Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิทย์ธรรมชาติ

วิทย์ธรรมชาติ

Published by Jaruwan Bualuang, 2019-05-24 01:00:28

Description: วิทย์ธรรมชาติ

Search

Read the Text Version

แบบบันทกึ กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร พฒั นาวชิ าชีพครวู ิทยาศาสตรร์ ะดับประถมศกึ ษา เพ่อื สง่ เสรมิ กิจกรรมการเรียนรทู้ สี่ ะทอ้ นธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สถาบนั วิทยาศาสตร์ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน



สารบญั หนา้ 1 กิจกรรมที่ 2 ประวตั ิวทิ ยาศาสตร์กับอาร์คิมิดีส 4 กิจกรรมท่ี 4 กระดาษหลากสี 7 กิจกรรมที่ 5 รอยเทา้ ปริศนากบั ฟอสซลิ 9 กิจกรรมท่ี 6 ของเล่นพน้ื เมือง 11 กจิ กรรมท่ี 7 พนั ธุกรรมกบั สังคม 16 กิจกรรมที่ 8 ลายนวิ้ มือ 22 กิจกรรมที่ 9 ผงปริศนา 28 กจิ กรรมท่ี 10 ขา้ งขึ้นข้างแรม 40 กจิ กรรมท่ี 11 การเกดิ ลม



1 ใบความรทู้ ่ี 2.1 เรือ่ ง มารู้จักอารค์ มิ ีดสิ กันเถอะ เกดิ :287 กอ่ นครสิ ตศ์ ักราช ที่ เมืองไซราควิ ส์ (Syracuse) เกาะซิซิลี (Sicily) เสียชีวิต: 212 กอ่ น คริสต์ศกั ราชทเ่ี มอื งไซราคิวส์ (Syracuse) เกาะซซิ ลิ ี (Sicily) เมื่อเอ่ยชอ่ื อาร์คมิ ดี สี ไมม่ ีใครทจี่ ะไม่รจู้ กั นามของนกั วิทยาศาสตร์เอกผนู้ โ้ี ดยเฉพาะกฎเก่ยี วกับการหาความถว่ งจาเพาะของวตั ถุหรือการหาข้อเท็จจริง เกย่ี วกับมงกุฎทองของกษัตรยิ เ์ ฮยี โร (King Hiero) ซึง่ เร่ืองนี้เปน็ ผลงานเพยี งสว่ นหนง่ึ เลก็ นอ้ ยเท่าน้นั เพราะอารค์ มิ ีดสี ข้ึนชื่อวา่ เป็นบดิ าแห่งกลศาสตร์ ทแ่ี ทจ้ รงิ เนอื่ งจากส่งิ ประดษิ ฐ์ของเขามักจะเป็นเครอ่ื งผอ่ นแรงทีม่ ปี ระโยชนแ์ ละใชก้ ันมาจนถึงปัจจบุ นั นี้ อารค์ ิมีดสี เปน็ นักปราชญช์ าวกรีก เกิดท่ี เมืองไซราคิวส์ (Syracuse) บนเกาะซิซิลี (Sicily) เมื่อประมาณ 287 ก่อนคริสต์ศักราชบิดาของเขา เป็นนักดาราศาสตร์ช่ือ ไฟดาส (Pheidias) อารค์ ิมดี ีสมคี วามสนใจในวิชาคณติ ศาสตรเ์ ป็นอย่างมากเขาจงึ เดินทางไปศึกษาวชิ าคณิตศาสตร์กบั อาจารย์ ผู้เชยี่ วชาญด้านคณิตศาสตร์นามวา่ ซีนอนแหง่ ซามอส ซ่ึงก็เป็นลูกศษิ ย์คนเกง่ ของนักปราชญเ์ ลือ่ งช่ือลอื นามว่ายูคลิด (Euclid) ทเ่ี มืองอาเล็กซานเดรีย (Alexandria) ซ่ึงได้ชื่อว่าเป็นศนู ย์กลางแห่งวิชาการของกรกี ในสมัยนัน้ หลงั จากที่อาร์คิมีดสี จบการศึกษาแลว้ เขาได้เข้าทางานในตาแหน่งนักปราชญ์ประจาราชสานักของพระเจ้าเฮียโรงานช้ินเอกท่ีเป็นท่ีรู้จักของ คนทัว่ ไป คอื กฎของอารค์ ิมีดีส (Archimedes Principle) หรือ วิธีการหาความถ่วงจาเพาะของวัตถุ (Specific Gravity) ซ่ึงเร่ืองเกิดขึ้นจากกษัตริย์ เฮียโรทรงมีรบั สง่ั ให้ชา่ งทามงกุฎทองคาโดยมอบทองคาใหช้ า่ งทองจานวนหนงึ่ เม่อื ชา่ งทองนามงกฎุ มาถวายทรงเกิดความระแวงในทา่ ทางของช่างทา ทองว่าจะยักยอกทองคาไป และนาโลหะชนดิ อน่ื มาผสมแต่ทรงไม่สามารถหาวธิ พี สิ ูจน์ได้ ดงั น้นั จึงทรงมอบหมายหนา้ ที่การค้นหาขอ้ เทจ็ จรงิ ใหก้ ับอาร์ คิมดี สี ขัน้ แรกอาร์คมิ ีดสี ได้นามงกุฎทองไปช่ังน้าหนักปรากฏว่าน้าหนักของมงกุฎเท่ากับทองที่กษัตริย์เฮียโรได้มอบให้ไปซ่ึงอาจเป็นไป ได้ว่าช่างทอง อาจจะนาโลหะชนิดอน่ื มาผสมลงไปได้อาร์คิมีดีสครุ่นคิดหาวิธีพิสูจน์เท่าไรก็คิดไม่ออกสักทีจนวันหน่ึงเขาไปอาบน้าท่ีอ่างอาบน้าสาธารณะแห่งหน่ึง ขณะทนี่ ้าในอา่ งเต็มอาร์คมิ ีดีสลงแช่ตวั ในอ่างอาบนา้ นา้ ก็ลน้ ออกมาจากอ่างนั้นเมื่อเขาเห็นเช่นนั้นทาให้เขารู้วิธีพิสูจน์น้าหนักของทองได้สาเร็จด้วย ความดีใจเขาจึงรบี ว่ิงกลับบา้ นโดยที่ยังไมไ่ ด้สวมเสือ้ ผา้ ปากกร็ ้องไปว่า \"ยเู รกา้ ! ยูเรกา้ ! (Eureka)\" จนกระทงั่ ถึงบ้านเมื่อถึงบ้านเขารีบนามงกุฎมาผูก เชือกแลว้ หยอ่ นลงในอา่ งน้าทม่ี ีน้าอยู่เต็มแล้วรองน้าที่ล้นออกมาจากอ่าง จากนั้นจึงนาทองในปริมาตรท่ีเท่ากันกับมงกุฎหย่อนลงในอ่างน้า แล้วทา เชน่ เดียวกบั ครัง้ แรกจากน้นั เขาได้นาเงินน้าหนักท่เี ทา่ กบั มงกุฎ มาทาเช่นเดยี วกบั มงกุฎและทองผลการทดสอบปรากฏว่า ปรมิ าตรนา้ ทีล่ ้นออกมาน้ัน เงนิ มปี รมิ าตรนา้ มากท่สี ดุ มงกุฎรองลงมา และทองน้อยทีส่ ุด ซ่งึ จากผลการทดสอบครงั้ น้สี ามารถสรุปไดว้ ่าชา่ งทองนาเงินมาผสมเพอื่ ทามงกุฎแน่นอน มิฉะนน้ั แล้วปริมาตรนา้ ของมงกุฎและทองตอ้ งเท่ากนั เพราะเปน็ โลหะชนิดเดยี วกนั อารค์ ิมีดีสไดน้ าความขึน้ กราบทลู กษัตริยเ์ ฮยี โรให้ทรงทราบ อกี ท้งั แสดงการทดลองให้ชมตอ่ หน้าพระพกั ตรเ์ มอ่ื ชา่ งทองเห็นดงั นนั้ ก็รีบรบั สารภาพแล้วนาทองมาคืนให้กับกษัตริย์เฮียโร การค้นพบคร้ังนี้ของอาร์คิมีดีส ทาให้ต่อมานักวทิ ยาศาสตร์ได้นาหลกั การเช่นเดียวกันนมี้ าหาความถว่ งจาเพาะของวตั ถตุ ่างๆ งานชิน้ สาคญั อีกชิ้นหนึง่ กค็ ือ การสร้างระหดั วดิ นา้ หรอื ทม่ี ชี ือ่ เรียกอีกอย่างหน่งึ ว่า \"ระหัดเกลียวของอารค์ ิมดี ีส (Archimedes Screw)\" เพือ่ ใชส้ าหรบั วิดน้าขึน้ มาจากบ่อหรือแม่น้าสาหรับใช้ในการอุปโภค หรือบรโิ ภค ซงึ่ ทาให้เสียแรงและเวลานอ้ ยลงไปอย่างมากการท่ีอาร์คิมีดีสคิดสร้างระหัดวิดน้าขึ้นมานั้นก็เพราะเขาเห็นความลาบากของชาวเมืองใน การนาน้าขนึ้ จากบอ่ หรือแม่น้ามาใช้ซงึ่ ต้องใช้แรงและเสยี เวลาอย่างมาก ระหดั วดิ น้าของอารค์ ิมดี ีสประกอบไปดว้ ยท่อทรงกระบอกขนาดใหญ่ภายใน เป็นแกนระหัด มีลกั ษณะคล้ายกบั ดอกสวา่ นเมอื่ ต้องการใชน้ า้ ก็หมุนที่ด้ามจับระหัดน้ากจ็ ะไหลขึ้นมาตามเกลียวระหดั นนั้ ซ่งึ ต่อมามีผ้ดู ัดแปลงนาไปใช้ ประโยชน์ในด้านตา่ ง ๆ มากมาย เช่นการลาเลียงถ่านหินเขา้ สูเ่ ตา และนาเถา้ ออกจากเตา การบดเน้ือสตั ว์เป็นตน้ นอกจากนี้อารค์ มิ ดี สี ยงั คดิ คน้ คานดดี คานงัด (Law of Lever) ทีใ่ ชส้ าหรับในการยกของทมี่ นี ้าหนกั มาก ซง่ึ ใชว้ ธิ ีการง่าย ๆ คอื ใชไ้ ม้คานยาว อันหน่ึงและหาจุดรองรับคานหรอื จุดฟัลครัม (Fulcrum) ซึง่ เมือ่ วางของบนปลายไมด้ า้ นหน่งึ และออกแรงกดปลายอกี ด้านหนึ่ง ก็จะสามารถยกของท่ี มนี ้าหนักมากไดอ้ ยา่ งสบาย รวมถงึ อาร์คมิ ีดิสได้ประดิษฐร์ อกซึง่ เปน็ เคร่ืองกลสาหรบั ยกของหนกั อกี ชนดิ หน่ึง เครื่องกลผ่อนแรงท้ังสองชนิดนี้อาร์คิมีดีสคิดค้นเพื่อกะลาสี

2 เรอื หลวงทต่ี อ้ งยกของหนักเป็นจานวนมากในแต่ละวันเครือ่ งกลผอ่ นแรงของอาร์คมิ ีดสี มีอีกหลายอย่าง ได้แก่ รอกพวงซึ่งใช้หลักการเดียวกันกับรอก และลอ้ กับเพลาใช้สาหรับเคลอ่ื นย้ายของทมี่ ีขนาดใหญแ่ ละน้าหนกั มาก เช่น กอ้ นหิน เป็นต้นเคร่ืองกลผ่อนแรงของอาร์คิมีดีสถือได้ว่าเป็นรากฐานที่ สาคญั ของวชิ ากลศาสตร์และยังเปน็ ท่ีนิยมใชก้ นั มาจนถึงปัจจบุ ันอีกทงั้ ไดม้ กี ารนาเครือ่ งกลผ่อนแรงเหล่านีม้ าเปน็ ต้นแบบเคร่ืองกลท่ีสาคัญในปัจจุบัน เช่น ลอ้ กับเพลา มาใชป้ ระโยชน์ในการขับเคล่ือนของรถยนต์ เปน็ ตน้ ในดา้ นคณิตศาสตร์ อารค์ มิ ีดิสสามารถคานวณหาพืน้ ทีห่ นา้ ตัดของทรงกรวย ทรงกลม และทรงกระบอกไดโ้ ดยใช้สตู รทางคณิตศาสตรท์ ่เี ขาเป็น คนคดิ คน้ ข้ึน และหาค่าของ ¶ ซงึ่ ใชใ้ นการหาพ้นื ที่ของวงกลม ตอ่ มาในปี 212 ก่อนครสิ ต์ศักราชกองทัพโรมันยกทัพเข้าตีเมืองไซราคิวส์อาร์คิมีดีสมีฐานะนักปราชญ์ประจาราชสานักจึงได้รับการแต่งต้ังให้ เป็นแม่ทพั บัญชาการรบและได้ประดิษฐ์อาวุธขึ้นหลายช้ินในการต่อสู้คร้ังน้ี ได้แก่เครื่องเหว่ียงหิน โดยอาศัยหลักการของคานดีดคานงัดซ่ึงสามารถ เหวีย่ งก้อนหินข้ามกาแพงไปถูกเรือของกองทัพโรมันเสียหายไปหลายลาอาวุธอีกชนิดหนึ่งที่ อาร์คิมีดีสประดิษฐ์ข้ึน คือโลหะขัดเงามีลักษ ณะคล้าย กระจกเว้าสะท้อนแสงใหม้ จี ุดรวมความรอ้ นท่สี ามารถทาให้เรือของกองทัพโรมันไหม้ไฟได้ นอกจากน้ียังมีเคร่ืองกลอีกชนิดหนึ่งเรียกว่า\"เคร่ืองกลส่ง ท่อนไม้\"ซ่ึงใช้ส่งท่อนไม้ขนาดใหญ่ด้วยกาลังแรงให้แล่นไปในน้า เพ่ือทาลายเรือข้าศึกกองทัพโรมันใช้เวลานานถึง 3 ปี กว่าจะยึดเมืองไซราคิวส์ได้ สาเรจ็ ด้วยในขณะนนั้ ภายในเมอื งไซราคิวส์กาลงั เฉลิมฉลองกันอยา่ งสนุกสนานเมอ่ื ตเี มืองไซราควิ ส์สาเร็จ แม่ทัพโรมัน มาร์เซลลัส (Marcellus) ได้สั่ง ให้ทหารนาตัวอารค์ ิมีดีสไปพบเนือ่ งจากชื่นชมในความสามารถของอาร์คมิ ีดสี เปน็ อย่างมากในขณะทต่ี ามหาอาร์คิมีดีสทหารได้พบกับอาร์คิมีดีสกาลัง ใช้ปลายไม้ขีดเขียนบางอย่างอยู่บนพื้นทรายแต่ทหารผู้น้ันไม่รู้จักอาร์คิมีดีสเมื่อทหารเข้าไปถามหาอาร์คิมีดีสเขากลับตวาด ทาให้ทะเ ลาะวิวาทกัน ทหารผนู้ น้ั ใช้ดาบแทงอารค์ ิมีดีสจนเสียชวี ิตเมือ่ มารเ์ ซลลสั ทราบเร่อื งก็เสยี ใจเป็นอย่างมากท่ีต้องสูญเสียนักปราชญ์ท่ีมีความสามารถ ดังนั้นเขาจึงรับ อุปการะครอบครัวของอาร์คิมีดีสและสร้างอนุสาวรีย์เพื่อให้ระลึกถึงความสามารถของอาร์คิมีดีสอนุสาวรีย์แห่งนี้มีลักษณะรูปทรงกลมอยู่ ใน ทรงกระบอก

3 ใบกิจกรรมท่ี 2.1 เร่อื ง ประวัตอิ าร์คิมดี ิส จากการอ่านประวตั ิอารค์ ิมดิ ิสในใบความรู้ที่ 2.1 จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ความรทู้ อี่ ารค์ ิมีดสิ ค้นพบเปน็ ความรปู้ ระเภทใด …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. อารค์ มิ ีดิสไดค้ วามรู้นนั้ มาได้อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. มปี ัจจัยใดบา้ งที่มีอทิ ธิพลต่อการค้นพบความรนู้ ัน้ ของอารค์ มิ ีดิส …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. อาร์คมิ ดี ิสมบี ุคลิกลักษณะอยา่ งไรบา้ ง …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………

4 ใบกิจกรรมที่ 4.1 เรื่องกระดาษหลากสี คาถามกอ่ นการทากิจกรรม ให้ผู้เข้ารับการอบรมตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. ประสบการณ์ ความเชือ่ อคติและความร้สู กึ นึกคิดของนักวิทยาศาสตร์มีผลต่อการทางานทาง วทิ ยาศาสตรข์ องนักวิทยาศาสตร์หรือไม่ อยา่ งไร ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... 2. กฎ หมายถงึ ................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ........................................... ................................................................................................................................................ ........................ 3. ทฤษฎี หมายถึง............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ 4. กฎและทฤษฏี มีความเหมือนหรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร ............................................................................................... ......................................................................... ............................................................................................................................. ...........................................

5 กิจกรรม ให้ผเู้ ข้ารบั การอบรมนาขอ้ มูลจานวนกระดาษสีท่ีเหลอื จากการทากิจกรรมเลือกหยิบกระดาษ แต่ละครงั้ มาบนั ทึกลงในตาราง ตารางแสดงจานวนกระดาษท่เี หลือจากการหยิบของแตล่ ะชวั่ รนุ่ ลายดอกไม้ สเี ขียว สมี ว่ ง สแี ดง สขี าว สเี หลอื ง ช่วั รนุ่ ท่ี 1 ชวั่ รนุ่ ที่ 2 ช่วั รนุ่ ท่ี 3 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งจานวนกระดาษสีทเ่ี หลือและชั่วรนุ่ (Generation) จานวน กระดาษสี ที่เหลือ (ช้นิ ) ชั่วรนุ่ (Generation)

6 คาถามหลงั การทากจิ กรรม ให้ผเู้ ข้าอบรมตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. ประสบการณ์ ความเชอื่ อคติและความรู้สึกนึกคิดของนักวิทยาศาสตรม์ ผี ลต่อการทางานทาง วทิ ยาศาสตรข์ องนักวิทยาศาสตร์หรอื ไม่ อยา่ งไร ..................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ........................................... 2. กฎ หมายถงึ ................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ........................................... ....................................................................................... ................................................................................. 3. ทฤษฎี หมายถึง............................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........ .......................................................................................................................... .............................................. 4. กฎและทฤษฏี มีความเหมือนหรอื แตกต่างกนั อย่างไร ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ...........................................

7 รูปภาพประกอบ กิจกรรมท่ี 5 รอยเท้าปริศนากับฟอสซลิ

8 ใบกิจกรรมที่ 5.1 แบบบนั ทึกกจิ กรรมสะทอ้ นความคดิ เรื่อง รอยเทา้ ปรศิ นากับฟอสซิล 1. กิจกรรมตอนท่ี 1 รอยเทา้ ปริศนา สะท้อน NOS ในประเด็นใดบ้าง อธิบายและยกตัวอย่าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. กจิ กรรมตอนท่ี 2 ฟอสซิล สะทอ้ น NOS ในประเด็นใดบ้าง อธิบายและยกตวั อยา่ ง …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. กิจกรรมตอนที่ 3 Finding Dino สะท้อน NOS ในประเด็นใดบ้าง อธิบายและยกตัวอย่าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ชื่อ………………………………………………………………………..โรงเรียน……………………………………………………

9 ใบกิจกรรมท่ี 6.1 ของเล่นท้องถิ่น (บั้งโพละ๊ ) คาชแี้ จง ให้วาดรปู บ้ังโพละ๊ ท่ีออกแบบ พร้อมทงั้ บอกรายละเอียดความยาวของลาไม้ไผ่ที่ใช้ เขียน หลกั การทีใ่ ช้ในการออกแบบ อุปกรณ์ทเ่ี ลือกใช้ลงในใบกิจกรรม รูปภาพ กรอบที่ 1 หลกั การทใี่ ช้ในการออกแบบ กรอบท่ี อุปกรณ์ทเี่ ลอื กใช้ กรอบท่ี 3

10 ใบกจิ กรรมท่ี 6.2 การแสดงความคดิ เหน็ จากการทากจิ กรรม ใบงาน เรอ่ื ง ของเลน่ ทอ้ งถ่ิน (บ้ังโพล๊ะ) ชื่อ............................................................................................................ ตาแหนง่ ............................. คาช้ีแจง ให้แสดงความคดิ เห็นในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1. มขี น้ั ตอนในการทาอยา่ งไรบ้างในการออกแบบและประดิษฐ์บ้ังโพล๊ะ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 2. ทาไมจึงใหท้ ากจิ กรรมในรปู แบบกระบวนการกลุ่ม .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. จากกจิ กรรม ที่ออกแบบบง้ั โพล๊ะ ใหส้ ามารถยงิ ไปได้ไกลที่สุด โดยเร่ิมจากออกแบบแบบจาลอง และ เขยี นหลกั การลงในใบกจิ กรรม ท่านคิดวา่ การทว่ี าดเพียงแบบจาลอง สามารถทีจ่ ะตอบคาถามจากโจทย์ วา่ บ้ังโพละ๊ สามารถยิงไปได้ไกล เพียงพอหรือไม่ อย่างไร .............................................................................................................................................. ................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. ในปัจจบุ นั การละเลน่ บง้ั โพล๊ะ ไม่นิยมเหมือนสมัยก่อน ปัจจัยใดที่สง่ ผลตอ่ การละเล่นบั้งโพล๊ะทีล่ ดลง ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ .

11 ชดุ กจิ กรรมท่ี 7.1 พนั ธศุ าสตร์กบั สังคม คาชี้แจง ในกจิ กรรมนี้ ผู้เข้ารบั การอบรมจะไดแ้ สดงความคดิ เห็นผ่านบทบาทสมมติ เรอ่ื งยูจีนิคส์ (Eugenics) แนวคิดการปรับปรุงพันธุ์มนษุ ย์ ให้ผเู้ ข้าอบรมดาเนินกิจกรรมตามขน้ั ตอนดังตอ่ ไปนี้ 1. ผ้เู ขา้ รับการอบรม 1 กลมุ่ จะไดร้ ับชดุ กจิ กรรม พนั ธศุ าสตร์กบั สังคม ประกอบด้วย 1.1 บัตรสถานการณส์ าหรับบทบาทสมมติ 1 แผน่ 1.2 บตั รบทบาทสมมติ เทา่ จานวนสมาชิกในกลุม่ (หา้ มเปิดจนกว่าจะไดร้ บั คาส่ัง) 1.3 ใบกิจกรรม พนั ธศุ าสตรก์ บั สังคมเทา่ จานวนสมาชกิ ในกล่มุ 2. ให้ตัวแทน 1 คน อา่ นบตั รสถานการณ์สาหรบั บทบาทสมมติ ให้เพอื่ นสมาชกิ ฟังจนเขา้ ใจ 3. สมาชกิ จบั สลากบัตรบทบาทสมมติ 1 คน ตอ่ 1 ใบ 4. ศึกษาบทบาททต่ี นเองไดร้ ับ เมือ่ สมาชกิ ทกุ คนพร้อมแลว้ ใหแ้ ต่ละคนแนะนาตัวตามบาทบาท ทต่ี นเองได้รบั และเร่มิ อภปิ รายตามหวั ข้อที่กาหนดไวใ้ นบตั รสถานการณ์ โดยออกความเห็นให้สอดคล้องกับ บทบาทของตน 5. เมอื่ เสร็จสน้ิ กจิ กรรม ให้ผู้เข้าอบรมตอบคาถามเปน็ รายบุคคลลงใน ใบกิจกรรม พันธศุ าสตร์ กบั สงั คม ตอนที่ 1 สะท้อนความคิดเหน็ สว่ นตัวของทา่ น ตอนที่ 1 สะท้อนความคดิ เห็นส่วนตวั ของท่าน หลงั เสร็จสิ้นกจิ กรรมบทบาทสมมตแิ ลว้ ใหผ้ เู้ ข้าอบรมแสดงความคดิ เห็นทเ่ี ปน็ ของท่านเองตาม หัวข้อ “เราควรสนับสนุนให้รัฐบาลออกกฎหมายควบคมุ ผู้ท่มี สี ตปิ ัญญาไมส่ มประกอบใหท้ าหมนั หรือไม่ เพราะ เหตุใด” …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………

12 ตอนท่ี 2 สรปุ แนวคิดเรื่องพันธุศาสตร์กบั สงั คม หลงั จากท่ีวิทยากรอธิบายเร่อื งยูจนี คิ สจ์ บ ใหผ้ ูเ้ ขา้ อบรมบันทึกผลการอภิปรายกล่มุ ในหัวข้อ ตอ่ ไปนี้ 1. ในชว่ งเวลาราว ค.ศ. 1900 นักวทิ ยาศาสตรม์ ีแนวคดิ วา่ ลกั ษณะทกุ ประการของมนุษยล์ ว้ น ถกู ควบคุมดว้ ยยีน และเปน็ ไปตามอตั ราส่วนที่แนน่ อนตามกฎของเมนเดลคิดว่าปัจจบุ ันนักวทิ ยาศาสตรย์ งั มี แนวคิดเช่นนั้นหรอื ไม่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. ผู้เข้ารับการอบรมคิดวา่ ความรทู้ างวิทยาศาสตร์ท่เี ปน็ ท่ียอมรับในยุคสมัยหนง่ึ ๆ สามารถ เปล่ียนแปลงไดห้ รือไม่ เพราะเหตใุ ด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การนาความรู้ทางพันธศุ าสตรไ์ ปใช้ในช่วงปีค.ศ. 1900 กอ่ ให้เกดิ ผลต่อสงั คมอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. การสนับสนุนของรัฐบาลและสงั คมมผี ลต่อความก้าวหน้าในการวจิ ยั ที่เกยี่ วขอ้ งกับการ ปรับปรุงพันธุ์มนุษย์อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ปจั จัยใดมีผลต่อสงั คมในการสนับสนุนงานวจิ ยั ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

13 บตั รสถานการณส์ าหรบั บทบาทสมมติ “ยจู ีนคิ ส์ (Eugenics) แนวคิดการปรับปรุงพนั ธุ์มนุษย์” ในปี 1900 นกั วิทยาศาสตร์พบว่าในสง่ิ มชี ีวิตรวมท้ังมนษุ ย์มีหน่วยทางชีววทิ ยาอยา่ งหนึ่งเรียกวา่ ยนี ทาหน้าทถ่ี ่ายทอดลักษณะต่างๆจากพ่อแมส่ ลู่ ูก แมว้ า่ จะไม่มใี ครเคยเหน็ ยนี แต่ด้วยหลกั การถ่ายทอด พนั ธุกรรมที่นักวิทยาศาสตร์เรียกวา่ กฎของเมนเดล กส็ ามารถอธบิ ายปรากฏการณ์การถ่ายทอด พนั ธกุ รรมได้อย่างสอดคล้อง ก่อใหเ้ กดิ สาขาวชิ าหนง่ึ เรียกวา่ ยจู นี ิคส์ (Eugenics) ซง่ึ ใชก้ ฎของเมนเดล เปน็ หลกั ในการศึกษาและทานายการถ่ายทอดลักษณะต่างๆของมนุษย์ นักวชิ าการยจู นี ิคสเ์ ช่อื วา่ เรา สามารถสร้างสังคมทม่ี ั่นคงและปลอดภัยกวา่ เดิมไดโ้ ดยการควบคมุ คนทม่ี ีลักษณะทด่ี ี เช่น ผวิ ขาว หนา้ ตา ดี ฉลาด ฐานะรา่ รวย ใหส้ ืบพันธ์มุ ลี กู หลานตอ่ ไป และควบคุมคนท่ีมลี กั ษณะที่ไม่พึงประสงค์ เช่น สติปญั ญาไม่สมประกอบ ตดิ สุรา มอี าการผดิ ปกติทางจติ ให้ถกู ควบคุมไว้ในท่ีจากัดเพ่ือไม่ให้แพร่พันธแ์ุ ละ ใหก้ าเนดิ ลูกหลานทมี่ ลี กั ษณะไม่ดี แนวคดิ นี้ถูกเสนอต่อรัฐบาลเพอื่ ให้ออกกฎหมายควบคุมผ้ทู ีม่ ีลักษณะ ไม่พึงประสงค์ ใหท้ าหมันเพื่อลดปญั หาการเพิ่มจานวนพลเมอื งท่ีไม่พึงประสงคใ์ นอนาคต วันหนง่ึ หัวหน้าชุมชนที่ท่านอาศัยอยเู่ รียกสมาชกิ ทั้งหมดในชุมชนมาประชุมรว่ มกับ นักวิทยาศาสตรแ์ ละนักวิชาการด้านยูจีนิคส์ เพอ่ื หารือว่าชมุ ชนนจ้ี ะมีการเคลื่อนไหวเพื่อสนบั สนนุ หรือต่อตา้ นการออกกฎหมาย ทา่ นจะออกความเห็นอยา่ งไรในทปี่ ระชุมคร้งั นี้ บทบาทที่ 1 นักวิทยาศาสตร์ผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นพันธศุ าสตร์ คณุ คือนักวทิ ยาศาสตร์ผู้เช่ียวชาญด้านพันธุศาสตร์ คุณทาการทดลองเพ่ือศึกษาการถ่ายทอด ลกั ษณะทางพันธกุ รรมในส่ิงมีชีวติ หลายชนิดท้ังพชื และสตั ว์ คณุ ทราบว่า ยนี เปน็ ส่งิ ทีย่ งั ไม่มี นักวิทยาศาสตร์คนใดมองเหน็ แต่จากผลการทดลองของคุณและนักวทิ ยาศาสตร์อีกหลายสบิ คนก็เป็นไป ตามแนวคิดเร่ืองยีนและกฎของเมนเดล อย่างไรกต็ ามคณุ ยอมรบั ว่ามลี กั ษณะของส่งิ มชี ีวิตอกี หลายอยา่ ง ทย่ี ังไม่ถกู ทดสอบว่าเป็นไปตามกฎของเมนเดล โดยเฉพาะการถา่ ยทอดพันธกุ รรมของมนุษยท์ ไ่ี ม่สามารถ นามาเล้ยี งดูเพ่ือสังเกตในห้องทดลองไดอ้ ยา่ งสงิ่ มชี ีวติ อน่ื

14 บทบาทที่ 2 นกั วิชาการด้านยูจีนคิ ส์ คุณคือนักวชิ าการด้านยจู ีนคิ ส์ ผลการทดลองของนักวทิ ยาศาสตร์ทาให้คณุ ทราบว่า ยีน เป็น หนว่ ยทางชวี วทิ ยาท่ีทาหนา้ ที่ควบคมุ การถา่ ยทอดลักษณะต่างๆจากพ่อแมส่ ่ลู ูก คุณศึกษาพงศาวลีของ ครอบครวั นบั หม่นื ครอบครวั จนมัน่ ใจว่าลักษณะทุกประการของมนษุ ยเ์ ปน็ ผลจากการถ่ายทอด พันธุกรรมโดยยีน คุณเช่ือมัน่ วา่ สงั คมจะดีข้นึ ได้ถา้ คนทม่ี ลี ักษณะแย่ๆอย่างสตปิ ัญญาไม่สมประกอบ เป็นโรคติดสรุ าหรอื มีความผดิ ปกติทางจติ ถูกควบคุมตัวไมใ่ หด้ ารงชีวติ ในสังคมปกติ และถกู บงั คับให้ทา หมันเสยี เพอ่ื ทสี่ ังคมในอนาคตจะได้เต็มไปดว้ ยคนปกติทช่ี าญฉลาด พฒั นาสงั คมให้ก้าวหน้าตอ่ ไป บทบาทที่ 3 พ่อ-แมผ่ ู้ไมส่ มประกอบ คุณและคสู่ มรสทม่ี ฐี านะยากจน ลกู คนเดยี วของคณุ อาจไมฉ่ ลาดเฉลียวนกั แตก่ ็ดูแลตนเองและ ชว่ ยคณุ ทาไร่ไถนาได้ วนั หน่งึ มีนักวชิ าการฐานะร่ารวยมาพบคุณท่บี ้าน หลงั จากถามคาถามคณุ และคน ในครอบครวั หลายอย่างนักวชิ าการคนเดิมได้กลับมาพบคุณและบอกกบั คณุ วา่ ลูกของคณุ มสี ติปญั ญาต่า กวา่ ปกติ ในอนาคตเมือ่ ลูกของคุณแต่งงาน เขาจะให้กาเนิดลูกทม่ี ีสตปิ ัญญาตา่ เป็นภาระของคุณและ สังคม คุณจงึ ควรสง่ ลกู ของคุณไปอยู่ในโรงพยาบาลทม่ี ีแต่คนทสี่ ตปิ ัญญาต่าเหมือนๆกัน และควบคมุ ให้ ทาหมันเพ่ือจะได้ไมม่ ลี ูกตอ่ ไป บทบาทที่ 4 ผู้ไม่สมประกอบ คณุ เปน็ เด็กสาว / เด็กหนมุ่ ที่เกิดมาในครอบครวั ที่มฐี านะยากจน คุณชว่ ยพ่อแม่ทางานในบ้าน เพ่ือให้พอมีอาหารกินในแต่ละวัน วนั หนง่ึ มีนักวชิ าการฐานะรา่ รวยมาพบคุณทบ่ี า้ น หลงั จากถามคาถาม คณุ และคนในครอบครัวหลายอย่างนกั วิชาการคนเดมิ ได้กลบั มาพบคณุ และบอกกับพ่อแม่ของคณุ ว่าคุณ มีสติปัญญาตา่ กวา่ ปกติ ในอนาคตเม่ือคณุ แตง่ งาน คณุ จะให้กาเนิดลูกท่ีมสี ตปิ ญั ญาต่า ท้งั คุณและลูกจะ เป็นภาระทง้ั ของครอบครวั และสังคม คุณจะต้องถกู สง่ ไปอยู่ในโรงพยาบาลท่มี ีแต่คนทีส่ ติปัญญาตา่ เหมอื นๆกนั และถูกควบคุมใหท้ าหมันเพื่อจะได้ไม่มีลูกตอ่ ไป

15 บทบาทท่ี 5 คณุ เป็นประชาชนคนหนง่ึ ในชุมชน คณุ และสมาชิกในครอบครวั มีสุขภาพแขง็ แรง ทามาหา กนิ ด้วยความซ่ือสัตยส์ จุ ริต มรี ายได้ปานกลาง พอกินพอใช้ และอาศัยอยู่ในชมุ ชนอยา่ งสงบสขุ อยา่ งไรกต็ าม คุณพบว่าอาชญากรรมในชมุ ชนเริ่มมากขน้ึ คนร้ายมักเปน็ คนยากจน มปี ัญหาตดิ เหล้า บางคนก็จิตไมส่ มประกอบ คุณอยากให้ทางการแก้ปญั หาอาชญากรรมและนาความสงบสขุ มาสู่ ชุมชนอีกครง้ั แต่คณุ ยังไม่แนใ่ จว่าจะมที างแก้ปญั หาได้อย่างไรบ้าง

16 กจิ กรรมที่ 8 ลายนิว้ มือ ใบความรทู้ ี่ 8.1 หัวข้อขา่ วจากเหตุการณ์แผน่ ดนิ ไหวทเี่ มอื งไครสต์เชริ ช์ ของประเทศนวิ ซีแลนด์ สานักงานตรวจพิสจู น์หลักฐานตารวจยืนยนั พิสจู น์ลายน้ิวมือ 4 ศพเปน็ คนไทย 24 ก.พ.2554 รายงาน ข่าวจากสานักข่าว ตา่ งประเทศแจ้งวา่ จาก เหตุการณแ์ ผ่นดินไหว ขนาด 6.3 ริกเตอร์ ทไี่ ค รสต์เชริ ช์ เมอื งใหญ่ อันดับ 2 ของประเทศ นิวซีแลนด์ มีผเู้ สียชีวติ อยา่ งน้อย 75 ราย สญู หายอีกกวา่ 300 ราย ทงั้ น้ี เจ้าหน้าทก่ี ูภ้ ยั ทเี่ ขา้ ช่วยเหลอื ผ้ตู ดิ อยู่ในซาก อาคารแคมรีเทเลวิชน่ั ได้นาตัวหญงิ สาวชาวไทย ช่อื น.ส.ดสิ ราพร ออกมาจากซากอาคารได้ ซง่ึ น.ส.ดสิ ราพร ระบวุ า่ ยงั มเี พื่อนติดอยภู่ ายในอาคารอกี 6 คนจากนน้ั พล.ต.ท.จรัมพร สุระมณีผู้บัญชาการสานักงานตรวจ พสิ จู น์หลกั ฐานตารวจในฐานะหัวหน้าทมี ตรวจพสิ จู นเ์ อกลักษณ์บุคคลประชุมผา่ นระบบวิดีโอคอนเฟอรเ์ รนซ์ จากประเทศนิวซีแลนดเ์ ปิดเผยความคบื หนา้ การตดิ ตามพยาบาลไทยท่ีหายตัวไปจากเหตุแผน่ ดินไหวใน ประเทศนวิ ซีแลนด์ วา่ ขณะนี้ทางเจา้ หนา้ ทป่ี ระสบความสาเร็จในการค้นพบแลว้ โดยสามารถค้นพบศพ พยาบาลท้งั หมดจนครบ 6 ราย โดยล่าสุด คน้ พบอกี 4 ราย ประกอบดว้ ยน.ส.วนั เพญ็ ปรีนะกลางน.ส.จิตรา ไวทสุทธธิ าดาพงษ์ น.ส.พมิ พ์พร เล้ยี งเช้ือและน.ส.ธนดิ า อินทรวรางกรู โดยไดจ้ ากการเปรียบเทยี บ ลายน้ิวมือทไี่ ดเ้ ตรยี มไปโดยมีเพียงศพของ น.ส.วนั เพ็ญ ทต่ี ้องใช้ DNA ประกอบ เน่ืองจากนวิ้ มอื ถูกไฟไหม้โดย ศพทีเ่ หลือทัง้ หมดนนั้ รวมถึงน.ส.ศิรพิ ันธ์ วงศก์ ุลการท่ีคน้ พบก่อนหนา้ แหลง่ ที่มา http://news.sanook.com/1005238

17 ใบกิจกรรมท่ี 8.1 เรอื่ งค้นหาโจรปลน้ บา้ นเศรษฐี ในบ้านของเศรษฐีคนหนง่ึ ถูกโจรเขา้ มาปลน้ สมบัตใิ นบ้าน จากการจับกมุ คนรา้ ยมบี คุ คล 2 คนทเ่ี ปน็ ผู้ตอ้ งสงสยั ในเหตกุ ารณ์คือ สมชายและสมศักด์ิ และจากการตรวจสอบของตารวจในท่เี กดิ เหตพุ บรอยน้ิวมือที่ อยบู่ นกระจกหนา้ ต่าง 3 รปู แบบ คอื รปู แบบ B , F , G ท่อี ยใู่ นกล่อง ในฐานะท่ที ่านเปน็ นักสืบ อยาก ทราบวา่ สมชายหรือสมศักด์ทิ ี่เปน็ คนร้ายในเหตุการณน์ ้ี โดยมขี อ้ มลู ของลายนิ้วมอื ของสมชายและสมศักด์ิ ดังน้ี ลายน้ิวมอื ของสมชาย ลายนิว้ มอื ของสมศักด์ิ

18

19 ใบกจิ กรรมที่ 8.2 เรื่องการจาแนกลายนิว้ มือของฉัน วิธดี าเนนิ กิจกรรม 1. ใช้ดินสอ 2B ขดี บนกระดาษให้เปน็ แถบสดี า 2. กดลายนวิ้ มอื ของตนเองลงบนแถบสดี า 3. นาเทปใสมาปิดบนลายน้ิวมือ จากนัน้ ดึงเทปใสออกแล้วนาเทปใสที่มลี ายน้วิ มือมาตดิ ลงใน แผนภาพแสดงลายนิว้ มอื ของฉนั จนครบท้งั หมด 10 น้วิ แผนภาพแสดงลายพิมพ์นิ้วมอื ของฉัน

20 ใบกจิ กรรมที่ 8.3 เรื่อง การกาหนดอตั ราส่วนรปู แบบของลายน้ิวมือ วิธดี าเนินกจิ กรรม 1. ใหค้ รแู ต่ละกลุ่มอภิปรายถึงอตั ราสว่ นของการเกดิ รูปแบบของลายนวิ้ มือลงในใบตาราง บนั ทึกผล เร่ืองการกาหนดอตั ราส่วนรปู แบบของลายน้วิ มือ แล้วสรปุ เปน็ ข้อมลู ของกลุ่ม รปู แบบลายน้ิวมือ จานวน จานวนทง้ั หมด รอ้ ยละของ วง (loop) รูปแบบลายน้วิ มอื วงกน้ หอยกระเป๋ากลาง (central pocket loop) มดั หวายคู่ (double loop) โค้งราบ (plain arch) โค้งกระโจม (tented arch)

รูปแบบลายน้วิ มอื 21 ก้นหอย (plain whorl) จานวน จานวนทงั้ หมด รอ้ ยละของ ซับซอ้ น (accidental) รปู แบบลายน้ิวมือ

22 กิจกรรมท่ี 9 ผงปริศนา ใบกิจกรรมท่ี 9.1 เร่อื ง ความเป็นกรด–เบสของสาร จดุ ประสงค์ 1. อธิบายสมบัตคิ วามเปน็ กรด-เบส และเป็นกลางของสารได้ 2. ทดลองและสรุปสมบัติความเป็นกรด-เบสของสารเม่ือทาปฏกิ ริ ิยากับกระดาษลติ มสั ได้ 3. จาแนกสารในชีวติ ประจาวันโดยใช้สมบตั คิ วามเป็นกรด-เบสเปน็ เกณฑ์ได้ คาชีแ้ จง 1. ให้สมาชิกในกล่มุ รว่ มกนั วางแผนวิธีการทดลองลงในกระดาษชารท์ และใบกจิ กรรมท่ี 1 2. ดาเนินการทดลองเรื่องความเป็นกรด-เบส ของสาร 3. บนั ทึกผลการทดลอง และสรปุ ผลการทดลอง ลงในกระดาษชาร์ท และใบกิจกรรมท่ี 1 วัสดุอุปกรณ์ 1. กระดาษชารท์ 2. นา้ อดั ลม 3. น้ามะขาม 4. น้ามะนาว 5. นา้ ส้มสายชู 6. นา้ ข้ีเถ้า 7. น้าสบู่ 8. สารละลายผงซกั ฟอก 9. สารละลายยาสีฟนั 10. น้ายาลา้ งจาน 11. กระดาษลิตมสั สีนา้ เงินและสีแดง 12. สารละลายแคลเซยี มคลอไรด์ ( น้าปูนใส ) 13. นา้ ปลา 14. แชมพู 15. นา้ ตาล 16. ซีอ๊วิ ดา 17. ซอสพรกิ 18.แกว้ ขนาดเลก็ วธิ ีการทดลอง ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................ ........................................................ ....... ............................................................................................................................. .................................. ........................................................................................................................................................ ....... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... .............................................................. .......................................................................................... ....... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. .............................................................................................. .......................................................... .......

23 ผลการทดลอง ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................ ........................................................ ....... ............................................................................................................................. .................................. ........................................................................................................................................................ ....... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. สรปุ ผลการทดลอง ............................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................................................................ ............... ................................................................................................................... ............................................ ............................................................................................................................. .................................. ................................................... ..................................................................................................... ....... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................

24 ใบกจิ กรรมท่ี 9.2 เรอื่ ง ผงปรศิ นา ****************************************************** จุดประสงค์ 1. ทดลองและสรุปสมบัติความเป็นกรด-เบสของสารเมื่อทาปฏกิ ริ ยิ ากบั กระดาษลติ มสั ได้ 2. จาแนกสารโดยใช้สมบัติความเป็นกรด-เบสเปน็ เกณฑ์ได้ 3. อธิบายไดว้ ่าความรูท้ างวิทยาศาสตร์ตอ้ งอาศัยหลกั ฐานและสามารถเปล่ยี นแปลงได้ 4. อธบิ ายไดว้ า่ การศึกษาหาความรทู้ างวิทยาศาสตรม์ ีหลากหลายวิธี มีท้ังการสังเกตและการลง ข้อสรปุ 5. อธบิ ายได้ว่าการทางานทางวทิ ยาศาสตรต์ ้องอาศยั ความคดิ สรา้ งสรรค์และจนิ ตนาการ 6. อธิบายไดว้ ่าวิทยาศาสตรเ์ ปน็ กิจกรรมอยา่ งหน่งึ ของมนุษย์ คาช้แี จง ผู้เขา้ รบั การอบรมดาเนินกิจกรรม เรอื่ ง ผงปรศิ นาตามลาดับขนั้ ตอน โดยรอรบั ฟังคาถาม จากวิทยากร วสั ดอุ ุปกรณ์ 1. ถุงผ้า 2. ถงุ ซปิ พลาสติก คาถาม “ทา่ นคิดวา่ ส่งิ ท่ีอยู่ภายในถุง คืออะไร” (คาตอบของทา่ น คือ.............................................................................................................................. ................................................................................................................ ...............................................) (เพราะเหตุใด ท่านจึงคดิ เชน่ น้นั ........................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ..................................

25 “ส่ิงทีอ่ ยู่ในถงุ มีความเหมือน และแตกตา่ งกันอย่างไร” (ผูเ้ ข้ารบั การอบรมเขยี นสง่ิ ทสี่ ังเกตได้ ลงในใบกจิ กรรม ครง้ั ที่ 1) 3. เปิดถุงซิปพลาสติกออก “สิ่งทอ่ี ยู่ในถงุ มีความเหมือน และแตกต่างกนั อย่างไร” (ผู้เข้ารับการอบรมเขยี นสิง่ ท่ีสังเกตได้ ลงในใบกจิ กรรม ครั้งท่ี 2) 4. เปิดถงุ ผา้ ออก “สง่ิ ทอี่ ยู่ในถุงมีความเหมือน และแตกต่างกันอยา่ งไร” (ผเู้ ข้ารับการอบรมเขียนส่งิ ทีส่ ังเกตได้ ลงในใบกิจกรรม ครัง้ ที่ 3) ตารางบนั ทึกผลการสังเกต ตรวจสอบครั้งท่ี ถงุ ท่ี 1 สิ่งท่สี ังเกตได้ ถุงท่ี 3 ................................... ถงุ ที่ 2 ................................... 1 ................................... ................................... วธิ กี ารตรวจสอบ ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... คดิ วา่ สง่ิ ทอี่ ยู่ในถงุ คือ ................................... คดิ ว่า ส่งิ ท่อี ยูใ่ นถงุ คือ ................................... ................................... ................................... ................................... .................................. คดิ ว่า สง่ิ ทอี่ ยใู่ นถุง คือ ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... 2 ................................... ................................... ................................... เปดิ ถุงซปิ พลาสตกิ ออก ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... วธิ กี ารตรวจสอบ ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... คดิ ว่า ส่ิงที่อยใู่ นถงุ คือ ................................... คดิ วา่ ส่ิงที่อยู่ในถงุ คือ ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... คิดว่า ส่งิ ทีอ่ ยู่ในถุง คือ ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ...................................

26 ตรวจสอบคร้ังท่ี ถุงที่ 1 สง่ิ ทส่ี ังเกตได้ ถงุ ท่ี 3 ................................... 3 ................................... ถุงท่ี 2 ................................... เปิดถุงผา้ ออก ................................... ................................... วธิ ีการตรวจสอบ ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... คิดว่า ส่ิงที่อยู่ในถุง คือ ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... คิดว่า สิ่งที่อยใู่ นถงุ คือ คดิ ว่า ส่งิ ท่ีอยู่ในถุง คือ ................................... ................................... ................................... ................................... วธิ ีการทดลอง ............................................................................................................................. ........................................... ....................................................................................... ................................................................................. ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... ....................................................................................... ................................................................................. ............................................................................................................................. ........................................... .................................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................ ............................................................................ สรุปผลกิจกรรม ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... *********************************************************

27 รายชือ่ สารในชีวติ ประจาวัน คาชแี้ จง จงเขยี นรายชือ่ สารในชีวติ ประจาวนั ใหม้ ากท่สี ดุ

28 กิจกรรมท่ี 10 ข้างขนึ้ ขา้ งแรม ใบความร้ทู ่ี 10.1 เรอื่ ง การหมนุ รอบตัวเองของดวงจันทร์และการโคจรรอบโลก ดวงจันทรม์ กี ารหมนุ รอบตัวเองครับ โดย 1 รอบใชเ้ วลาประมาณ 27.32 วัน และในขณะเดียวกัน ดวงจันทร์ก็โคจรรอบโลกของเราด้วย การโคจรของดวงจันทร์รอบโลกครบ 1 รอบน้ันใช้เวลาประมาณ 27.32 วัน ซ่ึงผลจากการท่คี าบเวลาการโคจรรอบโลกเท่ากับ (โดยประมาณ) คาบเวลาที่ดวงจันทร์ใช้ในการหมุนรอบ ตวั เองน้ี จึงทาใหด้ วงจันทร์หนั ด้านๆหน่ึงเข้าหาโลกตลอดเวลา ทั้งน้ีในอดีตน้ันดวงจันทร์มีการหมุนรอบตัวเอง เรว็ กวา่ ที่เปน็ อยูใ่ นปจั จุบัน แต่หลงั จากเวลาผา่ นไปหลายล้านปี ผลของแรงโน้มถ่วงโลกที่มีต่อดวงจันทร์ ทาให้ ดวงจนั ทรม์ กี ารหมุนรอบตวั เองชา้ ลง จนกระทั่งในปัจจุบันอัตราการหมุนรอบตัวเองและการโคจรรอบโลกมีค่า เท่ากนั (โดยประมาณ) จงึ เป็นสาเหตวุ ่าทาไมเราจงึ มองเหน็ ดวงจนั ทร์เพยี งด้านเดยี วตลอดเวลา ภาพดวงจนั ทรห์ มุนรอบตัวเองและในขณะเดียวกันกโ็ คจรรอบโลก ท่ีมา http://www.mhhe.com/physsci/astronomy/arny/instructor/graphics/ch06/0611.html

29 จากภาพจาลองเป็นการจาลองการสังเกตดวงจันทร์ในมุมเหนือขั้วโลกเหนือของโลก จะเห็นลักษณะ การหมนุ รอบตัวเองของดวงจนั ทรใ์ นลกั ษณะทวนเข็มนาฬกิ าและโคจรรอบโลกในลักษณะเดียวกัน โดยหันด้าน สูงสุด(lunar peak) เข้าหาโลก การหมุนรอบตัวเองและการโคจรรอบโลกมีค่าเท่ากัน(โดยประมาณ) จึงเป็น สาเหตุว่าทาให้เราจึงมองเห็นดวงจันทร์เพียงดา้ นเดยี วตลอดเวลายานลูนา 3 ของรัสเซียเป็นยานสารวจลาแรก ทถ่ี า่ ย ภาพด้านไกลของดวงจันทร์ (ดา้ นท่เี รามองไมเ่ ห็นจากโลก) เม่อื วนั ท่ี 7 ตุลาคม 1959 ภาพถ่ายภาพแรกของด้านไกลของดวงจนั ทร์ ถ่ายโดยยานลนู า 3 ท่มี า http://solarsystem.nasa.gov/multimedia/display.cfm? IM_ID=1963

30 ใบกจิ กรรมที่ 10.1 เรอื่ ง ขา้ งขน้ึ ขา้ งแรมเกดิ ขน้ึ ได้อยา่ งไร จุดประสงค์ 1. สรา้ งแบบจาลองที่ใช้อธิบายปรากฏการณ์ขา้ งขนึ้ ข้างแรม 2. สังเกตและบันทกึ ข้อมลู การเกิดขา้ งขึ้นขา้ งแรมจากแบบจาลองได้ 3. รวบรวมขอ้ มลู และสรุปหลักการเกดิ ขา้ งขน้ึ ขา้ งแรมได้ สอื่ และอุปกรณ์ 1. กระดาษแผน่ ใหญ่วาดตาแหนง่ 8 ตาแหนง่ 2. กระดาษแขง็ ทีต่ ัดเปน็ สีเหลี่ยมผืนผา้ ขนาด กว้าง 15 เซนติเมตร ยาว 90 เซนติเมตร 3. เทปใส 4. ลกู บอลโฟม 5. ปากกาเมจิก 6. โคมไฟตงั้ โต๊ะ ตอนท่ี 1 สว่ นมืดส่วนสว่างบนดวงจนั ทร์เป็นอยา่ งไร 1. ผ้เู ข้าร่วมอบรมแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน 2. แตล่ ะกลุม่ สร้างหมวกกระดาษ โดยม้วนกระดาษแข็งท่เี ตรียมให้และใชเ้ ทปใสตดิ ใหม้ ีลักษณะดังแผนภาพ รูปที่ 1 หมายเหตุ ขนาดของหมวกให้มีความพอดีกบั ศีรษะของผรู้ ว่ มทากจิ กรรม 3. นาลกู บอลโฟมวางบนหมวกกระดาษและตดิ ดว้ ยเทปใส ดังแผนภาพรูปที่ 2

31 4. ผ้เู ขา้ รว่ มการอบรมคนหน่ึงสวมหมวกทีม่ ลี ูกบอลโฟมและเคล่อื นที่เปน็ วงกลม ดังแผนภาพรูปท่ี 3 โดย ผูส้ ังเกตอยู่ในวงกลม ณ ตาแหน่งท่ีแสดง สังเกตแสงท่ตี กกระทบลูกบอลโฟม สังเกตส่วนมดื ส่วนสวา่ ง บนลูกบอลโฟม พร้อมท้ังบันทึกเงาสว่ นมดื ทเี่ หน็ และระบุตาแหนง่ การสงั เกตนน้ั o ผสู้ ังเกต ตอนท่ี 2 ทาไมเราเห็นรูปร่างดวงจันทร์เปลี่ยนแปลงได้ 1. วาดภาพกระต่ายบนลูกบอลโฟมแล้วตดิ ลูกบอลโฟมบนหมวกกระดาษโดยใหด้ ้านท่ีมีรปู กระต่ายหันเขา้ หาผ้สู งั เกตและตดิ ให้มีลักษณะดงั แผนภาพรปู ที่ 4 2. วาดตาแหนง่ 8 ตาแหนง่ บนกระดาษแผ่นใหญ่ ดังแผนภาพรปู ท่ี 5 ตาแหน่ง ตาแหนง่ ตาแหน่ง 4 3 2 ตาแหน่ง ผู้ ตาแหนง่ 5 1 ตาแหน่ง ตาแหน่ง ตาแหน่ง แหลง่ กำเนดิ แสง 6 7 8

32 3. ผู้เข้ารับการอบรมแตล่ ะกลุ่มคาดคะเนลักษณะของดวงจนั ทรท์ ่เี หน็ ในแตล่ ะตาแหน่ง วาดลงใน กระดาษ A4 4. ผู้เขา้ ร่วมอบรมแตล่ ะกลุ่มรว่ มทากิจกรรมดงั ต่อไปน้ี ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมคนท่ี 1 ยืนตรงกลางในตาแหนง่ ผู้สงั เกต ตามแผนภาพรูปท่ี 5 ผ้เู ขา้ รว่ มอบรมคนท่ี 2 ใสห่ มวกกระดาษทม่ี ลี ูกบอลโฟมดา้ นบนหมวก ยืน ระหวา่ งผสู้ ังเกตและ แหลง่ กาเนิดแสง ณ ตาแหนง่ ท่ี 1 สงั เกตสว่ นมดื และส่วนสวา่ งบนลูกบอลโฟม บันทึกผลโดยแรเงา สว่ นมืด 5. แตล่ ะกลมุ่ ศึกษาใบความรู้ เร่อื ง การหมุนรอบตัวเองของดวงจันทรแ์ ละโคจรรอบโลก อภิปรายถึงทศิ ทางการ หมนุ ของรอบตัวเองของดวงจันทรก์ บั การโคจรรอบโลก สรุปประเดน็ พร้อมนามาแสดงบทบาทสมมตุ ิ 6. บันทึกผลทไี่ ดจ้ ากการสงั เกตในแตล่ ะตาแหน่งในใบบนั ทึกกิจกรรม เร่อื งขา้ งข้นึ ข้างแรมเกิดขนึ้ ได้ อย่างไร ตอนท่ี 2 7. ตวั แทนผู้เข้ารว่ มการอบรมนาเสนอแนวคิดของกลมุ่ ท่ใี ช้ในการอธบิ ายรูปแบบลักษณะของดวงจนั ทร์ที่ ได้จาก การสังเกต แล้วรว่ มกันอภิปรายสรุปแนวคิดเร่ืองการเกิดข้างขึน้ และขา้ งแรมและการหมุนรอบตัวเอง ของดวงจันทร์และโคจรรอบโลก

33 แบบบนั ทกึ สาหรับใบกจิ กรรมที่ 10.1 เร่ืองข้างข้ึนข้างแรมเกดิ ขึน้ ได้อย่างไร ผลทส่ี ังเกตได้จากกิจกรรมในตอนที่ 1 ส่วนมดื ส่วนสวา่ งบนดวงจันทรเ์ ป็นอย่างไร 1. ศกึ ษาแผนภาพข้างลา่ ง และตอบคาถามดังตอ่ ไปน้ี ตำแหนง่ ที่ 2 ตำแหนง่ ท่ี 3 o ตำแหนง่ ที่ 1 O= ผสู้ ังเกต 1.1 ตาแหนง่ ใดที่แทนดวงจนั ทร์……………………………………………………………………………………………… 1.2 ตาแหน่งใดที่แทนดวงอาทิตย์……………………………………………………………………………………………. 1.3 ตาแหนง่ ใดที่แทนมนุษย์ท่ีอาศัยบนโลก……………………………………………………………………………… 2. เรามองเห็นแสงจากดวงจนั ทร์ได้อยา่ งไร ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... ....................................................................................... ................................................................................. 3. ดวงจนั ทรด์ า้ นทไ่ี ดร้ บั แสงและด้านที่ไม่ไดร้ ับแสง มีลักษณะเหมือนหรอื แตกต่างกันอย่างไร ....................................................................................... ................................................................................. ............................................................................................................................. ........................................... .................................................................................................................................. ......................................

34 4. เมือ่ เคล่ือนลูกบอลโฟมไปเปน็ วงกลม ผู้สงั เกตที่อยู่นอกวงกลม ณ ตาแหน่งทแ่ี สดง จะเห็นสว่ นมืด ส่วนสว่าง บนลกู บอลโฟมเป็นอยา่ งไร แรเงาสว่ นมดื ทสี่ ังเกตเหน็ จากการทากิจกรรมท่ี 1 เรื่อง ขา้ งข้ึนขา้ งแรมเกดิ ได้ อยา่ งไร ตอนท่ี 1 ลงในแผนภาพดา้ นลา่ ง ............................................................................................................. ........................................................... ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................ ................ ผ้สู งั เกต 5. สว่ นของดวงจนั ทร์ที่ได้รบั แสงในแต่ละวนั เท่าเดมิ หรือไม่ เป็นสัดส่วนเทา่ ไรของดวงจันทรท์ ัง้ ดวง ............................................................................................................. ................................................................. ............................................................................................ .................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .

35 แบบบนั ทึกสาหรับใบกจิ กรรมท่ี 10.1 ข้างข้นึ ข้างแรมเกดิ ขนึ้ ไดอ้ ย่างไร ผลทสี่ ังเกตได้จากการทากิจกรรมในตอนท่ี 2 เงามดื และเงาสวา่ งบนดวงจันทรแ์ ตล่ ะตาแหนง่ เป็นอย่างไร 1. เมอ่ื ลูกบอลโฟมบนหมวกของผู้เขา้ อบรมคนท่ี 2 เคล่ือนทเ่ี ป็นวงกลมรอบตวั ผู้สังเกต จากตาแหน่งท่ี 1-8 ผู้ สังเกตจะเหน็ ลูกบอลโฟม ณ ตาแหน่งต่างๆ เป็นอยา่ งไร วาดภาพแสดงส่วนมืด สว่ นสว่างของลกู บอลโฟม โดยแรเงาตามข้อมูลท่ีไดจ้ ากการสังเกตเห็นลง ในแผนภาพด้านล่างน้ี 2. ผู้เขา้ รว่ มอบรมมองเหน็ ส่วนสว่างของลูกบอลโฟมได้อย่างไร ............................................................................................................................. .......................................... ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... 3. ขณะท่ลี ูกบอลโฟมโคจรรอบโลก ตาแหน่งใดทเี่ ห็นดวงจันทร์มืดท้งั ดวง และสวา่ งเตม็ ดวง ตามลาดบั ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................................................................................................

36 4. จากการสังเกตดวงจนั ทรต์ ั้งแตต่ าแหนง่ ท่ี 1 ถงึ ตาแหนง่ ท่ี 5 จะมองเหน็ สว่ นสวา่ งของดวงจันทรม์ ีการ เปล่ยี นแปลงอย่างไร และช่วงเวลาดงั กล่าวน้เี รยี กวา่ อะไร ............................................................................................................................. ........................................... ............................................................................................................................. ........................................... ....................................................................................... ................................................................................. 5. จากตาแหน่งที่ 5 ถงึ ตาแหน่งท่ี 8 จะมองเหน็ สว่ นสว่างของดวงจันทรม์ ีการเปล่ียนแปลงอยา่ งไร และ ชว่ งเวลาดังกล่าวนเี้ รยี กว่าอะไร ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ……............................................................................................................................. ..................................... 6. จากตาแหน่งที่ 1 ถึงตาแหนง่ ท่ี 5 ดวงจนั ทร์จะเร่ิมสว่างจากส่วนใดของภาพกระต่ายในดวงจนั ทร์ ............................................................................................................................. ........................................... ….............................................................................................................................. ....................................... 7. จากตาแหน่งที่ 5 ถึงตาแหนง่ ที่ 8 ดวงจันทรจ์ ะเริ่มมืดจากสว่ นใดของภาพกระต่ายในดวงจันทร์ ............................................................................................................................... ......................................... …........................................................................................ ............................................................................. 8. เพราะเหตุใดเราจึงเห็นดวงจนั ทรม์ สี ่วนสวา่ งแตกต่างกันในแต่ละตาแหน่ง ............................................................................................................ ............................................................ ............................................................................................................................... ......................................... 9. จากแบบจาลองดังกลา่ ว ผู้เขา้ รับการอบรมคิดว่า ดวงจนั ทร์ ดวงอาทิตย์ และโลกมกี ารเคลอ่ื นที่อย่างไร ............................................................................................................................. ........................................... ……............................................................................................................................................ ...................... ............................................................................................................ ............................................................ ……............................................................................................................................. ..................................... ........................................................................................................................................................... .............

37 10. แบบจาลองนจี้ ะสรุปผลวา่ อย่างไร ........................................................................................................................................................................ ……............................................................................................................................. .................................... …….............................................................................................................................. .................................... ............................................................................................................................. ........................................... ……..................................................................................... ............................................................................. ............................................................................................................................. ........................................... 11. ระบชุ ่ือเรยี กลักษณะของเงามืดและสวา่ งทีเ่ กิดเหตกุ ารณ์ในตาแหน่งที่ 1-8 ตาแหน่งที่ 1 ตาแหนง่ ที่ 2 ตาแหน่งท่ี 3 ตาแหนง่ ที่ 4 ช่อื ……........................……. ช่ือ … ..............................… ชื่อ ………...................……. ช่อื .............................. ตาแหนง่ ท่ี 8 ตาแหนง่ ท่ี 5 ตาแหน่งที่ 6 ตาแหน่งที่ 7 ชือ่ …………………………….……. ช่อื …………………………….…. ชื่อ …………………………..……. ชือ่ .....................................

38 แบบบนั ทกึ ใบกจิ กรรมที่ 10.1 เร่อื ง ขา้ งขึ้นข้างแรมเกดิ ขึ้นได้อย่างไร ผลทส่ี งั เกตได้จากการทากิจกรรมในตอนที่ 3 การขึ้น-ตกของดวงจันทร์มผี ลต่อการดารงชีวติ ของเรา อยา่ งไร เหตกุ ำรณ์ที่ 1 เหตกุ ำรณ์ท่ี 2 เหตกุ ำรณ์ท่ี 3 1. ศึกษาตวั อย่างเหตุการณจ์ ากแผนภาพ 3 เหตุการณ์ และตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1.1 ภาพเหตุการณ์ท่ี 1 คือ…………………………………………………………………………………………………………….. 1.2 ภาพเหตุการณ์ที่ 2 คือ…………………………………………………………………………………………………………….. 1.3 ภาพเหตุการณ์ที่ 3 คอื ……………………………………………………………………………………………………………..

39 2. เลือกภาพเหตุการณ์จากข้อ 1 มาเพยี งตัวอย่างเดยี ว พร้อมท้ังอธิบายถึงความสัมพนั ธ์ของเหตุการณ์ นน้ั กับการเกิดขา้ งขึน้ ขา้ งแรม และการขึ้นตกของดวงจนั ทรว์ ่าเป็นอย่างไร ............................................................................................................................. .................................... ……........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................... ............................................................................................................................. .................................... ……........................................................................................................................................................... 3. ยกตวั อย่างเหตกุ ารณ์ท่ีผ้เู ขา้ ร่วมอบรมเคยพบและเก่ยี วขอ้ งกับการเกดิ ขา้ งขึ้นขา้ งแรม และการขึ้นตก ของดวงจนั ทร์ พร้อมท้งั อธิบายรายละเอยี ด ................................................................................................................................................................. ……............................................................................................................................. .............................. .................................................................................................... ............................................................. ............................................................................................................................. .................................... ……...........................................................................................................................................................

40 กจิ กรรมท่ี 11 การเกิดลม ใบกิจกรรมที่ 11.1 เรือ่ ง กล่องควันปริศนา วตั ถุประสงค์ เพือ่ ทดลองและอธิบายการเกิดลม คาช้ีแจง 1. ผ้เู ขา้ รบั การอบรมแตล่ ะกลุ่มรบั อปุ กรณ์ ตามรายการอุปกรณท์ ่ีกาหนดและประกอบเป็นกล่อง ควัน ดังน้ี 1) ตดั ผนงั กล่องรองเทา้ ตามยาวออกหนึ่งดา้ นแลว้ ใชพ้ ลาสติกใสปดิ ผนังดา้ นทต่ี ัดออกไปแทน เพือ่ ให้สามารถมองเหน็ ภายในกลอ่ งได้ 2) ใชด้ ินสอขดี แบ่งฝากล่องรองเทา้ เปน็ 2 สว่ น และเจาะช่องตรงกลางแตล่ ะสว่ น 3) ปดิ ฝากลอ่ งรองเทา้ 2. จดุ ธปู แล้วจอ่ ปลายธปู ลงในช่องดา้ นซ้าย สงั เกตการเคล่อื นที่ของควันธปู แลว้ บนั ทึกผล 3. จุดเทียนไข แลว้ นาเทยี นไขไปตงั้ ไวใ้ นกลอ่ งทางช่องดา้ นขวาดังภาพแล้วปดิ ฝากลอ่ ง 4. จ่อปลายธูปลงในชอ่ งดา้ นซ้ายสังเกตการเคล่ือนทข่ี องควันธปู เพอื่ เปรยี บเทยี บกับการทดลอง คร้ังแรก แลว้ บันทึกผล อปุ กรณ์ 1. กล่องใส่รองเทา้ 1ใบ 2. แกนกระดาษทชิ ชู 3. พลาสติกใส 4. เทียนไข 5. ธปู 6. คัตเตอร์ 7.กาว

41 ตารางบนั ทึกผล การทดลอง ผลการสังเกตควนั ธูป 1. จอ่ ปลายธูปลงในช่องด้านซา้ ยโดยท่ียังไม่ได้ …………………………………………………………………… จดุ เทยี นไข …………………………………………………………………… 2. จุดเทียนไขใส่ลงในช่องด้านขวาปดิ ฝากล่อง …………………………………………………………………… แลว้ จอปลายธปู ลงในช่องดา้ นซ้าย …………………………………………………………………… สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

42 ใบกิจกรรมที่ 11.2 เร่ือง ออกแบบเคร่อื งมือวดั ทิศทางและความเรว็ ลม วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ออกแบบและสร้างเคร่ืองวดั ทิศทางและความเร็วลม 2. เพ่ืออธิบายหลักการทางานของเคร่ืองวดั ทศิ ทางและความเรว็ ลมท่สี ร้างข้นึ ได้ คาชแ้ี จง ใหผ้ ้เู ขา้ รบั การอบรมออกแบบและสร้างเครื่องวดั ทิศทางและความเร็วลมโดยปฏิบัติดงั นี้ 1) รา่ งแบบเคร่อื งวดั ในกระดาษ และเขียนหลักการทางานของตัวแบบทร่ี า่ งขึ้น พร้อมท้งั ระบุ อปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการสรา้ ง 2) นาเสนอตวั ร่างแบบ เพ่ือใหเ้ พอ่ื นกล่มุ อื่นไดซ้ ักถามและแสดงความคิดเห็น 3) นาแบบรา่ งที่ปรบั เรยี บร้อยแลว้ ไปสรา้ งเปน็ เคร่ืองมือของจริง 4) นาเสนอเคร่ืองมือ และสาธิตวธิ ีการใชง้ านจรงิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook