Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัฒนธรรมทางภาษาและวรรณคดี

วัฒนธรรมทางภาษาและวรรณคดี

Published by Pop Pks, 2019-10-17 01:24:27

Description: วัฒนธรรมทางภาษาและวรรณคดี

Search

Read the Text Version

๑.เพื่อใหม้ ีนิสยั ใฝ่ หาความรูแ้ ละมีความคดิ สรา้ งสรรค์ ๒.เพื่อปลูกฝังใหม้ ีความภาคภูมิใจในความเป็ นไทย ๓.เพ่ือใหม้ ีความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั วฒั นธรรม ทางภาษา และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ บั การเรยี นในชวี ติ ประจาวนั ได้

กรณุ าเลอื กบทเรยี นท่ีตอ้ งการ วัฒนธรรมทางภาษา วัฒนธรรมทางวรรณคดี

๑. อกั ษรไทย พ่อขุนรามคาแหงมหาราชได้ ทรงประดษิ ฐอ์ กั ษรไทย เม่ือปี พ.ศ. ๑๘๒๖ และมีววิ ฒั นาการมาตลอดสมยั สุโขทยั อยธุ ยา และรตั นโกสนิ ทร์

๒. ภาษาไทยมีระดบั การใชภ้ าษาในสงั คม สงั คมไทยมีลกั ษณะเป็นสงั คมอปุ ถมั ภ์ มีการให้ความเคารพนับถือผู้อาวุ โส ลดหลั่นกันไปเช่น มีภาษาท่ีใชส้ าหรบั พระมหากษตั ริยโ์ ดยเฉพาะ หรือเรียกวา่ “คาราชาศพั ท”์

๓.ภาษาถ่ินเป็นวฒั นธรรมอยา่ งหน่ึงที่ ทาใหเ้ ราสามารถศึกษาประวตั ิของคาได้ เพราะภาษาถิ่นหลายๆ คา เป็ นภาษาท่ี ปรากฏใชอ้ ยทู่ วั่ ไปตามภูมิภาคตา่ งๆ ในอดตี แต่ปัจจุบนั ใชใ้ นบางภูมิภาคเท่านนั้ เชน่ ภาษาทางภาคอสี าน ภาษาอสี านเรยี กว่า บกั สดี า

๔.ภาษาไทยมีลกั ษณนาม เป็ นหน่วยทใ่ี ช้ เรียก คน สตั ว์ สิ่งของ เมื่อจะตอ้ บอกให้ ทราบถึงจานวนซึ่งจะมีลักษณะนามที่ แตกตา่ งกนั ออกไป เชน่ ขลุ่ย ๑ เลา มีด ๒เลม่ เลอ่ื ย ๓ ป้ืน

๕. ลกั ษณะภาษาไทย เป็นลกั ษณะเฉพาะตวั oเป็นภาษาทที่ รี่ ะดบั เสยี ง มีรูปวรรณยกุ ต์ ๔ รูปวรรณยุกต์ มีเสยี ง ๕ เสยี ง คอื ไมเ้ อก ไมโ้ ท ไมต้ รี ไมจ้ ตั วา o มรี ูปพยญั ชนะ ๔๔ รูป มเี สยี งพยญั ชนะ ๒๑ เสยี ง oมีรูปสระ ๒๑ รูป มเี สยี งสระ ๓๒ เสยี ง

๑. เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ทส่ี ะทอ้ นให้ ทราบถึง สภาพความเป็นอยู่ ความคดิ ปรชั ญา คา่ นิยม สภาพสงั คม เศรษฐกิจ การเมอื ง เหตกุ ารณ์ ความสนใจ เป็นตน้

๒. วรรณคดไี ทย แบง่ เป็น ๒ รูปแบบ คอื รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง ตวั อยา่ งรอ้ ยกรอง ตวั อยา่ งรอ้ ยแกว้

๓. รอ้ ยแกว้ เป็นการเขียนทไี่ มบ่ งั คบั จานวนคาสมั ผสั หรือเสยี งหนกั เบา เป็นการเขียนเพื่อบอกเลา่ เรอ่ื งราวตา่ งๆ เชน่ นิทาน เรอื่ งสนั้ บทความ เป็ นตน้

๔. รอ้ ยกรอง เป็นการเขียนแตง่ ทม่ี ี การบงั คบั รูปแบบ จานวนคา สมั ผสั เสยี งหนกั เบาเป็นจงั หวะและลลี า เชน่ กาพย์ กลอน รา่ ย

ฉนั ทลกั ษณ์ ๑. ในวรรคหน่ึง ๆ มีอยู่ ๘ คา จะใชค้ าเกนิ กวา่ กาหนดไดบ้ า้ ง แตต่ อ้ งเป็นคาที่ ประกอบดว้ ยเสยี งสนั้ ๒. การสง่ สมั ผสั คาที่ ๘ ของวรรคแรก สมั ผสั กบั คาที่ ๓ หรอื คาที่ ๕ ของวรรคท่ี สอง คาที่ ๘ ของวรรคที่ ๒ สมั ผสั กบั คาที่ ๘ ของวรรคท่ี ๓ คาท่ี ๘ ของวรรคท่ี ๓ สมั ผสั กบั คาท่ี ๓ หรอื ท่ี ๕ ของวรรคท่ี ๔ และคาสุดทา้ ยของวรรค ที่ ๔ สง่ สมั ผสั ไปยงั คาสุดทา้ ยของวรรคท่ี ๒ ของบทตอ่ ไป

๓. วรรคสดบั หรอื วรรคแรก คาสุดทา้ ยใช้ คาเตน้ คอื เวน้ คาสามญั ใชไ้ ดห้ มด แตถ่ า้ จาเป็นจะใชเ้ ป็นเสยี งสามญั ก็อนุญาตใหใ้ ชไ้ ด้ บา้ ง แตอ่ ยา่ บอ่ ยนกั พยายามหลกี เลยี่ ง ๔. วรรครบั หรอื วรรคสอง คาสุดทา้ ยนิยม ใชเ้ สยี งจตั วา สว่ น เอก โท ตรี ไดบ้ า้ ง หา้ ม เดด็ ขาดคอื เสยี งสามญั ๕. วรรครอง หรอื วรรคสาม คาสุดทา้ ยนิยม ใชเ้ สยี งสามญั หา้ มใชเ้ สยี งจตั วา หรือคาทมี่ ี รูปวรรณยกุ ต์ ๖. วรรคสง่ หรอื วรรคส่ี คาสุดทา้ ยนิยมใช้ เสยี งสามญั หา้ มใชค้ าตายและคาทม่ี รี ูป วรรณยุกต์

๗. คาท่ี ๓ ของวรรครองและวรรคสง่ ใชไ้ ด้ ทกุ เสยี ง ๘. นิยมสมั ผสั ในระหวา่ งคาท่ี ๕-๖-๗ ของ ทุก ๆ วรรค ๙. นิยมสมั ผสั ชดิ ในระหวา่ งคาที่ ๓-๔ ของ วรรคสดบั และวรรครอง ๑๐. อยา่ ใหม้ ีสมั ผสั เลอื น, สมั ผสั ซา้ , สมั ผสั เกิน, สมั ผสั แยง่ , สมั ผสั เผลอ, และสมั ผสั เพ้ียน

ตวั อย่าง กลอนสุภาพแปดคาประจาบอ่ น อา่ นทุกตอนสามวรรคประจกั ษแ์ ถลง ตอนตน้ สามตอนสองสองแสดง ตอนสามแจง้ สามคาครบจานวน มีกาหนดบทระยะกะสมั ผสั ใหฟ้ าดฟัดชดั ความตามกระสวน วางจงั หวะกะทานองตอ้ งกระบวน จงึ จะชวนฟังเสนาะเพราะจบั ใจ ฯ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook