกขวา ซืออกด้านข้างในระดับสูงกว่าหัวไหล่ มือยกไป ทางขวาของศีรษะ ยกท่อนแขน ข้อมือและนิว กางนิว ทังห้านิวออกเล็กน้อย ฝ่ามือโค้งเป็นรูปถ้วย ตบลูก บอลโดยอาศัยการหมุนบิดตัวและเก็บท้องอย่าง รวดเร็ว สะบัดข้อมือขณะตีลูกบอล แขนต้องเหยียดตรง หักข้อมือลงข้างล่าง ใช้ฝ่ามือท่ีส่วนบนของ ลูกบอล นิวทังหมดเป็นตัวบังคับลูกบอลให้วิ่งตามทิศทางท่ี ต้องการ 4.2 การตบลูกบอลเร็วใกล้ตัว มีหลักการเล่นเหมือนการตบลูกบอลท่ัวๆ ไป จะ แตกต่างกัน คือ มุมการว่ิงของการตบลูกบอลเร็วใกล้ตัว โดยทั่วไปจะเป็นมุม 45 องศา ความเร็วใน การวิ่ง ขึนอยู่กับความโค้ง ความใกล้ ความไกลของการส่งลูกบอลจังหวะแรก หากลูกบอลส่งจังหวะ แรกมีความ โค้งน้อย เม่ือลูกบอลใกล้ถึงมือคนเซ็ท ผู้ตบควรห่างจากผู้เซท็ ประมาณ 1 ช่วงแขน รีบ กระโดดขึน เมื่อลูก บอลลอยสงู เหนือตาขา่ ยไม่เกนิ 50 ซม. ใชม้ ือทีด่ า้ นบนของลูกบอลอยา่ งรวดเรว็ 4.3 การตบลูกบอลสันเลียดตาข่าย การตบลูกนีมีพืนฐานมาจากการตบลูกบอลเร็ว ใกล้ตัวกับการตบลูกบอลเรว็ ยาวเลียดตาข่าย จดุ เด่นคอื มคี วามเรว็ สงู จดุ จู่โจมชัดเจน และทาได้ งา่ ย การ ตบลูกบอลสันเลียดตาข่ายมีหลักการเล่นคือ ก่อนตบผู้ตบต้องเลือกจุดตัดของมือกับเส้นทาง ของลูกบอล อาจจะวิ่งทางตรงหรือว่ิงทางอ้อมเบี่ยงขึนไปซึ่งขึนอยูก่ ับตาแหน่งการส่งของลูกบอล จังหวะสอง ผู้ตบต้อง กระโดดขนึ อยา่ งรวดเรว็ ขณะที่ส่งลูกบอลจังหวะสองออกจากมือ กระโดดขนึ ตบ ทิศทางของลูกบอลที่พุ่ง มาตาแหน่งกระโดดจะอย่หู น้าผูเ้ ซ็ทจังหวะสองราว 2 เมตร 4.4 การตบลกู บอลเรว็ ยาวเลยี ดตาข่าย มีหลักการเล่นคอื ผเู้ ซ็ทจะเซ็ทลูกบอลยาวพ่งุ ไปรมิ ตาขา่ ยขา้ งใดขา้ งหน่งึ ความเร็วของลูกบอลมีมาก ความโคง้ ของลูกบอลมนี อ้ ยมากมีมุมของ การตบลูก บอล 30 องศา ผู้ตบอาจจะวง่ิ ออกนอกเส้นข้างสนามแลว้ กระโดดขนึ ดักทิศทางของลกู บอล โดยเริม่ วิง่ ออก พรอ้ มกบั ลกู บอลจะออกจากมอื คนเซท็ 4.5 การตบลูกบอลกึ่งเร็ว มีหลักการเล่นคือ มุมการวิ่งและการตบเหมือนกับการตบ ลกู บอลเรว็ ใกล้ตวั เพียงแต่ช่วงการกระโดดช้ากว่า โดยทว่ั ไปจะกระโดดหลังจากท่ีผู้เซ็ทลูกบอล จงั หวะสอง ส่งลูกบอลออกจากมอื ขณะตบลกู บอล ลกู บอลจะอยูเ่ หนือตาขา่ ยประมาณ 1 เมตร 5. การสกดั กนั (Block) คือ การยืน่ อวัยวะส่วนใดส่วนหน่งึ ของร่างกายทอ่ี ยูเ่ หนือเอว ยืน่ ขึนไปให้พ้นระดับของตาข่าย เพ่ือขวางการเคลื่อนที่ข้างตาข่ายของลูกบอล ซึ่งถูกส่งมาจากแดน ตรงข้าม การสกัดกนั ผ้เู ล่นตอ้ งอยู่ในท่าเตรยี มทดี่ ี ซึ่งมลี กั ษณะดงั นี - ยืนแยกเทา้ ออกประมาณช่วงไหล่ โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 13

การศกึ ษาระดบั ทกั ษะวอลเลย์บอลของนกั เรยี นระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 - มือทังสองยกขนึ กางฝ่ามือออก - งอเข่าเล็กนอ้ ย - ศรี ษะตงั ตรง มองไปขา้ งหนา้ 5.1 การสกัดกันคนเดียว มีหลักการเล่นคือ ผู้สกัดกันหันหน้าเข้าหาตาข่าย เท้าห่าง กนั ประมาณ 1 ชว่ งไหล่ ยอ่ ตวั ลงเล็กนอ้ ย แขนทงั สองยกขึนในระดับใบหนา้ ขณะที่ลกู บอลลอยขา้ มตา ขา่ ย มาจากแดนฝ่ายตรงข้ามให้กระโดดขึนโดยใช้การสปิงข้อเท้าทังสองพร้อมพับการใช้แขนทังสอง ข้างยึดขึน ไปทางศีรษะ แขนทังสองข้างเหยียดชูขึนข้างบนให้เหนือตาข่าย เกร็งและกางนิวออกหัก ข้อมือเล็กน้อย เพ่อื รบั แรงกระแทกจากลูกบอลทอ่ี ยู่ใกล้ตาข่าย 5.2 การสกัดกันอยู่กับที่ เป็นลักษณะการสกัดกันโดยผู้สกัดกันยืนอยู่กับท่ี และ กระโดดขนึ โดยทีผ่ ู้สกัดกนั ไมต่ อ้ งเคลอ่ื นที่เขา้ หาตาข่ายหรอื ลูกบอล 5.3 การสกัดกันโดยการเคล่ือนที่ เป็นการสกัดกันในขณะที่ต้องเคลื่อนท่ีเข้าหาลูก บอล ซ่ึงอยู่ห่างจากตัวของผู้สกัดกนั จะสังเกตเหน็ วา่ การวง่ิ สกดั กนั นี จะต้องวงิ่ ในลักษณะขนานกบั ตา ขา่ ย และในจงั หวะท่จี ะกระโดด ใหบ้ ดิ ตัวหันหนา้ เข้าหาตาข่าย สรุปได้ว่า ทักษะที่ใช้ในการเล่นวอลเลย์บอลมีอยู่หลายอย่างคือ การดึก การเซ็ท การ เสริ ์ฟ การตบ การสกดั กนั ซงึ่ แต่ละทักษะมรี ายละเอียดในการฝกึ ซ้อม เพ่อื นาไปใชใ้ นการเลน่ ทแ่ี ตกตา่ ง กนั ไป ต้องอาศยั เวลาในการฝกึ ให้เกดิ ความชานาญจนเกิดทักษะกับตนเอง 2.2.3 ประโยชนข์ องวอลเลยบ์ อล วีระพงษ์ บางท่าไม้ (2545 : 3-6) กล่าวว่า วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่มีเอกลักษณ์ท่ีเหมาะสม กับวัฒนธรรมประเพณีของประเทศไทย ด้วยการแสดงออกถึงความสุภาพในวิธีการเล่น การแข่งขัน และ ฝึกซ้อมมักจะไม่เกิดปัญหาทะเลาะวิวาท เป็นการส่งเสริมมนุษยสัมพันธ์ของผู้ร่วมทีม คู่แข่งขัน และผู้ชม กีฬาวอลเลย์บอล สามารถพัฒนารา่ งกายและจติ ใจผู้เลน่ ได้ตามสภาพแวดลอ้ ม สามารถ ดัดแปลงกตกิ าการ เลน่ ให้เหมาะสมกับระดบั ความสามารถ เพศ วัยของผ้เู ลน่ ได้ เปน็ เกมการเลน่ เพ่อื พกั ผ่อนหยอ่ นใจท่ไี มเ่ ส่ยี ง อันตรายจงึ ช่วยลดความกังวลใจเร่อื งการบาดเจ็บจากอบุ ัติเหตุในการออก กาลังกายไดเ้ ป็นอย่างดี ดงั นนั ผู้ เล่นหรือนักวอลเลย์บอล ตลอดจนผมู้ สี ่วนเกี่ยวข้องจึงเปน็ ผทู้ ีไ่ ดร้ ับ ประโยชน์จากการเลน่ การฝึกซอ้ ม และ การจัดการแขง่ ขันกีฬาวอลเลยบ์ อล โดยสรปุ ไดด้ ังต่อไปนี โดย นายศุทธวีร์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 14

การศกึ ษาระดบั ทกั ษะวอลเลย์บอลของนักเรยี นระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 ทำงร่ำงกำย 1. สขุ ภาพร่างกายของผูเ้ ล่นโดยรวมมคี วามสมบรู ณ์แข็งแรงเพราะวอลเลยบ์ อลเปน็ กฬี าท่ีมี การเล่นที่ตอ่ เนอ่ื ง มผี ลต่อระบบการหายใจ การไหลเวียนโลหติ และระบบกลา้ มเนืออยา่ งดี 2. ผู้เล่นจะมีทรวงทรงสมส่วนสวยงาม เน่ืองจากวอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่ใช้อวัยวะใน การ เล่นทกุ ส่วนสมดุลกันทงั แขน ขา และลาตัว ทาใหก้ ารพฒั นาทางร่างกายเปน็ ไปอย่างสอดคลอ้ ง กนั ทกุ ส่วน สง่ เสรมิ ให้มบี คุ ลกิ ภาพท่ดี ีเป็นท่ียอมรับ และช่ืนชมในสงั คมท่วั ไป 3. กล้ามเนือทุกส่วนของร่างกายผู้เล่นจะมีประสิทธิภาพในการทางานมากขึน ส่งผล ให้มี พฤติกรรมท่กี ระฉับกระเฉงในการใช้ชีวิตประจาวัน 4. รา่ งกายของผู้เลน่ สามารถสร้างเสรมิ ภูมิต้านทานโรคไดด้ อี นั เปน็ ผลสบื เน่ืองจาก การฝึกที่ ทาให้ร่างกายแขง็ แรงขนึ 5. ผู้เล่นจะมีระบบประสาทส่ังงานดี เพราะในการฝึกต้องอาศัยความสัมพันธ์ของ ระบบ ประสาทสัง่ งานกบั กลา้ มเนอื ทาให้กลไกการเคล่ือนไหวของรา่ ยกายดขี นึ ทำงจิตใจ อำรมณ์ 1. สง่ เสรมิ ให้ผูเ้ ลน่ มคี วามมนั่ คงทางอารมณ์ สมาธดิ ี รอบคอบ มีความเชือ่ ม่ันในตนเอง 2. ส่งเสริมให้ผู้เล่นมีจิตใจเป็นนักกฬี า รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย ยอมรับฟังความคิดเหน็ ของ ผู้อื่น ตลอดจนการเคารพต่อกฎระเบียบและกติกาอนั จะส่งผลตอ่ การเคารพกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ในสังคม 3. ช่วยให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ต่ืนเต้นเร้าใจ ทังในการเล่น การฝึกซ้อม การ แข่งขัน และการเขา้ ชม 4. ช่วยให้ผ่อนคลายความตึงเครยี ด ความวิตกกงั วล นอนไม่หลับเป็นการพกั ผ่อน หย่อนใจ ที่ดที ังผู้เลน่ และผูช้ ม 5. สง่ เสรมิ ให้ผู้เล่นเกิดความเช่ือมน่ั มคี วามกลา้ ในการตัดสนิ ใจทีร่ วดเร็วสามารถแก้ ปัญหา เฉพาะหน้าไดด้ ี ทำงสังคม 1. เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ เน่ืองจากการฝึกซ้อมเป็นทีมทาให้เกิดความสัมพันธ์ ที่ดี ความรกั ใครก่ ลมเกลยี วในหมู่นักกฬี าและผู้มสี ว่ นเกี่ยวข้องทุกฝ่าย 2. เกิดความมีวินัย เน่ืองจากในการเล่นผู้เล่นต้องอยู่ในกฎกติกา จึงสามารถนา มา ประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวันใหม้ ีปกตสิ ุขไดใ้ นสงั คมและสงิ่ แวดลอ้ มรอบตวั 3. เป็นกีฬาท่ีสร้างความมีนาใจนักกีฬา เอือเฟ้ือเผ่ือแผ่ มีความสัมพันธภาพดีกับคน ทุก ระดบั ผเู้ ล่นเป็นบุคคลที่มีคุณค่าต่อสงั คม จงึ ได้รับสทิ ธพิ เิ ศษบางประการ เช่น การเขา้ ศึกษาต่อ ในระดับที่ สูงขึน การเข้าทางานประกอบอาชีพเพราะเปน็ ที่ยอมรับตอ่ สังคมทั่วไปว่าเป็นบุคคลท่ีทา คุณประโยชนแ์ ก่ สังคมและประเทศชาติ โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 15

การศึกษาระดับทกั ษะวอลเลย์บอลของนกั เรียนระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 4. กีฬาวอลเลย์บอลเป็นสอ่ื ในการใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ ทาใหผ้ ้เู ล่นและผู้ชม ห่างไกล จากอบายมขุ และยาเสพตดิ ซ่ึงชว่ ยแกป้ ญั หาสังคมไดว้ ธิ ีหน่ึง สรปุ ไดว้ า่ วอลเลยบ์ อลเป็นกีฬาชนิดหนึ่งท่ีสามารถทาให้ผทู้ ี่นามาเล่นเกดิ การพัฒนาใน ด้าน ต่างๆ ทังทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม เช่น ทาให้ร่างกายแข็งแรง กลไกการทางานของ ร่างกายดี ขึน ฝกึ สมาธิ ความมีนาใจนักกฬี า เคารพในกฎเกณฑ์และใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์ สเลเมคเกอร์ และบราวน์ (อนันต์ จึงสกุล. 2538 : 15 ; อ้างอิงจาก Slaymaker and Brown. 1976 : 4-7) ไดส้ รปุ ประโยชน์ของกีฬาวอลเลย์บอลไว้ ดังนี 1. ความเจรญิ เติบโตทางร่างกาย (Physical Growth) มีการฝกึ ซ้อมและแข่งขนั อยู่เสมอ ทา ให้ร่างกายมีกาลัง ความแข็งแรง ความอดทน ความเร็ว ความสมดุลและความยืดหยุ่น เน่ืองจาก กีฬา วอลเลย์บอลสง่ เสรมิ ความถนัดเกี่ยวกับการใชม้ ือเดาะหรอื ตีลูกบอล สง่ เสรมิ การวง่ิ การกระโดด และความ คล่องแคล่วว่องไวเก่ียวกับการเคลื่อนไหวเหล่านี ย่อมเป็นเคร่ืองส่งเสริมให้อวัยวะต่างๆ ของผู้เล่นเกิด ประสิทธิภาพตอ่ การทางานอยา่ งดยี ิ่ง 2. การพัฒนาทางด้านกลไกของร่างกาย (Motor Development) นักกีฬาวอลเลย์บอล ต้องควบคุมทิศทางของตนเองได้ ขณะเดียวกันก็สามารถจะเล่นได้ทันทีเมื่อถึงโอกาสของตนท่ีจะ ต้องเล่น สว่ นต่างๆ ของรา่ งกาย ตาจะต้องสมั พันธ์กนั อย่างดี 3. ความเจริญทางด้านสังคม (Sociological Growth) กีฬาวอลเลย์บอล เป็นกีฬาท่ีช่วย ส่งเสรมิ และกอ่ ใหเ้ กดิ สมั พนั ธไมตรี ผดุงความเข้าใจซ่ึงกันและกนั ตา่ งชาติ ต่างศาสนาก็เกดิ ความ สนิทสนม และค้นุ เคยตอ่ กนั 2.1.4 ควำมหมำยของกำรวัดผลประเมินผล พิชิต ฤทธ์ิจรูญ (2545 : 1) กล่าวว่า การวัดผลและประเมินผลเป็นองค์ประกอบที่สาคัญ องค์ประกอบหน่ึงในการจัดการศึกษาโดยเฉพาะในกระบวนการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนจะ ต้อง กาหนดจุดประสงคก์ ารเรียนรู้แล้วจงึ จดั กิจกรรมการเรียนการสอนหลงั จากนันจงึ ทาการวัดและ ประเมนิ ผล การเรยี นวา่ เปน็ ไปตามจุดประสงคท์ ี่กาหนดหรอื ไมน่ ่ันคอื ครูต้องวดั และประเมินผลทุก ครังที่มกี ารเรยี นการ สอนครูจึงจาเป็นต้องเรียนรู้ให้เข้าใจในหลักการและกระบวนการวัดและประเมิน ผลการเรียนเพื่อให้ สามารถปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง วาสนา คุณาอภิสทิ ธ์ิ (2541 : 184) กลา่ ววา่ การวัดผล (Measurement) เปน็ กระบวนการ หาปริมาณของการพัฒนาหรือปริมาณของพฤติกรรมที่เกิดขึนจากการเรียนการสอนเป็นปริมาณที่ อาจ มองเหน็ ได้ เช่น การชั่งนาหนกั การวัดสว่ นสงู ส่งิ เหลา่ นใี ชเ้ กณฑ์หรอื มาตรฐานทมี่ อี ยู่แลว้ มาวดั ไดแ้ ก่ เทป วัดระยะทาง เคร่ืองช่ัวนาหนัก ส่วนปริมาณท่ีไม่สามารถมองเห็นได้โดยตรงคือ พัฒนาการด้านพฤติกรรม ต่างๆ ของมนุษย์ เช่น ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ความเข้าใจ ความ แข็งแรง ความสามารถในการ โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสุทธะ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 16

การศกึ ษาระดบั ทกั ษะวอลเลย์บอลของนกั เรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 เคลอ่ื นไหวต่างๆ ความรู้สึกต่างๆ ทัศนคติ ฯลฯ ผ้วู ดั จะต้องสร้างสถาน การณ์ ให้ผทู้ ่ถี ูกวดั แสดงพฤติกรรมที่ มีอยู่ออกมาให้สัดเสียก่อนจึงจะวัดได้เช่นการวัดความรู้ การวัด ความเข้าใจ อาจใช้การตังคาถาม การ สัมภาษณ์ หรือการเรียนตอบ การวัดความแข็งแรงข้อกล้าม เนือส่วนต่างๆ ก็ต้องให้ผู้ท่ีถูกวัดผลได้ปฏิบัติ แบบทดสอบต่างๆ เป็นต้น พูนศักด์ิ ประถมบุตร (2532 : 7) กล่าวไว้ว่า การประเมินผลเป็นกระบวนการต่อเนื่องจาก การทดสอบและวัดผล การประเมินผลจะถูกต้องเหมาะสมเพียงใดย่อมขึนอยู่กับผลของการทดสอบ และ วัดผลเป็นกระบวนการสาคญั กลา่ วคอื ถา้ ผลของการทดสอบและการวดั ถูกต้อง การประเมินผลมักเช่ือถือ ได้และตรงกับความเป็นจริงในทางตรงข้าม ถ้าผลของการทดสอบและการวัดผิดพลาด การประเมินผลก็ ผิดพลาดทังการทดสอบและการวดั ผลประเมินผล จึงสัมพันธ์เกี่ยวโยงกนั อยา่ งมาก กังวล เทียนกัณฑ์เทศน์ (2540 : 16) กล่าวว่า การวัดและประเมินผลเป็นกระบวนการที่ ตอ่ เน่อื งกัน เพราะการวดั เปน็ ไปเพอื่ การประเมนิ ว่า ดี เลว เกง่ ออ่ นเพยี งใด สิ่งใดบ้างทีต่ ้องแกไ้ ข ปรับปรงุ พัฒนา ถ้าเป็นผลของการเรียนรู้ก็ต้องเทียบกับวัตถุประสงค์ว่าการเรียนรู้นันบรรลุวัตถุ ประสงค์เพียงใด สอนซอ่ มเสรมิ หรอื เรียนซือ ผา่ นไมผ่ า่ น เลอ่ื นชนั ไมเ่ ลอื่ นชัน การวดั ผลจึงเปน็ ไป เพือ่ การประเมนิ ผล 1) กำรประเมนิ ผลกำรศกึ ษำ มผี ้ใู หค้ วามหมายคาว่า “การประเมนิ ผลการศกึ ษา” ไวห้ ลายทา่ น ดงั นี สุภาพ วาดเขียน และอรพินท์ โภชนดา (2518 : 3) กล่าวว่า การวัดผลการศึกษาเป็น การ พิจารณาตัดสินเกี่ยวกับคุณภาพ คุณค่า ความจริงและการกระทา บางที่ขึนอยู่กับการวัดเพียง อย่างเดียว เชน่ คะแนนสอบ แต่สว่ นมากมักเป็นการรวมการวัดหลายๆ อย่าง เยาวดี รางชัยกุล (2523 : 14) ให้ความหมายของการประเมินผลการศึกษาไว้ว่า หมายถึง กระบวนการตีความหมาย (Interpretation) และการตัดสินคุณค่า (Value Judgments) จากส่ิงท่ี วัดได้ โดยอาศัยวิธีการท่ีมีระบบแบบแผนในการรวบรวมข้อมูล ตลอดจนเหตุผลประกอบหาร พิจารณาตัดสินว่า กจิ กรรมการศกึ ษานนั ดหี รอื เลวอย่างไร เหมาะสมหรือไม่เหมาะสมประการใด วิรยิ า บญุ ชยั (2529 : 23-24) ได้ให้ความหมายการประเมินผลว่า หมายถึงกระบวน การใน การตัดสินตีราคาลงสรุป เพ่ือพิจารณาความเหมาะสมหรือหาคุณค่าของลักษณะและพฤติ กรรม เช่น ผลการเรียน ผลการปฏิบัติ โดยอาศัยข้อมูลหรือรายละเอียดท่ีได้จากการวัดเป็นหลัก และ ใช้วิจารณญาณ ประกอบการพจิ ารณา จากความหมายดังกล่าวจะเห็นว่า ถ้าจะประเมินผลต้อง ดาเนินการอย่างมีขนั ตอน โดยเริ่มต้นด้วยการวัดผลส่ิงนันแล้วนาผลการวัดท่ีได้มาวินิจฉัยอย่างมี หลักเกณฑ์และมีคุณธรรม เพอ่ื พิจารณาตัดสนิ ใจว่าสงิ่ นนั ดีหรือเลว เก่งหรือออ่ น ได้หรือตก เปน็ ต้น ดังนัน ในการประเมินผลจะต้องมี องค์ประกอบหลัก 3 ประการ คือ โดย นายศุทธวีร์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 17

การศกึ ษาระดับทกั ษะวอลเลยบ์ อลของนกั เรียนระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 1. ผลการวัด (Measurement) ทาให้ทราบสภาพความจริงของส่ิงท่ีประเมินว่ามีปริมาณ เท่าไร มคี ณุ สมบัติอย่างไร เพื่อใช้เป็นข้อมูลสาหรับนาไปเปรียบเทยี บกับเกณฑ์ 2. เกณฑ์ท่พี ิจารณา (Criteria) ในการตดั สินวา่ ส่ิงใดดีหรอื เลว ใช้ไดห้ รอื ใชไ้ ม่ได้ นัน จะ ต้อง มีหลักหรือมีบรรทัดฐานที่ต้องการ โดยการนาผลการวัดนันมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนด ไว้หรือ มาตรฐานท่ีต้องการ เกณฑก์ ารพจิ ารณาในการประเมนิ ผลการศกึ ษานัน กค็ ือจดุ มงุ่ หมาย การศึกษานน่ั เอง 3. การตัดสินใจ (Decision) เป็นการชีขาดหรือสรุปผลการเปรียบเทียบระหว่างผลการ ปฏิบัติ ซึ่งได้จากการวัดกบั เกณฑ์ที่กาหนดไวว้ ่าสูงหรือต่ากันขนาดไหน ทังนีการตัดสินใจที่ดีต้องอาศยั การ พิจารณาอย่างถ่ีถ้วน ทุกแง่ ทุกมุม และกระทาอย่างยุติธรรม โดยอาศัยสภาพ และความ เหมาะสมต่างๆ ประกอบ หรอื ตอ้ งมีคุณธรรมทดี่ ี วเิ ชียร เกตสุ ิงห์ (2517 : 4) ได้สรุปว่า 1. การวัดผลทาให้กระบวนการเรียนรขู้ องนักเรยี นเกิดความสะดวก เช่น 1.1 ช่วยให้สถานการณ์ในการเรียนรเู้ หมาะสมกับความต้องการ (Need) ความสามารถ (Ability) ของนกั เรยี นแตล่ ะคน 1.2 ช่วยกระตุ้น และนาทางใหเ้ กดิ ประสบการณแ์ หง่ การเรียนรู้ 1.3 ชว่ ยพัฒนาและคงไวซ้ ึ่งทักษะและความสามารถต่างๆ 2. การวดั ผลชว่ ยในการปรับปรงุ วิธีสอนของครู เช่น 2.1 ชว่ ยในการเลือกจุดมุง่ หมายในการสอน 2.2 ชว่ ยในการเลือกเนือหา ประสบการณ์แหง่ การเรียนรู้ และขบวนการในการสอน 2.3 ช่วยในการจดั ระเบยี บประสบการณแ์ ห่งการเรียนรู้ 2.4 ช่วยในการนเิ ทศ และการบริหารการสอน 3. การวัดผลช่วยการแนะแนว คอื 3.1 ชว่ ยกันหาจุดเดน่ และจดุ อ่อนของนกั เรยี นแตล่ ะคน 3.2 ชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจตวั นักเรยี นได้ดขี ึน 3.3 ชว่ ยให้การทานายมีความแมน่ ยาขึน 4. การวดั ผลชว่ ยในการจัดตาแหนง่ (Placement) ทางการศกึ ษา คือ 4.1 ชว่ ยในการพจิ ารณารับนักเรยี นเขา้ เรยี นในระดบั ต่างๆ 4.2 ชว่ ยในการปรบั ปรุงระบบการศกึ ษาตอ่ ในระดับสูงขนึ 4.3 ช่วยในการจดั กล่มุ นักเรยี น โดย นายศุทธวีร์ ศรีสทุ ธะ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 18

การศกึ ษาระดบั ทักษะวอลเลยบ์ อลของนกั เรียนระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 2) แบบประเมนิ จารุวรรณ ยองจา (2540 : 10) กล่าวว่า แบบประเมินเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวัดสิ่ง ต่างๆ ที่ไม่สามารถวดั ออกมาไดเ้ ปน็ ตวั เลขโดยตรง เป็นการวัดและประเมนิ ผลในลักษณะของ มาตราส่วนประเมิน ค่า (Rating Scale) ฮอบบินส์ และแอนส์ (จารุวรรณ ยองจา. 2540 : 10 : อ้างอิงจาก Hopkins & Antes. 1979) กล่าวว่า มาตราส่วนประเมินค่านี สามารถใช้ในกรณีเป็นข้อความเป็นการประเมินคุณค่า ลักษณะ ของสิ่งที่จะวัดออกมาเป็นตัวเลขหรือสามารถใช้วัดทัศนคติ หรือแรงจูงใจ ซ่ึงจะใช้ตัวเลข เป็นสัญลักษณ์ แสดงถึงความสาคญั ของคุณลกั ษณะที่แสดงออกมา สก๊อต และเฟรนซ์ (สุมาลี เพชรศิริ, 2527 : อ้างอิงจาก Scott and French. 1950) ได้ กล่าวถงึ ขันตอนในการสรา้ งมาตราสว่ นประเมนิ คา่ ดังนี 1. กาหนดเนือหาท่ีจะประเมิน ตามธรรมชาติของเนอื หาหรอื คณุ ลกั ษณะของกจิ กรรมนัน 2. กาหนดจานวนระดบั ท่จี ะประเมนิ คา่ 3. กาหนดนยิ ามหรือความหมายของแต่ละระดับ 4. โอกาสที่จะประเมนิ นกั เรียนแตล่ ะระดับเท่ากนั 5. ใบบนั ทกึ การประเมิน ตอ้ งเตรียมให้ง่ายต่อการประเมนิ นักเรียนแต่ละคน 6. จะต้องมกี ารเลอื กและฝึกผู้ท่จี ะทาการประเมินค่า ฮอบบินส์ และแอนส์ (จารุวรรณ ยองจา, 2540 : 10 ; อ้างอิงจาก Hopkins & Antes. 1979) ไดเ้ สนอแนะสาหรบั การสร้างมาตราส่วนประเมินคา่ ดังนี 1. หลีกเล่ียงการใช้ช่วงคะแนน 2-3 ระดับ เนื่องจากจะได้ผลของการวัดท่ีหยาบและไม่ควร มากกว่า 5 ระดับ เพราะจะทาให้เหน็ ข้อแตกต่างของคะแนนแต่ละระดบั ได้ยาก และเป็นสินเปลอื ง เวลาใน การสงั เกต 2. ระบุความหมายของแต่ละระดับบนมาตราส่วน และทาเครื่องหมายระหว่างคะแนนท่ี ต้องการจะตคี วาม 3. เลือกใช้ขอ้ ความท่ีผสู้ ังเกตสามารถเขา้ ใจได้ตรงกับพฤติกรรมทต่ี ้องการวัด 3) แบบประเมนิ กิจกรรมพลศกึ ษำ สก๊อต และเฟรนซ์ (สุมาลี เพชรศิริ, 2527 ; อ้างอิงจาก Scot and French. 1950) ได้ กล่าวว่า การประเมินค่า (Ratings) เกือบจะเป็นวิธีเดียวท่ีไมช้วัดในเรื่องการเต้นราและใช้ในการ ประเมนิ ความสามารถในทักษะต่างๆ และแบบต่างๆ ของการเตน้ รา นักเรยี นอาจจะได้รับการ ประเมนิ ในเร่อื งการ ตอบสนองตอ่ จงั หวะต่างๆ ในการแสดงการเคลื่อนไหวพนื ฐานตา่ งๆ เชน่ การ กระโดดสลบั เทา้ (Skip) การ กระโจน (Leap) การเคล่ือนไหวแบบสวิง (Swinging Movement) ใน เร่ืองการแสดงแบบของการเตน้ รา โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 19

การศึกษาระดับทักษะวอลเลยบ์ อลของนกั เรยี นระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 เช่น วอลซ์ (Waltz) ชอททิช (Schotische) โพลก้า (Polka) ฟอกซ์ทรอต (Fox trot) หรือว่าในการแสดง การเต้นราทังหมด เช่น การเต้นราพืนเมือง (Folk Dance) การเต้นรารูปส่ีเหลี่ยมจตุรัส (Square Dance) การประเมินกลมุ่ เล็กๆ ทาได้ง่ายกว่า แต่ เพื่อทีจ่ ะทาใหค้ นรสู้ ึกอายน้อยลง อาจจะให้คนหลายคนเต้นราอยู่ ดว้ ยในขณะทีม่ ีเพียงไม่กี่คนกาลัง ถูกตดั สินอยู่ มาตราสว่ นประเมนิ ค่า (Rating Scales) เกยี่ วกบั ทกั ษะการ เต้นราเปน็ ดังต่อไปนี 1. คะแนนเท่ากับ ต่ามาก หมายถึง ผู้เต้นรายังแสดงการเต้นราได้ไม่ดี เขาเกือบจะต้อง ขึนอยกู่ ับคนอน่ื ๆ ตลอดเวลา ท่ีจะตอ้ งคอยเตอื นหรือชแี นะเรอ่ื งการลาดับจังหวะกไ็ ม่แมน่ ยาและ เหน็ ไดช้ ัด วา่ เขาไมร่ ตู้ วั เลยวา่ จังหวะของตนนันไม่แมน่ 2. คะแนนเท่ากบั ต่า หมายถงึ ผู้เตน้ ราสามารถแสดงขันพนื ฐานท่ีเกย่ี วข้องและสามารถ จะ เต้นราไดด้ พี อสมควรโดยการนาของคู่เตน้ รา หรอื ผู้เต้นราคนอ่นื ๆ ในเร่อื งของจังหวะเขายังผดิ พลาดบ้างใน บางครังบางคราว และเขายังไม่สามารถจะปรับตัวใหม่ได้ทันที เขาอาจสนุกกับผู้เต้นรา หรือไม่ก็ได้ ขึนอยู่ กบั เขารสู้ กึ ไม่สบายใจเกี่ยวกับขอ้ ผดิ พลาดท่เี ขาทาลงไปหรือไม่ 3. คะแนนเท่ากับ ปานกลาง หมายถึง ผู้เต้นราแสดงการเต้นราได้อย่างถูกต้อง มีข้อผิด พลาดบ้างเลก็ นอ้ ย ซึ่งเขาสามารถจะแก้ไขได้เองหรอื โดยการเตือนชีแนะจากผู้เตน้ ราคนอืน่ ๆ และ ผู้เตน้ รา ก็ร้เู รื่องของการเตน้ ราดีพอที่จะสนุกสนานไปกบั การเตน้ รานนั 4. คะแนนเทา่ กับ ดี หมายถึงผู้เตน้ ราแสดงออกในเร่ืองของแบบ จังหวะและลาดับ ขนั ตอน ได้อย่างถกู ต้อง แต่ยงั ขาดความนมิ่ นวลและความเป็นธรรมชาติ 5. คะแนนเท่ากับ ดีมาก หมายถึง ผู้เต้นรามีจังหวะที่แม่นยา และรู้ลาดับท่ีคล่องแคล่ว ใน ขนั ตอนทีเ่ ก่ียวขอ้ ง รูร้ ปู แบบของการเต้นรา ตาแหนง่ ทศิ ทางและรู้ลาดับขันตอนการเตน้ รา ซึ่ง แสดงให้เห็น ถึงความมัน่ ใจและความสนุกสนาน ตลอดจนแสดงออกถึงความมีนาใจในการเต้นรา 4) แบบทดสอบทำงกำรปฏิบัติ (Performance Test) ฮอบบนิ ส์ และแอนส์ (ชยั รัตน์ อุ่นวิเศษ, 2541 : 20 ; อ้างอิงจาก Hopkins & Antes. 1979) ได้ให้ความหมายแบบทดสอบทางการปฏิบัติว่าหมายถึง การวัดผลความก้าวหน้าทางทักษะ การเก็บ รวบรวมข้อมูลเป็นการเกฐ็ จากความสามารถอยา่ งแท้จรงิ และขบวนการใช้ในปัจจุบนั เปน็ การ นาหลกั สาคัญ และความรู้ทางการปฏิบัติมาใช้ สิ่งสาคัญของแบบทดสอบทางการปฏิบัตินีคือ เหมาะกับการวดั ผลท่ีมีการ ประยุกต์และการใช้การปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ จอห์นสัน และเนลสัน (จารุวรรณ ยองจา, 2540 : 21 ; อ้างอิงจาก Johnson & Nelson. 1986) ได้กล่าวว่า แบบทดสอบทีเ่ ป็นมาตรฐาน ควรจะมลี ักษณะทีเ่ ปน็ ฐานสาคญั 4 ประการ คือ 1. ความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง สามารถวัดในสิ่งทตี่ ้องการวดั ตรงตามจุดม่งุ หมาย 2. ความเชื่อมั่น (Reliability) หมายถึง แบบทดสอบที่มีความแน่นอนในการวัด โดย ผู้รับ การทดสอบหลายๆ ครัง ก็ได้ผลเหมอื นเดมิ โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 20

การศึกษาระดบั ทกั ษะวอลเลย์บอลของนกั เรยี นระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 3. มีความเป็นปรนัย (Objectivity) หมายถึง แบบทดสอบที่มีมาตรฐานการวัดที่แน่นอน ชัดเจนในการดาเนินงาน และการใหค้ ะแนน แม้จะวดั โดยผูว้ ดั หลายคนกจ็ ะได้คาตอบหรอื คะแนน เท่ากนั 4. มเี กณฑป์ กติ (Norm) เพ่ือใช้เป็นตวั แทนของประชากรเฉพาะกล่มุ ในการสร้างแบบทดสอบ ผู้ท่ีจะสร้างแบบทดสอบต้องมีความรูเ้ ก่ียวกบั ขันตอนในการสร้าง ดงั นี 1. มคี วามรู้ในการวดั ผลเบืองตน้ 2. สามารถเปรยี บเทียบความแตกต่างของความสามารถระหว่างผ้รู ับการทดสอบกับ เกณฑ์ มาตรฐานได้ 3. ความสามารถรวมคะแนนจากแบบทดสอบต่างๆ ได้ 4. สามารถจัดผู้เช่ียวชาญมาเป็นผู้ให้คะแนน เพ่ือหาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนของ ผู้เช่ยี วชาญกบั คะแนนท่ีไดจ้ ากการทดสอบได้ 5. แบบทดสอบที่สร้างขึนควรมีมาตรฐาน ผู้รับการทดสอบสามารถเข้าใจคาสั่งหรือ คาแนะนาในการทดสอบตรงกัน 6. วิเคราะหล์ ักษณะของแบบทดสอบให้ตรงตามเนอื หาทจ่ี ะศึกษาได้ 7. เลอื กวธิ ีการวัดผลแบบงา่ ยๆ และในการเลอื กแบบทดสอบควรมลี กั ษณะ ดังนี 7.1 ควรใชอ้ ปุ กรณท์ ีป่ ระหยดั 7.2 ต้องไม่จากัดการแสดงออก 7.3 ต้องมีหลกั การและเหตุผลเพยี งพอ 7.4 ตอ้ งสง่ เสรมิ และพฒั นาทักษะของผู้รบั การทดสอบ 8. เมอื่ สร้างแบบทดสอบแล้ว ต้องมกี ารวิเคราะหแ์ บบทดสอบ เพ่ือศกึ ษา 8.1 ความเชื่อม่ันของแบบทดสอบ 8.2 ความเท่ียงตรงแบบทดสอบ 8.3 แบบทดสอบทีส่ ร้างขนึ สามารถนาไปปฏิบัติไดด้ หี รือไม่ 9. วเิ คราะห์แบบทดสอบขันสดุ ทา้ ย โดยหาคา่ ความสมั พนั ธพ์ หุคูณ และแบบพาเชียล 10. สร้างเกณฑ์ 11. มีคมู่ ือใหค้ าแนะนาในการสร้างและการนาไปใชใ้ นการวดั ผล โดยคานึงถึง 11.1 ความมงุ่ หมายของแบบทดสอบ 11.2 ประโยชน์ทีไ่ ด้จากแบบทดสอบ 11.3 ข้อจากดั ของแบบทดสอบ 11.4 มีวิธีการหาความเที่ยงตรง และหาค่าสัมประสิทธ์ิสัมพันธ์ระหว่างตัวเกณฑ์กับ ตัว ทานาย โดย นายศุทธวีร์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 21

การศกึ ษาระดบั ทักษะวอลเลยบ์ อลของนักเรยี นระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 11.5 มีวิธีการหาความเช่ือมั่น และต้องมีคาแนะนาในการทดสอบอย่างสมบูรณ์ ต้องมี เครอ่ื งมอื ตามความจาเป็นและมีเกณฑม์ าตรฐาน 5) ขอบขำ่ ยของกำรวดั ผลทำงพลศกึ ษำ จรินทร์ ธานีรตั น์ (2519 : 7-8) ไดก้ ล่าวว่า เม่ือทราบความมุ่งหมายของหลักสูตรและ ความ มงุ่ หมายของการสอนในระดับชันเรียนแลว้ กม็ าพจิ ารณาดูว่าจะวัดอะไรเพ่อื ให้ตรงกับเนือหา หรอื ความมุ่ง หมายของระดับนันๆ ซ่ึงอาจจะแตกต่างกันไปบ้าง แต่ก็ควรท่ีจะสอดคล้องกับความ มุ่งหมายของการสอน ซง่ึ อาจจะวดั ในสิ่งต่อไปนี 1. วัดความรู้ความเข้าใจทางพลศึกษา (Knownladge Test) ได้แก่ การวัดความรู้ความ เข้าใจในด้านวิธีการเล่น แบบการเล่น กฎ กติกา ประวัติความเป็นมา ตลอดจนเร่ืองอปุ กรณ์ การเล่น เป็น ตน้ 2. วดั ทักษะทางกีฬา (Sport Skills Test) ไดแ้ ก่ การวดั ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวทางกฬี า อาจ เป็นทักษะเบืองต้น (Basic Skill) ของกีฬาแต่ละประเภทและทักษะการเล่นเป็นชุด (Team Play Skill) หรือทักษะความชานาญในกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมเข้าจังหวะ บาสเกตบอล วอลเลย์บอล แบดมินตัน เป็นต้น 3. สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness Test) ไดแ้ ก่ การวัดความแข็งแรงของ กลา้ มเนือ ความเร็ว ความว่องไว ความอ่อนตัว และความอดทน ซึ่งสมรรถภาพทางกายนีแสดง ออกมาทาง สมรรถภาพทางกลไก (Motor Fitness) เพราะฉะนัน การทดสอบสมรรถภาพทางกลไก (Motor Fitness Test) สามารถวดั สมรรถภาพทางกายได้สว่ นหน่งึ เชน่ เดียวกบั ทนี่ ิยมทดสอบกนั อยู่ ขณะนมี ีอยู่ 2 ชนดิ คือ 3.1 การทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐานระหว่างประเทศ (ICSPFT - International Committee for the Standardization of Physical Fitness Test) 3.2 การทดสอบสมรรถภาพทางกายของสมาคมสุขศกึ ษา พลศกึ ษา และนันทนาการ แห่ง ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ( AAHPER - The America Association for Health, Physical Education and Recreation) 4. วัดการทางานของระบบไหลเวยี นของโลหติ (Cardio - Vascular Test) ไดแ้ ก่การ ทางาน ของหัวใจ การหายใจ จานวนปริมาตรโลหติ และอตั ราการเตน้ ของหัวใจ เป็นตน้ สิง่ เหล่านี ต้องใชเ้ ครือ่ งมือ ในการทดสอบประสทิ ธิภาพและสมรรถภาพการทางานของหัวใจจึงบอกสมรรถภาพ ทางกายเช่นเดยี วกนั 5. การวัดเจตคติหรือทัศนคติทางพลศึกษา (Attitude - Vascular Test) ได้แก่ การวัดใน เรอื่ งตา่ งๆ ท่ีแสดงออกในทางทด่ี เี ปน็ ผลมาจากการเขา้ ร่วมในกิจกรรมพลศกึ ษาและการกฬี าดงั เชน่ 5.1 ความสนใจและการเขา้ ร่วมกจิ กรรมพลศกึ ษาและกฬี า 5.2 เวลามาเรยี นและความตังใจเรียนอยา่ งกระตือรอื ร้น 5.3 การตรงต่อเวลาในการเรียน โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสุทธะ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 22

การศึกษาระดับทักษะวอลเลย์บอลของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 5.4 การแตง่ กายอย่างเหมาะสมในการเล่นกฬี า 5.5 ความระมัดระวงั เอาใจใสใ่ นการเล่นกีฬา 5.6 รกั การบริการช่วยเหลอื รว่ มมือเปน็ พเิ ศษทางพลศึกษาให้แก่ส่วนรวม 6. วัดลักษณะความมีนาใจนักกีฬาหรือคุณธรรมทางจิตใจ (Sportsmanship) การสอนสิ่ง เหล่านีเป็นสิ่งสาคัญอย่างย่ิง เพราะเป็นการสร้างคุณธรรมให้แก่เยาวชน เพื่อจะให้พลเมืองของชาติ เป็น ประชาชนที่มีนาใจเป็นนักกีฬา การวัดผลต้องเนน้ เรอื่ งนี ซึ่งอาจวัดในส่ิงต่อไปนคี ือ การรู้จัก เสียสละ การ รู้จกั แพ้ การรู้จักชนะ การรู้จักอภัย การให้ความร่วมมอื กับบุคคลอืน่ การเปน็ ผ้นู า และผู้ตามทด่ี ี การปฏบิ ตั ิ ตามกฎระเบยี บ กตกิ า และรักษาความสามคั คี เป็นต้น 6) กำรเลือกเคร่ืองมือ จอห์นสัน และเนลสัน (ชัยรัตน์ อุ่นวิเศษ, 2541 : 21 ; อ้างอิงจาก Johnson & Nelson. 1986 : 63-66) กล่าวว่า ครูผู้สอนจะต้องมีความรู้เก่ียวกับหลักเกณฑ์การเลือกแบบทดสอบที่จะนา มาใช้ และมคี วามร้เู กีย่ วกบั การวัดและการประเมนิ ผล ดงั นี 1. เลือกเครื่องมือที่มีความเช่ือมั่น และมีความเที่ยงตรง รวมทังเข้าใจเทคนิคการวัดและ แหลง่ ทมี่ าของความรู้ในการดาเนนิ งาน 2. การเลอื กวธิ ีการวดั และประเมินแบบทดสอบ 3. เลอื กวิธีการเกบ็ ขอ้ มูลให้มีความเทีย่ งตรง มคี วามเชือ่ มั่นและประหยัดเวลา 4. สามารถแปลผลการทดสอบใหผ้ ู้เรียน ผปู้ กครอง และผบู้ รหิ ารได้ 5. สามารถสร้างแบบทดสอบอยา่ งมีความหมาย และมจี ุดมุง่ หมาย 6. สามารถสร้างแบบทดสอบขึนเอง โดยไม่เน้นแต่ทางด้านการปฏิบัติแต่เพียงอย่างเดียว ควรมแี บบทดสอบวัดความรดู้ ว้ ย 7. มีความรู้ทางสถิติ โดยสามารถแปลผลคะแนนที่ได้จากการทดสอบอย่างถูกต้อง ผาณิต บลิ มาศ (2526 : 25-26) ได้กลา่ วถึงวธิ ีการเลอื กเครือ่ งมอื ทดสอบไว้ ดังนี 1. มีความเปน็ ปรนยั สงู 2. มคี วามเช่อื มนั่ สงู 3. มคี วามเทย่ี งตรงสงู 4. นาไปใชไ้ ด้ 5. ประหยดั 6. ใหค้ ณุ คา่ ในการพฒั นา 7. ดงึ ดดู ความสนใจ 8. ข้อสอบทีค่ ล้ายคลึงกันนามาแทนกนั ได้ 9. มีมคี าแนะนาเดยี วกัน 10. มเี กณฑ์ปกตติ รงกับกลมุ่ ทต่ี อ้ งการวัด โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 23

การศกึ ษาระดบั ทักษะวอลเลย์บอลของนกั เรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 11. มอี านาจจาแนก 12. มีความยากง่าย 13. ยุติธรรม 14. ความสามารถในการพยากรณ์ 15. มคี วามเจาะจง (Definite) คือ ทกุ คนอ่านแล้วตีความหมายไดแ้ บบเดียวกัน สรุปได้ว่า การวัดผลประเมินผล คือ กระบวนการที่หาความเป็นจริงในส่ิงต่างๆ เพ่ือความ เปน็ บรรทัดฐานและสามารถนามาบอกผลของความเป็นจรงิ ได้ ซง่ึ เปน็ กระบวนการทีต่ อ่ เนอ่ื งกัน 2.1.5 หลักกำรวดั ผล สุมาลี จันทร์ชลอ (ม.ป.ป. : 13 - 14) กล่าวว่า การดาเนินการวัดผลควรคานึงถึงหลักการ ดังต่อไปนี 1. วดั ใหต้ รงจดุ ประสงค์ วดั ผลแต่ละครังตอ้ งตรงวตั ถปุ ระสงค์หรอื สิง่ ท่ีตอ้ งการวัด หาก การ วัดไมต่ รงตามวตั ถุประสงค์ท่ีต้องการวัด จะไม่สามารถสื่อความหมายเกี่ยวกับปรมิ าณหรอื ขนาดของสิ่งที่วัด ได้ สาเหตทุ ่ีทาให้การวัดไม่ตรงวัตถปุ ระสงค์ อาจเนอื่ งจากผู้วดั ไม่รู้จกั คุณลกั ษณะของสงิ่ ทจี่ ะวดั จึงไม่รวู้ ่า จะวัดอะไร ซ่ึงถ้าผู้วัดไม่ศึกษาลักษณะของส่ิงที่จะวัดให้ชัดเจนก็จะทาให้เข้าใจผิด พลาด เช่น กาหนด ขอบขา่ ยของสิ่งทจี่ ะวัดผดิ ใชเ้ ครือ่ งมือวดั ไม่ถูกต้องแมเ้ คร่ืองมือจะตรงจุด ประสงค์ แต่ถา้ ผ้ใู ชน้ าไปใช้ไม่ถูก วิธีอาจทาให้เกิดความคลาดเคลอ่ื นไปจากความเป็นจริง ทาใหก้ าร วัดขาดความตรง วดั ได้ไมค่ รบถ้วน การ วัดที่ไม่ครบถ้วนอาจเกิดจากเคร่ืองมือท่ีใช้วัดไม่ดี การวัดไม่ ครอบคลุมหรือไม่เป็นตัวแทนของลักษณะที่ ต้องการวัด ทาใหว้ ัดไดเ้ พยี งบางส่วน ผลจากการวัดจึง สรุปแน่นอนไมไ่ ด้ 2. ใช้เคร่ืองมอื ท่มี คี ณุ ภาพ เครือ่ งมอื วดั ผลไมว่ า่ จะเปน็ แบบใดกต็ ามต้องมคี ุณภาพ กล่าวคือ วัดได้เท่ียงหรอื มีความเท่ียง (Reliability) สูง วัดได้ครบถ้วนมคี วามตรง (Validity) กับวตั ถุ ประสงคห์ รอื ส่ิง ท่ีต้องการวัดเคร่ืองมือท่ีใช้วัดมีความเป็นปรนัย (Objectivity) การใช้ภาษาชัดเจน ไม่กากวมผู้อ่านอ่าน เขา้ ใจตรงกนั มรี ะบบการให้คะแนนทเี่ ทยี่ งธรรม เมอ่ื เครือ่ งมอื ดมี ีคุณภาพใน เวลาทจี่ ะนาไปใช้ตอ้ งนาไปใช้ ให้ถกู วิธี เหมาะกบั กลุ่มและจุดประสงคใ์ นการใช้ เครื่องมอื นัน และ เลอื กใช้เครอื่ งมือทีเ่ หมาะสม มคี ณุ ภาพ ควรทาความคุ้นเคยกับเครื่องมอื กอ่ นนาไปใช้ 3. แปลผลได้ถูกต้อง ผลจากการวัดส่วนมากจะเป็นคะแนนหรือระดับคะแนน ถ้าใช้เคร่ือง มือวัดท่ีดีคะแนนจะมีความตรงและจะมีความหมายเม่อื นาไปใช้กับกลุ่มหรอื เกณฑ์ ดังนันการแปลผล ให้มี ความหมายถูกต้องจึงต้องพิจารณาเกณฑ์หรือกลุ่มท่ีนามาเปรียบเทียบรวมทังต้องคานึงถึงคุณ ลักษณะท่ี เปน็ ตัวแทนทีจ่ ะอ้างอิงด้วย ไมแ่ ปรผลนอกกรอบของความเปน็ ตวั แทนนันๆ 4. ใช้ผลการวัดให้คุ้มค่า ถ้าเคร่ืองมือวัดมีคุณภาพ ผลการวัดอาจเป็นดัชนบี อก ความหมาย ความสามารถของผู้สอบในขณะเดียวกันหากใช้ข้อมูลเป็นจะสามารถเป็นเคร่ืองมือบอก จุดเด่น จุดด้อย ของผู้สอบและสามารถใช้จุดนีเพือ่ พัฒนาจุดเดน่ ของผู้ได้รับการทดสอบหรอื แกไ้ ข ส่วนบกพร่องในสว่ นที่ยัง โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 24

การศกึ ษาระดบั ทักษะวอลเลยบ์ อลของนกั เรยี นระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 ด้อย เพื่อส่งผลให้มีประสิทธิภาพ ผลจากการวัดควรให้ข้อมูลเกี่ยวกับระดับ ความสามารถในภาพ ความสามารถเด่น – ต้อย ในบางจุด ความเจริญงอกงามหรือความก้าวหนา้ ของผู้เรียนและใช้ผลการสอบ เพื่อบอกคณุ ภาพเคร่อื งมอื วาสนา คุณาอภิสิทธ์ิ (2536 : 404) กล่าวว่า การวัดผล หมายถึง กระบวนการในการ หา ปริมาณของการพัฒนาหรือปริมาณของพฤติกรรมที่เกิดขึนจากการเรียนการสอนเป็นปริมาณท่ี อาจวัดได้ อย่างง่ายและเห็นได้ชัดเจน ไม่ซับซ้อน เช่น การช่ังนาหนัก การวัดส่วนสูง การวัด ความยาว สิ่งเหล่านีมี เคร่ืองมือมาตรฐานใช้วัดอยู่แล้วและสามารถวัดได้ตรงๆ คือ เทปวัด เคร่ือง ช่ังนาหนัก ส่วนปริมาณท่ีไม่ สามารถมองเห็นได้โดยตรง คอื การพัฒนาทางด้านพฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์ท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ เชน่ ความรคู้ วามสามารถในการเคล่ือนไหว ความร้สู กึ ต่างๆ ฯลฯ ในการวดั จะตอ้ งสร้างสภาพการณ์ (การ ทดสอบ) ให้ผู้ท่ีถูกวัดแสดงพฤติกรรมท่ีมอี ยู่ ออกมาให้วัดเสียก่อนจึงจะร้ปู ริมาณได้ เช่น การวัดความรู้สกึ ความเข้าใจ ทัศนคติ อาจใช้การตัง คาถาม การสัมภาษณ์ หรือการให้เขียนตอบ การวัดทักษะและ สมรรถภาพก็ต้องใช้แบบทดสอบเฉพาะให้ผู้ท่ีถูกวัดแสดงพฤติกรรมออกมา เป็นต้น ในการวัดผลจึงต้องใช้ แบบทดสอบต่างๆ ทา การวดั ใหต้ รงกบั จดุ มุง่ หมาย ชวาล แพรัตกุล (2518 : 120) ได้ให้ความหมายของการวัดผลวา่ เป็นกระบวนการใดๆ ท่จี ะ ทาให้ไดม้ า ซึง่ ปรมิ าณจานวนหน่ึง อันมีความหมายแทน ขนาด สมรรถภาพ นามธรรม ท่ี นักเรียนผู้นันมีอยู่ ในตน ถ้าใช้แบบทดสอบเป็นเคร่อื งกระตนุ้ ก็คือ เอาจานวนผลงานท่ีนกั เรียน แสดงปฏิกิรยิ าโต้ตอบออกมา เป็นเครือ่ งชบี อกว่า เขามสี มรรถภาพในเรือ่ งนันๆ ปานนนั วิริยา บุญชัย (2529 : 7-8) กล่าวว่า การวัดผล หมายถึง การเปรียบเทียบส่ิงที่ ต้องการ ทราบกบั เครือ่ งมือมาตรฐานเพือ่ ต้องการทราบปรมิ าณ เชน่ ต้องการทราบความกว้างของ โตะ๊ เรากเ็ อาเทป หรอื ไม้เมตรมาวัด เราจะทราบความกวา้ งของโตะ๊ ทนั ที การวัดผลจงึ เปน็ วธิ ตี รวจ หรอื หาปริมาณ ขนาดหรอื สดั ส่วนของส่ิงท่ีต้องการทราบ โดยอาศยั เครอ่ื งมอื วัดนนั เอง การวัดจะ ออกมาเป็นตัวเลข เรียกวา่ ปรมิ าณ (Quantity) และจะให้ผลทางคุณภาพ (Quality) ในการวัดผล จะต้องมีแบบทดสอบอยู่ด้วย เช่น ต้องการ ทราบวา่ นกั เรยี นคนหนึ่งมคี วามรู้ทางพลศึกษาเพียงใด กใ็ ห้นักเรยี นทาข้อสอบ จะทราบทันที่ว่านักเรียนมี ความรูท้ างพลศึกษาเพยี งใด โดยอาศัยตัวเลข จากการทดสอบนนั สรุปได้ว่า หลักการวัดผลคือ การดาเนินการจัดกระทาให้รู้ข้อมูลที่เป็นจริงโดยที่ต้องอาศัย การจัดกระทาทีถ่ ูกต้อง หรือวธิ ีการท่ถี ูกต้อง เชน่ การทาตามวัตถปุ ระสงค์ที่ตังเป้าหมายไว้ใชเ้ คร่อื ง มอื ทม่ี ี คุณภาพ เป็นต้น โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 25

การศกึ ษาระดับทักษะวอลเลยบ์ อลของนกั เรยี นระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศกึ ษา 2564 2.1.6 คุณลกั ษณะของแบบทดสอบทักษะกฬี ำทีด่ ี สก็อต และเฟรนซ์ (ผาณิต บิลมาศ. 2548 : 43; อ้างอิงจาก Scot and French 1950) กลา่ วว่า คณุ ลกั ษณะของแบบทดสอบทด่ี ีโดยเฉพาะแบบทดสอบทักษะกลไก ควรมีลกั ษณะดังนี 1. เป็นแบบทดสอบที่วัดความสามารถ สาคัญๆ (Tests Should Measure Import Abilities) 2. เป็นแบบทดสอบทคี่ ลา้ ยการเล่นจรงิ (Tests Should Be Like Game Situations) 3. เป็นแบบทดสอบท่ีวัดการกระทาของบุคคลหนึ่งๆ โดยเฉพาะ (Tests Should Involve One Performer Only) 4. เป็นแบบทดสอบที่เน้นท่าทางที่ดี (Tests Should Encourage Good Form) 5. เป็น แบบทดสอบท่ีมีวิธีการที่แม่นยา (Tests Should Provide Accurate Scoring) 6. เป็นแบบทดสอบท่ีกาหนดจานวนครังในการทดสอบเพียงพอ (Tests Should Provide a Sufficient Number Of Trials) 7. เป็นแบบทดสอบที่น่าสนใจและมีความหมาย (Tests Should Be Interesting And Meaningful) 8. เป็นแบบทดสอบทีม่ คี วามเหมาะสม (Tests Should Be Of Suitable Difficulty) 9. เป็นแบบทดสอบท่ีมีคะแนนสามารถนามาตัดสินโดยใช้ค่าสถิติ (Tests Should Be Judged Partly By Statistical Evidence) 10. เปน็ แบบทดสอบทมี่ ีคา่ เฉล่ียสาหรับการแปลผลการกระทา (Tests Should Provide A Means For Interpreting Performance) สรปุ ได้วา่ แบบทดสอบทดี่ ี ตอ้ งเป็นแบบทดสอบท่ีวัดความสามารถสาคัญคล้ายการเล่น จรงิ มวี ธิ กี ารที่แมน่ ยา นา่ สนใจไมย่ ากเกนิ ไปนามาตดั สนิ ใจ โดยใชค้ า่ เฉลีย่ สาหรับกแ่ี ปรผลของการ กระทาได้ 2.1.7 หลักเกณฑ์ในกำรเลือกแบบทดสอบ เกณฑ์การเลือกแบบทดสอบ หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาเลือกแบบทดสอบ มาตรฐานท่ีมีอยู่แล้วให้เหมาะสมกับคุณภาพท่ีต้องการ และสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ ซ่ึง แบร์โร (ผาณิต บิล มาศ. 2548 : 33 – 43 ; อ้างอิงจาก Barrow. 1979 : 37 – 50) ได้แบ่งเกณฑ์การเลือก แบบทดสอบทาง พลศึกษา ดงั นี 1. มำตรฐำนทำงเทคนิค (Technical Standards) มาตรฐานทางเทคนคิ นีผู้สร้างแบบทดสอบเป็นผู้สรา้ งและพฒั นาขึนในขณะทาการ สร้าง และพัฒนาแบบทดสอบนันๆ ก่อนตีพิมพ์เผยแพร่มาตรฐานทางเทคนิคเหล่านีได้จากการ วิเคราะห์ตาม ขันตอนและระบบสถิติตา่ งๆ ไดแ้ ก่ โดย นายศุทธวีร์ ศรีสทุ ธะ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 26

การศกึ ษาระดบั ทักษะวอลเลยบ์ อลของนักเรียนระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 1.1 ความเป็นปรนัย (Objectivity) ความเป็นปรนัยเป็นมาตรฐานทางเทคนิคอย่างแรง ที่ต้องพิจารณาความเป็นปรนัย หมายถึง ระดับความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันของคะแนนท่ีมีผู้ให้ คะแนน หลายคนจากแบบทดสอบเดียวกันในกลุ่มตัวอย่างเดียวกัน ถ้าแบบทดสอบมีความเป็นปรนัย จะวัด ประสิทธิภาพและคุณค่าของผู้ให้คะแนนและคุณลักษณะประจาตัวของแบบทดสอบ ถ้าแบบ ทดสอบฉบับ หนึ่งมีผู้ให้คะแนนสองคนท่ีเป็นอิสระต่อกัน คะแนนที่นักเรียนได้คล้ายกันมากท่ีสุด และ ค่าความสัมพันธ์ จากผลคูณของคะแนนจากผู้ให้คะแนนทังสองมีความสัมพันธ์ในระดับสูง ความ เป็นปรนัยคล้ายกับความ เช่ือมั่นต่างกันท่ีกระบวนการทดสอบ คือ ผู้ให้คะแนนความชัดเจนของวิธี การต่างๆ โดยเฉพาะวิธีการให้ คะแนนท่ีแนน่ อนชัดเจนใครให้คะแนนก็ได้ค่าเหมอื นกันหรอื ไม่ แตกตา่ งกนั เปน็ คณุ สมบัติของค่าของความ เปน็ ปรนยั 1.2 ความเชื่อมั่น (Reliability) แบบทดสอบจะบอกถึงความเชื่อมั่น ถ้าผู้ทดสอบคน เดยี วกนั ทดสอบกลุ่มตวั อย่างเดยี งกัน ในการทดสอบครังที่หนึง่ ครังท่สี อง หรอื ครงั ทสี่ าม คะแนน นกั เรยี น แตล่ ะคนไดส้ งู ในครงั แรกก็จะได้คะแนนสูงในครงั ที่สอง และคนท่ไี ดค้ ะแนนต่าในครังแรกก็ จะไดค้ ะแนนตา่ ในครงั ทีส่ อง หรอื กลา่ วไดว้ ่าคะแนนการทดสอบครงั ท่หี นงึ่ กบั ครงั ท่สี องมคี วาม สัมพนั ธ์กันทางบวกและควร อยใู่ นระดบั ปานกลางหรือระดับสงู 1.3 ความเที่ยงตรง (Validity) เป็นมาตรฐานทางเทคนิคของแบบทดสอบที่สาคัญที่สุด เพราะเปน็ ความเท่ยี งตรงเป็นสิง่ ทีบ่ อกถึงความซ่ือสตั ย์ (Honesty) ของแบบทดสอบ ดงั นนั ในการทดสอบ แต่ละครงั ผู้ทดสอบตอ้ งคานงึ เสมอว่าความเทีย่ งตรง คอื วตั ถปุ ระสงคข์ องแบบทดสอบ ซ่ึงเทีย่ งตรงมหี ลาย แบบต่างกันดงั นี 1.3.1 ความเที่ยงตรงเชิงเหตุผล (Logical Validity) หรือความเที่ยงตรงเชิง ประจักษ์ ความเท่ียงตรงแบบนีได้จากการที่ผู้สร้างแบบทดสอบจัดให้มีประสบการณ์ในเร่ืองนันๆ ได้ พจิ ารณาถงึ เหตุผลพืนฐานหรือด้วยสามญั สานึกในเรอ่ื งนนั ๆ แล้วตดั สินใจ 1.3.2 ความเที่ยงตรงเชิงสภาพ (Concurrent Validity) หมายถึง ความเที่ยง ตรง ทไี่ ดจ้ ากการวดั สมั พนั ธร์ ะหวา่ งคะแนน จากแบบทดสอบชดุ ทีเ่ หมาะสมทดสอบเวลาเดยี วกนั หรือ ใกล้เคียง กัน ซ่ึงมเี กณฑใ์ นการหาความเทยี่ งตรง ดังนี 1.3.2.1 บคุ คลประเมินคา่ (Subjective Rating) ในการให้คะแนนนกั เรยี น บางครงั ครูกาหนดให้บุคคลอื่นเปน็ ผปู้ ระเมิน บุคคลทจ่ี ะประเมินอย่างนอ้ ย 3 – 5 คน หรอื 7 คน 1.3.2.2 แบบทดสอบท่ีมีค่าความเที่ยงตรงอยู่แล้ว (Previously Validated Test) เป็นการสรา้ งและพัฒนาความเท่ียวตรงของแบบทดสอบใหม่ เมื่อใช้แบบทดสอบท่ีมคี วาม เทย่ี งตรงอยแู่ ล้ว เป็นเกณฑ์ โดยนาคะแนนจากการทดสอบนักเรียนกลมุ่ เดียวกันด้วยแบบทดสอบที่ มีความเทีย่ งตรงอยแู่ ล้ว 1.3.2.3 คะแนนผสม (Composite Score) จะใช้เป็นเกณฑ์ในการสร้าง และ พฒั นาความเทยี่ งตรง เมอ่ื แบบทดสอบนนั ตอ้ งการวัดความสามารถกวา้ งๆ โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 27

การศกึ ษาระดบั ทักษะวอลเลยบ์ อลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 1.3.2.4 ผลการแขง่ ขัน (Tournament Standige) การใช้ผลการแขง่ ขนั เปน็ เกณฑ์ ในการสรา้ งและพฒั นาความเท่ียงตรงเชงิ สภาพเมอื่ คาดว่าทักษะในระดับสูงแบบทดสอบบาง ฉบับสร้างเพอื่ วัดผู้เร่ิมเล่น บางฉบับสร้างเพื่อวัดผู้เล่นระดับกลาง บางฉบับเพ่ือวัดผู้เล่นระดับสูง หรือบางฉบับเพ่ือวัด บุคคลทวั่ ๆ ไป 1.3.3 ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) เป็นความเที่ยงตรงของ แบบทดสอบ เพื่อวัดความสมบูรณ์ของความสามารถในการเล่นกีฬาหนึ่งๆ หรือสมรรถภาพโดยใช้ ทัง ลักษณะของความเที่ยงตรงเชิงสภาพและความเท่ียงตรงเชิงโครงสร้างรวมกันเพ่ือให้แบบทดสอบ ใหม่มี ความซ่อื สตั ยม์ ากขนึ ไดแ้ ก่ 1.3.3.1 เปรียบเทียบโดยเวลา (Comparison Overtime) การหาความเท่ียง ตรง เชิงโครงสร้าง โดยใช้เวลาเปน็ เครื่องกาหนด 1.3.3.2 การเปรียบเทียบโดยระดับชัน (Comparison With Levels) โดยการ นา แบบทดสอบนันไปทดสอบกับกลุ่มผู้เร่ิมเล่น (เร่ิมเรียน) กับกลุ่มเรียนในระดับกลาง แล้วนาค่า เฉลี่ยของ คะแนนที่ได้จากสองกลุ่มมาเปรียบเทียบกัน หากแตกต่างกัน โดยกลุ่มระดับกลางต้องได้ คะแนนเฉลี่ยสูง กวา่ ) สรปุ ได้ว่าแบบทดสอบนนั สามารถบอกความแตกตา่ งของผเู้ ล่นได้ 1.4 เกณฑ์ (Norm) เปน็ หลักในการเลือกแบบทดสอบทางเทคนิคอันดบั ท่ีส่ี หมายถงึ สเกล หรือมาตราท่ีแสดงถึงระดับความสามารถของตัวอย่างหรือในประชากรเดียวกัน เกณฑ์ได้จาก การ เปล่ยี นคะแนนดิบให้เปน็ คะแนนมาตรฐานอย่างใดอย่างหนงึ่ เพ่อื ใชเ้ ปรียบเทียบและแปรผล 2. มำตรฐำนทำงกำรปฏิบัติ (Practical Standards) เป็นหลักการท่ีสาคัญอย่างหนึ่งในการเลือกแบบทดสอบ เช่นเดียวกับมาตรฐานทาง เทคนิค มาตรฐานทางการปฏิบัติมีความจาเป็นอย่างมากเมอื่ พิจารณาถึงการเตรียมทีจ่ ะนาแบบ ทดสอบไป ใช้ การทาการทดสอบและเม่ือนาผลจากการทดสอบไปใช้ ฉะนันการเลือกมาตรฐานทาง การปฏิบัติ สิ่งท่ี ควรพิจารณา ไดแ้ ก่ 2.1 ข้อพิจารณาทางการจัดการดาเนินการทดสอบ 2.1.1 อุปกรณ์ (Equipment) อุปกรณ์ท่ีมาใช้ในการทดสอบต้องมีความ เหมาะสม และราคาถูก ทงั นเี พราะอปุ กรณร์ าคาแพงไมเ่ หมาะสมท่ีใช้ในโรงเรียนแบบทดสอบที่นามาใช้ควร ใช้ อปุ กรณ์ท่ีครสู ามารถทาเองได้หรือหางา่ ย นอกจากนนั แบบทดสอบที่ดคี วรใชอ้ ุปกรณ์ในกีฬานันๆ 2.1.2 เวลา (Time) เป็นส่ิงท่ีผู้ทดสอบต้องพิจารณา ไม่ว่าจะเป็นการทดสอบ แบบ กลุ่ม แบบคู่หรือแบบเปลี่ยนฐาน จะต้องมีบุคคลคอยควบคุมเวลาในการทดสอบ และแบบทดสอบ ควรทดสอบนกั เรยี นทงั ชนั ภายในเวลา 1-2 คาบ หากมีการวางแผนการทดสอบทดี่ ี 2.1.3 เงนิ (Money) คณุ ค่าของการวัดไมไ่ ดข้ ึนอยูก่ บั การใช้อปุ กรณ์ราคาแพง 2.1.4 ประโยชน์ (Utility) ประโยชน์ที่สาคัญจากแบบทดสอบ คือ ผลการ ทดสอบ ต้องนามาใช้ไดโ้ ดยเรว็ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจถงึ ผลการทดสอบของตนเองมากทีส่ ุด โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสุทธะ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 28

การศกึ ษาระดบั ทกั ษะวอลเลย์บอลของนกั เรียนระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 2.2 คุณค่าในการพัฒนา (Developmental Values) แบบทดสอบที่เลือกมาใช้ ครู พล ศกึ ษาต้องพิจารณาถึงวา่ เม่ือนกั เรียนทดสอบแลว้ จะทาใหน้ ักเรยี นได้เกิดการพฒั นาทางด้านต่างๆ ดว้ ย การพฒั นาที่นกั เรียนควรจะไดร้ บั ได้แก่ 2.2.1 ร่างกาย (Physical) แบบทดสอบทางพลศึกษา หรือทักษะทางกีฬา ควร คล้ายกับสถานการณ์จริงของกีฬานันๆ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีลักษณะท่าทางท่ีดีเป็นแบบ ทดสอบท่ีวัด ทกั ษะสาคัญ มีความยากเหมาะสมกบั กลมุ่ นกั เรียนและสามารถนาคะแนนไปวิเคราะห์ ทางสถิตไิ ด้ 2.2.2 จิตใจ (Mental) ทศั นคตทิ างพลศกึ ษาหรือทักษะทางกฬี าของนักเรยี นขึน อยู่กับความสามารถท่ีแสดงออกทางทักษะของนักเรียนคนนัน ถ้าแบบทดสอบที่นามาใช้มีความยาก ที่ เหมาะสม และสามารถส่งผลให้กับนักเรียนหรือทาให้นักเรียนรู้ความสามารถของ ตนเองอย่างแท้ จริงจะ เปน็ สงิ่ จงู ใจใหเ้ ขากระทาทักษะนันอย่างดที ีส่ ุด 2.2.3 สังคม (Social) การทดสอบในสถานการณ์ของโรงเรียน ควรส่งเสริม ระบบ กลุ่มแก่นักเรยี น ให้นักเรียนได้ฝึกบทบาทของกลุ่ม มีส่วนช่วยเหลือเพอื่ น เพ่ือส่งเสริมความสัมพันธ์ แกน่ กั เรยี นทกุ ๆ คน เพ่ือให้นกั เรียนเกดิ การพัฒนาทางสงั คม สรุปได้ว่า การเลือกแบบทดสอบท่ดี ีนันต้องอาศยั หลักเกณฑใ์ หญ่ๆ คือ มาตรฐานทาง เทคนิค เช่น ความเป็นปรนยั ความเท่ียงตรง และมาตรฐานทางปฏิบัติ เช่น เวลา อุปกรณ์ ประโยชน์ และ คณุ คา่ ในการพัฒนาผเู้ รยี น เปน็ ต้น 2.1.8 ประโยชน์ของแบบทดสอบทกั ษะกีฬำ พชิ ิต ภตู ิจนั ทร์ (2547:105-106) ไดก้ ลา่ วถงึ ประโยชนข์ องแบบทดสอบทักษะกีฬา ไวด้ งั นี 1. ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ (Measurement of Achievement) เป็นความสาคัญอันดับแรกของ แบบทดสอบทกั ษะกฬี า เพื่อวัดความกา้ วหน้าของผเู้ รียน ระดบั ผลสัมฤทธ์ิของเนอื หา ทฤษฎีและ หลักการ ต่าง ๆ ของพลศกึ ษา 2. เพอื่ ใหค้ ะแนนหรือเกรด (Marking or Grading) การทดสอบจะเป็นเคร่ืองมือให้ได้มา ซง่ึ คะแนน และนามาประเมินผลความสามารถต่อไป 3. เพ่ือแบ่งกลมุ่ (Classification) การใช้แบบทดสอบทักษะกีฬา ผู้สอนจะใชแ้ บ่ง การเรียน ตามระดับความสามารถ เพ่อื การจัดการเรยี นการสอนให้เหมาะสม หรือเกิดความ ยุติธรรมในการแข่งขนั ใน กล่มุ หรอื ระหวา่ งกลุ่ม 4. เพ่ือจูงใจ (Motivation) ผู้เรียนจะมีการตอบสนองในทางบวกต่อส่ิงที่มาท้าทาย เขาจะ พยายามอย่างมาเพ่ือใหไ้ ดค้ ะแนนมากๆ กบั การทดสอบจากแบบทดสอบทักษะกฬี า 5. เพ่ือการฝึก (Practice) ผู้เรียนจะถูกจูงใจให้ขยันฝึกซ้อมตามรายการของแบบทดสอบ เพือ่ ใหไ้ ด้คะแนนมากขนึ การฝึกฝนดงั กลา่ วเป็นการสรา้ งความก้าวหน้าและเปน็ การทดสอบตนเอง ด้วย โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 29

การศกึ ษาระดบั ทกั ษะวอลเลยบ์ อลของนักเรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 6. เพื่อการวินิจฉัย(Diagnosis) การพัฒนาทักษะกีฬาเป็นความจาเป็นอย่างยิ่งในการเรยี น การสอนพลศกึ ษา การวินิจฉยั ถึงความสามารถของผู้เรียนในแตล่ ะระดับ ทาใหร้ ู้จุดบกพร่องตา่ งๆ เพื่อแก้ไข ตอ่ ไป 7. เป็นเคร่ืองมือช่วยสอน (Teaching Aids) โดยธรรมชาติแล้วผู้เรียนทุกคนอยากจะรู้ผล การทดสอบของตวั เองวา่ มีความก้าวหน้าหรือพฒั นาขึนมากนอ้ ยเพียงใด ผ้สู อนอาจเน้นการทดสอบ ทักษะ กฬี าเปน็ เครอื่ งมือชว่ ยสอนได้ 8. เป็นเครื่องมอื ในการแปลความหมาย (Interpretative Tools) ผลจากการทดสอบจะถูก แปลความหมาย เพอ่ื ประโยชนใ์ นด้านการบริหารตอ่ ผู้ปกครอง และเพ่ือเปน็ การประชาสัมพันธ์ สถานศึกษา ไปในตัวด้วย 9. เพือ่ การแข่งขนั (Competition) การท่ผี ู้เรียนได้ทาการแข่งขนั หรอื ทาคะแนนให้ได้ มากๆ ในแตล่ ะรายการทดสอบ จะเปน็ ส่งิ ท่ีชีให้เห็นถงึ ความสาเรจ็ ของโครงการพลศึกษา คอลลนิ ส์ (ผาณติ บิลมาศ. 2530 : 53-55 ; อา้ งอิงจาก Collins. 1978 : 4-5) 1. วัดผลสัมฤทธิ์ (Measurement of Achievement) ความมุ่งหมายอันดับแรกของแบบ ทดสอบทักษะ เพื่อวัดความก้าวหน้าของนักเรียนหรือระดับของผลสัมฤทธ์ิ เนือหา และทฤษฎี หลักการ ตา่ งๆ ของแต่ละรายวชิ า 2. ใหเ้ กรดหรือคะแนน (Grading or Marking) นกั เรียนอาจไดร้ ับการประเมินพืนฐาน ต่างๆ ตามแบบทดสอบการกระทาทางทกั ษะ เมือ่ นักเรยี นไดเ้ รยี นรายวิชาผ่านไป ส่งิ ทนี่ ักเรยี นได้ คือ เกรด หรือคะแนน ซ่ึงจะเป็นเคร่ืองชีให้เห็นระดับความก้าวหน้าหรือผลสัมฤทธ์ิของ นักเรยี นท่ี แสดงออกใหเ้ ห็นตามแบบทดสอบทักษะนันๆ 3. เพื่อแบ่งกลุ่ม (Classification) การใช้แบบทดสอบทักษะ ผู้สอนจะใช้ทดสอบเพื่อแบ่ง ผู้เรียนตามระดับ เช่น ระดับต่า ระดับปานกลาง และระดับสูง แทนท่ีจะใช้เวลาเล็กน้อยในการ สังเกตการ กระทาหรือการแสดงออกทางทักษะ นอกจากนันการแบ่งกลุ่มจะทาให้เกิดความยุติธรรม ในการแข่งขัน กฬี าภายใน 4. การจูงใจ (Motivation) นักเรียนจะมกี ารตอบสนองในทางบอกต่อสง่ิ ทีม่ าทา้ ทาย เขา จะ พยายามมากๆ เพื่อให้ได้คะแนนมากๆ กับการทดสอบจากแบบทดสอบทักษะมากกว่าให้เขา กระทา หรือ แสดงออกเพื่อเอาชนะเพื่อนในชัน ด้วยเหตุนีแบบทดสอบทักษะจึงเป็นสิ่งจูงใจท่ีดีมาก เพื่อให้นักเรยี นเกิด พฒั นาการและก้าวหนา้ 5. การฝึก (Practice) คล้ายกับวัตถุประสงค์ในการจูงใจ จะมีนักเรียนฝึกซ้อมตาม รายการ ของแบบทดสอบ เพื่อให้ได้คะแนนมากขึน การกระทาดังกล่าวเป็นการสร้างความก้าวหน้า แก่ตัวเอง และ เป็นการทดสอบตัวเอง (Self - Testing) ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สาคัญท่ีสุดท่ีทาให้ ประสบผลสาเร็จในทักษะ กีฬาต่างๆ และหากครูหรอื ผู้ฝึกเห็นประโยชนแ์ ละจัดให้นักเรยี นได้ฝึกตาม รายการของแบบทดสอบทกั ษะ โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสุทธะ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 30

การศึกษาระดับทกั ษะวอลเลย์บอลของนกั เรียนระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 หรือบางส่วนโดยมีการสาธิต และอธิบายโดยละเอียดแล้วนัน ก็ แสดงว่าแบบทดสอบทักษะกีฬาฉบับนันมี ความเที่ยงตรงเชิงประจักษ์ (Face Validity) 6. การวินิจฉัย (Diagnosis) การพัฒนาทางทักษะเป็นพืนฐานอย่างหน่ึง ในการเรียน การ สอนพลศึกษา การวินจิ ฉยั ถงึ ความสามารถของนกั เรยี นในแตล่ ะระดับ ถือว่าเปน็ คณุ สมบัติ อย่างหนึ่งในการ สอนพลศึกษา เมื่อใช้แบบทดสอบทางทักษะต่างๆ ทาให้ครูผู้สอนรู้จุดบกพร่องของ นักเรียนเพ่ือการแก้ไข ต่อไป 7. เครื่องช่วยการสอน (Teaching Aids) โดยธรรมชาติของการสอนทักษะกีฬา นักเรียน จะต้องรถู้ ึงความก้าวหน้า และการพัฒนาทางทกั ษะของตัวเองทกุ ขณะ ฉะนนั หากผู้สอนใช้รายการ ทดสอบ ในแบบทดสอบในการฝกึ ทกั ษะและเนน้ มากๆ จะเปน็ เครือ่ งชว่ ยในการสอนและช่วยนักเรยี น มากขึน 8. เครื่องมือในการแปลความหมาย (Interpretive Tool) หน้าท่ีอีกอย่างหน่ึงในการสอน พลศกึ ษา คือ การแปรผลหรอื แปลความหมายจากผลการเรยี นของนกั เรยี นให้ผู้บรหิ าร ผปู้ กครอง นักเรยี น และสาธารณชนท่ัวไปทราบ ซึ่งแปลความหมายได้กต็ ้องได้ผลมาจากแบบทดสอบทักษะ ท่ีมีคุณภาพ และ ส่งิ นกี ็จะเปน็ การยกระดับของโรงเรียนไปด้วย 9. การแข่งขัน (Competition) จากการท่ีนักเรียนทาการแข่งขัน หรือทาคะแนนให้ได้ มากๆ ในแตล่ ะรายการทดสอบ จะเปน็ เครอ่ื งมือทีช่ ีให้เหน็ ถึงการทจ่ี ะประสบความสาเรจ็ ของ โครงการพล ศกึ ษา สรปุ ได้วา่ ประโยชนข์ องแบบทดสอบทักษะกีฬานันควรมีลกั ษณะต่างๆ ดังกลา่ วขา้ งตน้ ซ่ึง จะสง่ ผลถึงผู้รบั การทดสอบโดยตรง ท่จี ะแปลความหมายการเรียนและการสอนของครไู ด้วา่ มี คุณภาพมาก นอ้ ยเพยี งใด รวมทงั เป็นการศึกษาถึงจุดบกพร่องตา่ งๆ เพื่อการแกไ้ ขตอ่ ไป 2.2 งำนวิจยั ทเ่ี กีย่ วข้อง 2.2.1 งำนวจิ ัยในต่ำงประเทศ เฟรนช์ และดเู ปอร์ (สทุ ิน ตระหงา่ น, 2538 : 22 ; อ้างอิงจาก French and Cooper. 1937 : 150 – 157) ไดส้ ร้างแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์กีฬาวอลเลย์บอลสาหรบั นักเรียนหญิงใน ระดบั มธั ยมศึกษา โดยใช้แบบทดสอบที่สร้างขึนเอง 4 รายการ คือ การเสิร์ฟลูกบอล การก กระทบผนัง การเซ็ท และการส่ง ลูกบอล ผลในการศึกษาครังนีปรากฏว่า นักเรียนหญิงระดับ มัธยมศึกษาระดับเกรด 9-12 สามารถเสิร์ฟ และดึกลกู บอลกระทบผนงั ได้ดี โดยมคี า่ ความเท่ียง ตรงเทา่ กับ .81 รัสเซล และแลนจ์ (สมศักดิ์ มณีเรื่องสิน. 2542 : 46 ; อ้างอิงมาจาก Russell and Lange. 1940 : 33-41) ได้ศึกษาแบบทดสอบวอลเลย์บอลสาหรับนักเรียนหญิงระดับมัธยมศึกษา โดยได้นา แบบทดสอบของเฟรนช์และคูเปอร์ มาปรบั ปรุงกบั นักเรยี นหญิงในระดับ 7-9 ซ่งึ ประกอบ ด้วยแบบทดสอบ 2 รายการ คือ การเสริ ์ฟลกู บอล และการดิกกระทบผนัง การเสริ ฟ์ มีคา่ ความ เท่ยี งตรง .677 การด์ิกลูกบอล โดย นายศุทธวีร์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 31

การศกึ ษาระดบั ทักษะวอลเลยบ์ อลของนักเรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 กระทบผนงั มคี ่าความเทยี่ งตรง .80 สาหรบั ค่าความเช่ือมน่ั ทงั 2 รายการอยูร่ ะหวา่ ง .870 ถึง .915 รสั เซล และแลนจ์ ได้กลา่ วไวว้ า่ แบบทดสอบนมี ีความเหมาะสม ท่จี ะใช้กบั นกั เรยี นหญงิ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น แบรดดี (สมศักดิ์ มณีเรื่องสิน, 2542 : 45 ; อ้างอิงจาก Brady. 1945 : 14-17) ได้ ศึกษา ความสามารถในการเล่นวอลเลย์บอล โดยสร้างแบบทดสอบขึนเพ่ือวัดความสามารถทั่วๆ ไป ในการเล่น วอลเลย์บอล ซึ่งใช้วิธีการฝึกลูกบอลกระทบผนัง และใช้ผนังเรียบ ขีดเส้นบนผนังกว้าง 5 ฟุต หน่ึงเส้น ระดับสูง 11 ฟุต 6 นิว ผู้เข้ารับการทดสอบจะยืนอยู่ท่ีใดก็ได้ โดยกลูกบอลให้ กระทบผนังท่ีเหนือเส้น ทา เช่นนีให้ได้จานวนครังมากที่สุด ผลการศึกษาพบว่า แบบทดสอบนีมี ความเท่ียงตรงเท่ากับ .86 และค่า ความเชอ่ื มัน่ เท่ากับ .93 ซ่งึ เหมาะสาหรับทีจ่ ะนามาใช้ทดสอบ กับนกั ศกึ ษาชายระดบั อุดมศึกษา คลิฟตัน (Clifton. 1962 : 208-211) ได้ศึกษาค้นคว้าเร่ือง แบบทดสอบการเล่น วอลเลย์บอลหน่ึงครัง สาหรับนักเรียนหญิง โดยใช้ผู้ทดสอบ 45 คน ซ่ึงเป็นนักเรียนหญิงท่ีเรียน วิชา วอลเลย์บอลในมหาวิทยาลัยคาลิฟอร์เนีย โดยใช้พืนท่ีผนัง 7 ฟุต 6 นิว และห่างจากผนังออก มา 5 ฟุต หน่ึงเส้น และ 7 ฟุต อีกหน่ึงเส้น ใช้อุปกรณ์ลูกวอลเลย์บอลสูบลม 6 ปอนด์ และ นาฬิกาจับเวลา 1 เดือน ทาการทดสอบ 2 ระยะ คือ กลุ่มหนึ่งใช้ระยะห่าง 5 ฟุต ให้ผู้ทดสอบยืน หลังเส้น 5 ฟุต เล่นวอลเลย์บอล กระทบผนงั ไปมาด้วยมือทังสองข้าง ภายในเวลา 30 วินาที ถา้ ผู้ ทดสอบไม่สามารถควบคมุ ลกู วอลเลย์บอล ให้กระทบผนังไปมาได้ อนุญาตใหจ้ ับลกู วอลเลย์บอลแลว้ เร่ิมใหม่ แต่ถ้าเปน็ ระยะเวลาเกอื บครบ 30 วนิ าที อนญุ าตใหพ้ ักผ่อน 2 นาทีแล้วจงึ ทาการทดสอบ ใหม่ อีกกลมุ่ หนง่ึ ให้กระทาเชน่ เดียวกันแต่ในระยะหา่ งจาก ผนัง 7 ฟุต ทังสองกลุ่มทาการทดลอง เป็นเวลา 14 สัปดาห์ ผลการศึกษาพบว่า แบบทดสอบการเล่นลูก วอลเลย์บอลกระทบผนังที่ระยะ 7 ฟตุ มีความเช่อื มั่นเท่ากับ .83 คันนิ่งแฮม และการริสัน (จารุวรรณ ยองจา, 2540 : 34 อ้างอิงจาก Cunningham and Garrison. 1968 : 486-490) ได้ศึกษาค้นคว้าเร่ือง แบบทดสอบวอลเลย์บอลกระทบผนังสาหรบั หญงิ โดย ทาการทดสอบกับนักเรยี นหญิง ชนั ปีท่ี 1 และ 2 ของมหาวิทยาลัยวอชงิ ตัน ในเซนต์หลยุ ส์ จานวน 111 คน ซึ่งเคยเรียนวอลเลย์บอลมาแล้ว โดยใช้ผนังเรยี บท่ีมีเป้าหมายขนาดกวา้ ง 3 ฟุต ยาว 3 ฟุต วิธีการทดสอบ ใหผ้ ู้เขา้ รบั การทดสอบยืนท่จี ุดใดก็ได้ เม่อื ได้ยนิ สัญญาณ “เริ่ม” ให้โยน ลกู บอลกระทบผนงั บริเวณเป้า แล้ วกลูกบอลกระทบผนงั ให้ได้มากที่สุด ภายในเวลา 30 วินาที ทาการทดสอบ 2 ครัง และคิดจานวนครงั ทดี่ ี ที่สุด ผลการศึกษาพบว่า แบบทดสอบการเล่นลูก วอลเลย์บอลนีมีค่าความเที่ยงตรงเท่ากับ .72 และค่า ความเชื่อมั่น .87 ครองวิสท์ และบรุมบาซ (จารุวรรณ ยองจา, 2540 : 35 ; อ้างอิงจาก Krongvist and Brumbach. 1986 : 116-120) ได้ศึกษาแบบทดสอบทักษะวอลเลย์บอล สาหรับนักเรียนชาย ระดับ มัธยมศึกษา โดยไดน้ าแบบทดสอบทักษะวอลเลย์บอลของแบรดดี (Brady) มาปรบั ปรงุ ใช้กับ นักเรยี นชาย ระดับ 10-11 จานวน 71 คน โดยใชผ้ นงั เรียบกว้าง 5.5 ฟตุ สงู จากพนื ขนึ ไป 11 ฟุต และให้มีเส้นต่อขนาน ขนึ ไปอีก 4 ฟตุ ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การทดสอบยนื ที่ใดกไ็ ด้ เมอื่ ไดย้ นิ สญั ญาณ “เรมิ่ ” ให้โยนลูกบอลกระทบผนังใน เขตทกี่ าหนดให้ แล้วดกึ ลูกบอลกระทบผนังใหไ้ ด้มากที่สุดเท่าที่จะทา ไดใ้ นเวลา 20 วินาที ทาการทดสอบ โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสุทธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 32

การศึกษาระดับทกั ษะวอลเลยบ์ อลของนักเรยี นระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 3 ครัง เปน็ ผลการทดสอบ ผลการศึกษาพบว่า แบทดสอบนี มคี ่าความเทยี่ งตรงเท่ากบั .767 และมีคา่ ความ เชอื่ ม่นั เท่ากับ .817 บาเสท แกลสโซ และล็อค (สมศักด์ิ มณีเร่ืองสิน. 2542 : 45 ; อ้างอิงจาก Bassett, Glassow, and Loke. 1973 : 60-72) ได้ศึกษาเรื่อง การศึกษาแบบทดสอบทักษะกีฬา วอลเลย์บอล ทา การทดสอบกับนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยใช้แบบทดสอบทักษะกีฬา วอลเลย์บอล 2 รายการ คือ การเสริ ์ฟลูกบอล และการฝกึ ลูกบอลกระทบผนงั ผลการศกึ ษาพบวา่ 1. แบบทดสอบทักษะด้านการเสิร์ฟ มีค่าความเท่ียงตรงเท่ากับ .79 และค่าความเช่ือม่ัน เท่ากับ .89 2. แบบทดสอบทักษะการด๊ิกลูกบอลกระทบผนัง มีค่าความเที่ยงตรงเท่ากับ .51 และค่า ความเชื่อม่ันเทา่ กบั .84 เฮลเมน (ผาณิต บิลมาศ. 2548 : 76 ; อ้างอิงจาก Helman. 1979 : 309-312) ได้ทาการ ประเมินแบบทดสอบเพ่ือวัดทักษะที่จาเป็นในกีฬาวอลเลย์บอล ในการเล่นที่ใช้ความรุนแรง รวดเร็ว การ ประเมินแบบทดสอบใช้การรวบรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทางวอลเลย์บอล 31 คน พบว่า ทักษะที่ จาเปน็ และสาคัญท่ีตอ้ งทาการทดสอบมีอยู่ 3 ทักษะ คือ การดกึ (Dig) การเซท็ (Set) และ การตบ (Spike) เฮลแมนได้สร้างแบบทดสอบทัง 3 ทักษะสาหรับผู้ท่ีจะเล่นแบบรุนแรงโดย ทดสอบจากนักศึกษาหญิง 76 คน ในชันเรียน การเสิร์ฟวอลเลย์บอล ได้ทดลอง 4 ครัง และ ได้หาความเที่ยงตรงเชิงประจักษ์ (Face Validity) ของแบบทดสอบแต่ละทกั ษะ และผลรวมของแบบ ทดสอบใหผ้ ้เู ชยี่ วชาญในวอลเลยบ์ อล 3 ท่าน ใหค้ ะแนนนกั เรียน 76 คน โดยใหค้ ะแนน 9 สเกล (9-Point Rating Scale) พจิ ารณาความสามารถในการ เล่นทั่วๆ ไป ของนักเรยี นแต่ละคนขณะทา การทดสอบและหาความเชื่อมน่ั โดยการทดสอบซา ซ่ึงเฮลเมน พบว่า ความสัมพันธ์ของแบบทดสอบแต่ละทักษะมีค่าต่า แต่เมื่อนามารวมกันทัง 3 ทักษะ จะมี ความสัมพันธ์กันสูง เป็นส่ิงท่ีชีให้ เห็นว่า ทักษะทัง 3 อย่าง มีความสาคัญอย่างมากในวอลเลย์บอล โดยมี ความเทีย่ งตรงของแบบทดสอบการเซท็ การดึก การตบ และคะแนนรวม .69 .50 73 .78 ตามลาดับและมี ความเช่อื มัน่ .76 .77 .76 และ .84 ตามลาดับ วอร์ทแมน โจเซพ เจม (Wortmann 1998 – 36/06) ได้ทาการศึกษาจากกลุ่มการปฏิบัติ การ 3 กลุ่ม เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการให้ข้อมลู ย้อนกลับในด้านบวก และการให้ ข้อมูล ย้อนกลบั แบบแกไ้ ขปรับปรุงการสง่ ลกู วอลเลย์บอลของนักกฬี ามหาวิทยาลยั เพศชาย โดยนักกฬี า จานวน ทงั สิน 16 คน ซง่ึ มที ักษะในการเลน่ แบง่ เปน็ ทักษะสูงกบั ทักษะตา่ แลว้ นามารวมกนั เพอ่ื แบง่ กลุ่มเก่งสลับออ่ น และ แบ่งเป็น 3 กล่มุ คือ 1. ให้ขอ้ มลู ย้อนกลับในด้านบวก 2. ให้ขอ้ มูลยอ้ นกลบั และแกไ้ ขปรับปรุง 3. ไม่ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 33

การศึกษาระดับทกั ษะวอลเลย์บอลของนกั เรียนระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 ปกี ารศกึ ษา 2564 โดยหัวหน้าผู้ฝึกสอนของแต่ละทีมจะให้ข้อมูลย้อนกลับตลอดช่วงการเล่นทัง 4 ช่วง โดย สถิติการส่งลูกวอลเลยบ์ อลจะถกู บันทกึ เพ่อื ใช้วดั ประสิทธภิ าพของการฝึกแต่ละครงั ผลของการ ศึกษาแสดง ให้เห็นว่า ผลการเล่นของทีมท่ีให้ผลย้อนกลับทางบวก ยังคงเดิม ในขณะเดียวกัน ทีมที่สองผลงานก็ไม่ได้ พัฒนาขึนแตกต่างจากทมี อื่น นอกจากนีผลการส่งลกู วอลเลยบ์ อลของผู้เล่น ทมี่ ีทักษะสงู และทักษะต่าไม่ได้ แตกตา่ งไปจากเดมิ มากนัก 2.2.2 งำนวจิ ยั ในประเทศ ศรีนวน จารุอินทร์. (2544 : บทคัดย่อ) ได้ทาการศึกษาเร่ืองการสร้างแบบทดสอบ ทักษะ วอลเลย์บอลและสร้างเกณฑ์ปกติทกั ษะวอลเลยบ์ อลสาหรับนกั เรยี นระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น กล่มุ ตัวอยา่ ง ที่ใช้ในการหาคุณภาพของแบบทดสอบ เป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนโป่งเกตุและ โรงเรียนบ้านซับสนุ่น เป็นนักเรียนชาย จานวน 30 คน และนักเรียนหญิง จานวน 30 คน ซึ่งได้มาโดย วธิ กี ารเจาะจงเลือกกลุม่ ตวั อยา่ งท่ีใชใ้ นการสร้างเกณฑป์ กตเิ ปน็ นกั เรยี น ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียน ขยายโอกาสทางการศกึ ษาจงั หวัดสระบุรี เปน็ นกั เรยี นชาย จานวน 100 คน และนักเรยี นหญิง จานวน 100 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีสุ่มตัวอย่างง่าย เครื่องมือท่ีใช้ใน การวิจัยเป็นแบบทดสอบทักษะวอลเลย์บอลที่ผู้วิจัย สร้างขึนจานวน 4 แบบทดสอบ จากนันทาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จการวิจัยทาง สังคมศาสตร์เพ่ือหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานค่าความเช่ือม่ัน ค่าความเป็นปรนัย ค่า สัมพันธ์ภายใน และสร้างเกณฑ์ปกติ ผลการวิจัยพบว่า 1. แบบทดสอบทักษะวอลเลย์บอลท่ีผู้วิจัยสร้างขึน ทัง 4 แบบทดสอบสาหรับ นักเรียนชายมีค่าความเช่ือมั่นทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 (r = .917 883 838 และ 813 ตามลาดับ) สาหรับนักเรียนหญิงมีค่าความเชื่อมั่นทางบวกใน ระดับสูงอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 871 .928 892 และ 879 ตามลาดับ) 2. แบบทดสอบ ทกั ษะวอลเลย์บอลที่ผู้วิจัยสร้างขึนทัง 4 แบบทดสอบสาหรับนกั เรียน ชาย มีค่าความเป็นปรนัยทางบวกใน ระดับสูงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (r = 721 - 948) สาหรับนักเรียนหญิงมีค่าความเป็นปรนัย ทางบวกในระดับสูงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 789 - 904) 3. แบบทดสอบทักษะ วอลเลย์บอลที่ผู้วิจัยสร้างขึน ทัง 4 แบบทดสอบสาหรับนักเรียนชายมีค่าความเป็นปรนัยทางบวกใน ระดับสูงอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดบั .05 (r = .773 - .947) สาหรับนักเรยี นหญิงมีค่าความเปน็ ปรนัย ทางบวกในระดับสูงอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 (r = .649 - .904) 4. เกณฑ์ปกติ (Norms) ของ แบบทดสอบทกั ษะวอลเลย์บอล มีดังตอ่ ไปนี นักเรียนชาย สงู มาก ตรงกับคะแนนดบิ 39.3 ขึนไป คะแนนท่ี 68 ขึนไป ตรงกับคะแนนดิบ 35.7 – 39.2 คะแนนที 59 - 67 ปานกลาง ตรงกับคะแนนดิบ 28.5 – 35.6 คะแนนท่ี 41 – 58 ตรงกับคะแนนดิบ 24.9 – 28.4 คะแนนที่ 32 - 40 ต่ามาก ตรงกบั คะแนนดิบ 24.8 ลง มา คะแนนที่ 31 ลงมา นกั เรียนหญงิ สูงมาก ตรงกบั คะแนนดิบ 36.5 ขึนไป คะแนนที่ 664 ขนึ ไป ตรงกบั คะแนนดิบ 33.1 – 36.4 คะแนนท่ี 57 - 63 ปานกลาง ตรงกับคะแนนดิบ 26.3 - 33.0 คะแนนที่ 43 - 56 โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 34

การศกึ ษาระดบั ทักษะวอลเลยบ์ อลของนกั เรยี นระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 ปกี ารศกึ ษา 2564 ตรงกับคะแนนดบิ 22.9 – 26.2 คะแนนที่ 36 - 42 ต่ามาก ตรงกับคะแนนดบิ 22.8 ลงมา คะแนนที่ 25 ลง มา สุรางค์รัตน์ ศรีพุทธรินทร์. (2546 : บทคัดย่อ) ได้ทาการศึกษาเร่ืองระดับทักษะกีฬา วอลเลย์บอลเพือ่ เปรยี บเทียบระดับกีฬาวอลเลย์บอลและเพ่ือสร้างเกณฑ์ (Norm) ทกั ษะกีฬา วอลเลย์บอล ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในจังหวัดอานาจเจริญปีการศึกษา 2543 กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียน มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ที่ผ่านการเรียนวิชาวอลเลย์บอลในจังหวัดอานาจเจริญปีการศึกษา 2543 จานวน 526 คน โดยแยกตามเพศ นักเรียนชาย 237 คน นักเรียนหญิง 289 คน เครื่องมือท่ี ใช้ ใช้แบบประเมินและ แบบทดสอบทักษะกฬี าวอลเลย์บอลของจารุวรรณ ยองจา สถิตทิ ใ่ี ช้หาค่า เฉล่ยี ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานหา ค่าความเช่ือมั่นโดยวิธีสเปียร์แมน (Spearman Rank Order Correlation) และวิธีเพียร์สัน (Pearson Rroduct Moment Correlation) เปรียบเทียบความแตกต่าง ของค่าเฉลี่ยโดยใช้สถิติซี ( Z-test Independent) สร้างเกณฑ์โดยใช้คะแนนที (T-Score) ผลการศึกษาพบว่า 1. ค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานของคะแนนการประเมินทักษะกฬี า วอลเลย์บอลของจารวุ รรณ ยองจา แต่รายการประกอบด้วย ทักษะการเสริ ์ฟ ทกั ษะการดกึ ทกั ษะ โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสุทธะ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 35

การศกึ ษาระดับทกั ษะวอลเลย์บอลของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรวจิ ยั ในการวจิ ัยครงั นี ผ้วู ิจยั ได้ดาเนนิ การตามขันตอนดงั นี 3.1 การกาหนดประชากร 3.2 เคร่อื งมอื ทีใ่ ช้ในการวจิ ยั 3.3 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 3.4 การจัดกระทาและวเิ คราะหข์ อ้ มลู 3.1 กำรกำหนดประชำกร ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยประชากรท่ีใช้ในการศึกษาวิจัยครังนีเป็นนักเรี ยนชายและหญิง ชนั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ของโรงเรียนราชประนุเคราะห์ 30 ทเ่ี รยี นวอลเลยบ์ อล ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 85 คน เปน็ ชาย 35 คน เปน็ หญิง 50 คน ได้มาโดยการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling ) 3.2 เครื่องมือท่ใี ชใ้ นกำรวจิ ัย ผู้วิจัยใช้แบบทดสอบทักษะวอลเลย์บอลของเฮลแมน (Helman Volleyball Test) ซึ่งมี ความเช่อื มั่นจากการทดสอบซาแต่ละรายการ และรวมทุกรายการเทา่ กบั 66 - 84 และมคี วามเทย่ี งตรงเชิง สภาพโดยบุคคลประเมินค่าเป็นเกณฑ์แต่ละรายการ และรวมทุกรายการเท่ากับ.50 – 73 (ผาณิต บิลมาศ. 2548 : 76 – 78) เป็นเครอ่ื งมอื ในการทดสอบทกั ษะวอลเลยบ์ อล ประกอบด้วย 1. การดก๊ิ 2. การเซท็ 3. การตบ 3.3 กำรเก็บรวบรวมขอ้ มลู 1. ศึกษารายละเอียดเก่ียวกับแบบทดสอบทักษะวอลเลย์บอลของเฮลแมน (Helman Volleyball Test) (ผาณิต บลิ มาศ. 2548 : 76 – 78) 2. ขอความร่วมมือจากโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ในความร่วมมือในการเก็บรวบรวม ขอ้ มลู 3. จัดหาผู้ช่วยในการเก็บรวบรวมข้อมูล พร้อมทังอธิบายและสาธิตวิธีการต่างๆ ในการเก็บ รวบรวมข้อมลู ให้เขา้ ใจในรายละเอยี ดของการทดสอบตลอดจนวธิ บี นั ทกึ ผลใหเ้ ขา้ ใจ ตรงกัน 4. เตรียมอปุ กรณ์ สถานที่ และใบบนั ทึกการทดสอบ โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 36

การศึกษาระดับทกั ษะวอลเลย์บอลของนกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 ปีการศึกษา 2564 5. ทาการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตามขันตอนและผวู้ จิ ัยควบคุมการทดสอบดว้ ยตนเอง 3.4 กำรจดั กระทำข้อมลู และวเิ ครำะหข์ ้อมูล 1. หาคา่ มัชฌิมเลขคณติ (Arithmetic Mean) สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสูงสุด (Maximum) ค่าต่าสุด (Minimum) ค่ามัธยฐาน (Median) ฐานนิยม (Mode) ของคะแนนท่ีได้ จากการทดสอบทักษะวอลเลย์บอลแต่ละรายการ ของนกั เรยี นชายและนักเรียนหญงิ ชนั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 2. ระดับทักษะวอลเลย์บอลโดยใช้คะแนนที (T – Score) จาแนกตามเพศ แต่ละรายการท่ี ทดสอบ คือ ทักษะการดึก ทักษะการเซท็ และทักษะการตบ และรวมทกุ รายการท่ที ดสอบ โดย นายศุทธวีร์ ศรีสุทธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 37

การศกึ ษาระดับทกั ษะวอลเลยบ์ อลของนักเรยี นระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 บทที่ 4 ผลกำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู สัญลักษณท์ ใี่ ช้ในกำรวิเครำะหข์ ้อมูล ในการวิจัยครังนีผู้วิจยั ไดใ้ ชส้ ัญลักษณ์ X แทน ค่ามชั ฌิมเลขคณติ S.D. แทน สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน T – score แทน คะแนนที (T-score) Max แทน คา่ สูงสุด Min แทน ค่าท่ีสดุ Med แทน คา่ มัธยฐาน Mod แทน คะแนนท่ีซากันมากที่สดุ 4.1 กำรจัดกระทำขอ้ มลู และวิเครำะหข์ ้อมลู 1. หาค่ามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสูงสุด (Maximum) ค่าต่าสุด (Minimum) ค่ามัธยฐาน (Median) ฐานนิยม (Mode) ของ คะแนนท่ีได้ จากการทดสอบทกั ษะวอลเลย์บอลแต่ละรายการ ของนกั เรียนชายและนักเรียนหญิงชัน มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 ของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 2. ระดับทักษะวอลเลย์บอลโดยใช้คะแนนท่ี (T - Score) แบ่งเป็น 5 ระดับ คือ ระดับ สูงมาก ระดับสูง ระดับปานกลาง ระดับต่าและระดับต่ามาก จาแนกตามเพศ แต่ละรายการท่ีทดสอบ คือ ทักษะ การดึก ทกั ษะการเซ็ท และทกั ษะการตบ และรวมทุกรายการทที่ ดสอบ โดย นายศุทธวีร์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 38

การศกึ ษาระดับทกั ษะวอลเลยบ์ อลของนกั เรยี นระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปกี ารศกึ ษา 2564 4.2 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมลู ตอนท่ี 1 หำค่ำมัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบ่ียงเบนมำตรฐำน ค่ำสูงสุด ค่ำต่ำสุด ค่ำมัธยฐำน ฐำนนิยม ของคะแนนท่ไี ดจ้ ำกกำรทดสอบทักษะวอลเลยบ์ อลแตล่ ะรำยกำรทที่ ดสอบ ตำรำง 1 แสดงค่ำมัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบ่ียงเบนมำตรฐำน ค่ำสูงสุด ค่ำต่ำสุด ค่ำมัธยฐำน ฐำนนิยม จำกกำรทดสอบทักษะวอลเลยบ์ อลแต่ละรำยกำรของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 2 โรงเรียน รำชประชำนเุ ครำะห์ 30 ปกี ำรศึกษำ 2564 ( ชำย = 35 , หญงิ = 50 ) รำยกำร นกั เรียนชำย นักเรียนหญิง ���̅��� S.D. Max Min Med Mod ���̅��� S.D. Max Min Med Mod 1. ทกั ษะการด๊กิ 13.51 4.92 21 5 13 9 8.46 2.31 15 4 8 8 2. ทักษะการเซ็ท 9.51 4.69 20 0 10 11 1.50 2.05 8 0 0 0 3. ทกั ษะการตบ 14.49 5.12 29 7 14 17 15.04 3.63 22 7 15 16 จากตาราง 1 แสดงวา่ 1. ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด ค่ามัธยฐาน ฐานนิยม ของ คะแนนจากการทดสอบทักษะการดิ๊กวอลเลย์บอล ของนักเรียนชายมคี ่าเท่ากับ 13.51 , 4.92 , 21 , 5 , 13 และ 9 คะแนนตามลาดบั และนกั เรียนหญิงมีคา่ เท่ากบั 8.46 , 2.31 , 15 , 4 , 8 และ 8 คะแนน ตามลาดับ 2. ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด ค่ามัธยฐาน ฐานนิยม ของ คะแนนจากการทดสอบทักษะการเซ็ทวอลเลย์บอล ของนกั เรยี นชายมีค่าเท่ากับ 9.51 , 4.69 , 20 , 0 , 10 และ 11 คะแนนตามลาดับ และนักเรยี นหญิงมคี า่ เท่ากบั 1.50 , 2.05 , 8 , 0 , 0 และ 0 คะแนน ตามลาดับ 3. ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด ค่ามัธยฐาน ฐานนิยม ของ คะแนนจากการทดสอบทักษะการตบวอลเลยบ์ อล ของนักเรียนชายมีค่าเท่ากับ 14.49 , 5.12 , 29, 7, 14 และ 17 คะแนนตามลาดับ และนักเรียนหญิงมีค่าเท่ากับ 15.04 , 3.63 , 22 , 7 , 15 และ 16 คะแนน ตามลาดับ โดย นายศุทธวีร์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 39

การศึกษาระดับทักษะวอลเลย์บอลของนักเรยี นระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 ตอนที่ 2 ระดบั ทักษะวอลเลย์บอลโดยใชค้ ะแนนที (T-Score) ตำมเพศแต่ละรำยกำรท่ีทดสอบ และรวม ทกุ รำยกำรที่ทดสอบ ตำรำง 2 แสดงระดับทักษะวอลเลย์บอลโดยใช้คะแนนที (T-Score) ของนักเรียนชำยชนั้ มัธยมศึกษำปี ท่ี 2 โรงเรียนรำชประชำนเุ ครำะห์ 30 ปีกำรศกึ ษำ 2564 จำนวน 35 คน คนท่ี ทกั ษะกำรดิ๊ก ทักษะกำรเซ็ท ทักษะกำรตบ ทักษะรวม คะแนนดิบ คะแนนที คะแนนดบิ คะแนนที คะแนนดิบ คะแนนที คะแนนที 1 7 37 2 34 16 16 53 2 17 57 11 53 15 15 51 3 19 61 20 72 29 29 78 4 10 43 12 55 17 17 55 5 12 47 6 43 8 8 37 6 11 45 13 57 9 9 39 7 19 61 8 47 10 10 41 8 15 53 17 66 23 23 67 9 7 37 9 49 7 7 35 10 6 35 6 43 11 11 43 11 9 41 7 45 14 14 49 12 9 41 1 32 10 10 41 13 13 49 5 40 13 13 47 14 15 53 10 51 13 13 47 15 12 47 11 53 17 17 55 16 5 33 0 30 9 9 39 17 9 41 4 38 7 7 35 18 20 63 12 55 18 18 57 19 14 51 9 49 14 14 49 20 13 49 12 55 17 17 55 21 17 57 13 57 16 16 53 22 19 61 11 53 18 18 57 23 12 47 6 43 10 10 41 24 9 41 8 47 10 10 41 โดย นายศุทธวีร์ ศรีสทุ ธะ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 40

การศึกษาระดบั ทกั ษะวอลเลยบ์ อลของนักเรยี นระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 คนท่ี ทักษะกำรดิ๊ก ทกั ษะกำรเซ็ท ทักษะกำรตบ ทักษะรวม คะแนนดิบ คะแนนที คะแนนที 25 คะแนนดิบ คะแนนที คะแนนดบิ คะแนนที 26 21 65 55 27 5 33 15 62 17 17 39 28 20 63 67 29 20 63 1 32 9 9 57 30 16 55 67 31 14 51 14 60 23 23 49 32 17 57 53 33 19 61 12 55 18 18 57 34 9 41 41 35 21 65 15 62 23 23 55 คำ่ เฉลีย่ 12 47 43 7 45 14 14 37.51 13.51 13 57 16 16 11 53 18 18 8 47 10 10 15 62 17 17 9 49 11 11 9.51 14.49 จากตาราง 2 แสดงระดับทักษะวอลเลย์บอลโดยใช้คะแนนที (T-Score) ของนักเรียนชายชัน มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 จานวน 35 คน พบว่า มคี ่าเฉลีย่ โดย ภาพรวม มีค่าเท่ากับ 37.15 เมื่อพิจารณาตามทักษะ พบว่า ทักษะที่มีค่าเฉล่ียมากที่สุด คือ ทักษะการตบ มีคา่ เฉลยี่ เทา่ กบั 14.49 รองลงมา คอื ทกั ษะการดิก๊ มีคา่ เฉลี่ย เท่ากบั 13.51 และทักษะทม่ี คี ่าเฉล่ียน้อย ท่ีสุด คือ ทกั ษะการเซ็ท มคี ่าเฉลี่ย เทา่ กับ 9.51 โดย นายศุทธวีร์ ศรีสทุ ธะ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 41

การศึกษาระดบั ทกั ษะวอลเลยบ์ อลของนักเรยี นระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 ตำรำง 3 แสดงระดับทักษะวอลเลย์บอลโดยใช้คะแนนที (T-Score) ของนักเรยี นชำยชน้ั มัธยมศึกษำปี ท่ี 2 โรงเรียนรำชประชำนเุ ครำะห์ 30 ปกี ำรศกึ ษำ 2564 จำนวน 50 คน คนที่ ทักษะกำรด๊ิก ทกั ษะกำรเซท็ ทักษะกำรตบ ทักษะรวม คะแนนดบิ คะแนนที คะแนนดบิ คะแนนที คะแนนดบิ คะแนนที คะแนนที 1 8 48 1 48 17 54 50 2 7 44 0 43 22 67 51 3 7 44 0 43 16 52 46 4 10 57 1 48 17 54 53 5 12 65 8 86 15 49 67 6 9 52 1 48 12 41 47 7 4 31 0 43 13 44 39 8 7 44 3 59 7 28 44 9 10 57 0 43 16 52 50 10 8 48 4 64 15 49 54 11 8 48 0 43 11 39 43 12 7 44 0 43 13 44 43 13 7 44 2 54 14 46 48 14 7 44 0 43 19 60 49 15 15 78 0 43 22 67 63 16 10 57 0 43 12 41 47 17 8 48 1 48 8 31 42 18 15 78 3 59 16 52 63 19 4 31 0 43 10 36 36 20 5 35 0 43 18 57 45 21 5 35 0 43 20 62 47 22 5 35 3 59 16 52 49 23 12 65 7 81 13 44 63 24 9 52 0 43 14 46 47 25 10 57 4 64 15 49 57 26 8 48 1 48 14 46 48 27 9 52 2 54 16 52 53 โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสุทธะ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 30 42

การศกึ ษาระดบั ทักษะวอลเลยบ์ อลของนักเรียนระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 30 ปีการศกึ ษา 2564 คนที่ ทกั ษะกำรด๊ิก ทกั ษะกำรเซท็ ทักษะกำรตบ ทักษะรวม คะแนนดบิ คะแนนที คะแนนที 28 คะแนนดบิ คะแนนที คะแนนดบิ คะแนนที 29 8 48 47 30 6 39 0 43 16 52 49 31 6 39 45 32 10 57 0 43 21 65 51 33 9 52 53 34 11 61 0 43 16 52 56 35 9 52 51 36 11 61 3 59 10 36 52 37 8 48 46 38 8 48 1 48 19 60 57 39 8 48 52 40 7 44 0 43 21 65 50 41 10 57 50 42 10 57 0 43 18 57 54 43 9 52 55 44 6 39 0 43 16 52 41 45 10 57 52 46 7 44 2 54 10 36 38 47 10 57 53 48 8 48 3 59 21 65 55 49 8 48 47 50 8 48 4 64 13 44 54 คำ่ เฉลย่ี 10 57 49 0 43 21 65 25.14 8.46 1 48 13 44 2 54 16 52 4 64 15 49 0 43 12 41 1 48 16 52 0 43 7 28 2 54 15 49 1 48 22 67 0 43 15 49 2 54 19 60 0 43 14 46 1.34 15.34 จากตาราง 3 แสดงระดับทักษะวอลเลย์บอลโดยใช้คะแนนที (T-Score) ของนักเรียนหญิง ชนั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 30 ปกี ารศึกษา 2564 จานวน 50 คน พบว่า มคี า่ เฉลี่ย โดยภาพรวม มีค่าเท่ากับ 25.14 เมื่อพิจารณาตามทักษะ พบว่า ทักษะที่มีค่าเฉล่ียมากที่สุด คือ ทักษะ การตบ มคี า่ เฉล่ีย เท่ากบั 15.34 รองลงมา คอื ทกั ษะการด๊กิ มีค่าเฉลี่ย เทา่ กับ 8.46 และทกั ษะทีม่ คี า่ เฉล่ีย นอ้ ยท่สี ุด คือ ทกั ษะการเซท็ มีคา่ เฉล่ีย เทา่ กับ 1.34 โดย นายศุทธวรี ์ ศรีสทุ ธะ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 30 43