Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แหล่งเรียนรู้ กศน.ตำบลวังทอง

แหล่งเรียนรู้ กศน.ตำบลวังทอง

Published by บุญ ผุยม่อง, 2019-12-20 00:53:37

Description: แหล่งเรียนรู้ กศน.ตำบลวังทอง

Search

Read the Text Version

แหลง่ เรียนรู้ กศน.ตาํ บลวงั ทอง ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอนาวัสํา

คาํ นํา ทําเนยี บแหลง เรยี นรู กศน.ตาํ บลวังทองเลม น้ี ไดทําการรวบรวมขอมลู แหลง เรียนรูตาง ๆ ในตําบล วงั ทอง ของอําเภอนาวัง เปน การรวบรวมขอมลู ภมู ิปญญา ปราชญชาวบา น และสถานที่ทอ งเที่ยวที่สําคญั ใน ตําบล ทัง้ น้ีเพ่ือมุงหวังใหประชาชนและบุคคลทว่ั ไปทไี่ ดมาศกึ ษาคนควา แหลง เรียนรูเลม นีไ้ ดน ําไปใชประโยชน การรวบรวมจัดทําเอกสารเกีย่ วกบั แหลงเรยี นรกู ศน.ตําบลวังทองเลมน้ี ไดรบั ความรว มมือจากองคกร ในพืน้ ท่ี รวมทงั้ ผูอาํ นวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาํ เภอนาวัง ทไี่ ดใ ห ขอ คิดเห็น ขอเสนอแนะและแนวทางในการปฏบิ ัติงานใหม ีความชัดเจนในการปฏิบตั งิ านมากย่ิงข้นึ จึงขอขอบพระคุณทกุ ทานท่มี ีสวนเกยี่ วของ ณ โอกาสน้ี ซงึ หวังวา เอกสารเลมนจ้ี ะเปน ประโยชนใ น การนาํ ไปเปน ขอมูลพน้ื ฐานในการพัฒนางานใหเ กดิ ประโยชนแ กป ระชาชนกลุมเปาหมายและสามารถ ดาํ เนินการไดอ ยางมปี ระสิทธิผลย่ิงข้ึน ผูจดั ทาํ กศน.ตาํ บลวงั ทอง

สารบญั หนา เรือ่ ง 1 1 ความหมายแหลงเรียนรู 1 ความสาํ คญั ของแหลงเรียนรู วตั ถุประสงคของการจดั แหลงเรยี นรู 2 แหลง เรียนรู ตําบลวังทอง 9 10 “วดั ถา้ํ เอราวณั ” 10 “วัดทรงธรรมบรรพต” “กลุม ทอผา มัดหม่ี” “ศนู ยการเรียนรเู ศรษฐกจิ พอเพียง”

\"แหลงเรียนรู\" หมายถงึ แหลงขอมลู ขา วสาร สารสนเทศ และประสบการณ ท่สี นับสนุนสงเสรมิ ให ผูเ รียนใฝเรียน ใฝรู แสวงหาความรแู ละเรยี นรูด วยตนเองตามอธั ยาศยั อยา งกวางขวางและตอเน่ือง เพอื่ เสริมสรางใหผเู รยี นเกดิ กระบวนการเรียนรู และเปน บุคคลแหง การเรยี นรู \"แหลงเรียนรู\" หมายถงึ \"แหลง \" หรือ \"ทร่ี วม\" ซึ่งอาจเปนสภาพ สถานท่ี หรือศนู ยรวมทปี่ ระกอบดวย ขอ มลู ขา วสาร ความรู และกิจกรรมทมี่ ีกระบวนการเรียนรู หรือกระบวนการเรียนการสอน ทม่ี รี ูปแบบ แตกตา งจากกระบวนการเรียนการสอนที่มีครูเปนผูสอน หรือศนู ยกลางการเรยี นรู เปน การเรยี นรทู ี่มี กําหนดเวลาเรียนยดื หยุน สอดคลองกบั ความตองการและความพรอมของผูเ รียน การประเมินและการวดั ผล การเรยี นมีลักษณะเฉพาะที่สรา งขึน้ ใหเ หมาะสมกับการเรียนรูอยา งตอเนือ่ งซง่ึ ไมจ าํ เปนตองเปนรปู แบบ เดียวกนั กบั การประเมนิ ผลในช้นั หรือหอ งเรียน แหลงเรียนรตู ามมาตรา 25 ในพระราชบัญญัตกิ ารศึกษา แหง ชาติ พ.ศ. 2542 ไดแ ก หองสมดุ ประชาชน พพิ ิธภณั ฑ หอศิลป สวนสัตว สวนสาธารณะ สวน พฤกษศาสตร อุทยานวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ศนู ยก ารกฬี าและนนั ทนาการ แหลง ขอมูลและแหลง การ เรียนรูอนื่ ๆ เปน ตน (สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติ ) ความสําคัญของแหลงเรียนรู 1. แหลง การศึกษาตามอัธยาศัย 2. แหลงการเรียนรตู ลอดชีวติ 3. แหลง ปลูกฝง นสิ ัยรกั การอา น การศึกษาคนควา แสวงหาความรดู วยตนเอง 4. แหลงสรา งเสริมประสบการณภ าคปฏิบตั ิ 5. แหลงสรางเสริมความรู ความคดิ วิทยาการและประสบการณ วตั ถุประสงคของการจดั แหลงเรยี นรูในทอ งถิ่น 1. เปนแหลง การศึกษาตลอดชวี ิตทีป่ ระชาชนสามารถหาความรูตางๆไดด ว ยตนเองตลอดเวลา 2 .เพ่อื สงเสรมิ ใหช ุมชนและสงั คม มีแหลง การเรยี นรูเพ่ือการศึกษาทหี่ ลากหลาย สามารถเรียนรูไดตาม อัธยาศัย 3. เปน เคร่ืองมือที่สําคัญของบคุ คลแหง การเรียนรู ในการแสวงหาความรูเพื่อพฒั นาตนเอง แหลงเรียนรใู นทองถิ่น ไดแ ก หองสมุดประชาชน พิพิธภณั ฑ พิพิธภัณฑวิทยาศาสตร หอศลิ ป สวน สตั ว สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร อุทยานวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ศนู ยก ารกฬี า สถานประกอบการ วัด ครอบครัว ชุมชน องคการภาครัฐและภาคเอกชน แหลงขอ มลู ภูมิปญญาทองถิ่น แหลง การเรยี นรูอ ืน่ ๆ เปน ตน

แหลง เรยี นรู กศน.ตาํ บลวังทอง 1. วดั ถาํ้ เอราวณั ทีต่ ้งั หมู 3 บา นผาอนิ ทรแปลง ตําบลวังทอง อําเภอนาวัง จังหวัดหนองบวั ลาํ ภู เปน แหลง เรยี นรู ดา นการทอ งเที่ยว และดา นธรรมะ ถ้ําเอราวัณ ต้ังอยูบานผาอินแปลง ตาํ บลวังทอง บริเวณภูเขาหินแข็งที่ชาวบาน เรียกวา ภูเขา ผาถ้ําชาง เปนรอยตอของอาํ เภอวังสะพุง จังหวัดเลย กับอาํ เภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลาํ ภู ถํา้ เอราวัณ แหงน้ีนั้นตั้งอยูบนเขาท่ีมีลักษณะเปนหินแข็งที่มีกระจายอยูทั่วไปซึ่งถามองจากท่ีไกลๆจะเห็นมีลักษณะ เหมือนชางกําลังหมอบ แตถามองจากดานหนาผาก็จะเหมือนกับหนาผากของชาง สาํ หรับสวนบนของ ผาถา้ํ แหงน้ีน้ันมีลักษณะเปนหินแข็งแหลมคมขรุขระเปนกอนเล็กกอนนอย ถาํ้ เอราวัณเปนถํ้าขนาดใหญมีบันไดเรียงคดโคงไปมา จากเชิงเขาเบ้ืองลางข้ึนสูปากถ้ํากวา 600 ข้ัน มีพระพุทธรูปขนาดใหญ อยูบริเวณปากถ้ํา มองเห็นไดเดนชัดจากระยะไกล ภายในถ้าํ เปน หองโถงขนาดใหญ ท่ีเปนสถานท่ีแหงตํานานนิยายพ้ืนบานเร่ือง “นางผมหอม” มีหินงอกหินยอย สวยงาม ถํ้าเอราวัณแหงน้ีน้ันแตเดิมมีชื่อวา “ถํ้าชาง” ซึ่งเปนชื่อเรียกตามภูเขาถือผาถํา้ ชางซ่ึงพระครู ปลัดฝนปาเรสโกไดเชิญชวนผูมีจิตศรัทธารวมกันสรางขึ้นเปนวัดซ่ึงตอมาเรียกวาวัดถ้ําชางโดยไดสราง ไวบริเวณบันไดทางข้ึนถํา้ อันเปนท่ีมาของชื่อ”วัดถ้ําเอราวัณ”ภายในบริเวณดังกลาวน้ันมีส่ิงที่สนใจท่ีมี ความสวยงาม อันไดแก หลวงพอพระพุทธชัยศรีมุนีศรีโลกนาถอันเปนพระพุทธรูปศักด์ิ คูบานคูเมือง หรือจะเปนบันไดสวรรคซ่ึงเปนบันไดท่ีจะพบตอนเดินข้ึนไปยังถาํ้ 621 ช้ันท่ีลัดเลาะ เล้ียวไปตามไหลเขาพรอมศาลาพักชมวิวท้ังหมด 3 แหงตลอดเสนทางน้ัน อีกทั้งยังมีกองหินวงเปน รูปรางคลายเจดียโดยมีเรื่องเลาตอๆกันมาเปนความเช่ือวาถาหากใชหินมากอเปนรูปเจดีย 9 ช้ันแลว จะนําความโชคดีมาให เมื่อไดข้ึนมาที่บริเวณบนหลังคาถํา้ ก็จะไดพบกับปลองดาว 3 ปลองท่ีแสงสวาง สามารถสองลอดเขามาถึงได เม่ือเดินตอมาเร่ือยๆก็จะพบกับหินรูปพญาชางน่ังคุกเขาซ่ึงมีเรื่องเลาสืบ

ตอถึงท่ีมาวาพญาชางไดตรอมใจตายและสาปตัวเองใหเปนหิน นอกจากนี้ยังมีหินรูปทรงตางๆอีก มากมาย อาทิ หินนางผมหอม เห็ดหิน อางหิน ถา้ํ เอราวณั : ทต่ี งั้ ตามการปกครอง หมู 3 บา นผาอนิ ทรแปลง ตาํ บลวังทอง อาํ เภอนาวัง จังหวดั หนองบวั ลาํ ภู ทตี่ ง้ั ตามพิกัดภูมิศาสตร พิกัด UTM (WGS 1984) X 183054.912111, Y 1920694.678394 ละตจิ ดู 17.349630, ลองจจิ ูด 102.017931 ความสงู จากระดับนาํ ทะเลปานกลาง 341.00 เมตร สถานภาพ แหลงธรรมชาตจิ ากโครงการแนวทางการจดั การแผนแมบทเพอ่ื การอนุรักษสิง่ แวดลอ มธรรมชาติ ป 2547 ลกั ษณะเดนของพ้ืนท/่ี ลักษณะทีเ่ ปนเอกลกั ษณ ถ้ําเอราวัณต้ังอยบู นภูเขาหนิ ปนู ชาวบา นเรยี กเขานว้ี า “ผาถ้ําชา ง” เนื่องจากลักษณะเหมือนกับชา ง หมอบ และเมอ่ื มองจากบริเวณทางเขากอนถงึ วดั จะเหน็ ผามลี ักษณะเหมือนหนา ผากของชา ง ภายในแบงเปน โถงถ้ําเลก็ ๆ และมีคา งคาวอาศยั อยู เขาผาถํา้ ชา งมขี นาดสูง ทอดตวั ยาวสลบั ซบั ซอ นก้ันเขตแดนระหวาง จงั หวดั เลยและหนองบวั ลําภู ตํานาน/ความเช่ือ ถ้ําเอราวัณมตี ํานานเกยี่ วกับนางผมหอมเนื่องจากมถี ํ้าชอื่ นางผมหอมปรากฏอยู โดยชาวบาน จินตนาการวา เปนอางอาบนํ้าของนางผมหอม หางจระเขที่นางผมหอมถกู ตัดขาด และขันอาบนา้ํ ของนางผม หอม นอกจากนนั้ ยงั มหี ินงอกลักษณะคลา ยชา งหมอบ มีการนําผาสีมาพันและดอกไมธูปเทยี น ชาวบาน เรยี กวา “หินรปู พญาชางนั่งคุกเขา” โดยมตี าํ นานเลาวาพญาชา งตรอมใจตายจงึ สาปตัวเองใหกลายเปนหนิ อยู ทน่ี ี่ ประวตั ิการศกึ ษาทางโบราณคดี ถาํ้ เอราวัณไมมีหลกั ฐานวาพบครง้ั แรกเมื่อใด แตชาวบา นเรยี กกนั วา “ถํา้ ชาง” ตามชือ่ ภูผาถ้ํา ชา ง ตอ มาพระครปู ลัดฝนปาเรสโก ธดุ งคมาปฏิบัตธิ รรมอยทู ี่เชิงเขาจึงไดสรางวัดขน้ึ เรียกวา “วดั ถํา้ ชา งหรอื วดั ผาถ้าํ ชา ง” และไดมีผูบ รจิ าคทรัพยสรางชา งเอราวณั ข้ึนมาบริเวณเชิงบันไดข้นึ ถํา้ จึงเรียกช่อื วดั ใหมวาวดั ถ้ําเอราวณั และเรียกชื่อถ้าํ วา ถ้ําเอราวณั จากการสอบถามนางสดุ าใจ นวลสวาง เจาหนาทีเ่ ทศบาลตาํ บลวงั ทอง พบวา กรมศิลปากรยังไมเ คย เขามาสาํ รวจอยางจริงจงั ทถ่ี ้ําเอราวัณ โดยทางวัดจะเปน ผูดูแลถ้าํ สวนดา นวชิ าการและงบประมาณทาง เทศบาลจะเปน ผดู ูแล

หลักฐานทางโบราณคดสี มัยประวตั ิศาสตร ถํา้ เอราวัณพบหลักฐานท่ีแสดงใหเ ห็นวามกี ารใชพื้นท่ใี นสมัยรัตนโกสินทร คือ พระพุทธชยั ศรีมหามนุ ี ตรโี ลกนาถและพระพทุ ธรปู ตางๆ นอกจากนีถ้ ํ้าเอราวัณยังเก่ยี วขอ งกบั นิทานพื้นบานเร่ืองนางผมหอมดวย 1.) ชา งเอราวัณ อยูบ ริเวณเชิง บันไดกอนขน้ึ ไปถํา้ เอราวัณ ทีฐ่ านเขียนไว วา “เร่ิมสราง 21 พ.ค. 2516” และ “สรา ง เสรจ็ 31 ม.ค. 2517” โดยผมู ีจิตศรัทธาได รว มกันบริจาคทรัพยสรางข้นึ มา 2.) พระพุทธชัยศรมี หามนุ ีศรี โลกนาถ พระพุทธรูปขนาดใหญอ ยบู รเิ วณ ปากทางเขาถ้ํา ปางมารวชิ ยั ชายสงั คาฏิ สั้น ประทับบนฐานบวั คว่ําบัว หงาย ดานหนามเี ชิงเทยี นและพระพุทธรปู ขนาดเล็ก 12 องค ทําปางสมาธิ เชงิ เทยี น สลกั วา “ศรีสขุ ประเสรฐิ การชา ง อุดรธานี ถวาย 24 ก.ค. 28” ความสงู จากฐานถงึ เศยี ร 14.12 เมตร ความ กวา งจากฐานท้ังสองดา น 10.28 เมตร และขนาดหนา ตักกวาง 7.42 เมตร สรางเมอื่ ป พ.ศ. 2519 3.) พระพุทธรปู บริเวณโถงดา นหนา บริเวณทีเ่ รียกวา “พระพุทธรูปในถํ้า” เปนพระพทุ ธรูปไมแ ละ สําริดขนาดเลก็ หลายองค เปนศิลปะลา นชา ง ประดิษฐานอยูบนฐานบัวควาํ่ บวั หงายสรางจากปูนซเี มนตท ับ บนหนิ งอก ความสงู จากพ้นื ถึงฐาน 3.57 เมตร พระพทุ ธรูปท่อี ยูองคกลาง เปน องคใ หญสุด สรา งจาก สาํ ริด ทาํ ปางสมาธิ ขดั สมาธิราบ ทฐ่ี านเขยี นวา “พระจันโทปมาจารย13 เม.ย. 2513” ประเภทการใชป ระโยชน แหลง ธรรมชาตปิ ระเภทถ้ํา การใชป ระโยชนที่ดนิ เนือ่ งจากพื้นที่ถา้ํ เอราวัณเปนภเู ขาหินปูนโดด รายลอ มดวยพื้นที่ทําการเกษตร พืน้ ที่ปาท่ีปกคลุม บรเิ วณภเู ขาจึงมีมากนัก ประมาณ รอ ยละ 20 ซง่ึ สว นมากจะเปน ปา ผลัดใบที่ไมหนาแนน การใชประโยชนท่ีดนิ รอบแหลงธรรมชาตปิ ระเภทถ้าํ การใชป ระโยชนท ีด่ ินโดยรอบ ถ้าํ เอราวัณ สว นใหญเปน พื้นท่เี กษตรกรรม พืชหลกั คือ ออย ขา ว ขา วโพด และมนั สําปะหลัง กจิ กรรมการใชป ระโยชนที่ดนิ ท่ีอาจสง ผลกระทบตอถํ้าเอราวัณ คอื ปญหาเขมา และควนั ไฟ จากการเผาในไรออ ย เนอื่ งจากบริเวณโดยรอบถ้าํ เอราวัณสวนใหญจะเปนพ้นื ท่ีสําหรบั ปลูกออ ย โครงการพฒั นา

ถา้ํ เอราวัณ ขณะนอี้ ยูใ นความดแู ลของวัดเอราวณั ทางวัดจะมีการเก็บคาทีข่ องรานคา ในบรเิ วณ โดยรอบ ไมมีการเก็บคา เขา ถ้ํา หรอื ผทู ่ตี องการขึน้ ไปสักการะพระพุทธรูป แตจะมีการตัง้ ตเู พอ่ื รบั บริจาค 1.แผนการพฒั นาและบริหารจัดการถ้าํ ไมม ีการจดั ทําแผนเพื่อใชใ นการพฒั นา อยา งไรก็ตาม ทาง เทศบาล ตองการทีจ่ ะเขามาชวยในการ พัฒนา แตย ังอยใู นระหวางการเจรจากบั ทางวดั 2.การมสี วนรวมของชุมชน ทางเทศบาลมกี ารจดั ทาํ โครงการมคั คเุ ทศกน อย โดยการอบรมเยาวชน ท่ีอยูบรเิ วณพน้ื ที่โดยรอบถํ้า ในแตละรุนมเี ยาวชนใหความสนใจพอสมควร แตเ นือ่ งจาก เยาวชนเหลา น้ี เปน จติ อาสา ซงึ่ จะมีทงั้ กลุมท่ีตั้งใจ ทําโดยทไ่ี มไดรบั คา ตอบแทน หรอื จะไดร ับคาตอบแทนจากนกั ทองเทีย่ ว ตามทน่ี ักทองเที่ยวจะให เหลาน้ีเปน สาเหตหุ นึง่ ที่มคั คุเทศกนอยไมมคี วามตอเนื่อง 3.ปญ หา อปุ สรรค และขอ เสนอแนะเพิ่มเติมเพ่ือการบรหิ ารจดั การถ้าํ โดยภาพรวมอาจยังเปน เร่ืองการจัดการผลประโยชนท่ไี มล งตวั และความเขา ใจถงึ หลักการในการดูแล ถํา้ เอราวณั และความเปราะบางของถํา้ ของทุกภาคสวนอาจจะยังเขา ใจไมถูกกตอ ง ดังน้ัน จงึ ควรมบี ุคคล กลางที่เปน ท่ียอมรบั ของทกุ ภาคสว นท่เี กี่ยวของ รว มกบั นักวชิ าการโดยเฉพาะดานการจดั การถา้ํ มารวมกนั ชว ยในเร่ืองการวางแผนการจัดการ เพื่อให ถํา้ เอราวณั ใชประโยชนไ ดอยางย่ังยืน ส่งิ กอ สรางและสิ่งอํานวยความสะดวก บรเิ วณดา นลา งมรี านของท่รี ะลึกและทีน่ ั่งพักไวอ ํานวยความสะดวกสําหรับผูม าเยอื น นอกจากนน้ั ยัง มปี ายอธิบายรายละเอียดของถ้ําเอราวณั และปา ยกฎระเบยี บขอ หา มการเขาไปชมภายในถํา้ ซ่ึงบางปา ยลบ เลือนไปมาก ภายในถาํ้ มกี ารติดตั้งหมอแปลงไฟฟาและมีไฟทางเดนิ ตลอดทั้งถํ้าแตป จจุบันบางสวนกใ็ ชง าน ไมไ ด มกี ารประดบั ไฟฟลูออเรสเซนตสีตา งๆ ตามหินงอกหินยอย เปด ไฟตลอด 24 ช่วั โมง ซง่ึ ทางวดั รบั ผดิ ชอบคาใชจ า ย และมีการปพู ื้นหนิ ตลอดทางเดนิ ท้ังถํ้า ทางเทศบาลเปนผูจดั การดําเนินงานทั้งหมดในป พ.ศ. 2551 พรอ มทัง้ เปลีย่ นปายเหล็กแนะนําจดุ ตางๆ ซ่ึงแตเ ดิมเปน ปา ยไมจาํ นวน 19 จดุ ผลกระทบจากการใชประโยชน เน่อื งจากปจ จุบันถา้ํ เอราวัณเปนแหลง ทองเท่ียว การจดั การและดูแลถ้ําท่ีผา นมาจงึ เปนไปเพ่ือการ อํานวยความสะดวกในการทองเท่ยี วตอ ผูมาเยือน ทําใหม ีการรบกวนจากการทอ งเทยี่ ว ถาในแงผลกระทบตอ ส่ิงแวดลอ มยอ มเกดิ ข้นึ กบั โครงสรางของถา้ํ การเกดิ หนิ งอกหอนยอย หรอื แมแตส่ิงมีชีวติ ทอ่ี าศยั อยใู น ถ้ํา สว นในแงข องหลักฐานทางโบราณคดถี ือวา คณุ คา ของหลกั ฐานมคี วามสมบูรณเ นือ่ งจากไมไดถ ูกรบกวน หรือถกู ทําลาย เพราะวา เปน การนําหลกั ฐานเขา มาใหมในสมัยปจจุบัน สภาพถา้ํ ในปจ จบุ ันยงั มีความสมบรู ณอยู แตก็ไดรับผลกระทบจากการทองเทย่ี วอยบู าง เชน การขีด เขียนผนังถ้ํา หรอื การสัมผัสกับหินงอกหนิ ยอ ย จนบางสว นพังทลาย ท่สี ําคญั คือการทีม่ นุษยเขาไป

เปล่ียนแปลงสภาพแวดลอ มของถํ้าเพื่ออํานวยความสะดวกในการทองเทยี่ ว หนว ยงานท่เี กยี่ วของควรมี การศกึ ษาหรือวเิ คราะหถึงผลกระทบทอี่ าจเกิดตอถา้ํ ในอนาคต ถาํ้ เอราวัณ ตั้งอยบู า นผาอินแปลง ตําบลวงั ทอง บรเิ วณภเู ขาหนิ แขง็ ท่ีชาวบาน เรียกวา ภูเขาผาถํา้ ชาง ต้งั อยทู ี่ อําเภอนาวงั จังหวดั หนองบวั ลําภู หา งจากตวั เมืองหนองบัวลําภู ประมาณ 47กิโลเมตร ผูรับผดิ ชอบศูนยก ารเรียนรู นายบุญ ผยุ มอ ง เบอรโ ทรศพั ท 065 - 8969862 ผปู ระสานงาน นายบญุ ผยุ มอ ง เบอรโทรศัพท 065 - 8969862 2. วัดทรงธรรมบรรพต ทต่ี งั้ บานวงั สําราญ หมู 2 ตําบลวงั ทอง อาํ เภอนาวัง จังหวดั หนองบัวลําภู เปน แหลง เรียนรูดานการทองเท่ียว และดา นธรรมะ วดั ทรงธรรมบรรพต เปนวัดราษฎร สงั กดั คณะสงฆฝ ายมหานิกาย สาํ นักปฏบิ ัติธรรมประจาํ จังหวัดหนองบัวลําภู แหง ที่ 20 มคี าํ ขวญั วา “ดนิ แดนแหง ตอไมใ หญ สดใสดว ยพทุ ธรรม เลิศล้ํา ดวยหินเปด 800 ลานป ประเพณบี ุญคูนลาน หมูบานสง เสรมิ วัฒนธรรมอสี าน” ไหวพ ระ แกว ศักดสิ์ ิทธิ์ในอโุ บสถ และฟงธรรมโอวาทจากพระคุณ เจา เย่ียมชมศูนยวฒั นธรรมไทยสายใยชมุ ชนตาํ บล วงั ทอง กลมุ และภูมปิ ญ ญาทองถ่ินคนอสี านภายในชมุ ชน วดั ทรงธรรมบรรพต เปนศนู ยวัฒนธรรมไทยสายใยชมุ ชนวดั ทรงธรรมบรรพต เปน สถานที่ จัดตงั้ โครงการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน ตําบลวังทองโดยไดจ ดั ต้งั โครงการขน้ึ เมอ่ื วันท่ี 26 กันยายน 2551 และ ไดร ับการคัดเลือกใหเ ปน โครงการวฒั นธรรมไทยสายใยชมุ ชนระดบั ดเี ดนของจงั หวดั และในป 2554 ไดร บั คัดเลอื กใหเ ปนโครงการวฒั นธรรมไทยสายใยชุมชน ระดับ 4 ไดร ับโลจ ากกรมสง เสริมวัฒนธรรม กระทรวง วฒั นธรรม โดยมี พระครปู ระทปี ธรรมธร เปน เจาอาวาส และประธานโครงการ การเดินทาง หา งจากตัวเมืองหนองบวั ลําภู ประมาณ 55 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 210 เสนทางหนองบัวลาํ ภู – เลย ประโยชน : เปน แหลง เรยี นรูดา นการทองเท่ียว และดานธรรมะในชุมชน ระดับตําบล อําเภอและ จังหวัด ผูร ับผดิ ชอบศนู ยก ารเรยี นรู นายบุญ ผยุ มอง เบอรโทรศพั ท 065 - 8969862 ผปู ระสานงาน นายบญุ ผยุ มอง เบอรโทรศัพท 065 - 8969862

3. กลุม ทอผา มัดหม่ี ที่ต้ัง บา นเลขท2ี่ 68/1 บานนาเจรญิ หมู 8 ตาํ บลวังทอง อําเภอนาวงั จังหวัดหนองบัวลาํ ภู ติดตอ ไดที่ นางคําพอง พิมพวาป โทร 080 – 1973477 เปน แหลงเรยี นรูดานอาชีพ กลุมมกี ารทอผาหลายชนิด ทั้งท่ศี ูนยพฒั นาและตามบานเรือนของสมาชิก การจัดการ กลุม จดั ต้งั ข้ึนในป 2542 สมาชิกเริ่มแรก 31 คน บรหิ ารจัดการในรปู กลมุ โดยไดรบั การสนบั สนนุ งบประมาณ จากองคก ารบริหารสว นตําบลวงั ทอง และสาํ นักงานพัฒนาชุมชนอําเภอนาวงั ในการจัดซื้อวัสดอุ ุปกรณในการ ผลติ สภาพพ้นื ที่ กลุมครอบคลุมสมาชิกทัง้ หมูบานนาเจริญ 37 ครวั เรือน ชุมชน 1. กลุมสตรีและเยาวชนสหกรณบา นนาเจริญ 2. กลุมทําขนม 3. กลมุ เยบ็ ผา อาชีพหลัก ทํานา อาชพี เสรมิ ทําหัตถกรรม ประโยชน : เปน แหลง เรยี นรูดานอาชพี ในชุมชน ระดับตําบล อาํ เภอและจังหวดั ผูรบั ผิดชอบศนู ยการเรียนรู นายบุญ ผุยมอ ง เบอรโ ทรศัพท 065 - 8969862 ผปู ระสานงาน นายบุญ ผยุ มอ ง เบอรโ ทรศัพท 065 - 8969862 4. ศูนยการเรยี นรเู ศรษฐกิจพอเพยี ง ท่ีตั้ง บานวังสําราญ หมู 2 ตาํ บลวงั ทอง อําเภอนาวงั จังหวัดหนองบวั ลําภู ตดิ ตอ ไดท ี่ นายสมจิตร พลบูรณ โทร 081 – 7998840 เปนแหลงเรยี นรูดานเศรษฐกิจพอเพียง ศนู ยเรยี นรูก ารเพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลติ สินคาเกษตร ชื่อ : เทคนิคในการลดตน ทุนการผลิตขา ว ศนู ยเ รยี นรกู ารเพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลติ สนิ คาเกษตร ตาํ บลวงั ทอง อาํ เภอนาวัง จงั หวัดหนองบัวลาํ ภู

สถานทต่ี ง้ั : บา นเลขที่ 62 หมทู ่ี 7 บา นวงั สาํ ราญ ตําบลวงั ทอง อําเภอนาวงั จงั หวดั หนองบัวลําภู พิกดั : Latitude = 17.323631 Longtitude = 102.988067 ระดบั ชนั้ : พ้นื ทีเ่ ปา หมาย : 25,332 ไร เกษตรกรเปา หมาย : 5,818 ราย พชื หลัก : ขาว ชื่อเกษตรกรตนแบบ :นายสมจติ ร พลบูรณเ กิดวันท่ี 2 กรกฎาคม 2489 อายุ 70 ป เลขบตั รประชาชน 3411400413681 ทีอ่ ยู : บา นเลขท่ี 62 หมูท่ี 2 บา นวังสาํ ราญ ตาํ บลวงั ทอง อําเภอนาวัง จงั หวดั หนองบัวลําภู เบอรโทรศัพท: 081-7998840 สถานการณของพ้นื ที่ : ตน ทุนการผลิตสูงผลผลติ ตาํ่ แนวทางการพฒั นา :วธิ ีการลดตน ทุนการผลติ ขาว โดยการใชป ุยอินทรยี อยา งตอเนื่องพรอมกับการปลกู พชื ปยุ สดไถกลบ ในแปลงนา ทาํ นาแบบหวา น ทําใหตนทุนการผลติ ขา วลดลงจากเดิมเฉลี่ยไรละ 4,200 บาท ลดลง เหลือ 2,500 บาท ตอไร ลดตนทนุ ไรล ะ 1,700 บาท เทคโนโลยีของศนู ยเรียนรู : เทคนคิ ในการลดตน ทนุ การผลิตขา ว การนําไปใชป ระโยชน : ลดตน ทุนการผลิตขา ว หลกั สตู รเรียนรู: 1. การลดตน ทุนเพิม่ ผลผลติ ขาว 2. การปลกู ผกั ปลอดภัยจากสารพษิ 3. การลดตน ทุนการผลติ ยางพารา 4. การเลี้ยงไสเดอื นดิน 5. การผลิตและขยายพันธไุ สเ ดือนฝอย 6. การผลติ ปยุ อนิ ทรีย 7. การปลูกดาวเรอื ง 8. การเลี้ยงปลาในกระชังบก เครอื ขาย: - สาํ นกั งานเกษตรและสหกรณจังหวัดหนองบัวลําภู - สาํ นกั งานประมงจังหวัดหนองบัวลําภู - สาํ นักงานตรวจบัญชีสหกรณจงั หวดั หนองบัวลาํ ภู - สํานกั งานปศสุ ตั วจังหวดั หนองบวั ลาํ ภู - สํานกั งานสหกรณจ งั หวดั หนองบวั ลาํ ภู - ศูนยวิจยั ขา วอดุ รธานี

- กองทนุ สงเคราะหสวนยางหนองบัวลาํ ภู - ทว่ี า การอาํ เภอนาวัง ปจจยั ทกี่ อใหเ กดิ ความสาํ เรจ็ ไดแก การบริหารจดั การโดยเนนการปลกู พชื ใหเหมาะสมกับสภาพพ้ืน ทดี่ นิ มกี าร ปรบั ปรุงใหด ินอดุ มสมบูรณต ลอด การเตรยี มแปลงปลูกใหเ หมาะสม การปลูกพืชที่หลากหลาย ชนดิ เพอื่ ลดความเสียงจาก ราคาผลผลิตทางการเกษตรที่ไมแนน อน การจัดการนํ้าความความตอ งการของพืช การวางแผนผลผลติ ใหผ ลผลติ ออกสู ตลาดในชวงทผ่ี ูบรโิ ภคตอ งการ และมผี ลผลิตออกสตู ลาดอยา งตอเนื่อง ตลอดท้งั ป แนวคิดในการทาํ งาน นอ มนําแนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ กจิ เพยี งขององคพระบาทสมเดจ็ พระ เจา อยูหัว มาปรบั ใชในพื้นทขี่ องตน ปลกู และเลีย้ งทุกอยา งท่ีกนิ กินทุกอยางทปี่ ลูกและเล้ยี ง มีการวาง แผนการผลิตโดยคํานึงถงึ การตลาด ใชปจจยั การผลิตท่ีตนมี อยา งเหมาะสมและคุมคา เพื่อลดตนทุนการผลิต ไดมากท่สี ดุ หลักคดิ ในการประกอบอาชพี การเกษตร การทําการเกษตรตองทําใหห ลากหลาย เพ่ือลดความเส่ียง อันเน่ืองมาจากราคาสนิ คา เกษตรไมแนน อน ใชพื้นท่ใี ห คมุ คา เกิดประโยชนสงู สดุ ลดการพง่ึ พาปจ จยั ภายนอก ทสี่ าํ คัญมบี ริโภคในครัวเรือน ประโยชน : เปนแหลงเรียนรูดา นเศรษฐกิจพอเพยี งในชุมชน ระดับตาํ บล อาํ เภอและจงั หวัด ผรู ับผิดชอบศนู ยก ารเรยี นรู นายบุญ ผยุ มอ ง เบอรโ ทรศพั ท 065 - 8969862 ผปู ระสานงาน นายบญุ ผุยมอ ง เบอรโ ทรศัพท 065 - 8969862


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook