Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หมวด 6 การปฏิบัติการ (Operations)

หมวด 6 การปฏิบัติการ (Operations)

Published by sirisuk, 2019-09-14 10:51:55

Description: หมวด 6 การปฏิบัติการ (Operations) หนองพอกวิทยาลัยOBECQA

Search

Read the Text Version

โรงเรยี นหนองพอกวทิ ยาลัย สพม. 27

หมวด 6 การปฏบิ ัติการ (Operations) | 2 หมวด 6 การปฏิบัตกิ าร (Operations) โรงเรียนหนองพอกวทิ ยาลยั ใช้ PHOKWIT Model ในรูปแบบการบรหิ ารเพอื่ มงุ่ สคู่ วามเปน็ เลิศ โดย กาหนดกระบวนการสร้างความสาเร็จ ด้วยการพัฒนาหลักสูตร มุ่งสู่การปฏิบัติการท่ีมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียนและผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ซง่ึ อธิบาย ไว้ในหมวด 3.1 บรรลุตามทิศทางการจัดการศึกษาตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ ดังอธบิ ายไว้ในหมวด 1.1 และหมวด 2.1 โดยใช้กระบวนการวัด วิเคราะห์ และการจัดการองค์ความรู้ ดังอธิบายไว้ในหมวด 4.1 และ หมวด 4.2 เปน็ องค์ประกอบสาคญั ในการออกแบบหลกั สตู รเพอื่ ความเป็นเลศิ ภายใต้การดาเนินงานตามโครงสรา้ ง การบริหารงานของโรงเรียนท่ีมสี ภาพแวดลอ้ มเออื้ ตอ่ การพฒั นาดังอธิบายไว้ในหมวด 5.1 ประสานความรว่ มมือกับ ผู้ส่งมอบ พนั ธมิตรและผ้ใู ห้ความร่วมมือ มีการปรับปรุงกระบวนการปฏบิ ตั ิการอย่างตอ่ เน่ืองจนเกิดเป็นนวัตกรรม สาคญั ท่ีสง่ ผลให้โรงเรียนประสบผลสาเรจ็ ตามวสิ ยั ทัศน์ 6.1 กระบวนการทางาน (Work Process) ก. การออกแบบหลกั สูตรและกระบวนการทางาน (Product and PROCESS Design) (1) ข้อกาหนดของหลักสตู รและกระบวนการทางาน (Product and PROCESS Design Requirement) โรงเรียนจัดทาข้อกาหนดของหลักสูตร โดยอาศัยข้อมูลสารสนเทศทไ่ี ด้จากการสารวจความพึงพอใจต่อ หลักสตู รของนกั เรียนและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสยี ซึ่งในส่วนนกั เรยี นประเมินความพึงพอใจเม่อื ส้ินปกี ารศกึ ษา สว่ น ผู้ปกครองประเมินในภาคเรียนท่ี 1 (กจิ กรรมประชุมผู้ปกครองนักเรียน) พร้อมทั้งสอบถาม สัมภาษณค์ วามต้องการด้าน หลักสูตร แผนการเรียนจากนักเรียนปัจจุบัน และนักเรียนในอนาคตจากการออกแนะแนวการศึกษาในภาคเรียน ท่ี 2 ของแต่ละปีการศึกษา ดังแสดงไว้ในหมวด 3.1 ผู้ให้ความร่วมมือร่วมกาหนดความต้องการของชุมชนในการประชุม คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประชุมสมาคมผู้ปกครองและครู ผู้นาองค์กรระดับสูงประชุมวางแผนการพัฒนา ภายใต้การนิเทศ กากับ ติดตามจากสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 มาวิเคราะห์ SWOT จัดลาดับ ความสาคัญ สรุปประเด็นความต้องการเบ้ืองต้นเป็นข้อกาหนดของหลักสูตร จัดทาเป็นคู่มือการปฏิบัติงานเพื่อให้ คณะกรรมการพฒั นาหลักสูตรใช้เปน็ แนวทางในการทบทวนหลกั สูตร โดยมขี ั้นตอนดังภาพประกอบ 6-1 1. / / / 2. 3. 4. 5. 6 7 ภาพประกอบ 6-1 แผนภูมิการจดั ทาขอ้ กาหนดท่ีสาคัญของหลกั สูตรและกระบวนการทางานของโรงเรียน โรงเรียนหนองพอกวิทยาลยั สพม. 27

หมวด 6 การปฏบิ ตั กิ าร (Operations) | 3 (2) แนวคดิ ในการออกแบบ (Design Concepts) แนวคิดในการออกแบบหลักสตู รของโรงเรียน แสดงความสมั พนั ธด์ งั ตาราง 6-1 ตาราง 6-1 ตารางการออกแบบหลกั สตู รและกระบวนการทางาน กระบวนการ ความสาคญั ข้อกาหนด ตวั ช้วี ัด วธิ กี ารทางาน วธิ ีการลด วธิ ีการปรบั ปรุง กระบวนการ ให้มี ต้นทนุ ผลลพั ธข์ อง กระบวนการ ประสิทธิภาพ ใช้ PHOKWIT Model กระบวนการ หลักสูตร 1.หลักสูตร 1.ร้อยละของ 1.ตดิ ตาม ใช้ พัฒนา ตอบสนองความ เทยี บเคียง ผลสัมฤทธิ์ทางการ ตรวจสอบ PHOKWIT หลกั สูตร ตอ้ งการของ มาตรฐาน เรียนของผเู้ รยี นที่มี ผลสมั ฤทธิ์ของ Model นักเรียนและผ้มู ี สากล ผลการเรียนระดบั ดี นกั เรยี น ส่วนไดส้ ว่ นเสีย 2.สร้าง ขน้ึ ไป 2. นิเทศการใช้ ทางเลือกที่ 2.คะแนนเฉลย่ี ของ หลกั สูตร หลากหลาย การทดสอบทาง ระดับช้ันเรียน แก่นกั เรยี น การศกึ ษา ทกุ กล่มุ สาระ/ 3. นกั เรียน ระดับชาตขิ ั้น รายวชิ า มคี วาม พ้ืนฐาน (O-NET) 3. สารวจความ พึงพอใจ เพ่มิ ขึ้น พงึ พอใจของ 3.รอ้ ยละของผเู้ รียน นกั เรียน ท่จี บหลกั สตู ร จากตาราง 6-1 การออกแบบหลักสตู รและระบบการทางานของโรงเรียนเพื่อสง่ มอบคณุ ค่าด้านการเรยี น แก่นักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ทาให้โรงเรียนประสบความสาเร็จและมีความยั่งยืน โดยใช้กระบวนการตาม PHOKWIT Model เน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย พัฒนาและปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางสังคม ท่ีเปล่ียนไป ใช้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษามาประกอบการพัฒนาหลักสูตร โดยเร่ิมจากการกาหนดจุดมุ่งหมาย ตามข้อกาหนดสาคัญท่ีแสดงไว้ในหมวด 6.1 ก. (1) ปรับปรุงแผนการเรียน ด้วยการเลือกและจัดชุดเนื้อหาของรายวิชา กิจกรรม และประสบการณ์ที่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย นาหลักสูตร ไปใช้ ประเมินหลักสูตร เพื่อตรวจสอบและหาข้อบกพร่อง จากนั้นจึงนาผลท่ีได้จากการประเมินมาพัฒนาและ ปรบั ปรงุ หลกั สูตรให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจบุ ันขององคก์ ร เปน็ ไปตามแนวคดิ ในการออกแบบหลกั สูตร ข. การจดั การกระบวนการ (PROCESS Management) (1) การนากระบวนการไปปฏบิ ตั ิ (PROCESS Implementation) โรงเรียนนานโยบายพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการมากาหนดแนวทางในการพัฒนา การศึกษาของโรงเรียน ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ท่มี ีความเหมาะสม ชดั เจน ทงั้ เป้าหมายของหลกั สตู รในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ทกั ษะกระบวนการ ในการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ มี การกาหนดวิสัยทัศน์ จดุ มุ่งหมาย สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ มีมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัดที่ชัดเจน จัดกลุ่มนักเรียนเป็นรายบุคคลเพื่อส่งเสริมและพัฒนาด้วยกิจกรรมนอกเหนือหลักสูตร ทห่ี ลากหลาย เช่น กิจกรรมค่ายวิชาการ กิจกรรมแนะแนว ประชุมผปู้ กครองนักเรียนและ classroom meeting โรงเรียนหนองพอกวิทยาลยั สพม. 27

หมวด 6 การปฏบิ ตั กิ าร (Operations) | 4 โดยมีการปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง ทั้งในกระบวนการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรระดับช้ัน สมู่ าตรฐานสากล พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ คี ุณลักษณะอันพึงประสงค์ในฐานะพลเมืองของชาติ และมีศกั ยภาพเปน็ พลโลก (World Citizen) มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องและเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล จัดห้องเรียน พิเศษ (Gifted Program) ส่งเสริมนักเรียนที่มีความสามารถทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ บันทึกข้อตกลง ความร่วมมือกับวิทยาลัยการอาชีพโพนทองเพื่อเปิดแผนการเรียนทวิศึกษา เปิดแผนการเรียนภาษา – สังคม , คอมพวิ เตอร์ – ศิลปะ จัดชุดรายวิชาเพิ่มเติมตามโครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษาท้ังระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เช่นรายวิชา IS1 การศกึ ษาค้นควา้ และสรา้ งองค์ความรู้ สอนในระดับชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 2 และ 5 ภาคเรียนที่ 1 รายวิชา IS2 การสื่อสารและการนาเสนอ สอนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 5 ภาคเรียนที่ 2 และรายวิชา IS3 การนาความรู้ไปใช้บริการสังคม สอนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 โดยบูรณาการกับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งเน้นให้นักเรียนได้เรียนภาษาอังกฤษ และภาษาญ่ีปุ่น จากครู ชาวต่างชาติซ่ึงเป็นผู้ส่งมอบความรู้ ดงั แสดงไวใ้ นการจัดการหว่ งโซ่อปุ ทาน บริหารจัดการสร้างความเข้มแข็งและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษา อีกท้ังพัฒนาความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่ือสารเพื่อการเรียนรู้ บูรณาการการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเคร่ืองมือ บูรณาการ อาเซียนเข้ากับรายวิชา ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อเรียนรู้ความเป็นพลโลก โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ พัฒนาหลักสูตร นิเทศ กากับ ติดตาม การใช้หลักสูตร และกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามแผนปฏิบัติการประจาปี ประเมินผลตามตัวช้ีวัดสาคัญ ถ้าไม่บรรลุวัตถุประสงค์ให้ปรับปรุงตามกระบวนการ หากบรรลุวัตถุประสงค์ ทา การถอดบทเรยี น รายงานเพื่อพัฒนาเป็นวิธีการปฏบิ ตั ทิ ี่เปน็ เลิศตามแนวทาง PHOKWIT Model ซ่ึงผลลพั ธก์ ารนา กระบวนการไปปฏิบัตแิ สดงในภาพประกอบ 7-1 ,7-2 ,7-3 และ 7-8 (2) กระบวนการสนบั สนุน (Support Process) โรงเรียนพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพด้วยการส่งเสริมให้มีการศึกษาต่อ ในระดับที่สูงข้ึน เข้าอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานและพัฒนาผลงานวิชาการอย่างต่อเน่ือง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการจัดการเรยี นการสอนตามหลักสูตร แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรประกอบด้วย บุคลากรภายในที่มี ความเชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกไว้อย่างชัดเจนเพื่อร่วมกันพัฒนาหลักสูตร โดยคานึงถึงคุณลักษณะ ผู้เรียนที่มีศักยภาพเปน็ พลโลก สอดคล้องกับความตอ้ งการของชุมชน ความต้องการของตลาดแรงงาน ตลอดจน สภาวการณเ์ ปลีย่ นแปลงของสังคมโลก (3) การปรบั ปรุงหลกั สูตรและกระบวนการ (Product and PROCESS Improvement) โรงเรียนรวบรวมข้อมูลจากการรับฟังของนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียดังปรากฏในหมวด 3.1 ก (1),(2) เพ่อื นามาทบทวนและปรับปรุงหลกั สตู ร โครงการและกจิ กรรมเสริมหลักสูตร เพื่อตอบสนองความพึง พอใจและความผูกพันของนักเรียนและผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย สร้างแรงจูงใจนักเรียนในอนาคต ทง้ั สร้างโอกาสในการ ขยายความสัมพันธ์กับนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดังปรากฏในหมวด 3.2 ข (1) โดยมีคณะกรรมการนิเทศ ติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษาด้านต่างๆ ในแต่ละปีการศึกษา ทาให้ครูและบุคลากรรวมถึงผู้ส่ง มอบ พันธมิตร ผู้ให้ความร่วมมือรับทราบถึงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และความเปล่ียนแปลงต่างๆ เพ่ือนาไป ปรับปรุงและพัฒนา เสริมสร้างความแข็งแกร่งของสมรรถนะหลักขององค์กร และลดความแปรปรวนของ โรงเรียนหนองพอกวิทยาลยั สพม. 27

หมวด 6 การปฏบิ ตั กิ าร (Operations) | 5 กระบวนการ ส่งผลให้หลักสูตรมีความเหมาะสมกับการเปล่ียนแปลงของภาวการณ์ปัจจุบันดังภาพประกอบ 6-2 และแสดงผลลัพธ์ไว้ในหมวด 7 ภาพประกอบท่ี 7-9 – 7-12 ภาพประกอบ 6-2 แผนภูมิการปรับปรงุ หลักสตู รและกระบวนการ ค. การจดั การนวตั กรรม (INNOVATION Management) โรงเรียนมีวิธีการในการจัดการนวัตกรรมเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่สาคัญ ซึ่งเกิดจาก การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสารวจข้อมูลการพัฒนาหลักสูตร และใช้เทคโนโลยีวิเคราะห์ปัญหาการเรียน การสอนในช้ันเรยี น เพื่อคิดค้นนวัตกรรมมาพัฒนาการเรียนการสอน ส่งผลให้มีความเป็นเลิศซึ่งแสดงไว้ในหมวด 7 ภาพประกอบ 7-4 – 7-6 โดยครูและบุคลากรมีความสามารถในการจัดการคุณภาพตามแนวทาง PHOKWIT Model ดงั แสดงในภาพประกอบ 6-3 - -/ - -/ -- - - // - ภาพประกอบ 6-3 แผนภมู กิ ระบวนการจัดการนวตั กรรมของโรงเรยี น โรงเรยี นหนองพอกวิทยาลัย สพม. 27

หมวด 6 การปฏิบัตกิ าร (Operations) | 6 จากภาพประกอบ 6-3 กระบวนการจัดการนวัตกรรมของโรงเรียน แสดงให้เห็นกระบวนการพัฒนาการ เรียนการสอนท่ีมงุ่ เน้นใหส้ ่คู วามเปน็ เลศิ ก่อเกดิ นวตั กรรมสาคญั โดยข้นั ที่ 1 คือ ข้ันวางแผน (PHOK) เพือ่ ออกแบบนวัตกรรม เริ่มจากการศึกษาปัญหา (P:Problem) ตามสภาวะแวดล้อมบริบทท่ีพบในปีการศึกษา ท่ี ผ่านมา ประเมนิ ความต้องการจาเป็นของนักเรียนและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี แล้วตั้งสมมตฐิ าน (H:Hypothesis) เพื่อ คาดการณ์ความเป็นไปได้ก่อนการดาเนินการพัฒนา โดยกาหนดเป้าหมาย (O:Objective) เพื่อเป็นวัตถุประสงค์ และขอบเขตการใช้นวตั กรรม บนพ้นื ฐานขององค์ความรู้ (K:Knowledge) ที่ได้จากการสังเคราะห์ จดั ระบบข้อมูล สารสนเทศจนเกิดเป็นนวัตกรรมท่ีชัดเจน จากน้ันนานวัตกรรมสู่การปฏิบัติการและตรวจสอบ (W) ในข้ันท่ี 2 คือลงมือปฏิบัติการ (W:Workshop) ตามวิธีการที่ได้กาหนดไว้ ตรวจสอบ (C : Check) และประเมินผลการ ปฏิบัติการในแต่ละปี เพ่ือสรุปผลการใช้นวัตกรรม ในข้ันท่ี 3 คือสรุปผล (IT) โดยอาศัยการบูรณาการ (I:Integration) องค์ความรู้ จากการประเมินผลการปฏิบัติการ ตรวจสอบ ปรับปรุงนวัตกรรมให้มีประสิทธิภาพ บรรลุประสิทธิผล เพ่อื ขยายผลองค์ความรู้ (T:Transfer) องค์ความรหู้ รอื นวตั กรรมในรูปแบบรายงานเผยแพร่และ ขยายผล สู่เครอื ข่ายการจัดการศึกษา พันธมิตร ผู้ให้ความร่วมมือ ในรูปแบบทีห่ ลากหลายเช่น วารสารโรงเรียน เฟซบุ๊ก, เพจ, ไลนโ์ รงเรียน เป็นต้น 6.2 ประสิทธิผลของการปฏิบตั ิการ (Operational Effectiveness) ก. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการ (PROCESS Efficiency and EFFECTIVENESS) โรงเรียนดาเนินการตามกฎระเบียบข้อบังคับดา้ นการเงนิ โดยตั้งคณะทางานเพื่อทาหน้าที่รับผิดชอบใน การควบคุมดูแล และติดตามการลดต้นทุนในการจัดการศึกษา ฝ่ายบริหารช่วยสร้างความตระหนักให้ครูและ บคุ ลากรมีส่วนร่วมในการลดต้นทุนการดาเนินโครงการ กิจกรรมเสริมหลกั สูตรตามแผนงานท่ีกาหนดไว้ คานึงถึง ประสิทธิภาพและประสิทธิผล และเสียงจากนกั เรยี นผู้มีส่วนได้สว่ นเสีย พร้อมทง้ั กาหนดเปา้ หมายและระยะเวลา กรอบการปฏบิ ัติงานทช่ี ัดเจน ซง่ึ สามารถสรุปองค์ประกอบของการควบคมุ ต้นทุนแสดงดังภาพประกอบ 6-4 // ภาพประกอบ 6-4 แผนภูมิวิธีการในการควบคมุ ต้นทุนโดยรวมของการปฏิบัตกิ ารของโรงเรยี น โรงเรยี นหนองพอกวิทยาลยั สพม. 27

หมวด 6 การปฏิบตั ิการ (Operations) | 7 จากภาพประกอบ 6-4 โรงเรียนมีกระบวนการควบคุมต้นทุนตามแนวทางแนวคิด PHOKWIT Model ด้วยการมองเชิงระบบ กาหนดแนวทางการควบคุมต้นทุนในการจัดการศึกษา วิเคราะห์รายรับ รายจ่าย ภายใต้ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมของโรงเรียนท่ีขับเคล่ือนด้วยฝ่ายต่าง ๆ โดยมองความคุ้มค่า คุ้มทุนในการพัฒนา การจัดการศึกษา มีโครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามขอบข่ายและภาระงาน จากน้ันกาหนดแผนงานและ นโยบาย ท่ีสอดคล้องกับกลยุทธ์การจัดการศึกษาในรูปแบบของโครงการและแผนปฏิบัติการประจาปี มีวิธีการ เบิกจา่ ยงบประมาณตามระเบียบของทางราชการ พัฒนางานอย่างต่อเนอ่ื งโดยอาศัยกระบวนการเรียนรูท้ ี่เกิดขึ้น จาก การนิเทศ กากับและติดตามแบบกัลยาณมิตรซึ่งมองในเร่ืองของคน ทุน และระยะเวลาที่ส่งผลต่อ ประสิทธิภาพ ซ่ึงการประเมินผลจะสะท้อนความคุ้มค่า คุ้มทุน และมีส่วนสาคัญในพัฒนาคุณภาพการจัด การศกึ ษาของโรงเรียนดังแสดงผลในหมวด 7 ภาพประกอบ 7-13 ข. การจดั การห่วงโซ่อปุ ทาน (Supply-Chain Management) โรงเรยี นมีวธิ ีการในการจัดการห่วงโซ่อปุ ทานและดาเนินการ ดังภาพประกอบ 6-5 / / / ภาพประกอบ 6-5 แผนภมู ิวธิ ีการจดั การห่วงโซ่อุปทาน และการดาเนนิ การของโรงเรียน โรงเรียนหนองพอกวทิ ยาลยั สพม. 27

หมวด 6 การปฏบิ ัติการ (Operations) | 8 จากภาพประกอบ 6-5 วิธีการจัดการห่วงโซ่อุปทาน และการดาเนินการ โรงเรียนแต่งตั้ง คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี นเพ่ือวางแผนพัฒนาการศึกษา กาหนดวิสัยทัศน์ พนั ธกิจ เปา้ ประสงค์ ดังแสดงไวใ้ น หมวด 1.1 ก (1) จากน้ันคณะกรรมการจะนาเสยี งของนักเรยี นและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียดา้ นการจัดทาหลกั สูตร ดัง แสดงไวใ้ นหมวด 3.1 ก (1) และผลการประเมินการปฏบิ ตั กิ ารของโรงเรียนในรอบปีการศกึ ษาทผี่ ่านมา รวมถึงองค์ ความรู้ที่ได้จากการจัดการสารสนเทศดังแสดงวิธีการไว้ในหมวด 4 รวมถึงการวิเคราะห์ขีดความสามารถและองค์ ความรู้ของครูและบุคลากรที่จะดาเนินการได้อธิบายไว้ในหมวด 5.1 ก เพือ่ วางแผนในการคัดเลือกผู้ส่งมอบด้าน ความรู้และอุปกรณ์-ระบบสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ บันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการจัดการศึกษากับ หน่วยงานการศึกษาอื่นๆ หรือหน่วยงานที่ไม่เกี่ยวข้องกับการศึกษาโดยตรง แต่สามารถส่งเสริมศักยภาพซึ่ง สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน องค์กรหรือ บุคคลที่สามารถร่วมพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ เช่น คณะกรรมการสถานศึกษา ข้ันพื้นฐาน สมาคมผู้ปกครองและครู ปราชญ์ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน แหล่งเรียนรู้ในชุมชน เป็นต้น จากน้ันกาหนด ขอบเขตความร่วมมอื เพ่ือให้มีความสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ร่วมวางแผนการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาโดยคานึงถงึ เสียงของนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความคาดหวงั ของชุมชน สังคม ประเทศชาติ และ คุณลักษณะของผู้เรียนท่ีมีศักยภาพเป็นพลโลก ดาเนินการพัฒนาตามกระบวนการ ควบคู่กับการนิเทศ กากับ ตดิ ตาม และประเมินผล กระบวนการข้างต้นจึงส่งผลต่อการจัดการศึกษาให้เปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ท่ี สาคัญ ท้ังน้ีโรงเรยี นมีการจดั การเก่ียวกบั ผสู้ ง่ มอบดังนี้ การจดั จ้างครผู สู้ อนท่ีมีความเชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นทส่ี อดคล้องกับแผนการเรยี นทเี่ ปิด เช่น ครชู าวต่างชาติ ครูศิลปะ ครูคอมพิวเตอร์ ทาหน้าท่ีส่งมอบองคค์ วามรู้ใหก้ ับนกั เรยี น เพ่ือให้ม่ันใจว่า ผสู้ ่งมอบเป็นผู้ท่มี ีคุณสมบัติ และพร้อมที่จะช่วยยกระดับผลการดาเนนิ การของโรงเรียน โรงเรยี นจึงแต่งต้ังคณะกรรมการคดั เลือกและทดสอบ ความรคู้ วามสามารถให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกบั ตาแหน่ง ตามระเบียบการรับบุคลากร กาหนดแผนพัฒนาบุคลากร ให้มีขีดความสามารถในการให้บริการ นิเทศการจัดการเรียนการสอนและประเมินคุณภาพจากผลลัพธ์ทางการ เรียนของผู้เรียน วัดระดับความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจากนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในกรณีทีไ่ ม่ผ่านการประเมินจะไม่มีการต่อสญั ญาจ้าง เพื่อไม่ให้เกิดความเส่ียงในกรณีเลิกจ้าง โรงเรียนได้แต่งตั้ง คณะกรรมการทาหนา้ ท่ตี ิดตามตรวจสอบเป็นระยะ ทาให้เกดิ ความพรอ้ มในการแก้ไขความเส่ียง ในด้านอุปกรณ์พันธมิตรคือบริษัทร้อยเอ็ดรัตนกิจ และบริษัทดิจิตัลซิสเต็ม ทาหน้าที่ส่งมอบอุปกรณ์ คอมพวิ เตอร์สาหรบั ห้องเรียนคอมพวิ เตอร์พร้อมระบบ E-Learning จานวน 160 ชุด ห้องสืบค้นสาหรบั ห้องสมุด จานวน 10 ชดุ ในด้านระบบพันธมิตรคือบริษัททีโอที จากัด (มหาชน) ทาหน้าที่ส่งมอบสัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็ว 300/100Mbps และ 400/100Mbps นอกจากนโ้ี รงเรียนยังทาบันทกึ ข้อตกลงความรว่ มมอื กบั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ร้อยเอ็ด มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ มหาสารคามเพื่อเป็นโรงเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ซึ่งถือว่าทาหน้าท่ีเป็นผู้ส่งมอบความรู้ให้นักเรียน โดยมีอาจารย์นิเทศ และครูพ่ีเลี้ยงคอยกากับดแู ลการจัดการเรียนการสอน ส่งผลให้นักเรียนเข้าเรียนต่อสูงข้ึนใน หมวดที่ 7 ภาพประกอบ 7-16,7-17 โรงเรียนหนองพอกวทิ ยาลัย สพม. 27

หมวด 6 การปฏบิ ตั ิการ (Operations) | 9 ค. การเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัยและภาวะฉกุ เฉนิ (Safety and Emergency Preparedness) (1) ความปลอดภยั (Safety) โรงเรียนมีระบบรักษาความปลอดภัยในการปฏิบัติการด้านต่างๆ เช่นกิจกรรมการเรียน การสอน กิจกรรมเสริมหลักสูตร การเรียนรู้นอกสถานท่ี โดยจัดสภาพแวดล้อมให้มีความปลอดภัยในการ ปฏิบัติการ มีระบบการป้องกันอุบัติเหตุในด้านต่างๆ โดยมีกระบวนการตรวจสอบ (Inspection) ท่ีเกิดจาก วิเคราะห์ต้นเหตุของความล้มเหลวและการทาให้ฟื้นคืนสู่สภาพเดิมด้วยระบบความปลอดภัย ซึ่งเป็นสาเหตุของ อุบัติเหตุหรืออันตรายที่เกิดจากการปฏิบัติการในโรงเรียน มีสาเหตุหลัก ๆ 3 ประการคือ 1) สถานท่ีจัดกิจกรรม การเรยี นการสอนไม่ปลอดภัย เช่น เครือ่ งมือ อุปกรณ์ชารุดขาดการซ่อมแซมบารุงรักษา การวางผังโรงเรียนที่ไม่ ถูกต้อง ความไม่เป็นระเบยี บเรียบร้อยในการจัดเก็บวัสดุ สิ่งแวดลอ้ มในการทางานไม่ดี เช่น แสงสวา่ งไม่เพียงพอ ระบบไฟฟ้า หรอื อุปกรณไ์ ฟฟา้ ชารดุ เป็นต้น 2) การปฏิบัตกิ ารที่ไม่ปลอดภัย เช่น การมที ศั นคติไม่ถกู ตอ้ ง การ รู้เท่าไมถ่ ึงการณ์ คาดการณ์ผิด ประมาท การหยอกล้อเลน่ กันของนักเรียนในระหว่างทากิจกรรมการเรียนรู้เปน็ ต้น และ 3) ขาดความร่วมมือในดา้ นความปลอดภยั เชน่ ไม่ร่วมกจิ กรรมความปลอดภัย ไม่รายงานอบุ ัตเิ หตุอย่างเป็น ระบบ ขาดจิตสานึกความปลอดภยั เป็นตน้ ซง่ึ สาเหตุท่กี ลา่ วมาข้างต้นล้วนทาใหเ้ กดิ อุบตั ิเหตุ โรงเรียนจึงค้นหาสาเหตุหลังจากการเกิดอุบัติเหตุทันที เพ่ือนาผลการวิเคราะห์มากาหนด มาตรการป้องกัน ซงึ่ มีการวางแผนงาน ปรบั ปรุงข้ันตอนการทางานให้เหมาะสม จดั กิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่เน้นความ ปลอดภัย ตรวจสอบอาคารเรียน อาคารประกอบทั้งด้านโครงสร้างอาคารและบริเวณโดยรอบทุกปี ซ่อมแซมโต๊ะ เก้าอี้ให้พร้อมใช้และเพียงพอ ตรวจสอบเคร่ืองใช้ไฟฟ้าระบบสายไฟ คอมพิวเตอร์ ระบบอินเทอร์เน็ตให้พร้อม ใชง้ าน ตดั แตง่ กง่ิ ต้นไม้สาหรับลานกิจกรรม เพือ่ ปอ้ งกนั กง่ิ ไมห้ กั เปน็ ต้น ซึ่งมาตรการดา้ นการรกั ษาความปลอดภัย มีการพัฒนาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เช่นการติดตั้งกล้องวงจรปิด 14 เคร่ืองเพื่อรักษา ความปลอดภัยในอาคารเรียน บริเวณโรงเรียน และจุดท่ีคณะกรรมการวเิ คราะหว์ ่าเป็นจุดเสยี่ ง ซ่ึงสามารถดูผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนท่ีได้ตลอดเวลา หรอื นาโปรแกรมคอมพิวเตอรม์ าช่วยจาลองการจัดการเรียนรู้ท่ีมีความเส่ียง เช่น การต่อวงจรไฟฟ้า การทดลองผสมสารเคมี หรือการใช้เครอื่ งมือท่ีมีลักษณะอันตราย เช่น มีความร้อน ความคม ความแหลมเป็นต้น ท้ังน้ีกระบวนการและมาตรฐานต่างๆ จะมีการรายงานตามสายงานเพ่ือปรับปรุงวิธีการและ ขยายผลการป้องกันอุบัติเหตุในลักษณะกิจกรรมท่ีใกล้เคียงกัน นอกจากนี้เพื่อลดการสูญเสีย จึงมีการเฝ้าระวัง และดาเนินมาตรการแผนฉุกเฉิน โดยนาผลการประเมินการดาเนนิ งานด้านสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยมา ใช้เพ่ือ 1) ติดตามประเมินผลระหว่างดาเนินการแก้ปัญหา และ 2) ติดตามประเมนิ หลังจากนามาตรการไปปฏิบัติ เพื่อสง่ เสรมิ ความปลอดภัยในโรงเรียนและภายนอกโรงเรยี น เช่น การจดั นทิ รรศการด้านความปลอดภัย การตรวจ สขุ ภาพ และการทดสอบสมรรถภาพร่างกายประจาปี การรณรงค์เพ่ือลดอุบัติเหตุ การติดโปสเตอร์และแผ่นป้าย สัญลักษณค์ วามปลอดภัย ซ่งึ แสดงให้เห็นดงั ภาพประกอบ 6-6 โรงเรียนหนองพอกวิทยาลัย สพม. 27

หมวด 6 การปฏบิ ตั กิ าร (Operations|) 10 / ภาพประกอบ 6-6 แผนภมู ิวิธกี ารในการทาใหเ้ กิดสภาพแวดล้อมการปฏิบัตกิ ารที่ปลอดภัยของโรงเรยี น จากภาพประกอบ 6-6 แสดงระบบความปลอดภัยของโรงเรียน ซ่ึงดาเนินการอย่างเป็นระบบเพ่ือให้ เกิดสภาพแวดล้อมการปฏิบัติการท่ีปลอดภัย คานึงถึงการป้องกันอุบัติเหตุ การตรวจสอบ การวิเคราะห์ต้นเหตุ แก้ไขปัญหาด้วยระบบความปลอดภยั ซึ่งสอดคล้องสัมพันธ์กับแนวคดิ PHOKWIT Model ดว้ ยการมองเชิงระบบ วา่ การวิเคราะห์ถึงสาเหตุข้อมูลพ้ืนฐานเพ่ืออกแบบระบบการปฏิบัติงาน จะสร้างความเข้าใจและความตระหนัก ในการปฏิบัติการท่ีปลอดภัย รักษาสมบัติของโรงเรียน ท้ังนี้ต้องมีการกากับติดตามให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ทกี่ าหนดไว้ เมือ่ มาตรการปอ้ งกันมีประทธิภาพกส็ ามารถขยายผลไปยังพื้นท่ใี กล้เคยี งกนั หรอื ในลักษณะกิจกรรม ที่คล้ายกนั จงึ เกิดเปน็ มาตรการ กฎระเบียบ ข้อบังคับในการรกั ษาดูแลสาธารณะสมบตั ขิ องโรงเรียนตอ่ ไป โรงเรียนหนองพอกวิทยาลัย สพม. 27

หมวด 6 การปฏิบัติการ (Operations|) 11 (2) การเตรียมความพรอ้ มตอ่ ภาวะฉกุ เฉนิ (Emergency Preparedness) โรงเรียนดาเนินการตามระบบการเตรียมความพร้อมต่อภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน โดยคานึงถึง การป้องกันอยา่ งเปน็ ระบบ สรปุ ได้ดังภาพประกอบ 6-7 / ภาพประกอบ 6-7 แผนภูมิวิธีการในการเตรยี มความพรอ้ มตอ่ ความฉกุ เฉนิ ของโรงเรยี น จากภาพประกอบ 6-7 โรงเรียนเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน โดยเริ่มจากการวิเคราะห์ สถานการณ์ภาวะเสี่ยงต่อการเกิดเหตฉุ ุกเฉิน โดยตรวจสอบข้อมูลการดูแลอาคารเรียน และการซ่อมบารุงระบบ ไฟฟ้า สาธารณูปโภค ซึง่ คานึงถึงอายกุ ารใชง้ านของอปุ กรณ์โดยเฉพาะสายไฟ ปลั๊กไฟ สวติ ซ์ เป็นต้น ตลอดจนการ เตรียมความพร้อมต่อสถานการณท์ ี่อาจจะเกิดข้ึนอยู่ตลอดเวลา เช่นการแต่งต้ังเวรยาม นักการภารโรง และครูเวร ในการตรวจสอบ กากบั ติดตาม สถานการณ์ทีก่ อ่ ให้เกดิ ภาวะเสยี่ งตอ่ โรงเรยี น โรงเรียนหนองพอกวิทยาลยั สพม. 27


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook