Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พื้นฐานการออกแบบ

พื้นฐานการออกแบบ

Published by BT Studio, 2019-07-23 16:28:12

Description: พื้นฐานการออกแบบ

Search

Read the Text Version

1

2

พื้นฐานการออกแบบ ทิพรตั น์ สทิ ธิวงศ์ 3

ค�ำนำ� การเรียบเรยี งเอกสารประกอบการสอนรายวิชาพน้ื ฐานการออกแบบ เปน็ ส่วน หนง่ึ ของการจดั การเรียนการสอนในรายวชิ าเทคโนโลยีส่อื ส่ิงพืมพ์ เรยี บเรียงโดยนสิ ิตหลกั สตู รศิลปศาสตรบัณฑติ (เทคโนโลยแี ละส่อื สารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร) ผูเ้ รียบเรยี งหวังว่าการเรียบเรยี งคร้ังน้ีมีประโยชนต์ ่อผู้ที่สนใจไมม่ ากกน็ ้อย 4

สารบญั บทที่ 1 การจัดองคป์ ระกอบทางการออกแบบ (Design Element Management)....7 จุด (Point)......................................................................................................8 เสน้ (Line)......................................................................................................8 ระนาบ (Plane).............................................................................................13 รูปร่าง รปู ทรง (Form & Shape).................................................................15 พืน้ ผิว (Texture)..........................................................................................16 ทว่ี า่ ง (Space)...............................................................................................17 สี (color)......................................................................................................18 บทที่ 2 หลักการออกแบบเบอ้ื งต้น (Principle Design)...........................................23 เอกภาพ (Unity)...........................................................................................24 ภาพและพืน้ (Figure & Ground)................................................................26 การเนน้ และการสร้างลำ�ดบั ความสำ�คญั (Emphasis & Hierarchy)............26 สัดสว่ น (Proportion)..................................................................................28 โกลเด้นเซ็กช่ัน (Golden section)..............................................................28 ขนาด (Scale)..............................................................................................29 ความสมดลุ (Balance)................................................................................29 ทิศทางการเคล่ือนไหว (Direction & Movement).....................................30 ความขดั แย้ง (Contrast)..............................................................................31 จงั หวะ ลีลา และการซ้�ำ (Rhythm & Repetition).....................................33 5

บทท่ี 3 แนวคิดพ้นื ฐานการออกแบบ (Design Idea)...............................................37 การคน้ หาแนวคิด และแรงบนั ดาลใจในการออกแบบ....................................38 บทท่ี 4 ความคดิ สรา้ งสรรค์ (Creative Thinking).................................................41 ความหมายของความคดิ สร้างสรรค.์ .............................................................42 ประเภทของความคดิ สร้างสรรค์...................................................................46 เทคนคิ การสรา้ งสรรค์ผลงาน........................................................................47 เทคนคิ การใช้ความคิดอย่างเปน็ ระบบ...........................................................47 บรรณานุกรม............................................................................................................50 6

7

การจดั องคป์ ระกอบทางการออกแบบ (Design Element Management) 1.1 จุด (Point) กอํ นเร่ิมทัศนธาตุอื่น ๆ จะขอกลําวถงึ จุดเสียกํอน เพราะจุดเป็นธาตเุ บ้ืองต๎นท่ีสุดของ การเหน็ จดุ มมี ติ เิ ป็นศูนย์ ไมํมีความกวา๎ ง ความยาว หรือความลึก เป็นธาตุที่ไมสํ ามารถจะ แบํงออกได๎อีก เปน็ สิ่งท่ีเลก็ ทส่ี ดุ ท่จี ะใชส๎ รา๎ งรปู ทรงและสรา๎ งพลงั เคล่ือนไหวของท่วี ํางขึ้นใน ภาพได๎ ในธรรมชาติเราจะเห็นจดุ กระจายซา้ ๆ อยทูํ ั่วไปในที่วําง เชนํ จดุ ทสี่ กุ ใสของกลํุมดาวใน ทอ๎ งฟา้ ลายจดุ ในตัวสัตว์และพชื บางชนิด เมื่อเราอยบํู นที่สงู มองลงมายงั เหน็ กลมํุ คน เห็น เปน็ จุดกระจายเคล่ือนไหวไปมา มติ ิกไ็ มํมี จุดทีเ่ ราเห็นซ้า ๆเหลํานีท้ า้ ใหเ๎ กดิ ต้าแหนํงของ รปู ทรง (จดุ ) ในที่วํางขึ้น ซ่ึงเป็นการเร่ิมแรกทีส่ ดุ ขององค์ประกอบศลิ ปต์ วั จุดเองนน้ั เกอื บไมมํ ี ความส้าคญั อะไรเลย รปู ราํ งกไ็ มมํ ี มติ กิ ไ็ มมํ ี แตํเม่อื ปรากฏตัวในทวี่ ํางจะทา้ ใหท๎ ว่ี ํางนน้ั มี ความหมายขึน้ มาทันที กลําวคือ ถา๎ เป็นจดุ จดุ เดยี ว ทีว่ ํางกบั จดุ จะมปี ฏิกริ ยิ าผลกั ดนั โตต๎ อบ ซ่ึงกันและกัน ถ๎าเป็นไหลจํ ุดปฏิกริ ิยาน้จี ะรุนแรงข้ึน เนือ่ งจากมกี ารดงึ ดูดและการผลักดนั ระหวาํ งจุดตอํ จดุ เพ่ิมข้นึ ด๎วย จดุ ที่รวมกันหนาแนํนเปน็ กลมํุ เสน๎ รูปนอกหรือเส๎นโครงสรา๎ ง ของกลมุํ จะปรากฏใหเ๎ หน็ ในจินตนาการ แลว๎ จดุ ท่ีซา้ กนั ในจงั หวัดตําง ๆ จะใหแ๎ บบรูป (Pattern) ของจงั หวะท่เี ปล่ยี นแปลงไปไดอ๎ ยํางไมจํ ้ากัด ภาพท่ี 1 : ภาพจุด ที่มา : https://pixabay.com/th/illustrations/%E0%B8%9E%E0%B8%B7% E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0 1.2 เสน้ (Lne) ตามหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์บงํ บอกวํา งานทัศนศิลป์ชน้ิ แรกๆของมนษุ ย์นั้นเรมิ่ จาก เชนํ ดงั ท่เี ราจะเหน็ ได๎จากภาพเขียนตามผนังถา้ ของคนสมยั ด้งั เดมิ (Primitive) การเรม่ิ ต๎น 8

ของงานศิลปะในวัยเดก็ กใ็ ช๎เสน๎ เชํนเดยี วกัน เส๎นเป็นทศั นธาตุเบื้องต๎นทสี่ า้ คัญที่สดุ เป็นแกน ของทัศนศิลป์ทุกๆแขนง เป็นพืน้ ฐานของโครงสรา๎ งของทกุ สง่ิ ในจักรวาล เส๎นแสดงความร๎สู กึ ไดท๎ ง้ั ดว๎ ยตวั ของมันเอง และดว๎ ยการสร๎างเป็นรปู ทรงตาํ งๆขนึ้ งานจิตรกรรมของไทย จีน และญี่ปุ่น ล๎วนมเี สน๎ เป็นหัวใจของการแสดงออก ศลิ ปนิ ตะวันตกบางคน เชํน ซันโดร บอตตี เชลลี (Sandro Botticelli) วลิ เลยี ม เบลก (William Beck) ราอลู ดูฟี (Raoul Dufy)ปา โบล ปีกัสโซ (Pablo Picasso) ก็ใช๎เสน๎ เป็นแกนสา้ คัญ แมแ๎ ตใํ นงานประติมากรรมซึง่ สํวนมากจะแสดงดว๎ ยวสั ดแุ ละปริมาตร กย็ งั ตอ๎ งประกอบขึน้ ดว๎ ยมวลของรปู ทรงกบั เส๎นรปู นอกท่ีสมบูรณ์ ถ๎ามีแตมํ วลทีป่ ราศจากรูปนอกก็ยอํ มจะเรียกเป็นงานประติมากรรมไมํได๎ นอกจากน้ี การเริม่ ตน๎ และการพัฒนาจินตนาการของทัศนศลิ ปิน ไมวํ ําจะเปน็ จิตรกร ประติ มากร หรือสถาปนกิ จะตอ๎ งอาศัยเสน๎ เป็นปัจจัยส้าคัญทงั้ สิ้นการใช๎เสน๎ น้ันเราสามารถจะ กระท้าไดอ๎ ยํางรวดเร็ว ตรงใจ โดยสัญชาตญาณ หรือใช๎อยาํ งพินิจพิเคราะห์ดว๎ ยการใช๎ปัญญา เสน๎ แสดงแกํนแทข๎ องทกุ สง่ิ ได๎อยาํ งเข๎มข๎นและยนํ ยํอทสี่ ุด ภาพท่ี 2 : ภาพองค์ประกอบของเส้น ทีม่ า : https://www.nectec.or.th/schoolnet/library/create-web/10000/ arts/10000-6116.html คาจากดั ความของเสน้ 1. เส๎นเกดิ จากจุดทต่ี ํอกนั ในทางยาว หรอื เกิดจากรอํ งรอยของจดุ ท่ถี กู แรงแรงหนึ่ง ผลักดันใหเ๎ คล่อื นทไ่ี ปเสน๎ ขั้นตา้่ ทเ่ี ป็นพนื้ ฐานจรงิ ๆมี 2 ลักษณะ คอื เสน๎ ตรง กับเส๎น โค๎ง เชนํ ทุกชนิดเราสามารถแยกออกเป็นเส๎นตรงกับเสน๎ โคง๎ ได๎ทงั้ ส้ิน เส๎นลกั ษณะ อ่ืนๆทเ่ี ราเรยี กวาํ เส๎นขน้ั ที่ 2 ล๎วนเกิดจากการประกอบกนั เข๎าของเสน๎ ตรงและเสน๎ โค๎ง เชนํ เสน๎ ตรงแล๎วโคง๎ สลับกัน เสน๎ ฟนั ปลาเกิดจากเส๎นตรงมาประกอบกัน โค๎ง ประกอบเขา๎ ด๎วยกันจะไดเ๎ ส๎นลกู คล่นื หรือเส๎นเกลด็ ปลา คงทต่ี อํ เน่ืองโดยมี 9

แรงผลักดนั ให๎ทางออกสมา่้ เสมอจะเป็นวงก๎นหอย เป็นเส๎นพลงั ของจักรวาลทีจ่ ะเห็น ไดจ๎ ากกลมุํ ดาว นา้ วน 2. เส๎นเปน็ ขอบเขตของทวี่ าํ ง ขอบเขตของส่งิ ของ ขอบเขตของรูปทรง ขอบเขตของ น้าหนกั และขอบเขตของสี 3. ซึ่งเปน็ ขอบเขตของกลมุํ ส่งิ ของ รูปทรงทรี่ วมกนั อยูํ เป็นเส๎นโครงสร๎างเห็นได๎ดว๎ ย จนิ ตนาการ คณุ ลกั ษณะของเสน้ เส๎นมมี ิติเดยี ว คือ ความยาว มลี ักษณะตาํ งๆ มที ศิ ทาง และมขี นาดลักษณะตํางๆ ของเส๎น ได๎แกํ ตรง โค๎ง คด เป็นคลนื่ ฟนั ปลา เกล็ดปลา ก๎นหอย ชดั พราํ ประ ฯลฯ ทศิ ทางของเสน๎ ไดแ๎ กํ แนวราบ แนวดงิ่ แนวเฉยี ง แนวลึก ขนาดของเส๎น เส๎นไมมํ ี ความกว๎าง มีแตเํ สน๎ หนา เสน๎ บาง หรือเส๎นใหญํ ความหนาของเสน๎ จะตอ๎ งพิจารณา เปรียบเทียบกบั ความยาว ถ๎าเสน๎ สั้นแตํมีความหนามากจะหมดคุณลกั ษณะความเปน็ เส๎น จะ กลายเปน็ รูปราํ งส่เี หล่ียมผืนผ๎าไป ภาพที่ 3 : ลักษณะของเสน้ ทีม่ า เ: https://www.nectec.or.th/schoolnet/library/create-web/10000/ arts/10000-6116.html 10

ความรูส้ ึกทเี่ กดิ จากลกั ษณะของเส้น 1. เส๎นตรงใหค๎ วามรส๎ู กึ แข็งแรง แนํนอน ตรง เขม๎ ไมํประนีประนอม หยาบ และ เอาชนะ 2. เสน๎ โคง๎ น๎อยๆหรือเสน๎ เป็นคล่นื นอ๎ ยๆ ใหค๎ วามรสู๎ กึ สบาย เปล่ียนแปลงไดเ๎ ลือ่ นไหล ตอํ เน่ือง มีความกลมกลนื ในการเปลีย่ นทิศทาง ความเคลื่อนไหวช๎าๆ สุภาพ เป็น ผห๎ู ญงิ นมํุ และอมิ่ เอิบ ถา๎ ใช๎เสน๎ แบบนม้ี ากเกนิ ไปจะทา้ ให๎ร๎สู ึกกังวล เร่อื ยเฉ่ือยขาด จุดหมาย 3. เส๎นโค๎งวงแคบ เปลย่ี นทิศทางรวดเรว็ มีพลงั เคลอื่ นไหวรนุ แรง 4. สน๎ โคง๎ ของวงกลม การเปลย่ี นทิศทางที่ตายตัว ไมํมีการเปลี่ยนแปลง ให๎ความร๎ูสึก เปน็ เรือ่ งซา้ ๆ เป็นเส๎นโคง๎ ทม่ี ีระเบยี บมากทีส่ ุด แตํจดื ชดื ท่สี ุด ไมํนําสนใจทสี่ ดุ เพราะ ขาดความเปลยี่ นแปลง 5. เสน๎ โค๎งกน๎ หอย ให๎ความร๎ูสึกเคลือ่ นไหว คล่ีคลายและเติบโตเมื่อมองจากภายใน ออกมา ออกจากภายนอกเข๎าไปจะให๎ความรู๎สึกทไี่ มสํ ้ินสดุ ของพลังงานเคลอื่ นไหว เส๎นก๎น หอยท่พี บในธรรมชาติมกั จะหมนุ ทวนเข็มนาฬกิ า เห็นได๎ในก๎นหอย ในหมอกเพลงิ ใน อาการท่เี กย่ี วพันของไมเ๎ ลื้อยเป็นเส๎นโค๎งท่ีขยายตวั ออกมาไมมํ ีจุดจบ 6. เสน๎ ฟันปลาหรือเสน๎ คดทห่ี กั เหโดยกระทันหัน เปลี่ยนทศิ ทางรวดเรว็ มาก ทา้ ให๎ เสน๎ ประสาทกระตกุ ให๎จังหวะกระแทก เกรง็ ทา้ ใหน๎ กึ ถึงพลังงานไฟฟ้า ฟา้ ผาํ กจิ กรรมทข่ี ัดแยง๎ ความรุนแรง และสงคราม ความรู้สกึ ทเ่ี กดิ จากทศิ ทางของเสน้ เสน๎ ทกุ เส๎นมที ิศทาง คอื ทางนอน ทางตัง้ หรอื ทางเฉียง ในแตลํ ะทิศทางจะให๎ ความรส๎ู กึ ตอํ ผ๎ูดตู ํางกัน 1. เส๎นนอน กลมกลนื กับแรงดึงดูดของโลก ใหค๎ วามร๎สู ึกพกั ผอํ น เงยี บ เฉย สงบ ผอํ น คลาย ได๎แกํ เสน๎ ขอบฟา้ ทะเล ทุํงกวา๎ ง คนนอน 2. เสน๎ ตง้ั ให๎ความสมดลุ ม่ันคง แขง็ แรง พงํุ ข้ึน จริงจงั และเงยี บขรมึ เป็นลกั ษณะของ ความถูกต๎อง ซอื่ สตั ย์ มคี วามสมบรู ณแ์ บบในตวั เป็นผด๎ู ี สงาํ ทะเยอทะยานและ รํุงเรือง 3. เส๎นเฉยี ง เป็นเส๎นที่อยรูํ ะหวาํ งเสน๎ นอนกบั เสน๎ ตงั้ ให๎ความร๎สู ึกเคลื่อนไหว ไมสํ มบรู ณ์ ไมมํ ั่นคง ตอ๎ งการเส๎นเสียงอีกเสน๎ นึงมาชํวยให๎ม่นั คงสมบรู ณใ์ นรูปของมุมฉากเสน๎ เฉียงใช๎มากในจติ รกรรมแบบคิวบิสม์ 11

4. เสน๎ เฉยี งและเสน๎ โคง๎ ใหค๎ วามรูส๎ ึกขาดระเบียบ ตามยถากรรม ใหค๎ วามร๎ูสึกพํุงเข๎า หรอื พุงํ ออกจากที่วําง เส้นโครงสรา้ ง (Structural Line) คือเสน๎ ทม่ี องไมํเห็นด๎วยตา เป็นเสน๎ ในจนิ ตนาการท่ผี ด๎ู ูจะรู๎สกึ หรือปะตดิ ปะตํอ เชอ่ื มโยงจากจุดหนง่ึ ไปยังอีกจุดหน่ึง เสน๎ ชนดิ น้เี ดินทางด๎วยความร๎ูสกึ ไมใํ ชดํ ว๎ ยการเห็น เปน็ เส๎นท่มี ีความส้าคญั มากในศิลปะ พลังอ้านาจในงานศลิ ปะทจ่ี ะเคล่ือนไหวหรอื หยุดนงิ่ ผอํ น คลายหรอื ตงึ เครยี ด กอ็ ยทูํ ี่เส๎นโครงสรา๎ งหรือเส๎นภายในทีม่ องไมํเหน็ เสน๎ โครงสรา๎ งมีอยํู 6 อยํางด๎วยกนั คอื 1. เสน๎ แกนของรูปทรง เชนํ เส๎นศูนยถ์ ํวงของคน เส๎นแกนของผลไม๎ เส๎นแกนของวัตถุ สง่ิ ของตํางๆ 2. เส๎นรูปนอกของกลมํุ รปู ทรง 3. เสน๎ ทีล่ ากด๎วยจนิ ตนาการจากจุดหนงึ่ ถงึ อีกจดุ หนึง่ เชนํ ดาวหมี ดาวจระเข๎ ฯลฯ 4. เส๎นทแ่ี สดงความเคล่ือนไหวของทีว่ ําง 5. เสน๎ โครงสรา๎ งของปริมาตร เน่ืองจากเสน๎ รปู นอกไมสํ ามารถแสดงความโคง๎ นูนของ ปรมิ าตรได๎ เส๎นไทยในจึงเปน็ เสน๎ โครงสรา๎ งหรอื เส๎นจนิ ตนาการอกี ชนดิ หน่งึ ทแ่ี สดง ความเคลือ่ นไหวท่ีพื้นผิวให๎รู๎สกึ ในปรมิ าตรของรูปทรง 6. เส๎นโครงสร๎างขององค์ประกอบที่เกดิ จากเสน๎ แกนของสวํ นตาํ งๆท่ีประสานกํอนจะมี รายละเอยี ดของรูปทรง เสน๎ ชนดิ นีม้ คี วามส้าคัญตํอการสร๎างอารมณ์ความรสู๎ กึ สวํ นรวมของศลิ ปะมาก เมอื่ เรามองดวู ตั ถุที่เปน็ มวล เชํน คน ภเู ขา ต๎นไม๎ เราจะรส๎ู ึก ในเสน๎ แกนกอํ นสิ่งอนื่ เชนํ คนยืนจะเห็นเป็นเสน๎ ดงิ่ ภเู ขาจะเหน็ เปน็ เสน๎ นอน คนนั่ง จะเหน็ เป็นเส๎นโคง๎ ในฐานะผ๎สู ร๎างสรรค์การวางเสน๎ โครงสรา๎ งขององคป์ ระกอบ กอํ นท่จี ะเขียนมวลหรือรปู ทรงลงไปซึ่งเปน็ วิธที ี่เราสามารถจะก้าหนดความรส๎ู ึกห อารมณข์ น้ั ต๎นของภาพ เปน็ พ้นื ฐานส้าหรับสานตํอด๎วยรปู ทรงทีม่ ีรายละเอยี ดและ ความซบั ซอ๎ นให๎สมบรู ณเ์ ต็มทต่ี อํ ไป 12

ภาพท่ี 4 : ภาพโครงสรา้ งของมนุษย์ ท่ีมา : http://draw-sara.blogspot.com/2016/03/4.htmlrup-rang---rup- thrng 1.3 ระนาบ (Plane) พืน้ ผิวทแี่ บนราบมี 2 มติ เิ ราอาจถือและหนา๎ เป็นทัศนธาตุอยาํ งหนึง่ ทม่ี หี น๎าทส่ี ร๎าง รูปทรงในงานทศั นศิลป์ เพราะมีลกั ษณะใกล๎เคยี งกบั รูปแบบหรือรูปราํ งของทวี่ ํางทีไ่ ด๎กลาํ ว มาแล๎วในบทท่ีวาํ ด๎วยทัศนธาตุ และนาบมีรูปทรงตํางๆมที ศิ ทางและขนาดเชํนเดียวกบั รปู แบบของที่วําง แตํระนาบมีลกั ษณะพ้ืนผวิ ท่ีทึบตันเปน็ วสั ดุไมํโปรงํ เหมือนที่วํางทล่ี อ๎ มรอบ ด๎วยเส๎นละหน๎ามคี วามสา้ คัญตอํ รปู ทรงที่วํางมากสามารถสรา๎ งรปู ทรงได๎ท้งั 2 มิติและ 3 มิติ บังคับความเคลือ่ นไหวของที่วํางท้ังทางราบท่ีขนานกับพืน้ ผวิ ของแผนภาพและในทางลึก ระนาบจงึ เปน็ โครงสร๎างทสี่ า้ คัญของรูปทั้ง 2 มิตแิ ละ 3 มติ ิในงานจิตรกรรมและ ประตมิ ากรรม การใชร้ ะนาบสรา้ งรปู ทรง รปู ทรง 2 มิติ เราสามารถก้าหนดรปู นอกของระนาบให๎มีรูปตํางๆเชํนสีเ่ หล่ยี มสามเหลีย่ มแผนํ กลม และรปู ทรงแบนๆท่ีมีลกั ษณะแตกตํางกันไดม๎ ากมายรูปทรงเหลํานอี้ าจแสดงด๎วยกรรมวิธที าง จิตรกรรมหรือภาพพมิ พ์ 13

ภาพท่ี 5 : ภาพ 2 มติ ิ ท่ีมา : https://sites.google.com/a/chaikasemwit.ac.th/thasn-thatu/home/ rup-rang---rup-thrng รูปทรง 3 มิติ จากรูปทรง 2 มิติทส่ี ร๎างข้นึ ดว๎ ยระนาบดงั กลาํ วขา๎ งตน๎ ถา๎ นา้ มาประกอบกัน เข๎าก็จะได๎รูปทรงท่เี ป็น 3 มติ ทิ มี่ คี วามแข๎งแรงของโครงสรา๎ ง การน้าระนาบมาโค๎งงอบรรจบ กันจะได๎รปู ทรง 3 มติ ิที่นําสนใจ เชํน รปู ทรงกระบอก รูปกรวย หรือน้าระนาบมาตํอชนกัน เป็นมุมก็จะได๎รูปกรวยเหลย่ี ม ลูกบาศก์ และรปู ทรงเหล่ียมอนื่ ๆ อีกมาก ภาพท่ี 6 : ภาพ 3 มติ ิ ที่มา : https://sites.google.com/a/chaikasemwit.ac.th/thasn-thatu/home/ rup-rang---rup-thrng การใช้ระนาบบังคบั ความเคลือ่ นไหวของทว่ี า่ ง การใช้ระนาบบงั คบั ความเคลอ่ื นไหวของที่วา่ งในภาพ 3 มติ ิ ด๎วยการนา้ ระนาบหลายๆแผํนมาซ๎อนกนั ใหแ๎ ผนํ ทถ่ี ูกซ๎อนคํอยๆเล็กลงจะ สร๎างความเคลื่อนไหวในทางลกึ ของภาพอยํางรนุ แรงจากด๎านหน๎าของภาพตอ๎ งไป หยดุ ท่ีจุดสายตา การสร๎างหรอื บงั คบั การเคล่อื นไหวของทว่ี าํ แบบน้ีถึงแม๎จะใหค๎ วาม รนุ แรงแตกํ ็เปน็ ความเคล่ือนไหวแบบธรรมดาทส่ี ุดไมํมจี งั หวะไมมํ ีลลี าทน่ี ําสนใจ การทารปู ทรงที่ซับซอ้ นใหเ้ ป็นรปู ทรงงา่ ยๆ 14

บางครง้ั รปู ทรงในธรรมชาติที่เรานา้ มาใช๎ในงานศลิ ปะมีรายละเอียดมีปริมาตร ทซ่ี บั ซ๎อนมากเกินไปจนเป็นการยากทจ่ี ะสงั เกตหรอื กา้ หนดลกั ษณะท่ีแท๎จรงิ ของ รปู ทรงนั้นได๎เม่ือเปน็ เชํนนกี้ ารมองรปู ทรงตาํ งๆให๎เห็นเป็นระนาบประกอบกนั อยจูํ ะ ชวํ ยได๎มากและรปู ทรงทเี่ ราเริ่มลํางบนแผํนภาพก็จะเปน็ ระนาบงํายๆเชํนเดียวกันเป็น การสังเกตและสร๎างรูปจากโครงสร๎างท่ีจา้ เปน็ ของรูปทรงสํวนรายละเอียดปลกี ยอํ ย บํอยคร้งั เป็นส่ิงไมํสา้ คญั เราจะละเลยเสียผลงานทสี่ า้ เรจ็ จะเปน็ รูปทรงงํายที่ ประกอบดว๎ ยระนาบหรอื ต๎องการแสดงสํวนละเอียดให๎เหมือนของจรงิ ก็เพียงแตํ เพิม่ เตมิ เข๎าไปในโครงสร๎างทแ่ี สดงแกํนสารของงานจนเกอื บสมบูรณ์แลว๎ นั้น นอกจากน้กี ารก้าหนดโครงสรา๎ งขององคป์ ระกอบดว๎ ยระนาบยังชํวยให๎เราสามารถ ควบคุมการเคลอื่ นทเี่ คล่ือนไหวของสํวนตาํ งๆใหส๎ มั พนั ธ์กันตามความตอ๎ งการอกี ด๎วย การใชร้ ะนาบใหม้ ีเอกภาพ การใช๎ระนาบให๎มเี อกภาพหรอื ใหเ๎ กิดความกลมกลนื ก็เหมอื นกับการใช๎ รปู แบบหรือรปู ราํ งที่วาํ งให๎เกดิ เอกภาพพอํ ระนาบก็คือทีว่ าํ งทีม่ ีรูปราํ งเชํนเดียวกันผิด กนั แตํเพียงวาํ ระนาบนั้นเราถือวําเปน็ แผนํ เปน็ รูปทรงมีความเป็นบวกมิไดม๎ ีความวาํ ง และรูปราํ งของพืน้ ฐานของระนาบกม็ ักจะกา้ หนดใหเ๎ ปน็ รปู แผนํ สเ่ี หลี่ยมในสัดสวํ น ตํางๆกันเทาํ นั้น 1.4 รูปรา่ ง รปู ทรง (Form & Shape) รปู ร่าง 1. รูปยอํ ของสที ่ีมีลักษณะ 2 มติ แิ ละ 3 มติ ิเชํนแผํนกลมกับลูกกลมจะมีรูปรําง เป็นวงกลมเหมือนกันแตํมีรูปทรงตาํ งกันเพราะโครงสรา๎ งตํางกนั 2. แบบรูปท่ีเป็น 2 มติ แิ สดงเนื้อทีเ่ ป็นผวิ ทีเ่ ป็นระนาบมากกวําจะเป็นแบบ ปรมิ าตรหรอื มวล 3. รปู ธรรมดาทไ่ี มมํ ีความหมายไมมํ ีโครงสรา๎ ง รปู ทรง รปู ทรง คือ สงิ่ ทม่ี องเห็นได๎ในทศั นศิลป์ เป็นสํวนทศ่ี ิลปนิ สร๎างข้ึนด๎วยการ ประสานกันอยํางมีเอกภาพของทศั นธาตุ ซ่งึ ไดแ๎ กํ เส๎น น้าหนกั อํอนแกขํ องขาวด้า ที่ วําง สี และลกั ษณะพื้นผวิ รูปทรงให๎ความพอใจตํอความรูส๎ ึกสัมผสั เป็นความสขุ ทาง ตา พรอ๎ มกันนนั้ ก็สรา๎ งเนอื้ หาให๎กบั ตวั รูปทรงเอง และเป็นสญั ลักษณ์ให๎แกํ ความรูส๎ กึ อารมณ์ หรอื สตปิ ญั ญาความคดิ ทเ่ี กิดขน้ึ ในใจด๎วย ถา๎ เปรยี บกบั ชีวติ รปู ทรงคอื สวํ นที่เปน็ กาย เนอื้ หาก็คอื สํวนทเ่ี ป็นใจ รูปทรงกับเน้อื หาจงึ ไมอํ าจแยก 15

จากกันได๎ในงานศิลปะทด่ี ีท้งั สองสํวนน้ีจะตอ๎ งรวมกันเปน็ สงิ่ เดียว ถา๎ แยกจากกนั ความเปน็ เอกภาพก็ถูกทา้ ลายชีวิตของศิลปะก็ไมํอาจอุบตั ขิ ึ้นได๎ รปู ทรงมีองค์ประกอบสา้ คญั 2 สํวน คือ สํวนทีเ่ ป็นโครงสร๎างทางรปู และ สํวนทีเ่ ป็นโครงสรา๎ งทางวัตถุสวํ นท่ีเป็นโครงสร๎างทางลกู ได๎แกํ ทศั นธาตุท่ีรวมตวั กัน อยาํ งมเี อกภาพสวํ นทเ่ี ป็นโครงสรา๎ งทางวตั ถไุ ดแ๎ กํวัสดุท่ใี ช๎ในการสร๎างรปู เชํน สี ดิน เหนยี ว หนิ ไม๎ กระดาษ ผ๎า โลหะ และเทคนคิ ที่ใช ๎กบั วสั ดุเหลาํ นัน้ เชนํ การระบาย การปัน้ การสละ การแกะ การตัด การทอ การเชอ่ื มตํอ เปน็ สวํ นท่ีเก่ียวข๎องกับความ คงทนถาวรของผลงาน และความเรยี บเนยี นของฝีมอื องคป์ ระกอบทเี่ ป็นโครงสรา๎ งของรปู ทรง ซึ่งไดแ๎ กํ การประสานกันอยาํ งมี เอกภาพของทัศนธาตุนีเ้ ปน็ สํวนสา้ คญั ทีส่ ุด เพราะเทํากับเป็นการของงานศิลปะ ถา๎ ศลิ ปินสรา๎ งรูปทรงให๎มเี อกภาพไมํได๎หรือไมสํ มบูรณ์ รูปทรงน้ันก็ขาดชีวิต ขาดเน้อื หา ไมสํ ามารถจะแปลหรอื ส่ือความหมายใดๆได๎ ภาพที่ 7 : ภาพประตมิ ากรรมไมแ้ กะสลัก ทีม่ า : https://www.google.com/search?biw=1366&bih=667&tbm=is- ch&sa=1&ei=mVE3XczHBKScmgeP3K-wDQ&q=%E0%B8%9B%E0%B8 1.5 พ้ืนผิว (Texture) พ้นื ผวิ หมายถึง ลักษณะของบริเวณพ้นื ผิวของส่ิงตํางๆ ทีเ่ มื่อสัมผัสจับตอ๎ งหรือเม่อื เห็นแล๎วร๎ูสกึ ได๎วํา หยาบ ละเอยี ด มัน ดา๎ น ขรุขระ เป็นเส๎น เป็นจุด เป็นก้ามะหย่ี ฯลฯ 16

ลักษณะผิวมี 2 ชนิด คือ 1. ลกั ษณะผวิ ที่จบั ต๎องไดเ๎ ชํน กระดาษทราย ผวิ ส๎ม แก๎ว ฯลฯ 2. ลกั ษณะผวิ ที่ท้าเทียมขน้ึ เม่ือมองดูจะรู๎สกึ วาํ หยาบหรือละเอียด แตํ เมื่อสัมผสั กับตอ๎ งเขา๎ จรงิ จะเป็นพนื้ ผวิ เรยี บ เชนํ วัสดุสงั เคราะห์ท่ที ้า ให๎ผวิ เป็นลายไม๎ ลายหนิ หรอื การใชพ๎ กํู นั ในงานจติ รกรรมบางชนิด ลกั ษณะผวิ โดยทั่วไปถอื วําเปน็ ทัศนธาตทุ ม่ี ิไดเ๎ ป็นหลักในการสรา๎ งรูปทรง เพราะตวั มนั เองมขี ๎อจ้ากดั ไมมํ ลี กั ษณะทั่วไปสมบูรณ์เหมอื นธาตุอื่นๆที่กลําวมาแล๎ว แตกํ ็มีศลิ ปินรวํ ม สมัยหลายคนใชล๎ กั ษณะผวิ เปน็ ทศั นธาตุทส่ี า้ คัญในการสร๎างงาน ดว๎ ยการใช๎ผิวของวสั ดุตาํ งๆ มาประกอบเปน็ รูปทรงทีส่ มบรู ณไ์ ด๎ ภาพท่ี 8 : ภาพพืน้ ผวิ ทีม่ า : https://krittayakorn.wordpress.com/2013/03/20/texture/ 1.6 ท่ีว่าง (Space) ทวี่ ํางตามปกติจะกวา๎ งขวางจนหาขอบมไิ ด๎ เป็นทีท่ ่ีสิง่ ทั้งหลายทงั้ ปวงด้ารงอยทํู ่วี ํางเปน็ ทัศน ธาตทุ ่ีมองไมเํ ห็นจะปรากฏตัวกต็ อํ เมือ่ มีทศั นะอนื่ มาก้าหนดรปู รํางหรอื มากอํ ใหเ๎ กดิ ปฏิกริ ยิ า ขน้ึ ทีว่ าํ งจงึ เป็นเสมือนสนามหรือเวทที ีท่ ัศนธาตอุ ื่นๆจะลงไปแสดงหรอื ปรากฏตัวในบทบาท ของรูปทรง ทศั นศลิ ปแ์ ตลํ ะประเภทใช๎ที่วาํ งตํางกันไปตามลกั ษณะของงาน จติ รกรรมใช๎ท่วี ําง ทีเ่ ปน็ 2 มิติ แตํอาจจะท้าใหเ๎ กิดการลวงตาเหน็ เป็น 3 มติ ิได๎ด๎วยวธิ ีการประกอบกนั ของทัศน ธาตตุ ํางๆ ประตมิ ากรรมใช๎ทว่ี ํางจรงิ ๆอบลอ๎ มลูบไล๎และเจาะทะลุรูปทรงทีเ่ ป็น 3 มติ ิ สถาปัตยกรรมใช๎ทวี่ าํ งจริงๆเชํนเดียวกับประติมากรรมและยังเป็นท่ีวาํ งทเี่ ราสามารถเขา๎ ไป อยูภํ ายในไดอ๎ กี ด๎วย ประติมากรรมสิ่งแวดลอ๎ มใชแ๎ นวคดิ ให๎ผด๎ู ูเขา๎ ไปอยใํู นทีว่ าํ งทห่ี อ๎ มล๎อม ดว๎ ยรูปทรงได๎เชนํ เดยี วกบั งานสถาปตั ยกรรมการเต๎นระบา้ สมัยใหมํก็เปน็ การสร๎างท่วี ํางให๎มี ความหมายดว๎ ยการก้าหนดและเปลีย่ นแปลงทว่ี ํางด๎วยรํางกายและความเคลื่อนไหวของคน ค้าจ้ากดั ความของทีว่ าํ ง 17

1. ปริมาตรทว่ี ตั ถุหรือรปู ทรงกินเนอ้ื ท่อี ยู่ รูปทรงสามมติ ิเมอ่ื ปรากฏตัวในที่วาํ ปรมิ าณ ของรปู ทรงน้ันจะเข๎าแทนที่ท่ีวาํ งทันทที ีว่ าํ งท่ีถกู แทนทดี่ ว๎ ยรูปทรงนจ้ี ะมรี ูปรํางและ ปริมาตรเชํนเดยี วกับรปู ทรงทกุ ประการถา๎ เราพจิ ารณาการทา้ แมํพิมพใ์ นงาน ประติมากรรมกจ็ ะเหน็ ได๎ชัด แมพํ ิมพข์ องวตั ถุชนิ้ หน่งึ จะมปี ริมาตรและรปู ราํ งของ ทวี่ ํางเทาํ กันและเป็นอยํางเดียวกับวัตถนุ ้ันผดิ กันแตเํ พียงวาํ แมพํ ิมพน์ ้นั มีปรมิ าตรเป็น ลบหรือเรยี กวาํ ปรมิ าตรของท่วี าํ งแตํวตั ถุมปี รมิ าตรเป็นบวกหรือเรยี กวําปริมาตรของ มวล 2. อากาศท่ีโอบรอบรูปทรงอยู่ เม่อื มีรูปทรงหนึ่งปรากฏในที่วาํ งผิวนอกทัง้ หมดของ รปู ทรงน้ันจะถกู ห๎อมล๎อมอยํางแนบสนิทด๎วยทีว่ ํางทันที 3. ระยะห่างระหวา่ งรปู ทรง ระยะหาํ งระหวํางรปู ทรงนบ้ี างครั้งเรยี กชํองไฟเชนํ ชํองไฟ ระหวาํ งตัวอกั ษรในการเขียนหนงั สือหรอื ชอํ งไฟในลายไทย 4. ปรมิ าตรของความวา่ งที่ถูกล้อมรอบดว้ ยขอบเขต ไดแ๎ กํ ท่ีวาํ งภายในของวัตถหุ รอื รปู ทรงเชํนทีว่ ํางภายในห๎องหอ๎ งหน่ึงที่ถกู ล๎อมดว๎ ยผนังพื้นเพดานทีว่ าํ งภายในอโุ มงค์ หรอื ทีว่ าํ งภายในรูปทรงขนาดใหญทํ ่ีท้าดว๎ ยวัสดสุ ังเคราะห์ใหค๎ นเขา๎ ไปอยขํู ๎างในไดค๎ ้า จา้ กดั ความข๎อน้ีตํางกบั ขอ๎ 1 ตรงท่วี าํ รปู ทรงในขอ๎ 1 เป็นรปู ทรงท่ีถกู ตันปรมิ าตรของ รปู ทรงเข๎าไปแทนท่ีหรอื ไรทํ ่ีของท่ีวาํ งแตํในขอ๎ นีม้ ปี ริมาตรของความวํางท่ีถูกโอบลอ๎ ม ดว๎ ยระนาบหรือรูปทรงท่มี ีความกลวงอยํขู ๎างใน 5. พ้ืนท่ขี องระนาบ 2 มติ ิที่จติ รกร ใช้เขียนรูปลงไป ไดแ๎ กํ กระดาษผา๎ ใบหรอื ท่ี เรยี กวําแผนํ ภาพซ่งึ ตามปกตจิ ะมรี ปู สเ่ี หลี่ยมท่ีมสี ัดสวํ นตํางๆกนั แตํบางครั้งอาจมีรูป นอกเปน็ อยํางอื่นเชํนสามเหลยี่ มวงกลมวงรี 6. การแทนค่าของความลึกบนระนาบที่เป็น 2 มิติ ไดแ๎ กกํ ารเขียนรปู ใหเ๎ ห็นดวงตาวํา มีความลึก 7. ปฏกิ ริ ิยาระหวา่ งนา้ หนกั สแี ละรปู ทรงทม่ี ผี ลตอ่ ประสาทตา ที่วํางแบบน้ีเห็นได๎ชัด ในงานจติ รกรรมแบบ op Art ทีป่ ฏิกิริยาระหวาํ งทีก่ ับเสน๎ น้าหนักหรอื สีท้าใหผ๎ ูด๎ ูเห็น พน้ื ผวิ ของภาพลกึ ต้นื นูนเว๎าเปน็ การสร๎างความลกึ ลวงตาอีกวิธหี นงึ่ 1.7 สี (color) สีได๎ถกู ใช๎ในการสอ่ื ความหมายแทนสิง่ ใดสิง่ หน่ึงอยํเู สมอตัง้ แตอํ ดีตจนถึงปจั จุบนั ในอดีต สีถกู ใช๎เพอ่ื แสดงถึงความเป็นเจา๎ ของหรอื แสดงล้าดับของยศถาบรรดาศกั ดิ์ แตใํ นปัจจบุ นั 4 ได๎ถกู ใชง๎ านอยํางกวา๎ งมากขนึ้ ในฐานะตวั แทนขององคก์ รและบรษิ ัทตาํ ง ๆ เพ่ือเชงิ พาณิชย์ 18

มากขนึ้ ยก ตัวอยาํ งเชํน สีเหลืองของกลอํ งฟิลม์ สโี กดกั สแี ดงของกระปอ๋ งเครือ่ งดื่มโค๎ก ลว๎ น เป็นสัญลกั ษณส์ ื่อความหมายถึงองค์กรทั้งสน้ิ นอกจากนั้นยังถูกใช๎เพอื่ สรา๎ งบรรยากาศ ถาํ ยทอดความร๎สู กึ และอารมณต์ ําง ๆ ได๎ ส่ือกราฟกิ ตําง ๆ เพือ่ ชวํ ยในการดงึ ดูดความสนใจ ของกลมุํ เป้าหมายให๎เขา๎ มาสูงํ านออกแบบไดเ๎ พราะสมี แี นวโนม๎ ทจี่ ะปรากฏชัดเจนตํอสายตา ของเรา ภาพที่ 9 : ภาพวงจรสี ท่มี า : https://www.unlockmen.com/color-tips-trademark/ ความหมายของสี การศึกษาและเรยี นรคู๎ วามหมายของสจี ะชวํ ยท้าใหเ๎ ราสามารถเลือกใช๎สเี พือ่ การสอ่ื ความหมายไดอ๎ ยํางชัดเจน และสอดคลอ๎ งกบั การเรียนรข๎ู องกลมุํ เปา้ หมายได๎ เราสามารถ ศกึ ษาและรู๎ความหมายของสไี ดจ๎ ากสภาพแวดล๎อมสงั คม และวฒั นธรรม ท่เี ราอาศัยอยูํ เชํน ปา้ ยจราจรสแี ดง และมตี วั อกั ษรคา้ วํา หยุด เป็นสัญลกั ษณ์เตอื นอันตราย และไฟจราจรสี เขยี ว หมายถึง ปลอดภัย หรือผํานไปได๎ เปน็ ต๎น หน๎าที่ของสนี อกจากสื่อความหมายแล๎วยัง สามารถแสดงอารมณ์ ความรสู๎ ึก บคุ ลิกภาพ ฤดูกาล ไดอ๎ กี ดว๎ ย ความสาคญั ของสี 19

สีมีความส้าคัญตอํ งานออกแบบกราฟิก เนอ่ื งจากสชี วํ ยให๎เกดิ การรบั รูไ๎ ด๎อยาํ งรวดเรว็ และสที ถี่ กู ใจกลมุํ เป้าหมายจะชํวยใหก๎ ลุํมเป้าหมายให๎ความมั่นใจกับงานกราฟกิ มากขึน้ นัก ออกแบบจึงควรมคี วามร๎แู ละความเข๎าใจในความสา้ คัญของสี ภาพท่ี 10 : ภาพเฉดสี ทีม่ า : https://pantip.com/topic/33733719 20

21

22

23

หลักการออกแบบเบ้ืองตน้ (Principle Design) 2.1 เอกภาพ (Unity) เอกภาพคอื อะไร เอกภาพ ในความหมายโดยทวั่ ไป คอื ความเป็นอันหนึ่งอันเดยี วกัน หรือ ความ กลมกลนื กลมเกลยี วเข้ากันได้ ความกลมกลืนและ ความเปน็ อันหนึ่ง อนั เดยี วกัน ทเ่ี กิดจาก การเชื่อมโยง สัมพนั ธก์ ันของสว่ นต่าง ๆ ในทางศลิ ปะ เอกภาพ หมายถงึ การประสานหรอื การจดั ระเบียบของสว่ นตา่ งๆให้เกิดความเปน็ อันหนึ่งอนั เดยี วกัน เพ่ือผลรวมอนั หน่ึงท่ไี มอ่ าจ แบ่งแยกได้ เอกภาพเปน็ กฎของธรรมชาตทิ ี่ควบคมุ ทกุ สงิ่ ต้งั แตจ่ ักรวาลไปจนถงึ ปรมาณูเอกภาพ ประกอบด้วยกฎของดลุ ยภาพกฎของการรวมตวั และกฎของความเป็นระเบยี บจกั รวาลคอื การรวมตวั กนั อยา่ งมรี ะเบียบและดุลยภาพของดวงดาวต่างๆ ปรมาณู คอื การรวมตวั กัน อยา่ งมรี ะเบียบและดลุ ยภาพของนิวตรอนโปรตอนอเิ ลก็ ตรอนเอกภาพของศลิ ปะกค็ ือการ รวมตวั กันอยา่ งมีระเบยี บและดลุ ยภาพของเรอ่ื งแนวเรือ่ งและรปู ทรงโครงสร้างของเอกภาพ ในทกุ สงิ่ ล้วนเปน็ อย่างเดียวกัน ภาพท่ี 11 : ภาพสีน้ำ� มนั ทมี่ า : https://tech.mthai.com/software/9161.html การสรา้ งงานศลิ ปะ คอื การสรา้ งเอกภาพขนึ้ จากความสับสน ยงุ่ เหยงิ การจัด ระเบียบ และดลุ ยภาพให้แก่สิง่ ที่ขัดแยง้ กันเพ่ือให้รวมตัวกันได้ศิลปินมหี นา้ ท่ีรวบรวมและ 24

จดั สรรองค์ประกอบต่างๆซง่ึ มสี ว่ นทีเ่ ปน็ รปู และนามซงึ่ มีความขัดแยง้ กันโดยธรรมชาตสิ ร้าง เป็นรปู ทรงที่มีเอกภาพ เอกภาพของรปู ความคิด ไดก้ ล่าวแลว้ วา่ องค์ประกอบขัน้ ต้นของศลิ ปะเม่ือมองจากดา้ นการสร้างสรรค์น้ันมี แนวเร่อื งและรปู ทรงประกอบกันอยู่แลว้ เร่ืองเป็นโครงสรา้ งทางจิตเปน็ ความคิดเริ่มตน้ ของ งานรปู ความคิดนีจ้ ะต้องมเี อกภาพมคี วามหมายในตัวเองเสยี กอ่ นจงึ จะผลกั ดันให้ศิลปนิ สรา้ ง รูปทรงให้มีเอกภาพขน้ึ ได้ ตามทัศนะของเพลโต รูปความคิดเป็นสิ่งท่สี ูงสง่ เป็นอิสระและแสวงหาทางออกโดย ผ่านศิลปินเพ่อื แสดงตวั ใหป้ ระจักษใ์ นรปู ทรงท่ีมนษุ ย์สามารถสมั ผสั ได้การจัดทารปู ความคิด ให้เปน็ ส่งิ เห็นได้จริงดว้ ยตานัน้ ศลิ ปนิ จะตอ้ งสร้างรูปทรงทม่ี ีความสมบรู ณ์อยา่ งยง่ิ ขนึ้ เป็น รปู ทรงทม่ี ีความคดิ เป็นหน่วยนาโดนใจควบคุมให้ศิลปินเลอื กวสั ดุและวิธกี ารทางานการสรา้ ง รูปทรงรปู ความคิดจงึ ต้องเป็นหนว่ ยท่ีมเี อกภาพในตวั เองมรี ปู ความคิดหลกั ความคดิ ลองมีการ จัดสรรองค์ประกอบของรูปความคดิ ใหส้ ัมพนั ธก์ บั รูปทรงด้วยตัดสงิ่ ท่ีเกินความจาเปน็ ใน รูปทรงออกพัฒนาส่วนที่สาคญั ให้เจรญิ ทส่ี ดุ ถ้าขาดเอกภาพของรูปความคิดซึ่งเปน็ จดุ ตน้ กาเนดิ ของศิลปะเสยี แลว้ รปู ทรงกไ็ ม่อาจมีเอกภาพหรอื สื่อความหมายอะไรกไ็ ด้ตวั อย่างทเี่ ห็น ได้ชดั ถงึ ความมเี อกภาพของรปู ความคิดในศิลปะก็คอื ศลิ ปะของเดก็ ทีแ่ สดงออกอย่างบริสทุ ธิ์ ตรงใจและเป็นตน้ แบบอย่างแท้จรงิ มคี วามเรียบง่ายตรงจุดหมายทสี่ ดุ ทุกเส้นทุกจดุ ที่เดก็ เขียนลงไปเป็นความจาเปน็ ต่อการแสดงออกของรปู ความคิดทมี่ เี อกภาพแลว้ ทง้ั ส้ิน กฎเกณฑห์ ลกั ของเอกภาพ กฎเกณฑ์หลกั ขอ้ มลู ของเอกภาพในธรรมชาตแิ ละในศลิ ปะพอจะแยกออกเป็น 2 ขอ้ คือ 1. กฎเกณฑ์ของการขัดแยง้ 2. กฎเกณฑ์ของการประสาน กฎเกณฑร์ องของเอกภาพ กฎเกณฑ์รองของเอกภาพมี 2 ข้อคอื 1. ความเป็นเด่น 2. ความเปลยี่ นแปลง 25

2.2 ภาพและพน้ื (Figure & Ground) ภาพและพื้น หน่งึ ในแนวคิดสาคัญของการบาบดั แนวเกสตลั ทก์ ค็ อื ภาพและพ้นื (figure and ground) แนวคิดน้ีเกิดข้ึนครงั้ แรกในจิตวทิ ยาแนวเกสตลั ท์ เพ่ือใช้ในการอธิบาย การรับรู้ของคนเรา กลา่ วคอื ส่งิ ท่ีเรารบั รปู้ ระกอบด้วยภาพและพืน้ ภาพคอื สง่ิ หลกั ที่เรา สนใจ สว่ นพ้นื คอื สงิ่ ท่อี ยูร่ อบๆ หรอื ส่ิงท่เี ราไม่ได้สนใจ การบาบัดแนวเกสตลั ท์มองว่า ประสบการณข์ องคนเราสามารถอธบิ ายได้ด้วยภาพและพ้นื โดยภาพนน้ั สะท้อนถงึ ความ ต้องการและความสนใจของคนเรา สว่ นพน้ื หมายถึงทุกส่งิ ทุกอย่างท่ีอยเู่ บ้อื งหลัง ไมว่ า่ จะ เปน็ ความคิด ความรู้สึก ความต้องการ การเรียนรู้ ประสบการณเ์ ดมิ ฯลฯ ทีย่ งั ไมป่ รากฏ ขน้ึ มาในความสนใจ 2.3 การเนน้ และการสร้างลาดบั ความสาคญั (Emphasis & Hierarchy) คุณอาจจะเคยได้ยนิ เก่ยี วกับกฎ 80/20 กนั มาบ้างแลว้ ท่วี า่ ถ้าเรามงี านอยู่ 100 อยา่ ง เราจะพบวา่ มงี านสาคญั ๆ อยแู่ ค่ 20% ท่ที าแลว้ ให้ผลลพั ธ์ถึง 80% ของงานทั้งหมด ในขณะที่ งานอกี 80% ท่ีเหลือถึงทาเสรจ็ กจ็ ะใหผ้ ลแค่ 20% เทา่ น้ัน ซง่ึ ถ้าหากคณุ รจู้ ักการ จดั ระเบยี บและการทางานให้มีประสทิ ธิภาพ เชน่ การวางแผนการทางานชิ้นงานตามลาดบั ความสาคญั ในแตล่ ะวนั (ทงั้ ที่เปน็ งานประจา และงานโครงการให้สาเร็จ) ตรงตามเวลาท่ี กาหนดไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ การสรา้ งวินยั ใหก้ ับตนเอง ตลอดจนการบริหารเวลาในการ ทางานเพอ่ื ใหง้ านเปน็ ไปอยา่ งมลี าดบั ขนั้ ตอน ก็จะทาใหก้ ารทางานของคุณเกดิ ประสทิ ธภิ าพ สงู สุด \"ความสาเรจ็ ในการทางานจะเริ่มตน้ จากการจัดสงิ่ ต่าง ๆ ใหเ้ ป็นระบบระเบยี บ\" ปัญหาทเ่ี กดิ จากการทางานไมเ่ ปน็ ระบบ - เวลาส่วนใหญใ่ นแตล่ ะวนั หมดไปกับการทาส่ิงทีไ่ มม่ ีความสาคัญใด ๆ เลย - ทางานเสร็จอย่างลวก ๆ ไมเ่ รียบร้อย - มปี ญั หาในการแยกเยอะงานท่สี าคัญออกจากงานอื่น ๆ - รอให้ถงึ เวลาจวนตวั จงึ จะเร่มิ ลงมือทางานชิน้ สาคัญ - เริม่ งานพรอ้ ม ๆ กนั หลายงาน แตไ่ ม่เคยทาได้สาเร็จเลยสกั อย่าง 26

- ตัดสนิ ใจไมถ่ ูกว่าควรจะทางานอะไรเปน็ ลาดบั ต่อไป - ทางานชิ้นเดิมซา้ อีกครง้ั เพราะจัดระบบงานของตัวเองไม่ดพี อ - ไมส่ ามารถรับมอบหมายงานทต่ี อ้ งใชค้ วามรับผิดชอบสงู ได้ การวเิ คราะหง์ านเพ่ือจัดลาดับความสาคญั 1. งานปกติ - งานทนี่ กั บริหารทา เช่น การสอนงาน มอบหมายงาน 2. งานประจา – งานที่ทาแบบเดมิ ๆ ประจาวนั 3. งานเร่งด่วน - นโยบายเร่งด่วน 4. งานรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ - นกั บรหิ ารท่ีดตี ้องทางานริเริมสร้างสรรค์ สามารถแบง่ งานออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ (A) สาคญั และ เรง่ ดว่ น : ฝากใครทาไมไ่ ด้ ตอ้ งทาเอง ทนั ที เร่งด่วน รอชา้ ไม่ไดแ้ ละตอ้ ง สาเรจ็ ด้วย (B) สาคัญ แต่ไม่เรง่ ดว่ น : ฝากใครทาไม่ได้ ต้องทาเอง แต่ไม่ด่วนมาก ตอ้ งจัดสรรเวลามาทา และตอ้ งสาเร็จดว้ ย (C) ไม่สาคญั แต่ เรง่ ดว่ น : ฝากคนอ่ืนทาได้ แตต่ ้องทาทนั ที ไม่ควรช้า (D) ไมส่ าคัญ และ ไมเ่ ร่งดว่ น : ฝากใครทาก็ได้ ถ้าว่างจริง ๆ แลว้ จะทา งานอยา่ งนี้ถา้ จัดดี ๆ อาจจะถูกผลดั ไปได้ และบางคร้งั กลับมาดอู ีกครัง้ กไ็ มส่ าคัญว่าจะเสรจ็ หรอื ไม่กไ็ ม่เสยี หาย อะไร สรปุ ประโยชนจ์ ากการจดั ลาดับความสาคญั 1. งานสาคัญ งานเรง่ ดว่ น เสร็จทนั เวลา 2. ทางานได้ครบตามลาดับความสาคญั ไดม้ ากที่สดุ 3. มีสมาธิในการทางาน ไมต่ ้องพะวงในหลายเรอื่ ง การทางานไมซ่ า้ ซ้อน 27

2.4 สดั ส่วน (Proportion) สดั สว่ น เปน็ กฎของเอกภาพทเี่ กย่ี วข้องกบั ความสมสว่ นซ่ึงกนั และกนั ของขนาด ในส่วนตา่ ง ๆ ของรูปทรวงระหว่างรปู ทรง ที่เราเห็นคนหัวโต ตัวเต้ีย คนขายาว หรือคนขาสนั้ เกนิ ไป ก็ เพราะเขามสี ัดสว่ นผิดไปจากธรรมดาของคนทวั่ ไปในศลิ ปะก็มีความหมายเป็นธรรมดาของ สดั ส่วนนอี้ ยู่ สัดสว่ นเป็นเรอื่ งของความรสู้ ึกทางสนุ ทรีภาพและอุดมคติ การสมสดั ส่วนน่ี หมายรวมไปถงึ ความสัมพนั ธก์ นั อย่างเหมาะสมกลมกลนื ของสี แสง เงา และทศั นธาตอุ ื่น ๆ ดว้ ย ภาพที่ 12 : สดั สว่ นมนุษย์ ทมี่ า : https://krittayakorn.wordpress.com/2013/03/20/proportion/ สดั ส่วนทผ่ี ดิ ไปจากธรรมชาติ สัดส่วนในงานประติมากรรมของกรกี เปน็ สดั ส่วนทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปจากธรรมชาติ เพราะกรกี คือความงามแบบอดุ มคติของตนสดั สว่ นของคนในอดุ มคติของกรีกนัน้ มี 8 สว่ น ของความยาวของใบหนา้ แตใ่ นคนธรรมดาทว่ั ไปจะเป็นเศษส่วนขนึ้ เทา่ นัน้ สดั ส่วนในงานประติมากรรมของพวกแอฟริกาดัง้ เดิมกผ็ ดิ ไปจากสัดสว่ นของคนกิน จรงิ มากเช่นกนั แตก่ ารใช้สัดสว่ นในศิลปะของคนพวกน้มี ีจุดหมายตา่ งกบั ของพ่สี าวคือ สดั สว่ นตามอดุ มคติของเอกนั้นเป็นไปเพ่ือความงามความผสานกลมกลืนของรูปทรงแต่ สดั ส่วนของชาวแอฟริกันดั้งเดมิ เป็นไปเพอ่ื เน้นความรู้สกึ ทางวญิ ญาณทีน่ า่ กลวั โกลเด้นเซ็กชนั่ (Golden section) 28

อารยธรรมของกรีกมคี วามเกี่ยวขอ้ งกบั สัดส่วนมากทั้งในงานศิลปะและกจิ กรรมอน่ื ๆ ของมนุษยแ์ ตล่ ะช้ินส่วนของวิหารพาร์เธนอน น้นั มีสัดสว่ นสัมพันธ์กันดใี นตัวเองสัมพนั ธก์ ับ ชนิ้ สว่ นอื่นและสัมพนั ธ์กับรปู ทรงส่วนรวมของวิหารด้วยชาวกรกี ไดส้ รา้ งกฎของสัดสว่ นข้ึนกฎ หนึง่ เรียกวา่ Golden section หรือสว่ นทอง กฎนี้มวี า่ สว่ นเล็กสัมพันธ์กบั สว่ นทใี่ หญ่กวา่ ส่วนใหญ่สมั พนั ธก์ บั สว่ นรวมเช่นเดียวกบั ความสมั พนั ธ์ของสว่ นต่างๆของรา่ งกายมนุษย์ซงึ่ จะ ไดด้ ัดแปลงใหเ้ ปน็ สัดส่วนตามอุดมคติขึ้นดังจะเห็นได้จากประติมากรรมรปู เทพเจา้ ตา่ งๆของ กรีก 2.5 ขนาด (Scale) ขนาด คอื สมบตั ิ อย่างหนึ่งของวตั ถทุ ่ใี ช้เปรียบเทยี บวา่ ส่งิ ใดใหญก่ วา่ หรอื เล็กกว่าสิ่ง ใดในวัตถชุ นิดเดยี วกนั ในทางเทคนิคคอื การจัดอันดับ ของวตั ถุ ในชวี ติ จรงิ มีการใช้ขนาดใน การจัดอันดบั ของวตั ถุตา่ งๆ ขนาด เป็นสว่ นย่อย (Detail) หมายถึง ขนาดความใหญ่ ความเลก็ ความกว้าง ความยาว หรือความลกึ ของสง่ิ ใดสง่ิ หนึ่ง ซ่ึงวัดได้ตามมาตรา ทีม่ นษุ ย์ได้กาหนดหนว่ ยวดั ข้นึ มา เพอ่ื เปน็ มาตรฐานใชเ้ รยี กกนั 2.6 ความสมดลุ (Balance) ดุลยภาพ (Balance) ความสมดุลหรอื ดุลยภาพ หมายถึง ความเท่ากันเสมอกนั มี น้าหนกั หรอื ความกลมกลนื พอเหมาะพอดี โดยมแี กนสมมติทาหนา้ ทแ่ี บง่ ภาพให้ซา้ ยขวา บน ล่าง ให้เทา่ กัน การเท่ากันอาจไมเ่ ท่ากันจรงิ ๆ กไ็ ด้ แตจ่ ะเท่ากันในความร้สู ึกตามทตี่ า มองเห็นความสมดุลแบง่ เป็น 2 ประเภท ดังน้ี 1) ความสมดลุ 2 ขา้ งเทา่ กัน (Symmetrical Balance) หมายถงึ การจดั วางองค์ประกอบ ตา่ ง ๆ ของศลิ ปะให้ทัง้ 2 ข้างแกนสมมตมิ ขี นาด สัดสว่ น และน้าหนักเท่ากัน หรือมีรปู แบบ เหมอื นกนั คลา้ ยกนั 2) ความสมดลุ 2 ขา้ งไม่เทา่ กัน (Asymmetrical Balance) หมายถึง การจัดองค์ประกอบ ของศิลปะ ท้งั 2 ข้างแกนสมมติมขี นาดสัดสว่ นน้าหนกั ไมเ่ ทา่ กนั ไม่เหมอื นกัน ไม่เสมอกนั แตส่ มดุลกันในความรู้สึกความสมดลุ 2 ขา้ งไมเ่ ทา่ กัน คอื ภาพมีความสมดลุ ยข์ องเนื้อหาและ เร่ืองราวแตไ่ มเ่ ทา่ กนั ในเร่อื งขนาด นา้ หนกั 29

3. จุดเด่น (Dominance) หมายถึงสว่ นสาคัญที่ปรากฏชัด สะดดุ ตาท่ีสดุ ในงานศลิ ปะ จุดเด่นจะช่วยสร้างความน่าสนใจในผลงานให้ภาพเขียนมีความสวยงาม มีชีวิตชีวา ยิง่ ข้ึน จดุ เด่นเกิดจากการจดั วางทเ่ี หมาะสม และรู้จักการเน้นภาพ (Emphasis) ท่ี ดี จุดเด่น มี 2 แบบ คือ (1.จุดเด่นหลัก เป็นภาพท่ีมีความสาคัญมากทส่ี ดุ ในเรอ่ื งที่จะเขียน แสดงออกถงึ เรื่องราวที่ ชัดเจน เด่นชัดท่ีสุดในภาพ (2.จดุ เด่นรอง เป็นภาพประกอบของจุดเด่นหลัก ทาหน้าท่ีสนับสนุนจดุ เด่นหลัก ให้ภาพมี ความสวยงามย่งิ ขึ้น เช่น ในภาพจดุ เดน่ รองไดแ้ ก่ รูปเรอื 4. ความขัดแย้ง (Contrast) ขัดแย้งด้วยรูปทรงขัดแย้งด้วยขนาดขัดแยง้ ด้วยเส้นขดั แย้งดว้ ย ผวิ ขัดแย้งด้วยสคี วามขัดแยง้ ทกี่ ล่าวมาถกู จัดวางเพื่อให้เกิดความงามทางศิลปะ 5. ความกลมกลืน (Harmony) ภาพดา้ นล่างเป็นความกลมกลนื ด้านเรือ่ งราวทีส่ อดคลอ้ งเป็น เรอ่ื งราวเก่ียวกับธรรมชาติ และเปน็ ความกลมกลนื ในเร่อื งสีวรรณะเดียวกัน 2.7 ทิศทางการเคลื่อนไหว (Direction & Movement) การเคลือ่ นไหวทีเ่ กิดข้ึนในงานทัศนศิลป์ ไมว่ ่าจะเป็นสาขา จติ รกรรม ประติมากรรม ศิลปะ ภาพพิมพ์ หรืองานออกแบบใด ๆ กต็ าม เป็นอารมณค์ วามรู้สกึ แก่ผดู้ ูไดโ้ ดย รับรจู้ าก ส่งิ ทอ่ี ย่นู ่งิ (Static)ไดด้ ว้ ย การเหน็ หรือดว้ ยประสาท สัมผสั ทางตา วา่ ส่งิ นัน้ มีการเคลอ่ื นไหว ไมใ่ ชก่ ารเคลอื่ นไหวที่เกิดข้ึนจรงิ เพราะงานทศั นศิลป์โดยท่วั ไป จะไมม่ กี ารเคลอ่ื นไหว แต่ ลักษณะของทัศนธาตุ รวมท้ังองคป์ ระกอบ ทางศิลปะ ทาให้รสู้ ึกวา่ มกี ารเคลอ่ื นไหว ผา่ น จักษุสมั ผสั และความรู้สึกของการเคลอื่ นไหวนนั้ ส่วนหน่งึ ก็เกิดจาก ประสบการจากการ รบั รู้ ของมนุษย์จากธรรมชาติ เช่นเดียวกนั การเคล่อื นไหว ท่ีเกดิ จากลกั ษณะของทัศนธาตุ รวมท้งั องค์ประกอบทางศิลปะ อาจจะแบ่ง ออกได้เป็น 3 ลกั ษณะคอื 1. การเคลอื่ นไหวทถี่ ว่ งดลุ ซึ่งกันและกัน เปน็ การเคลือ่ นไหวมีการผลกั และตา้ นพร้อม ๆ กัน เหมือนเรือกาลัง โต้กบั คลืน่ ลม ใน 30

มหาสมทุ ร หรอื คนกาลังต่อสูด้ ึงดันกนั โดยทีย่ ัง ไม่มีผใู้ ดเพลีย่ งพลา้ เปน็ การถว่ งดุลไมล่ ม้ ไป ขา้ งใดขา้ งหนึง่ ให้ความรูส้ ึก ตึงเครยี ด การเคลื่อนไหวลกั ษณะนี้ ใหค้ วามรู้สึกเคลอ่ี นไหวที่ รนุ แรง กดดนั แตห่ ยุดนิ่งอย่กู ับท่ี 2. การเคลอื่ นไหวที่ไมม่ ีแรงตา้ นทาน เปน็ การเคล่ือนไหวทีไ่ ม่มีการตา้ นทาน ทาใมีการเคลือ่ นไหวผา่ นไป ไดโ้ ดยตลอด เช่นเดยี วกบั การวงิ่ ของรถ ทผี่ ่านไปอยา่ งรวดเรว็ การเคลื่อนไหวลักษณะน้ี ใหค้ วามรู้สึกเคลีอ่ นไหวที่ รวดเร็ว รุนแรง ไมห่ ยุดนงิ่ มีการเคลือ่ นไหวตลอดเวลา 3. การเคล่อื นไหวทซ่ี ้าและผอ่ นคลาย เป็นการเคล่ือนไหวท่มี ีพลังนอ้ ย เฉื่อย ผอ่ นคลาย มืลักษณะเปน็ การซา้ เป็นลาดบั อย่าง ต่อเน่ือง เหมือนเม่ือทานบหรอื เขื่อนพงั ในชว่ งแรกพลงั น้า จะไหลบ่าอย่างรวดเร็วลงไปสู่ ระดบั นา้ ที่ต่ากว่า แต่เมอื่ ระดบั น้าสองข้างอยู่ใน ระดับทใ่ี กลเ้ คยี งกันแล้ว จงั หวะการไหลของ นา้ กเ็ ฉ่อื ยลง จงั หวะของคล่นื กม็ กี ารซา้ อย่างเป็นระเบียบ 2.8 ความขัดแยง้ (Contrast) ความขดั แย้ง หรอื Contrast ในทางศลิ ปะจะหมายถงึ ความไม่ประสานสัมพนั ธ์กนั หรือสิ่งทต่ี รงข้ามกัน แตกต่างกัน การนาความขัดแย้งมาใช้ในงานศิลปะจะช่วยทาใหผ้ ลงาน ไม่เกดิ ความนา่ เบอ่ื นอกจากน้ันยังช่วยให้เกิดความตื่นเต้น ความน่าสนใจข้ึนอีกดว้ ย ความ ขดั แยง้ (Contrast) จะตรงข้ามกับความกลมกลนื (Harmony) เราสามารถทาใหเ้ กดิ ความ ขดั แย้งในองค์ประกอบได้หลายลักษณะ ขัดแย้งกันในขนาดขัดแยง้ กันในรปู ร่าง-รูปทรง ขัดแยง้ กันในทิศทาง ขัดแย้งกันในแสง และขดั แย้งกันในเรื่องของสี ความขัดแยง้ ของขนาด Size contrast ขนาดของวัตถมุ ีความตา่ งกนั สามารถนามาจดั วางอยดู่ ้วยกนั เพ่อื เนน้ ขนาดของวัตถุนน้ั สิง่ ที่มขี นาดเลก็ จะดูเล็กลงเม่อื อยู่แวดลอ้ มส่งิ ท่ีมขี นาดใหญ่ ส่งิ ท่ีมขี นาดใหญจ่ ะดใู หญ่ขนึ้ เมื่อ แวดลอ้ มไปด้วยสิง่ ทีม่ ขี นาดเล็ก นอกจากน้ีสิ่งท่ีมขี นาดแตกตา่ งกันเมื่อมาอยู่ด้วยกนั จะ สามารถใช้อา้ งอิงขนาดของกันและกันได้ เช่นภาพนา้ ตกขนาดใหญ่ เมอื่ มีคนไปยืนอยู่ก็จะทา ใหร้ ู้ว่าขนาดของน้าตกเทียบกับสัดสว่ นของคนแล้วมีขนาดเทา่ ไหร่ ความขดั แย้งของรูปรา่ ง-รปู ทรง Shape-Form contrast 31

วัตถตุ า่ งๆมรี ูปรา่ ง-รปู ทรงท่แี ตกตา่ งกนั ออกไป การนารปู ร่าง-รูปทรงท่ตี ่างจากรปู ทรง อน่ื มาอยู่ด้วยกันจะสามารถทาใหร้ ปู ร่าง-รูปทรงนนั้ โดดเดน่ ขึน้ มาได้ ความขดั แยง้ ของทศิ ทาง Direction contrast ทศิ ทางของการเคลื่อนท่ขี องวัตถุ ในการเคลื่อนท่ไี ปในทิศทางเดยี วกนั ของวัตถหุ ลายชิ้น ถา้ มวี ตั ถใุ ดวัตถหุ น่งึ ท่ีมที ิศทางการเคลอื่ นทสี่ วนทางกันกับวัตถุส่วนมาก ก็จะแสดงถึงความ ขดั แยง้ ไดด้ ี ความขดั แยง้ ของแสง Light contrast ความขัดแย้งของค่าแสงบริเวณต่างๆ ท่มี คี ่าความสวา่ งที่แตกตา่ งกัน มีลักษณะของแสง ที่แตกตา่ งกัน แสงท่ีมคี วามต่างของค่าแสงมากภาพจะมีคา่ ความขดั แย้งสงู (High contrast) ส่วนคา่ ความตา่ งของแสงน้อยจะมีค่าความขัดแย้งในภาพตา่ (low contrast) อัตราสว่ นแสง (Lighting ratio) เปน็ การแบง่ ความเขม้ ของแสงทัง้ สองด้าน (ซ้าย-ขวา) โดยใหแ้ ต่ล่ะด้านมคี วามเขม้ หรอื ความสว่างไมเ่ ทา่ กัน เป็นการสรา้ งมติ ใิ หก้ ับสิ่งทีเ่ ราจะถา่ ย แสงนุม่ แสงแขง็ (Hard light-soft light) มผี ลตอ่ ความขัดแย้งในภาพ แสงแขง็ จะให้ Contrast ท่ีมากกวา่ แสงนุม่ ความขัดแย้งของสี Color contrast สีตดั กนั จะสง่ ผลตอ่ ความร้สู ึกทีข่ ดั แยง้ และชว่ ยสร้างความเดน่ ให้กับสง่ิ ทเี่ ราให้ความ สนใจ โดยสที ่ตี ดั กันนนั้ จะเปน็ สตี รงขา้ มวรรณะกัน โดยสีตัดกนั ทมี่ ผี ลของความตัดกันมาก ทสี่ ดุ กค็ อื สีคูต่ รงขา้ ม Complementary color สีคูต่ รงข้ามนก้ี ็คือคู่สีทต่ี รงขา้ มกนั ในวงจรสี แต่ล่ะขัน้ เช่น สีแดงตรงขา้ มกับสีเขยี ว, สสี ้มตรงข้ามกับสีนา้ เงนิ และสีเหลอื งตรงขา้ มกับสี มว่ ง ในสีคตู่ รงขา้ มน้จี ะมีสมดุล หรือเปอร์เซน็ ต์ของสที ี่เหมาะสมในการใชง้ าน หรือการมา เข้าค่กู ันอยู่ โดยแตล่ ่ะคจู่ ะมคี วามสมดุลกนั ทอี่ ตั ราสว่ นทแ่ี ตกต่างกนั ไป เช่น สแี ดงกับสเี ขยี ว มักจะใหส้ ดั ส่วนของพ้นื ท่ี เท่าๆ กัน คือ 1 : 1 ในขณะทส่ี ีสม้ กับสีน้าเงินจะมีอัตราสว่ นของสี อยู่ที่ 1 : 2 และสเี หลอื งกบั สมี ว่ ง จะมสี มดุลสีอยทู่ ี่อตั ราสว่ น 1 : 3 ซง่ึ การกาหนดอตั ราสว่ น นีก้ ็มาจากความสว่างของสีซง่ึ สีเหลืองจะมคี า่ ความสวา่ งมากท่สี ดุ รองจากสสี ้ม และสีแดงกับ 32

สเี ขยี วทม่ี ีคา่ ความสวา่ งเทา่ กนั ถดั มาคือสีมว่ ง และสนี า้ เงนิ เป็นสีทที่ ึบและมีความสวา่ งน้อย กว่า 2.9 จงั หวะ ลีลา และการซา้ (Rhythm & Repetition) จงั หวะ เป็นคาที่ใชใ้ นดนตรีและกวนี พิ นธม์ าก่อน เป็นการวัดความช้าเร็วของชว่ งเวลาทีเ่ สยี ง และถอ้ ยคาปรากฏอยู่ ในการดู การมองเห็น ก็ตอ้ งใช้เวลาเชน่ เดยี วกัน ดงั นั้น คาวา่ จงั หวะ จึงเข้ามามบี ทบาทสาคญั ในทัศนศลิ ป์ การดู การฟัง การรับสัมผสั สิ่งทเ่ี คลอ่ื นไหวข้าหรอื เร็ว เปน็ ช่วง ๆ จะใหค้ วามพอใจแก่เรา การฟอ้ นรา เสยี งกลอง สายลมทพ่ี ัดมาถูกกาย ลว้ นมี จงั หวะ จังหวะ คือ การซา้ ของทัศนธาตใุ นงานทัศนศิลป์หรือการซา้ ของเสยี งในดนตรีในชว่ งที่ เท่ากันหรือแตกต่างกนั จังหวะของการเห็นเป็นเครอ่ื งมอื สาคัญสาหรับการแสดงออกทใี่ ห้ ความรู้สกึ หรอื ความพอใจในสนุ ทรีภาพในงานศลิ ปะการซา้ ของ ครฑุ จับนาค หรือ ยักษแ์ บก ทีฐ่ านของสถาปัตยกรรมไทย โครงสรา้ งสว่ นโค้งและเสาเล็ก ๆ ทีร่ ายลอ้ ม โคลอสเซยี ม (Colosseum) ในกรุงโรม เป็นตวั อย่างของสถาปัตยกรรม รปู คนและสตั วใ์ นภาพเขียน มาร ผจญ รูปคนใน การสร้างสรรค์อาดัม (Creation of Adam) งานจิตรกรรมของมีเกลันเจโล เปน็ การใชจ้ ังหวะท่ีซอ่ นลกึ อยภู่ ายใน ภาพท่ี 13 : โคลอสเซียม COLOSSEUM, ROME อิตาลี ทม่ี า : https://www.yingpook.com/italy-colosseum-rome/ 33

จงั หวะมอี ยทู่ ่ัวไปในธรรมชาติ การเตน้ ของหวั ใจท่เี ป็นจงั หวะในรา่ งกายของเรา การ เปล่ยี นแปลงของวัน เดือน ปี ฤดูกาล การเกิด การเตบิ โต และการดับไปของชีวิตกเ็ ป็น จงั หวะ จงั หวะท่รี บั สัมผัสได้ง่ายที่สุดในงานศิลปะกค็ ือจังหวะของดนตรี ธาตุเบื้องตน้ ของ ดนตรี คือ การเคล่ือนไหวท่ีตอ่ เน่อื งและขาดหายของเสียง เสียงที่ปราศจากจงั หวะจะไมเ่ ปน็ ดนตรี เป็นเพียงเสียงท่ีดังตอ่ กันไปเท่านัน้ ความหมายของจังหวะ จงั หวะ คือ การซา้ ท่เี ป้นระเบยี บ จากระเบียบธรรมดาทมี่ ชี ว่ งห่างเท่า ๆ กันมาเปน็ ระเบยี บทีส่ ูงขนึ้ ซับซ้อนข้นึ จนถึงขั้นเป็นรปู ทรงของศิลปะ มนุษย์รับรู้จังหวะไดร้ วดเรว็ และ รนุ แรงกวา่ วิธีการอื่น เพราะชีวิตของมนษุ ย์ถูกควบคุมดว้ ยจังหวะ คอื จังหวะการเต้นของ หัวใจ เสียงกลองทใี่ ห้ความรู้สึกเรง่ เรา้ อารมณ์ก็เพราะจงั หวะของกลองนัน้ รวั ถเี่ หมือนกับ จงั หวะของหัวใจในเวลาท่ีเราต่นื เตน้ จงั หวะท่ีเนิบนาบให้อารมณส์ งบ น่าเบ่ือ หรือชวนงว่ ง นอน ก็เป็นเช่นเดยี วกับจังหวะของหัวใจในขณะท่ีเรามอี ารมณ์อยา่ งนั้น จัวหวะในงานศลิ ปะ คอื การซา้ อยา่ งมีเอกภาพและความหมาย จังหวะเปน็ กฎข้อหน่ึงของเอกภาพท่เี กิดจากการ ซา้ ของรูปทรง การเกดิ ของจังหวะ จังหวะเกดิ ขน้ึ ไดจ้ าก 1. การซ้าของหน่วยหรือการสลบั กันของหนว่ ยกับช่องไฟ 2. การเล่ือนไหลตอ่ เน่ืองกันของเส้น รูปทรง น้าหนกั หรือสี จังหวะของดนตรเี ป็นการซ้าหรอื การไหลตอ่ เนอ่ื งกันของเสยี งในกาลเวลา จังหวะของงาน จติ รกรรมหรือประติมากรรมเป็นการซา้ หรอื การไหลตอ่ เน่ืองกันของรปู ทรงในที่วา่ ง เวลาและ ทีว่ า่ งเปน็ ตวั คงท่ี แต่จังหวะเป็นตวั ทาให้เกิดความเร็ว ความช้า ความถี่ ความห่าง การไหล ของรปู ทรงหรอื ของนา้ คอื การเคลอื่ นไหว เคลอื่ นไหวไปในที่ว่างและกาลเวลา จงั หวะทเ่ี กดิ จากการซ้าของหนว่ ย การซ้า คอื การปรากฏตัวบนทีว่ า่ งของหน่วยต้งั แต่ 2 หนว่ ยขึ้นไป โดยมที ่วี า่ งค่ันอยู่ ระหว่างหนว่ ย ทว่ี ่างจะทาหน้าทเี่ ปน็ ตัวกาหนดความถ่หี า่ งของจังหวะ หน่วยทจี่ ะนามาวางซา้ เหลา่ น้ี ได้แก่ เส้น นา้ หนัก สี รูปทรง รวมไปถงึ ลกั ษณะผวิ จังหวะท่เี กดิ การเลอ่ื นไหลหรอื การลาดบั ข้ันทต่ี ่อเนอ่ื ง เป็นจงั หวะของการเลื่อนไหลที่ต่อเนือ่ งของเสน้ และการลาดบั ข้นั ของน้าหนัก สี และ รูปทรง โดยไมม่ ที ี่ว่างมาคนั การกาหนดจงั หวะอยทู่ ี่ลกั ษณะการเคล่ือนไหวของทัศนธาตุเอง เชน่ เส้นลกู คลืน่ ทเี่ ลื่อนไหลไปอย่งสม่าเสมอจะใหจ้ งั หวะต่อเน่อื งที่เท่า ๆ กัน นา้ หนักที่ค่อย 34

ๆ จางลงเปน็ จงั หวะท่ถี ดถอย สีท่เี พิม่ ความชดั เปน็ ขั้น ๆ ใหจ้ ังหวะทก่ี ้าวหนา้ การใช้จงั หวะ เล่ือนไหลตเ่ นอื่ งทสี่ ม่าเสมอ ผสมกับจังหวะแบบกา้ วหน้าและถดถอยของทัศนธาตุตา่ งชนดิ จะไดจ้ งั หวะทซ่ี บั ซอ้ นย่ิงขึ้น เสน้ ที่เลอ่ื นไหลของสายนา้ เส้นรปู นอกของร่างกายคน การ ลาดับขั้นของสใี นท้องฟ้ายามเย็น เป็นจังหวะตอ่ เนอ่ื งทีน่ า่ สนใจอยา่ งย่ิงมคี วามกลมกลีนและ การขดั แยง่ ในปรมิ าณทพี่ อเหมาะ จงั หวะภายนอกและภายใน การวางรูปทรงซา้ ๆ ลงในช่องวา่ งยอ่ มจะทาให้เกิดจงั หวะขึ้น เราจะสงั เกตุเห็นความ แตกต่างกันของจังหวะได้ท่ีช่วงหา่ งของทว่ี ่างระหวา่ งรปู ทรงเหล่านน้ั แมล่ ายกับแบบรปู จังหวะภายนอกของลวดลายจะดาเนินซ้า ๆ ไปไดไ้ ม่มีวนั จบ เพราะมีแบบรปู ของการ ซา้ การเปลี่ยนแบบรูปจะได้ลวดลายทแี่ ตกตา่ งกันไปมากมาย โดยทตี่ ัวแม่ลายยังคงรูปเดมิ อยู่ จงั หวะในงานศลิ ปะ จังหวะของลายเปน็ จังหวะงา่ ย ๆ ใหค้ วามรสู้ กึ เพยี งผิวเผิน ให้ความสบายตาเพยี งชั่ว ครู่ เบ่อื ได้ง่าย เพราะขาดโครงสร้างทม่ี คี าวม เป็นเอกภาพทไี่ มม่ ีการขัดแยง้ เป้นการรวมตัว ของสง่ิ ทเี่ หมือนกันแต่ไมม่ ีวามหมายในตวั เอกภาพทีเ่ กดิ ขน้ึ จากจังหวะแบบน้ี บางทีเรียกว่า เอกภาพแบบน่งิ 35

36

37

แนวคิดพืน้ ฐานการออกแบบ (Design Idea) การคน้ หาแนวคิด และแรงบนั ดาลใจในการออกแบบ มนุษย์เกิดมาเป็นส่วนหน่ึงของธรรมชาตินับได้ว่าทุกสิ่งทุกอย่างอย่างไร้ขีดจากัดเรา เรียนรู้ที่จะปรับตัวให้สัมพันธ์สอดคล้องกับส่ิงที่ธรรมชาติมอบให้ และอยากเรียนรู้ท่ีจะ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเมื่อพบว่าสิ่งท่ีมีมาตามธรรมชาติไม่สอดคล้องกับความต้องการของ มนุษย์แต่การที่จะสร้างให้เกิดเป็นส่ิงใหม่ขึ้นนี้เราได้แนวคิดตลอดจนลักษณะรูปแบบมาจาก ไหนจะพบวา่ ท่ีมาของแนวคิดในงานออกแบบต่างๆน้ันมาจากแหล่งกาเนิด 2 แหล่งที่สาคัญ แหล่งแร่คือธรรมชาติและแหล่งท่ีสองคือประสบการณ์ที่สะสมมาเป็นเวลานานของคนรุ่น ต่างๆหรอื จากประวัตศิ าสตร์น่นั เอง ภาพท่ี 14 : ภาพ I DEA ท่มี า : https://www.design365days.com/Site/BlogDetail/191/5-%E0%B 9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B ธรรมชาติ ธรรมชาติมีความหมายกวา้ งครอบคลุมทั้งส่ิงที่มีชีวิตอันได้แก่พืชและสัตว์และยังรวม ไปถึงส่ิงที่ไม่มีชีวิตต้ังแต่วัตถุท่ีลอยอยู่ในอวกาศตลอดจนถึงส่วนประกอบท่ีสร้างให้เกิดเป็น พ้ืนดินและพ้ืนน้ามนุษย์ตั้งแต่อดีตเป็นต้นมามีความชื่นชมและซาบซ้ึงกับธรรมชาติอยู่เสมอ จากการท่ีได้สัมผัสแวดล้อมด้วยธรรมชาติอยู่ตลอดเวลามนุษย์ยอมรับการเป็นส่วนหน่ึงของ ธรรมชาติอนั ย่ิงใหญ่จนเมื่อไม่นานมานี้เองท่ีเราได้สะสมอารยธรรมความเจริญทางด้านวัตถุ 38

จนสามารถเอาชนะบางส่วนของธรรมชาติตัวอย่างหน่ึงในเร่ืองนี้ได้แก่การสังเคราะห์หรือ สร้างให้เกิดวัสดุชนิดใหม่แต่เราก็ต้องยอมรับว่าโดยพ้ืนฐานแล้ววัสดุทุกชิ้นท่ีสร้างขึ้นท่ีมีมา จากธรรมชาติทั้งส้ินและมนุษย์เราก็ยังคงอยู่ภายใต้ความควบคุมของกระบวนการทาง ธรรมชาติในสิ่งมีชีวติ จะเหน็ ปฏกิ ิรยิ าการเปลย่ี นแปลงท่เี กิดขึ้นได้ชัดเจนว่าในสิ่งที่ไม่มีชีวิตใน จานวนพชื และสตั ว์มากมายหลากหลายชนิดนน้ั มวี ิถีชวี ิตทม่ี ีความเก่ียวขอ้ งสัมพันธ์ซ่ึงกันและ กันต้ังแต่การเกิดการดารงชีวิตไปจนสู่การสูญสลายของมันเนื่องจากในธรรมชาติมีกลไก สาหรบั การควบคุมในรูปของลูกโซอ่ าหารนอกจากนย้ี งั มอี กี หลายสิ่งท่ีแสดงถึงกระบวนการที่ มีในธรรมชาติซ่ึงอยู่มาช้านานรอให้มนุษย์ได้ทาการศึกษาและค้นพบเพ่ือนามาใช้อธิบาย ปรากฏการณต์ ่างๆที่เกดิ ขนึ้ ในการออกแบบส่งิ ที่มนษุ ย์ไดร้ บั จากธรรมชาติ ประวตั ศิ าสตร์ นอกเหนือจากความยิ่งใหญ่ของธรรมชาติซ่ึงเป็นแหล่งที่มาของความคิดและรูปทรง อันหลากหลายแลว้ ประวตั ศิ าสตร์ก็เปน็ อกี แหลง่ ที่มาของแนวความคิดในงานออกแบบแม้จะ มคี ากลา่ ววา่ ประวตั ศิ าสตร์คอื เรอ่ื งราวของส่ิงทีต่ ายแล้วแตใ่ นหลกั ฐานท่ีเหลือเก็บรักษาไว้น้ัน เรายงั สามารถใชค้ ุณค่าซงึ่ มอี ยใู่ นเนอื้ หาข้อมูลและสรรพคุณรู้ทางวิชาการด้านต่างๆท่ีได้ผ่าน การทดลองและเหลือหลักฐานไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาเพื่อก้าวต่อไปโดยไม่ต้องย้อนลองผิด ลองถูกซ้าที่บรรพ บรุ ษุ ได้เคยทาแล้วการศึกษาจากประวัติศาสตร์ของการออกแบบซ่ึงมักอยู่ในรูปของ งานสถาปตั ยกรรมและขา้ วของเคร่อื งใชท้ ัง้ ในและนอกอาคารเป็นการศึกษาไม่ใช่เพียงเพ่ือให้ ความสนใจซาบซึ้งผลงานออกแบบเทา่ นั้นแต่ควรเปน็ การศกึ ษาเพอื่ ความเขา้ ใจหลักเกณฑ์ที่มี มาในอดีตว่ามีผลกระทบต่อลักษณะรูปทรงการใช้สอยวัสดุกรรมวิธีการผลิตออกแบบนั้นๆ อยา่ งไรหรอื การเรยี นร้เู พ่ือใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจวธิ ีการที่นักออกแบบใช้ในการแก้ปัญหาตัวอย่าง ผลงานออกแบบในอดีตท่ีมีคุณค่าดังกล่าวจะพบได้ในรูปของของใช้พ้ืนบ้านของใช้ใ น ชีวิตประจาวันเรานี้เป็นผลงานท่ีมองดูเรียบง่ายซ่ึงได้ผ่านการปรับปรุงขัดเกลาโดยนัก ออกแบบรุ่นแล้วรุ่นเล่าลักษณะเฉพาะท่ีสาคัญในงานคือมุ่งเสนอตามหน้าที่ใช้สอยและการ สร้างคุณค่าทางการมองเห็นด้วยการใช้รูปทรงท่ีหมดจดประหยัดปราศจากการพอกสิ่ง ประดบั ประดากระบวนการทใ่ี ชใ้ นการปรบั ปรุงออกแบบของพ้นื บ้านในอดีตอาจเปรียบได้กับ กระบวนการที่ธรรมชาติใช้เพ่ือคัดเลือกและปรับปรุงส่ิงมีชีวิตจนเกิดความเหมาะสมต่อการ อยรู่ อดของมนั 39

40

41

ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) 4.1 ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ คือ กระบวนการคิดของสมองซึ่งมีความสามารถในการคิดได้ หลากหลายและแปลกใหม่จากเดิม โดยสามารถนาไปประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการได้อย่าง รอบคอบและมีความถูกต้อง จนนาไปสู่การคิดค้นและสร้างสิ่งประดิษฐ์ท่ีแปลกใหม่หรือ รูปแบบความคิดใหม่ นอกจากลักษณะการคิดสร้างสรรค์ดังกล่าวน้ีแล้ว ยังมีสามารถมอง ความคดิ สร้างสรรค์ในหลาย ซงึ่ อาจจะมองในแงท่ ี่เป็นกระบวนการคิดมากกว่าเนื้อหาการคิด โดยทส่ี ามารถใชล้ กั ษณะการคิดสร้างสรรค์ในมิติท่ีกว้างขึ้น เช่นการมีความคิดสร้างสรรค์ใน การทางาน การเรยี น หรือกิจกรรมทีต่ อ้ งอาศัยความคดิ สรา้ งสรรคด์ ้วย อย่างเช่น การทดลอง ทางวิทยาศาสตร์ หรอื การเล่นกฬี าทตี่ อ้ งสร้างสรรคร์ ูปแบบเกมให้หลากหลายไม่ซ้าแบบเดิม เพื่อไม่ให้คู่ต่อสรู่ ้ทู ัน เป็นต้น ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นลักษณะการคิดสร้างสรรค์ในเชิงวิชาการ แตอ่ ย่างไรก็ตาม ลกั ษณะการคิดสรา้ งสรรค์ตา่ งๆ ท่ีกล่าวนัน้ ต่างกอ็ ยบู่ นพน้ื ฐานของความคิด สร้างสรรค์ โดยทีบ่ คุ คลสามารถเช่อื มโยงนาไปใช้ในชีวิตประจาวันไดด้ ี ภาพที่ 15 : ภาพความคิด ทมี่ า : https://nextempire.co/stories/transform/%E0%B8%AD%E0%B8 ในการสอนของอาจารยเ์ พื่อพฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ ควรจัดการเรียนการสอนท่ี ใชว้ ธิ ีการทีเ่ หมาะสม ดังนี้ 42

1. การสอน (Paradox) หมายถึง การสอนเก่ียวกับการคิดเห็นในลักษณะความ คดิ เหน็ ทขี่ ัดแยง้ ในตัวมนั เอง ความคิดเห็นซึ่งค้านกับสามัญสานึก ความจริงที่สามารถเช่ือถือ หรอื อธบิ ายได้ ความเห็นหรอื ความเชอ่ื ท่ีฝังใจมานาน ซึ่งการคิดในลักษณะดังกล่าว นอกจาก จะเปน็ วธิ ีการฝกึ ประเมินค่าระหว่างข้อมูลที่แท้จริงแล้ว ยังช่วยให้คิดในส่ิงที่แตกต่างไปจาก รปู แบบเดิมที่เคยมี เป็นการฝึกมองในรูปแบบเดิมให้แตกต่างออกไป และเป็นส่งเสริมความ คิดเห็นไม่ให้คล้อยตามกัน (Non – Conformity) โดยปราศจากเหตุผล ดังน้ันในการสอน อาจารย์จึงควรกาหนดให้นักศึกษารวบรวมข้อคิดเห็นหรือคาถาม แล้วให้นักศึกษาแสดง ทกั ษะด้วยการอภิปรายโต้วาที หรือแสดงความคิดเห็นในกลุม่ ยอ่ ยกไ็ ด้ ภาพท่ี 16 : ภาพความคดิ ทม่ี า : https://today.line.me/th/pc/article/%E0%B9%83%E0%B8%99% E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%82%E0%B8%AD%E 0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0 2. การพิจารณาลักษณะ (Attribute) หมายถึง การสอนให้นักศึกษา คิดพิจารณา ลักษณะตา่ ง ๆ ทปี่ รากฏอยู่ ทั้งของมนุษย์ สัตว์ สิ่งของ ในลักษณะท่ีแปลกแตกต่างไปกว่าที่ เคยคิด รวมทัง้ ในลกั ษณะทีค่ าดไมถ่ ึง 3. การเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย (Analogies) หมายถึง การเปรียบเทียบสิ่งของหรือ สถานการณ์การณ์ที่คลา้ ยคลึงกนั แตกต่างกันหรอื ตรงกนั ขา้ มกัน อาจเปน็ คาเปรียบเทียบ คา พังเพย สภุ าษิต 43

4. การบอกสิ่งที่คลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง (Discrepancies) หมายถึง การ แสดงความคิดเห็น บ่งช้ถี งึ สง่ิ ท่ีคลาดเคลือ่ นจากความจริง ผิดปกติไปจากธรรมดาทั่วไป หรือ สง่ิ ท่ียงั ไมส่ มบูรณ์ 5. การใช้คาถามยั่วยุและกระตุ้นให้ตอบ (Provocative Question) หมายถึงการต้ัง คาถามแบบปลายเปิดและใช้คาถามทย่ี ่ัวยุ เร้าความรู้สึกให้ชวนคิดค้นคว้า เพ่ือความหมายที่ ลึกซึง้ สมบูรณ์ที่สดุ เทา่ ทจ่ี ะเป็นได้ 6. การเปลี่ยนแปลง (Example of change) หมายถึง การฝึกให้คิดถึงการ เปลยี่ นแปลง ดัดแปลงการปรบั ปรงุ ส่ิงต่าง ๆ ที่คงสภาพมาเป็นเวลานานใหเ้ ปน็ ไปในรูปอ่ืน และเปิดโอกาส ให้เปลย่ี นแปลงดว้ ยวิธีการตา่ ง ๆ อย่างอสิ ระ 7. การเปลี่ยนแปลงความเชื่อ (Exchange of habit) หมายถึง การฝึกให้นักศึกษา เปน็ คนมีความยืดหยุ่น ยอมรับความเปล่ียนแปลง คลายความยึดม่ันต่าง ๆ เพ่ือปรับตนเข้า กับสภาพแวดลอ้ มใหม่ ๆ ไดด้ ี 8. การสร้างสิ่งใหม่จากโครงสร้างเดิม (An organized random search) หมายถึง การฝกึ ใหน้ กั ศึกษารู้จักสรา้ งส่ิงใหม่ กฎเกณฑใ์ หม่ ความคิดใหม่ โดยอาศัยโครงสร้างเดิมหรือ กฎเกณฑ์เดมิ ทเ่ี คยมี แตพ่ ยายามคิดพลิกแพลงให้ต่างไปจากเดมิ 9. ทักษะการค้นคว้าหาข้อมูล (The skill of search) หมายถึง การฝึกเพ่ือให้ นักศกึ ษารู้จกั หาขอ้ มลู 10. การค้นหาคาตอบคาถามที่กากวมไม่ชัดเจน (Tolerance for ambiguity) เป็น การฝึกให้นักศึกษามีความอดทนและพยายามที่จ ะค้นคว้าหาคาตอบต่อปัญหาที่ กากวม สามารถตคี วามได้เป็นสองนยั ลกึ ลบั รวมทงั้ ท้าทายความคดิ 11. การแสดงออกจากการหยั่งรู้ (invite expression) เป็นการฝึกให้รู้จักการแสดง ความรู้สึก และความคิด ทีเ่ กดิ จากสิ่งทเี่ ร้าอวยั วะรับสมั ผสั ท้ังห้า 44

12. การพัฒนาตน (adjustment for development) หมายถึง การฝึกให้รู้จัก พิจารณาศึกษาดูความ ล้มเหลว ซ่ึงอาจเกิดข้ึนโดยต้ังใจหรือไม่ตั้งใจ แล้วหาประโยชน์จาก ความผิดพลาดน้ันหรือข้อบกพร่องของตนเองและผู้อื่น ทั้งนี้ใช้ความผิดพลาดเป็นบทเรียน นาไปสคู่ วาม-สาเร็จ 13. ลักษณะบุคคลและกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (creative person and creative) หมายถึง การศึกษาประวัติบุคคลสาคัญท้ังในแง่ลักษณะพฤติกรรมและ กระบวนการคิดตลอดจนวธิ กี าร และประสบการณ์ของบุคคลนัน้ 14. การประเมินสถานการณ์ (a creative reading skill) หมายถึง การฝึกให้หา คาตอบโดยคานึงถึงผลท่ีเกิดขึ้นและความหมายเกี่ยวเน่ืองกัน ด้วยการตั้งคาถามว่าถ้าสิ่ง เกิดขนึ้ แลว้ จะเกดิ ผลอย่างไร 15. พัฒนาทักษะการอ่านอย่างสร้างสรรค์ (a creative reading skill) หมายถึง การฝกึ ใหร้ ้จู ักคิดแสดงความคิดเห็น ควรส่งเสริมและให้โอกาสเด็กได้แสดงความคิดเห็นและ ความรสู้ ึกต่อเรอื่ งที่อา่ นมากกว่าจะมุ่งทบทวนขอ้ ตา่ งๆ ทีจ่ าได้หรือเข้าใจ 16. การพัฒนาการฟังอย่างสร้างสรรค์ (a creative listening skill ) หมายถึง การฝึกให้ เกิดความรู้สึกนึกคิดในขณะท่ีฟัง อาจเป็นการฟังบทความ เร่ืองราวหรือดนตรี เพื่อเป็น การศกึ ษาข้อมูล ความรู้ ซง่ึ โยงไปหาสิง่ อนื่ ๆ ตอ่ ไป 17. พฒั นาการเขียนอย่างสร้างสรรค์ ( a creative writing skill ) หมายถึง การฝึก ให้ แสดงความคิด ความรู้สึก การจินตนาการผ่านการเขียนบรรยายหรือพรรณนาให้เห็นภาพ ชัดเจน 18. ทกั ษะการมองภาพในมิติต่างๆ (Visualization skill) หมายถึง การฝึกให้แสดง ความรสู้ กึ นกึ คิดจากภาพในแงม่ ุม แปลกใหม่ ไม่ซ้าเดิม 45

4.2 ประเภทของความคิดสรา้ งสรรค์ 1. มีความคิดริเร่ิม หมายถึง มีความคิดท่ีแปลกใหม่ ไม่ซ้ากับใคร และแตกต่างจาก ความคดิ ธรรมดา 2. มคี วามคดิ คล่องแคล่ว หมายถึง ความคิดที่เกิดขึ้นเป็นความคิดที่ไม่ซ้ากันในเรื่อง เดียวกันในดา้ นต่างๆ เชน่ การเลือกใช้ถ้อยคา การเช่อื มโยงความสัมพันธ์ 3. มีความยืดหยุ่น หมายถึง มีรูปแบบการคิดท่ีอาจนาเสนอเรื่องราวเดียวกันใน รปู แบบตา่ งๆ ท่ีไม่ตายตัวหรือสามารถดัดแปลงความรู้หรือประสบการณ์ในเร่ือง ต่างๆท่ีมอี ยแู่ ล้วนามาเขยี นเพื่อเป็นประโยชน์ตอ่ ผู้อืน่ 4. มีความคิดละเอียดลออ หมายถึง ในการคิดสามารถเก็บรายละเอียดของเรื่อง ต่างๆ อยา่ งมขี ้ันตอน สามารถอธิบายให้เห็นภาพได้อย่างชัดเจน สามารถจัดแต่ง ความคดิ หลกั ใหน้ ่าสนใจย่ิงขึ้น ภาพที่ 17 : ภาพคอมพวิ เตอร์ ทม่ี า : http://lamst7b.net/10-best-tech-blogs/%B8%AD%E0%B8%97% E0%B8%B5%E0%B8%9F%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0 %B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3+%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0 46

4.3เทคนคิ การสรา้ งสรรค์ผลงาน ในวิธีการสร้างสรรค์ซ่ึงประกอบไปด้วยการทางานของความคิดเป็นระยะต่างๆเพื่อ ทราบให้เกิดคาตอบหรอื ผลลพั ธ์ที่สามารถแกป้ ญั หาได้เม่ือทาความเข้าใจและเตรียมการเป็น อย่างดแี ลว้ นอกเหนือจากการหยดุ พักและปลอ่ ยให้ความคดิ เป็นอิสระจากปัญหาชั่วระยะหน่ึง เราใหจ้ ติ ใตส้ านกึ ไดท้ างานเพ่อื ส่วนประกายความคิดขึ้นมาเองดังกล่าวแล้วได้มีการพยายาม ค้นหาเทคนิควิธีต่างๆท่ีจะกระตุ้นให้สมองได้ทางานสร้างสรรค์อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน เทคนิคการสรา้ งสรรคว์ ธิ ีตา่ งๆโดยเสนอแนะวธิ ีการมองปญั หาให้แตกออกไปการใช้วิธีการคิด ทแี่ ตกต่างตลอดจนวิธีเตรียมการและการสร้างสภาพแวดลอ้ มให้เออ้ื อานวยตอ่ การสร้างสรรค์ เทคนิคเหล่านี้ที่สามารถนามาใช้ในการทางานตามลาพังคนเดียวและในการทางานร่วมกัน เป็นกลุ่มโดยการดัดแปลงบางข้ันตอนหรือปรับเปล่ียนการใช้ระยะเวลาให้เหมาะสมหาก จาแนกเป็นประเภทของเทคนิคสร้างสรรค์ที่มีอยู่หลากหลายวิธีในปัจจุบันสามารถจาแนก ออกได้เป็น 2 ทางในแนวทางแรกเป็นเทคนิคการสร้างสรรค์โดยใช้ความชาญฉลาดและอีก แนวเป็นเทคนิคการสร้างสรรค์โดยใช้ความคิดอย่างเป็นระบบแต่ละแนวยังประกอบด้วยวิธี หลากหลายนกั ออกแบบสามารถเลือกใช้งานโดยพิจารณาจากลักษณะของปัญหาและความ ถนัดของผู้รว่ มงานซ่ึงในทางปฏิบัตมิ ักมีการใช้หลายเทคนิคร่วมกนั ภาพผู้ร่วมงานไม่ว่าจะเป็น คนเดียวหรือเปน็ กลมุ่ ไม่สามารถทางานด้วยเทคนิคใดก็ตามกับปัญหาที่กาลังดาเนินการควร เปล่ียนไปเลือกใช้เทคนิคอื่นหรือในบางกรณีอาจมีการจัดกลุ่มผู้ร่วมงานใหม่หรือดัดแปลง เทคนคิ ใหเ้ หมาะสมสอดคล้องกบั จดุ หมายดงั นัน้ นักออกแบบจึงควรทาความเข้าใจกับเทคนิค สร้างสรรค์ต่างๆท่ีมีอยู่และทดลองปฏิบัติแต่ละวิธีเพื่อให้เกิดความชานาญจนสามารถ พิจารณาเลอื กใชง้ านได้อยา่ งเหมาะสมกับปญั หาตอ่ ไปนจ้ี ะกล่าวถึงวธิ แี ตล่ ะวธิ ีอยา่ งละเอียด เทคนิคการใช้ความชาญฉลาด เทคนิคในแนวทางท่ีมีพื้นฐานอยู่บนหลักการที่ให้อิสระแก่ผู้ร่วมงานในการโยง ความคิดเก่ียวกับปัญหาความรู้ประสบการณ์จินตนาการอย่างไร้ขอบเขตของตนเองโดยมี จุดมุ่งหมายสาคัญเพื่อให้ได้แนวความคิดในปริมาณมากการสร้างสรรค์แนวความคิดหรือ คาตอบบางครั้งเกิดขึ้นโดยไม่มีการไตร่ตรองทบทวนอย่างเป็นระบบขั้นตอนและปฏิกิริยาท่ี เกดิ ขน้ึ ในเวลาอนั สน้ั จงึ มีคุณภาพซ่ึงถกู ควบคุมโดยข้อมลู ทีไ่ ดร้ บั จากปญั หาในขณะน้ันรวมกับ ประสบการณ์ทสี่ ะสมมาจากการแก้ปัญหาต่างๆก่อนหน้าน้ี เทคนคิ การใชค้ วามคดิ อยา่ งเป็นระบบ เทคนิคการสร้างสรรค์ในแนวนี้มีพ้ืนฐานอยู่บนหลักการเข้าสู่ปัญหาอย่างเป็นระบบ ข้นั ตอนมวี ิธีการคดิ อาจเปรียบไดก้ ับการทางานของเคร่อื งคอมพวิ เตอรค์ อื รบั ข้อมูลเข้าไปผ่าน 47

กระบวนการวเิ คราะห์สงั เคราะหแ์ ละประเมินผลจนครบวงจรเมอ่ื ไตรต่ รองแลว้ ว่าคาตอบท่ีได้ เป็นคาตอบทีด่ ที ีส่ ดุ จงึ เสนอออกมา ภาพที่ 18 : ภาพความคดิ ทม่ี า : http://lamst7b.net/10-best-tech-blogs/%B8%AD%E0%B8%97% E0%B8%B5%E0%B8%9F%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0 %B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3+%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0 48

49

บรรณานกุ รม ชาตพล นภาวารี. คู่มอื สร้างสรรค์งานแอนิเมชั่นด้วย FlashCS4. กรงุ เทพฯ : ซอฟท์ เพรส, 2552.240 หนา้ ดนัย ม่วงแก้ว. Flash Cartoon Animation. นนทบุรี : ไอดีซฯี .2552.376 หน้า https://www.camerartmagazine.com/techniques/com-po-si-tion/composi tion-ep-2-principles-of-composition-%E0%B8%84%E0%B8%A7%E 0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B8%94% E0%B9%81%E0%B8%A2%E0%B9%89%E 0%B8%87-contrast. html https://www.gotoknow.org/posts/340200 https://www.im2market.com/2017/11/19/4655 https://sites.google.com/site/xngkhprakxb silp22042101/hnwy-thi1-khwam-hmay-xngkh-prakxb-silp 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook