Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ ประวัติการเขียนแบบ และความสำคัญของการเขียนแบบหน่วยที่1

คู่มือ ประวัติการเขียนแบบ และความสำคัญของการเขียนแบบหน่วยที่1

Published by karntida0891840186, 2017-09-07 05:01:10

Description: Unit 1 History And the importance of writing.

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 1รหัสวชิ า 3302-0001 วชิ า การออกแบบเขียนแบบ สอนคร้ังที่ 1 เวลา 6 ชวั่ โมงหน่วยที่ 1 ช่ือหน่วย ประวตั ิการเขียนแบบ และความสาคญั ของการเขียนแบบ เวลา 6 ชม.ช่ือเร่ือง ประวตั ิการเขียนแบบ และความสาคญั ของการเขียนแบบ ประวตั กิ ารเขยี นแบบ และความสาคญั ของการเขยี นแบบ ในสมยั โบราณเช่ือว่ามนุษยไ์ ดม้ กี ารเขียนภาพเพอื่ แสดงส่ิงท่ีมนุษยไ์ ดค้ ิดข้ึนก่อน เพื่อถา่ ยทอดให้ผอู้ นื่ มีความคดิ และความเขา้ ใจร่วมดว้ ย โดยเฉพาะในงานก่อสร้างหรืองานสร้างสรรค์ ที่ตอ้ งการความร่วมมอื กนั หลายๆฝ่ าย เพื่อใหเ้ กิดความสะดวกแกก่ ารสร้างสรรคม์ ากข้ึน ในการเขียนระยะแรกๆจะเป็นการร่างภาพหยาบๆลงบนโตะ๊ ดนิ หรือโต๊ะทราย หรือแผน่ หิน ประวตั กิ ารเขยี นแบบในต่างประเทศ ตามหลกั ฐานปรากฏว่าชาวเมโสโปเตเมียรู้จกั การใชว้ สั ดุและเครื่องมอื ในการเขียนภาพ เม่อื ประมาณ 2200 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช เช่น ป้ อมปราการบนแผน่ หินซ่ึงเขียนโดยชาลเดนกดู วั วิศวกรในสมยั น้นั ชาวอยี ปิ ตส์ ร้างพรี ะมิด ชาวโรมนั สร้างสะพานขา้ มแม่น้า ตลอดจนสนามกีฬา เซอร์คสั แมกซิมสั(CIRUS MAXIMUS) ในกรุงโรม เช่ือว่าในการก่อสร้างจะตอ้ งมีการเขียนภาพสามมิติ และมีภาพรูปดา้ นประกอบช่วยในการก่อสร้างดว้ ย การเขียนแบบไดม้ ีการพฒั นาไปอยา่ งชา้ ๆ ดงั จะเห็นไดจ้ ากศตวรรษที่ 15 ลโี อนาโด ดาวินซีนกั วทิ ยาศาสตร์และนกั ประดษิ ฐช์ าวอติ าลี ไดม้ ีการถ่ายทอดความนึกคิดทางเคร่ืองกลไก และงานช่างออกมาเป็นรูปภาพซ่ึงภาพเขียนเป็นไปในลกั ษณะภาพสามมติ ิ พร้อมท้งั เขียนแนวความคิด (CINCEPT) พร้อมท้งัคาอธิบายเก่ียวกบั เครื่องกลไกการทางานไวท้ ่ภี าพน้นั ดว้ ย ในศตวรรษที่ 18 นายช่างชาวฝร่ังเศส ช่ือ นายแกสพาร์ค มองกิจ ไดเ้ ป็นผรู้ ิเร่ิมการเขียนแบบภาพฉายใชใ้ นโรงงานก่อสร้างและในกิจการทหาร ซ่ึงเป็นแบบอยา่ งท่ีไดป้ รับปรุงนามาใชก้ นั ในปัจจุบนั ต่อมาประเทศสหรัฐอเมริการไดเ้ ริ่มงานเขียนแบบในกจิ การทหาร งานก่อสร้างสะพาน ทางรถไฟ ถนน และไดม้ ีการบรรจุวิชาเขียนแบบไวใ้ นหลกั สูตรนกั เรียนนายร้อยเวสพอ้ ยท์ และหลกั สูตรวิศวกร จนทาใหว้ ชิ าเขียนแบบไดม้ กี ารพฒั นาและเป็นที่ยอมรับกนั อยา่ งรวดเร็ว ประวตั กิ ารเขียนแบบในประเทศไทย การเขียนภาพสิ่งก่อสร้างบา้ นเรือน วดั วาอารามต่างๆในภาพจิตรกรรมฝาผนงั ของไทย นบั ต้งั แต่สมยั กรุงสุโขทยั จนถงึ สมยั ตน้ กรุงรัตนโกสินทร์ ปรากฏวา่ รูปแบบ

ภาพเขียนส่ิงก่อสร้างน้นั แสดงลกั ษณะรูปแบบ 3 มิติ และมีการตดั เสน้ เช่นเดียวกบั การเขียนแบบ ดงั น้นั จึงเป็นที่น่าสงั เกตว่าการสร้างสรรคต์ ่างๆของไทยก็คงจะไดม้ กี ารเขียนแบบข้ึนก่อนมาชา้ นาน โดยการแสดงรูปแบบเช่นเดียวกบั รูปแบบภาพในภาพจิตรกรรมฝาผนงั เหลา่ น้นั จึงนบั ไดว้ า่ ชนชาติไทยรู้จกั เขียนภาพ 3มติ ิ ในลกั ษณะไอโซเมตริกมาไมต่ ่ากว่า 700 ปี มาแลว้ แต่อย่ใู นงานภาพจิตรกรรม สาหรับหลกั ฐานที่ปรากกใหท้ ราบเดน่ ชดั เกี่ยวกบั งานเขียนแบบในสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ ก็ไดแ้ ก่งานเขียนแบบของ สมเด็จเจา้ ฟ้ ากรมพระยานริศรานุวตั วิ งศ์ ซ่ึงพระองคไ์ ดเ้ ขียนแบบในสาขาต่างๆไว้มากมาย ท้งั สาขาศลิ ปกรรมและงานประดิษฐต์ ่างๆ พ.ศ.2456 โรงเรียนเพาะช่าง ไดจ้ ดั หลกั สูตรแผนกช่างออกแบบอยา่ งก่อสร้างเพิม่ ข้ึน ในการเรียนวชิ าน้ีจะตอ้ งมีการเขียนแบบอยดู่ ว้ ย ซ่ึงพอเป็นหลกั ฐานใหท้ ราบไดว้ ่ามกี ารสอนวิชาเขียนแบบดา้ นสาขาศิลปกรรมเป็นคร้ังแรกในประเทศไทยอกี ดว้ ย และพ.ศ. 2470 โรงเรียนเพาะช่าง ไดเ้ ปิ ดแผนกสถาปัตยกรรม ซ่ึงในหลกั สูตรน้ีจะตอ้ งมวี ิชาการเขียนแบบสอนอยดู่ ว้ ย ภายหลงั ไดโ้ อนแผนกสถาปัตยกรรมไปสอนท่ีจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ปัจจุบนั วิชาเขียนแบบไดเ้ ป็นวิชาท่ีเปิ ดสอนอยใู่ นหลกั สูตรวชิ าช่างสาขาต่างๆท้งั ในระดบัมธั ยมศึกษา ระดบั วิชาชีพและระดบั ปริญญา ทาใหว้ ชิ าเขียนแบบเป็นที่รู้จกั กนั กวา้ งขวาง และการเขียนแบบกไ็ ดท้ าหนา้ ท่ีอนั สาคญั ตามวตั ถุประสงคม์ ากยงิ่ ข้ึนเป็นลาดบั ในการพฒั นาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมต่างๆเป็นอยา่ งมาก งานเขียนแบบในอดีต

ความสาคญั ของการเขียนแบบ ในยคุ พฒั นาอตุ สาหกรรมการเขียนแบบนบั ไดว้ า่ มคี วามสาคญั มากสาหรับการผลติ ทางอตุ สาหกรรม เพราะการเขียนแบบเป็นส่ือกลางระหวา่ งความคิดของนกั ออกแบบกบั การทางานของช่างในโรงงานทจ่ี ะไดม้ าซ่ึงสิ่งท้งั หลายที่มนุษยต์ อ้ งการนบั ต้งั แต่ส่ิงของเลก็ ๆจนกระทงั่ ถึงสิ่งของขนาดใหญ่ บรรดาสรรพสิ่งท้งั หลายจะสาเร็จไดก้ ด็ ว้ ยการผา่ นการเขียนแบบมาก่อนท้งั ส้ินความสาคญั ของการเขยี นแบบพอสรุปได้ดงั นี้ การเขียนสามารถถา่ ยทอดความคิดนึกเกี่ยวกบั ส่ิงประดิษฐส์ ร้างสรรคใ์ หผ้ อู้ น่ื ไดเ้ ขา้ ใจและอ่านเป็นภาษาท่ีเขา้ ใจไดต้ รงกนั การเขียนแบบช่วยใหส้ ามารถสง่ั ดาเนินการทางานตามข้นั ต่างๆท่ีกาหนดไวใ้ นแบบไดโ้ ดยมีจุดมงุ่ หมาย การเขียนแบบสามารถตรวจสอบผลงานได้ การเขียนแบบสามารถทาใหก้ ารปฏิบตั ิงานไดถ้ กู ตอ้ ง ขจดั ปัญหาในการผลิตใหล้ ดนอ้ ยลง และช่วยใหท้ างานไดร้ วดเร็วข้ึน การเขียนแบบสามารถใชเ้ ป็นส่วนประกอบในการทาหนงั สือค่สู ญั ญาการจา้ งงานต่างๆ การเขียนแบบใชเ้ ป็นส่วนประกอบในการคิดราคาหรือกาหนดราคาของผลงาน

ประเภทของงานและภาพในการเขยี นแบบ ประเภทของงานเขยี นแบบ ประเภทของงานเขียนแบบที่สาคญั ที่ใชใ้ นวงการช่างอุตสาหกรรมทวั่ ๆไปอาจแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ไดแ้ ก่ 1. งานเขียนแบบวศิ วะ เป็นงานที่เขียนเก่ียวกบั เครื่องจกั รกลต่างๆ รวมท้งั อปุ กรณ์ไฟฟ้ าทุกชนิด เช่นพดั ลมไฟฟ้ า รถไฟ เครื่องบิน เป็นตน้ งานเขียนแบบวศิ วะท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ 1.1 เขยี นแบบเครื่องกล สาขาอาชีพที่มีความเก่ียวพนั กบั การเขียนแบบ เคร่ืองกล ไดแ้ ก่ ช่างยนต์ช่างกลโรงงาน ช่างเช่ือมและโลหะแผน่ เป็นตน้ รูป 1 ภาพเขียนแบบงานเชื่อม ที่มา : Heinzler Max, 1996 1.2 เขียนแบบไฟฟ้ าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ งานเขียนแบบสาขาน้ีจะแตกต่างจากงานเขียนแบบเครื่องกลส่วนมากจะใชส้ ญั ลกั ษณ์แทนอุปกรณ์ และแบบงานจะแสดงการทางานของระบบหรือวงจรรูป 2 งานเขยี นแบบไฟฟ้ า รูป 3 งานเขยี นแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ท่ีมา : วทิ ยา ประยงคพ์ นั ธุ,์ ที่มา : ประเวช มณีกตุ , 2539 2. งานเขียนแบบสถาปัตย์ เป็นงานท่ีเขียนเกี่ยวกบั ส่ิงก่อสร้างต่างๆ เช่น บา้ น อาคาร สะพาน เป็นตน้ การเขียนแบบทางสถาปัตยกรรมมีลกั ษณะการเขียนท่ีแตกต่างออกไป ดงั ตวั อยา่ ง เช่น เขียนแบบก่อสร้าง เขียนแบบสถาปัตยกรรม เขียนแบบแผนท่ี เป็นตน้

รูป 4 ภาพเขียนแบบงานสถาปัตยกรรม รูป 5 ภาพเขียนแบบงานก่อสร้าง ที่มา : อลงกรณ์ ศรีเกิน, 2535 ท่ีมา : อศิ รา ประถมปัทมะ, 2538ประเภทของภาพในการเขียนแบบ ท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ 1. ภาพไอโซเมตริก ไดแ้ ก่ ภาพที่มองเห็นจากมมุ ทก่ี าหนดข้ึนจากจุดเริ่มตน้ และภาพจะมีขนาดเท่ากนั หมดทุกดา้ น ไม่ว่าดา้ นจะยาวมากแค่ไหนกต็ าม การสร้างภาพ ไอโซเมตริกน้ี จึงเป็นการวดั ขนาดความกวา้ งยาวของดา้ นต่างๆมาเป็นขนาดของภาพนน่ั เอง การเขียนภาพจะแสดงส่วนประกอบท้งั 3 ดา้ นไดแ้ ก่ดา้ นหนา้ ดา้ นขา้ ง และดา้ นบน (แสดงส่วนกวา้ ง ส่วนยาว และส่วนสูงของภาพ) ภาพไอโซเมตริกจะประกอบไปดว้ ย แกนหลกั 3 แกน ไดแ้ ก่ แกนเอียงซา้ ยทามุม 30 องศากบั แนวระนาบ แกนเอียงขวาทามมุ 30องศากบั แนวระนาบ และแกนต้งั ฉากทามุม 90 องศากบั แนวระนาบ ภาพไอโซเมตริกเป็นภาพสามมิติ ท่ีนิยมใชใ้ นวงการช่างอตุ สาหกรรม เพราะใหค้ วามสะดวกในการเขียน เน่ืองจากมเี ครื่องมอื ช่วย และสดั ส่วนของภาพเองกท็ าใหส้ ะดวกและง่ายต่อการเขียนแบบ ขอ้ สงั เกตในการเขียนภาพไอโซเมตริก คือ เสน้ ทุกเสน้ จะตอ้ งไปรวมกนั ที่มุม หน่ึงมมุ จะมเี สน้ รวมกนั 3 เสน้ และเสน้จะตอ้ งขนานกนั ตวั อยา่ งดงั รูป 6 รูป 6 ลกั ษณะภาพไอโซเมตริก 2. ภาพออบลกิ ภาพออบลิคเป็นภาพเขียนแบบท่ีเกดิ จากการมองในแนวตรงกบั แนวสายตา แลว้เขียนภาพตามที่มองเห็น ดา้ นหนา้ จึงมลี กั ษณะต้งั ตรง ส่วนภาพดา้ นขา้ ง และดา้ นบนจะเขียนในรูปของเสน้เอยี งทามมุ ต่างๆกบั เสน้ ภาพดา้ นหนา้ โดยทวั่ ๆไปจะนิยม ใชม้ มุ 45 องศา ตวั อยา่ งดงั รูป 7

รูป 7 ลกั ษณะภาพออบลกิ 3. ภาพทัศนยี ภาพ เป็นภาพที่เกิดจากจดุ รวมของสายตาที่มองเห็น มีลกั ษณะคลา้ ยของจริงมากท่ีสุด ซ่ึงการเขียนภาพน้ีเป็นการเขียนที่มองจากความสูงจริงในมมุ ใดมุมหน่ึง หรือดา้ นใดดา้ นหน่ึงของภาพ แลว้ ทาการเขียนดา้ นต่อมาดว้ ยขนาดทีก่ ะใหเ้ ป็นค่าประมาณ เพอ่ื ใหเ้ กิดความสวยงามและไดส้ ดั ส่วนของภาพตวั อยา่ งดงั รูป 8 รูป 8 ลกั ษณะภาพทัศนยี ภาพ 4. ภาพฉาย เป็นภาพลายเสน้ ท่ีแสดงรูปร่างของวตั ถแุ ต่ละดา้ น โดยจะเขียนบอก ขนาดและสดั ส่วนต่างๆไวท้ ุกดา้ น ซ่ึงอา่ นค่าแลว้ เอามาทางานได้ ภาพฉายส่วนใหญ่จะเขียนหรืออา่ นมาจากภาพไอโซเมตริกหรือภาพของจริง ภาพฉายที่สาคญั เช่น 4.1 ภาพฉาย 2 มติ ิ จะแสดงดา้ น 2 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นกวา้ งกบั ดา้ นยาว (ภาพดา้ นบน) ดา้ นยาวกบั ดา้ นสูง(ภาพดา้ นขา้ ง) ดา้ นกวา้ งกบั ดา้ นสูง (ภาพดา้ นหนา้ ) ตวั อยา่ งดงั รูป 9 ภาพฉายด้านบน ภาพฉายด้านหน้า ภาพฉาพด้านข้าง รูป 9 ลกั ษณะภาพฉาย 2 มติ ิ

4.2 ภาพฉาย 3 มติ ิ จะแสดงภาพดา้ นหนา้ ดา้ นบน ดา้ นขา้ ง ตวั อยา่ งดงั รูป 10 รูป 10 ลกั ษณะภาพฉาย 3 มติ ิ\