Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (20-09-64) รายงานฉบับสมบูรณ์โพลเรื่อง 60 ฝ่าวิกฤต

(20-09-64) รายงานฉบับสมบูรณ์โพลเรื่อง 60 ฝ่าวิกฤต

Published by tpso7 newsletter, 2021-09-26 09:09:23

Description: (20-09-64) รายงานฉบับสมบูรณ์โพลเรื่อง 60 ฝ่าวิกฤต

Search

Read the Text Version

รายงานฉบับสมบรู ณ์

รายงานผลโครงการขับเคลอ่ื นบรู ณาการ โครงการดา้ นสังคมในระดับพนื้ ทก่ี จิ กรรมวัดอุณหภมู ิทางสังคม (พม. POLL) คร้ังที่ 2/2564 เร่อื ง “60+ ฝา่ วิกฤติ COVID-19 ส่วู ิถถี ัดไป (Next Normal)” เสนอ สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 7 กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ โดย ศูนยส์ ำรวจความคิดเหน็ “นดิ า้ โพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์

คำนำ รายงานผลการสำรวจความคิดเห็น เรื่อง “60+ ฝ่าวิกฤติ COVID-19 สู่วิถีถัดไป (Next Normal)” มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความคิดเห็นของผู้สูงอายุที่มีต่อสถานการณ์และผลกระทบของการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และสำรวจความต้องการของผู้สูงอายุใน 5 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพกาย-จิต เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนด นโยบายหรือมาตรการการดำเนนิ งานด้านผู้สูงอายุต่อไป โดยดำเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยวิธีการลงพื้นท่ี ภาคสนาม ร่วมกับการใช้วิธีออนไลน์ จากผู้สูงอายุทั่วประเทศจำนวนทั้งสิ้น 4,400 หน่วยตัวอย่าง ในเดอื นสิงหาคม พ.ศ. 2564 อนง่ึ การสำรวจในคร้ังนส้ี ำเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี เปน็ การดำเนนิ งานรว่ มกันระหว่างศูนย์สำรวจความคิดเห็น ทางสังคม พม. POLL โดยสำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 1-11 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง ของมนุษย์ กับศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ในการร่วมกำหนด กรอบประเด็นและแนวทางการดำเนินการสำรวจ คณะผู้จัดทำ จึงขอขอบคุณกลุ่มตัวอย่างทุกท่านที่ได้สละ เวลาอนั มคี ่าของท่านในการร่วมแสดงความคดิ เห็นอนั เป็นประโยชน์ยิ่งมา ณ โอกาสน้ี ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็น “นดิ ้าโพล” สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. POLL) ก

สารบัญ หนา้ ก คำนำ ข สารบญั ค สารบญั ตาราง 1 2 1. ความเป็นมา 2 2. วัตถปุ ระสงคใ์ นการศึกษา 2 3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั 3 4. ขอบเขตการดำเนินงาน 3 5. ระเบยี บวธิ ีวิจยั 15 6. ผลการสำรวจ บรรณานกุ รม 16 ภาคผนวก 27 เอกสารเผยแพร่ผลโพล 30 กราฟิกผลโพล (ระดบั ประเทศ) 46 กราฟิกผลโพล สสว. 1–11 (ระดับกลุม่ จังหวัด) 53 แบบสอบถาม มลู คา่ สือ่ ศนู ย์สำรวจความคิดเห็นทางสงั คม (พม. POLL) ข

สารบญั ตาราง หน้า ตารางที่ 1 ลักษณะข้อมูลทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม................................................................................. 3 ตารางท่ี 2 จำนวนและร้อยละของการใช้อุปกรณส์ ่อื สารในชีวติ ประจำวันของผูส้ งู อายุ................................... 5 ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของการใช้แอปพลเิ คชนั ตา่ ง ๆ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ )............................................. 6 ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละของผลกระทบที่ไดร้ บั ในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ )............................................. 6 ตารางที่ 5 อนั ดบั และร้อยละของสิง่ ทวี่ ิตกกังวลมากที่สุด 3 อันดบั แรก ในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)............................................................................ 7 ตารางท่ี 6 จำนวนและร้อยละการได้รบั การช่วยเหลอื ตามมาตรการเยยี วยา/กระตนุ้ เศรษฐกจิ ของรฐั บาล ในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)....................... 8 ตารางท่ี 7 จำนวนและร้อยละของสาเหตทุ ี่ไม่ได้รับการชว่ ยเหลอื ตามมาตรการเยยี วยา/กระตุ้นเศรษฐกจิ ของรัฐบาล ................................................................................................................................... 9 ตารางที่ 8 จำนวนและร้อยละของสงิ่ ที่ต้องการความชว่ ยเหลอื เพม่ิ เติม.......................................................... 9 ตารางที่ 9 จำนวนและร้อยละของการรบั มือกบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ).......................................................................................... 10 ตารางท่ี 10 อนั ดับและรอ้ ยละของสง่ิ ท่ีต้องการความช่วยเหลอื มากทสี่ ดุ 3 อันดับแรก ในช่วงสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ................................................. 11 ตารางที่ 11 อันดับและร้อยละของสิง่ ต้องการให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ (พม.) มีมาตรการชว่ ยเหลือ เยยี วยาหรอื ฟ้นื ฟูมากทีส่ ุด 3 อันดับแรก ทั้งในปจั จบุ ันและอนาคต .......... 12 ตารางที่ 12 จำนวนและรอ้ ยละของแนวโนม้ การปฏิบัติตัวตามรูปแบบวิถีถดั ไป (Next Normal) ในอนาคต................................................................................................................................... 13 ตารางที่ 13 จำนวนและร้อยละของข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมที่จะช่วยใหผ้ ู้สงู อายุมคี ุณภาพชีวติ ท่ีดขี น้ึ .............. 14 ศนู ยส์ ำรวจความคิดเห็นทางสงั คม (พม. POLL) ค

โครงการสำรวจความคิดเหน็ ของประชาชน “60+ ฝ่าวกิ ฤติ COVID-19 สู่วถิ ีถดั ไป (Next Normal)” 1. ความเปน็ มา โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือ โรคโควิด-19 เป็นโรคติดต่อท่ีเกดิ จากไวรัสสายพันธุ์ โคโรนาชนิดหนึ่ง ถือเป็นไวรัสและโรคอุบัติใหม่ มีรายงานการระบาดครั้งแรกในเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีนในเดือนธันวาคมปี 2019 และทวีความรุนแรงของการระบาดกระจายเป็นวงกว้าง ทำให้เกิด ภาวะการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะอวัยวะที่สำคัญ คือ ปอด และบางรายมีอาการรุนแรง ถึงขั้นเสียชีวิต (องค์การอนามัยโลกประจำประเทศไทย, ม.ป.ป.: 1 – 9) จากช่วงแรกเริ่มของการระบาดโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้คนทั่วโลกได้มีการปรับตัวเข้าสู่ความปกติรูปแบบใหม่ในทุก ๆ ด้าน หรอื ทีเ่ รยี กกนั วา่ “New Normal” จวบจนปจั จุบนั ในปี พ.ศ. 2564 (ค.ศ. 2021) สถานการณก์ ารแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ล่วงเลยเข้าสู่ปีที่ 2 และจากผลการสำรวจผู้เชี่ยวชาญด้านสาธารณสุขทั่วโลก กว่า 100 คน ได้ระบุถึงแนวโน้มโรคอุบัติใหม่นี้ว่า อาจกลายเป็นโรคประจำถิ่น (Endemic) ที่แพร่ระบาด ในหลายพื้นที่ของโลกต่อไป (เฟอร์นานโด ดูอาร์เต, 2564) จนทำให้รูปแบบการใช้ชีวิตเปลี่ยนไปจากเดิม ที่เป็นความปกติรูปแบบใหม่ (New Normal) เข้าสู่ยุควิถีถัดไป หรือ “Next Normal” ซึ่งเป็น การให้ความสำคัญกับการระมัดระวังและป้องกันตนเองเพื่อไม่ให้ไปสร้างปัญหาต่อผู้อื่น เช่น การระวังตนเอง ด้วยการไม่เดินทางไปในพื้นที่เสี่ยงรับเชื้อ ไม่นำเชื้อไปแพร่ให้กับคนอื่น หรือมีความรับผิดชอบต่อสังคม ด้วยการกักตัวเองในกรณีที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง (สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ, ม.ป.ป.) รวมไปถึงรูปแบบการใช้ชีวิตที่เน้นการเปิดรับเทคโนโลยี บริการดิจิทัลใหม่ ๆ แพลตฟอร์มออนไลน์ ที่มุ่งเน้น คำนึงถึงเรื่องความปลอดภัยด้านสุขอนามัยและผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม ที่ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อชีวิต และระบบเศรษฐกิจในอนาคต (ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2563) การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคม เกิดขึ้นกับกลุ่มคนทุกกลุ่ม แต่บ่อนทําลายกลุ่มประชากรเปราะบาง มากท่ีสุด ได้แก่ กลุ่มคนยากจน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ เยาวชน และกลุ่มคนชาติพันธ์ุ ซึ่งหนึ่งในกลุ่มผู้ที่มี ความเสีย่ งสงู คอื กลุม่ ผ้สู ูงอายุ (องค์การอนามัยโลกประจำประเทศไทย, ม.ป.ป.: 1–16) ซึ่งโอกาสติดเชื้อไวรัส โควิด-19 ได้ง่ายมากกว่าคนในวัยอื่น ๆ เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันโรคที่ต่ำลงตามวัย ถึงแม้ว่าจะเป็นผู้ท่ีมี สุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ดีก็ตาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-Communicable Diseases: NCDs) อาทิ ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ รวมไปถึงโรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง และโรคมะเร็ง เป็นต้น ซึ่งต้องให้ความสำคัญในการดูแลเป็นพิเศษ ทง้ั ดา้ นสุขภาพร่างกายและจิตใจ (ภาณุวฒั ก์ ว่องตระกูลเรอื ง, ม.ป.ป.) ดังนั้นศูนย์สำรวจความคิดเห็นทางสังคม พม. POLL สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์ จึงทำการสำรวจสถานการณ์ ผลกระทบของการแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีต่อผู้สูงอายุในประเด็นต่าง ๆ ทั้ง 5 มิติ ได้แก่ 1) มิติสุขภาพกาย-จิต 2) มิติเศรษฐกิจ 3) มิติสิ่งแวดล้อม 4) มิติสังคม และ 5) มิติเทคโนโลยี ตลอดจนการรับมือ มาตรการ การช่วยเหลือ/เยียวยา และแนวโน้มการปฏิบัติของผู้สูงอายุตามรูปแบบวิถีถัดไป (Next Normal) เพื่อเป็น แนวทางในการกำหนดนโยบายสาธารณะหรือแผนการดำเนินงานด้านการดูแลผู้สูงอายุ และรองรับสังคม ผู้สูงอายุที่สามารถรับมือและเรียนรู้อยู่กับโรคอุบัติใหม่อย่างโควิด-19 ต่อไป เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยา่ งย่งั ยืน ศูนย์สำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. POLL) 1

2. วัตถุประสงคใ์ นการศึกษา 1. เพื่อสำรวจความคิดเห็นของผู้สูงอายุที่มีต่อสถานการณ์และผลกระทบของการแพร่ระบาดของโรค ตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2. เพื่อสำรวจความต้องการของผู้สูงอายุใน 5 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพกาย-จิต เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม และเทคโนโลยี 3. เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายหรือมาตรการการดำเนนิ งานดา้ นผู้สงู อายุต่อไป 3. ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รบั 1. ได้ทราบถึงความคิดเห็นของผู้สูงอายุที่มีต่อสถานการณ์และผลกระทบของการแพร่ระบาดของโรค ติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2. ได้ทราบถึงความต้องการของผู้สูงอายุใน 5 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพกาย-จิต เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอ้ ม และเทคโนโลยี 3. ได้ทราบถงึ แนวทางในการกำหนดนโยบายหรอื มาตรการการดำเนินงานดา้ นผูส้ ูงอายุตอ่ ไป 4. ขอบเขตการดำเนินงาน 4.1 ขอบเขตด้านประชากร กลมุ่ เปา้ หมายการสำรวจในครั้งนี้ คือ ผ้สู ูงอายทุ ่ีมอี ายุต้ังแต่ 60 ปีบริบูรณข์ ้ึนไป 4.2 ขอบเขตทางดา้ นเน้ือหา การสำรวจครั้งนี้ สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 และศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นดิ า้ โพล” ร่วมกันกำหนดขอบเขตของการสำรวจครอบคลมุ เนื้อหาดงั ต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 การใชอ้ ุปกรณส์ ื่อสาร และการใช้แอปพลเิ คชันของผสู้ งู อายุ สว่ นที่ 2 การไดร้ ับผลกระทบ ความวติ กกงั วล ได้รบั การชว่ ยเหลอื ตามมาตรการเยยี วยา/ กระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล การรับมือของผู้สูงอายุในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตลอดจนมาตรการเยียวยา การฟื้นฟู จากกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) สว่ นที่ 3 แนวโนม้ การปฏบิ ัติตวั ตามรูปแบบวิถถี ัดไป (Next Normal) ของผสู้ งู อายุในอนาคต ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติมทจี่ ะช่วยใหผ้ ู้สูงอายมุ ีคุณภาพชีวิตทีด่ ีขน้ึ 4.3 ขอบเขตดา้ นการปฏิบัตงิ าน 1. ออกแบบสอบถามและพัฒนาแบบสอบถามเพ่ือใชใ้ นการสำรวจจริง 2. กำหนดระเบียบวิธีในการวิจัย ซึง่ ประกอบดว้ ย การกำหนดประชากรเปา้ หมาย การสมุ่ ตวั อย่าง การกำหนดขนาดตวั อยา่ ง ตลอดจนแนวทางในการวิเคราะหแ์ ละประมวลผลขอ้ มูล 3. ตรวจสอบคุณภาพข้อมลู และบนั ทกึ ขอ้ มูลลงโปรแกรมสำเร็จรปู 4. วเิ คราะหแ์ ละประมวลผลข้อมูล 5. สรปุ ผลการสำรวจและนำเสนอผลโพลผ่านส่อื และเว็บไซตต์ า่ ง ๆ ศูนยส์ ำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 2

5. ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั 5.1 ลักษณะและรปู แบบการวจิ ยั การสำรวจคร้ังนี้ใชร้ ะเบียบวิธีวจิ ัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ซึ่งเปน็ ระเบียบวธิ ีวิจยั เชิงปริมาณ (Quantitative Methodology) ในการวัดและประเมินผล กำหนดขนาดตัวอย่างของหน่วยตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ และการประมวลผล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สอดคล้อง กบั วัตถุประสงค์ของการวิจัย และเป็นประโยชน์สงู สุดตอ่ สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 1-11 5.2 ประชากรเปา้ หมายและการสมุ่ ตัวอยา่ ง ประชากรเป้าหมายในการสำรวจครั้งนี้ คือ ผู้สูงอายุท่ีมีอายุตั้งแต่ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป โดยกระจายทุกภูมิภาค ทั่วประเทศ กลมุ่ ตวั อย่างท่ีสำรวจครง้ั น้ี คือ ผูส้ งู อายทุ ่ีมีอายุต้ังแต่ 60 ปบี ริบูรณข์ ้ึนไป คณะผู้วิจัยเลือกใช้วิธี การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กำหนดความน่าจะเป็นตามสัดส่วนกับจำนวน ประชากรเปา้ หมาย โดยกำหนดขนาดตัวอย่างของการสำรวจครั้งนี้ 4,400 หน่วยตัวอย่าง ภายใต้ความเชื่อม่ัน ร้อยละ 95 และคา่ ความคลาดเคลอ่ื น 0.5 5.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การสำรวจความคิดเหน็ ของประชาชนเร่อื ง 60+ ฝา่ วิกฤติ COVID-19 สวู่ ิถถี ัดไป (Next Normal) ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมลู โดยวธิ ีการลงพื้นท่ีภาคสนาม (Field Survey) เปน็ การสมั ภาษณ์จากผู้ให้คำตอบ โดยตรง (Face to Face Interview) และ/หรือการให้ตอบแบบสอบถามออนไลน์ ตามขอบเขตเนื้อหา การสำรวจในครงั้ น้ี 5.4 การวิเคราะหแ์ ละประมวลผลข้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมูลดว้ ยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถติ ิ โดยเลือกใช้สถิตเิ ชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) เป็นสถิตเิ บ้ืองตน้ ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ไดแ้ ก่ ค่าความถี่ และค่ารอ้ ยละ 6. ผลการสำรวจ การสำรวจความคดิ เห็นของประชาชนเร่อื ง 60+ ฝา่ วิกฤติ COVID-19 สวู่ ิถถี ัดไป (Next Normal) ทำการสำรวจจากผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป กระจายทุกภูมิภาคทั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 4,400 หน่วย ตวั อยา่ ง สามารถสรุปผลการสำรวจไดด้ งั น้ี ตารางที่ 1 ลักษณะข้อมลู ท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม จำนวน ร้อยละ ลกั ษณะข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1,807 41.07 เพศ 2,593 58.93 ชาย 4,400 100.00 หญิง รวมท้ังสิ้น 3,447 78.34 767 17.43 ชว่ งอายุ 176 4.00 60 - 70 ปี 10 0.23 71 - 80 ปี 100.00 81 - 90 ปี 4,400 มากกวา่ 90 ปี รวมทั้งสิน้ ศนู ย์สำรวจความคิดเห็นทางสงั คม (พม. POLL) 3

ตารางท่ี 1 (ต่อ) ลักษณะข้อมูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม จำนวน ร้อยละ ลกั ษณะข้อมูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม 801 18.20 52.77 ระดับการศึกษา 2,322 10.93 ต่ำกวา่ ประถมศึกษา 481 6.66 ประถมศึกษา 293 2.71 มธั ยมศึกษาตอนต้น 119 8.55 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช. หรือเทยี บเท่า 376 0.18 อนปุ ริญญา/ปวส. หรอื เทยี บเท่า 8 100.00 ปริญญาตรี 46.66 สูงกวา่ ปริญญาตรีขึ้นไป 4,400 41.66 รวมทั้งสน้ิ 2,053 5.82 1,833 4.25 บุคคลทีพ่ กั อาศัยอยดู่ ้วย 1.57 บุตรหลาน 256 0.04 คูส่ มรส/คู่ชวี ติ 187 100.00 ญาต/ิ พน่ี ้อง 69 56.84 อยตู่ ามลำพงั 28.18 พอ่ แม่ 2 8.36 เพ่ือน 4,400 6.62 รวมทั้งส้นิ 2,501 100.00 1,240 60.75 สถานภาพ 39.25 สมรส 368 100.00 หมา้ ย/หย่ารา้ ง/แยกกนั อยู่ 291 41.23 โสด 4,400 35.13 อยู่ด้วยกนั แต่ไม่ได้แต่งงาน 2,673 23.27 รวมทั้งสิ้น 1,727 4,400 0.37 ภาวะการทำงาน 1,102 100.00 ยงั คงทำงาน/ประกอบอาชีพอยู่ 939 12.87 ไม่ไดท้ ำงาน 622 40.61 รวมท้ังสนิ้ 10 23.84 2,673 อาชีพ (เฉพาะผทู้ ี่ยงั คงทำงาน/ประกอบอาชีพอยู่) 566 9.84 เกษตรกร/ประมง/เล้ียงสตั ว์ 1,787 4.73 คา้ ขาย/ธรุ กจิ สว่ นตวั /อาชีพอิสระ 1,049 1.18 รับจ้างท่ัวไป/ผู้ใชแ้ รงงาน 433 6.93 ไมร่ ะบุอาชพี 208 100.00 รวมทั้งส้ิน 52 305 รายได้เฉลย่ี ตอ่ เดือน 4,400 ไม่มีรายได้ ไม่เกิน 5,000 บาท 5,001 – 10,000 บาท 10,001 – 20,000 บาท 20,001 – 30,000 บาท มากกวา่ 30,000 บาท ไม่ระบรุ ายได้ รวมทั้งสน้ิ ศนู ย์สำรวจความคดิ เหน็ ทางสงั คม (พม. POLL) 4

จากตารางท่ี 1 พบวา่ ตวั อย่างร้อยละ 58.93 เปน็ เพศหญิง และร้อยละ 41.07 เป็นเพศชาย ตัวอย่าง ร้อยละ 78.34 อายุระหว่าง 60 – 70 ปี ร้อยละ 17.43 อายุระหว่าง 71 – 80 ปี ร้อยละ 4.00 อายุระหว่าง 81 – 90 ปี และร้อยละ 0.23 อายุมากกว่า 90 ปี ตัวอย่างร้อยละ 52.77 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 18.20 จบการศึกษาระดบั ต่ำกวา่ ประถมศึกษา ร้อยละ 10.93 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ร้อยละ 6.66 จบการศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. หรอื เทยี บเทา่ ร้อยละ 2.71 จบการศึกษาระดับ อนุปริญญา/ปวส. หรือเทียบเท่า ร้อยละ 8.55 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี และร้อยละ 0.18 จบการศึกษา ระดับสูงกว่าปริญญาตรีขึ้นไป ตัวอย่างร้อยละ 46.66 อาศัยอยู่กับบุตรหลาน ร้อยละ 41.66 อาศั ยอยู่กับ คู่สมรส/คู่ชวี ติ รอ้ ยละ 5.82 อาศยั อยกู่ บั ญาติ/พี่น้อง ร้อยละ 4.25 อาศยั อยู่ตามลำพัง รอ้ ยละ 1.57 อาศัยอยู่ กับพ่อ แม่ และร้อยละ 0.04 อาศัยอยู่กับเพื่อน ตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 56.84 สมรสแล้ว ร้อยละ 28.18 หม้าย/หยา่ ร้าง/แยกกนั อยู่ รอ้ ยละ 8.36 โสด และรอ้ ยละ 6.62 อย่ดู ้วยกนั แต่ไม่ได้แต่งงาน ตัวอยา่ งร้อยละ 60.75 ยงั คงทำงาน/ประกอบอาชีพอยู่ ขณะท่ีร้อยละ 39.25 ไม่ไดท้ ำงาน โดยในจำนวน ผ้สู งู อายทุ ยี่ งั คงทำงาน/ประกอบอาชพี อยู่ รอ้ ยละ 41.23 เปน็ เกษตรกร/ประมง/เล้ยี งสัตว์ ร้อยละ 35.13 ค้าขาย/ ธรุ กิจส่วนตวั /อาชีพอิสระ รอ้ ยละ 23.27 รบั จ้างท่ัวไป/ผ้ใู ชแ้ รงงาน และรอ้ ยละ 0.37 ไม่ระบอุ าชพี ตัวอย่างร้อยละ 40.61 มีรายได้ไม่เกิน 5,000 บาท/เดือน ร้อยละ 23.84 รายได้ 5,001 – 10,000 บาท/เดือน ร้อยละ 12.87 ไม่มีรายได้ ร้อยละ 9.84 รายได้ 10,001 – 20,000 บาท/เดือน ร้อยละ 6.93 ไม่ระบุรายได้ร้อยละ 4.73 รายได้ 20,001 – 30,000 บาท/เดือน และร้อยละ 1.18 รายได้มากกว่า 30,000 บาท/เดอื น ตารางท่ี 2 จำนวนและร้อยละของการใช้อุปกรณส์ อ่ื สารในชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ จำนวน ร้อยละ การใช้อุปกรณส์ ่อื สารในชีวติ ประจำวันของผสู้ ูงอายุ 3,668 83.36 1,249 66.66 ใช้ อุปกรณ์สอ่ื สารที่ใช้ (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) 2,445 34.05 มือถือแบบสมารท์ โฟน มอื ถือแบบไมใช่สมาร์ทโฟน 177 5.94 คอมพิวเตอร์ต้ังโตะ๊ โน้ตบกุ๊ /แลป็ ทอ็ ป 218 4.83 แท็บเล็ต 44 1.20 นาฬิกาอัจฉรยิ ะ (สมารท์ วอทช์) 732 16.64 4,400 100.00 ไมใ่ ช้ รวมท้ังสิ้น จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 83.36 ระบุว่า ใช้อุปกรณ์สื่อสารในชีวิตประจำวัน ขณะที่ ร้อยละ 16.64 ระบุว่า ไม่ใช้ ซึ่งในจำนวนผู้สูงอายุที่ใช้อุปกรณ์สื่อสารในชีวิตประจำวัน ส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 66.66 ใชม้ อื ถอื แบบสมาร์ทโฟน รองลงมา รอ้ ยละ 34.05 ใช้มือถอื แบบไมใช่สมาร์ทโฟน รอ้ ยละ 5.94 ใช้คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ โน้ตบุ๊ก/แล็ปท็อป ร้อยละ 4.83 ใช้แท็บเล็ต และร้อยละ 1.20 ใช้นาฬิกาอัจฉริ ยะ (สมาร์ทวอทช์) ศูนยส์ ำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. POLL) 5

ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละของการใช้แอปพลิเคชันตา่ ง ๆ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) การใช้แอปพลเิ คชนั ต่าง ๆ ในชว่ งสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด จำนวน ร้อยละ ของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ใช้ แอปพลิเคชันตา่ ง ๆ (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) 2,303 62.79 ไลน์ 2,077 90.19 เฟซบกุ๊ 1,552 67.39 ยทู บู 1,208 52.45 กูเกลิ้ โครม 633 27.49 สง่ั ซ้อื สินค้าการบริการออนไลน์ 382 16.59 การเงนิ ธนาคาร โอน รบั จา่ ยเงนิ 373 16.20 อเี มล 168 7.29 ทวิตเตอร์ 90 3.91 ติ๊กตอ็ ก 3 0.13 ไมใ่ ชแ้ อปพลิเคชัน 1,365 37.21 รวม 3,668 100.00 หมายเหตุ: เฉพาะผู้ที่ใช้อุปกรณ์สื่อสาร แบบมือถือแบบสมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ โน้ตบุ๊ก/แล็ปท็อป แทบ็ เล็ต และนาฬิกาอจั ฉริยะ (สมาร์ทวอทช)์ จำนวน 2,303 หน่วยตัวอย่าง จากตารางที่ 3 พบว่า การใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 62.79 ระบุว่า ใช้แอปพลิเคชนั ต่าง ๆ และร้อยละ 37.21 ระบุว่า ไม่ใช้แอปพลิเคชัน ซึ่งในจำนวนผู้สูงอายุที่ใช้แอปพลิเคชัน ส่วนใหญ่ ร้อยละ 90.19 ระบุว่า ใช้ไลน์ รองลงมา รอ้ ยละ 67.39 ใช้เฟซบุ๊ก รอ้ ยละ 52.45 ใชย้ ทู บู รอ้ ยละ 27.49 ใช้กเู กลิ้ โครม ร้อยละ 16.59 ใช้แอปพลิเคชันเกี่ยวกับการสั่งซื้อสินค้าการบริการออนไลน์ ร้อยละ 16.20 ใช้แอปพลิเคชันเกี่ยวกับการเงิน ธนาคาร โอน รบั จา่ ยเงิน รอ้ ยละ 7.29 ใช้อีเมล ร้อยละ 3.91 ใช้ทวิตเตอร์ และร้อยละ 0.13 ใชต้ กิ๊ ตอ็ ก ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละของผลกระทบที่ได้รับในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ผลกระทบทไ่ี ดร้ ับในชว่ งสถานการณก์ ารแพร่ระบาด จำนวน ร้อยละ ของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เกดิ ความเครียด วิตกกงั วล 3,960 90.00 รายไดล้ ดลง มภี าระค่าใช้จ่าย หนี้สนิ มากขึ้น 2,610 59.32 การออกไปพบปะสังสรรค์ ทำกิจกรรมนอกบ้าน ลดน้อยลง 2,106 47.86 มเี วลาใส่ใจดแู ลสขุ ภาพตวั เองมากขึ้น 1,939 44.07 ผ้สู ูงอายุตอ้ งใช้เทคโนโลยซี งึ่ เป็นสง่ิ ที่ยากและเป็นภาระ 1,049 23.84 ความสมั พันธร์ ะหว่างบคุ คลในครอบครัวเพม่ิ ข้นึ 1,039 23.61 มกี ารจดั การดูแลสภาพแวดลอ้ ม ท่พี กั อาศยั และชุมชนให้สะอาด ถูกหลกั อนามัย 989 22.48 มีการปรับใช้เทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น เช่น มีการพูดคุย สื่อสารทางสังคมออนไลน์ 889 20.20 มากขน้ึ ศนู ยส์ ำรวจความคดิ เหน็ ทางสังคม (พม. POLL) 6

ตารางที่ 4 (ต่อ) จำนวนและร้อยละของผลกระทบที่ได้รับในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ผลกระทบทไี่ ดร้ บั ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาด จำนวน รอ้ ยละ ของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปริมาณขยะมลู ฝอยและขยะติดเช้ือเพ่ิมมากข้ึน 830 18.86 กิจการ ธุรกิจการคา้ ขายประสบปัญหา หยุด พัก เลิกกิจการ ไม่สามารถส่งงาน/ 679 15.43 สนิ ค้าให้แก่ผ้บู ริโภคได้ทันตามระยะเวลาทก่ี ำหนด รายได้เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากมีการปรับตัวของกิจการ ธุรกิจการค้าขาย สินค้า 212 4.82 การบริการ จากตารางท่ี 4 พบวา่ ผลกระทบที่ไดร้ บั ในช่วงสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้สูงอายสุ ว่ นใหญ่ รอ้ ยละ 90.00 ไดร้ บั ผลกระทบโดยเกิดความเครยี ด วิตกกังวล รองลงมา ร้อยละ 59.32 รายได้ลดลง มีภาระค่าใช้จ่าย หนี้สินมากขึ้น ร้อยละ 47.86 การออกไปพบปะสังสรรค์ ทำกิจกรรมนอกบ้าน ลดน้อยลง ร้อยละ 44.07 มีเวลาใสใ่ จดูแลสุขภาพตัวเองมากขึ้น ร้อยละ 23.84 ผู้สูงอายุ ต้องใช้เทคโนโลยีซึ่งเป็นสิ่งที่ยากและเป็นภาระ ร้อยละ 23.61 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในครอบครัว เพิ่มขึ้น ร้อยละ 22.48 มีการจัดการดูแลสภาพแวดล้อม ที่พักอาศัยและชุมชนให้สะอาด ถูกหลักอนามัย ร้อยละ 20.20 มีการปรับใช้เทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น เช่น มีการพูดคุย สื่อสารทางสังคมออนไลน์มากข้ึน ร้อยละ 18.86 ปริมาณขยะมูลฝอยและขยะติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 15.43 กิจการ ธุรกิจการค้าขาย ประสบปัญหา หยุด พักเลิกกิจการ ไม่สามารถส่งงาน/สินค้าให้แก่ผู้บริโภคได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด และรอ้ ยละ 4.82 รายไดเ้ พม่ิ มากขนึ้ เนอ่ื งจากมกี ารปรับตัวของกิจการ ธุรกิจการคา้ ขาย สนิ ค้า และการบรกิ าร ตารางท่ี 5 อนั ดบั และรอ้ ยละของสิง่ ทว่ี ิตกกังวลมากทส่ี ุด 3 อนั ดับแรก ในชว่ งสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) อันดับ สงิ่ ที่วติ กกงั วลมากทสี่ ดุ 3 อันดับแรก ในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ร้อยละ ของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 1 เกิดความเครยี ดและกังวลวา่ จะติดเชอื้ 31.88 2 รายได้ รายจ่าย ภาระหนี้สนิ 17.58 3 การทำมาหาเลีย้ งชพี การประกอบอาชพี 13.89 4 ชวี ติ ความเป็นอยูข่ องตนเองและบคุ คลในครอบครวั 11.78 5 การเขา้ รบั บริการสาธารณสุข เช่น การตรวจ การรกั ษา การรับยารกั ษาโรค 10.20 การรับวคั ซนี การเดินทางไปสถานพยาบาล 6 สถานการณ์และการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 9.60 (COVID-19) 7 การได้รับสวัสดิการทางสังคมจากภาครัฐอย่างมีความเหมาะสม เท่าเทียม 3.10 และเปน็ ธรรม 8 การใชอ้ ุปกรณ์และเทคโนโลยตี า่ ง ๆ 1.97 ศนู ยส์ ำรวจความคดิ เหน็ ทางสงั คม (พม. POLL) 7

จากตารางที่ 5 พบว่า สิ่งที่ผู้สูงอายุวิตกกังวลในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อันดับ 1 ร้อยละ 31.88 ระบุว่า เกิดความเครียดและกังวลว่าจะติดเช้ือ อันดับ 2 ร้อยละ 17.58 ระบุว่า รายได้ รายจ่าย ภาระหนี้สิน อันดับ 3 ร้อยละ 13.89 ระบุว่า การทำมาหา เลี้ยงชีพ การประกอบอาชีพ อันดับ 4 ร้อยละ 11.78 ระบุว่า ชีวิตความเป็นอยู่ของตนเองและบุคคล ในครอบครวั อันดับ 5 รอ้ ยละ 10.20 ระบวุ ่า การเข้ารบั บริการสาธารณสุข เช่น การตรวจ การรกั ษา การรับ ยารักษาโรค การรับวัคซีน การเดินทางไปสถานพยาบาล อันดับ 6 ร้อยละ 9.60 สถานการณ์และการแก้ไข ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) อนั ดบั 7 รอ้ ยละ 3.10 ระบุวา่ การไดร้ บั สวัสดิการทางสังคมจากภาครัฐอย่างมีความเหมาะสม เท่าเทียมและเป็นธรรม และอันดับ 8 รอ้ ยละ 1.97 การใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยตี ่าง ๆ ตารางที่ 6 จำนวนและร้อยละการได้รับการช่วยเหลือตามมาตรการเยียวยา/กระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล ในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การได้รบั การชว่ ยเหลือตามมาตรการเยยี วยา/กระตุ้นเศรษฐกจิ ของรัฐบาล จำนวน รอ้ ยละ ไดร้ ับ มาตรการเยยี วยา/กระตนุ้ เศรษฐกิจของรฐั บาล (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ) 4,248 96.55 การลดคา่ นำ้ คา่ ไฟฟ้า 1,932 45.48 บตั รสวัสดกิ ารแห่งรฐั 1,865 43.90 คนละคร่ึง 1,574 37.05 เราชนะ 1,565 36.84 เงินเยยี วยาผูส้ ูงอายุ เดือนละ 1,000 บาท เป็นเวลา 3 เดือน 1,156 27.21 หเงรนิ อื เยเงียินวสยงาเผคปู้ราระหก์ฉอุกบเอฉานิ ชอีพืน่ อิสๆระ หรือเกษตรกรรายย่อย การพักชำระหน้ี 467 10.99 เงนิ เยยี วยากล่มุ เปราะบาง 380 8.95 ไมไ่ ดร้ บั 2 0.05 152 3.45 รวมท้ังสน้ิ 4,400 100.00 จากตารางที่ 6 พบว่า การได้รับการช่วยเหลือตามมาตรการเยียวยา/กระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 96.55 ระบวุ า่ ไดร้ ับ และร้อยละ 3.45 ระบวุ า่ ไม่ไดร้ บั โดยในจำนวนผสู้ ูงอายุท่รี ะบวุ ่าได้รับ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 45.48 ระบุว่า เป็นการลดค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า รองลงมา ร้อยละ 43.90 ระบุว่า เป็นบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ร้อยละ 37.05 ระบุว่า เป็นโครงการคนละครึ่ง ร้อยละ 36.84 ระบุว่า เป็นโครงการเราชนะ ร้อยละ 27.21 ระบุว่า เป็นเงินเยียวยาผู้สูงอายุ เดือนละ 1,000 บาท เป็นเวลา 3 เดือน ร้อยละ 10.99 ระบุว่า เป็นเงินเยียวยา ผู้ประกอบอาชีพอิสระ หรือเกษตรกรรายย่อย ร้อยละ 8.95 ระบุว่า เป็นการพักชำระหนี้ และร้อยละ 0.05 ระบวุ ่า เปน็ เงินเยยี วยากล่มุ เปราะบาง ศูนยส์ ำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 8

ตารางที่ 7 จำนวนและร้อยละของสาเหตทุ ี่ไม่ไดร้ บั การช่วยเหลือตามมาตรการเยียวยา/กระตุ้นเศรษฐกจิ ของรัฐบาล สาเหตทุ ี่ไม่ไดร้ ับการชว่ ยเหลือ จำนวน รอ้ ยละ สาเหตทุ ไี่ ม่ได้รับการชว่ ยเหลอื 96 63.16 เปน็ ข้าราชการบำนาญ 37 38.54 ไม่ไดล้ งทะเบียน 15 15.63 ตอ้ งการให้คนทเ่ี ดอื ดรอ้ นกว่า ยังพอชว่ ยเหลอื ตนเองได้ มธี ุรกิจเป็นของตวั เอง 12 12.50 มที ่ดี นิ ทำกิน และมีบตุ รหลานคอยจนุ เจืออยบู่ ้าง เป็นผ้สู งู อายใุ ชโ้ ทรศพั ทล์ งทะเบยี นไมเ่ ป็น ไม่มใี ครลงทะเบยี นให้ 11 11.46 ไมไ่ ดใ้ ช้มือถือสมารท์ โฟน 9 9.37 คณุ สมบตั ิไมเ่ ขา้ เกณฑ์ 9 9.37 ลงทะเบียนไมท่ นั 3 3.13 ไม่ระบุสาเหตุ 56 36.84 รวมท้ังสิ้น 152 100.00 จากตารางที่ 7 พบว่า ในจำนวนผู้สูงอายุที่ระบุสาเหตุที่ไม่ได้รับการช่วยเหลือตามมาตรการเยียวยา/ กระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 38.54 ระบุว่าเนื่องจากเป็นข้าราชการบำนาญ รองลงมา ร้อยละ 15.63 ระบุว่า ไม่ได้ลงทะเบียน ร้อยละ 12.50 ระบุว่า ต้องการให้คนที่เดือดร้อนกว่า ยังพอชว่ ยเหลือตนเองได้ มธี ุรกิจเปน็ ของตวั เองมีท่ดี ินทำกิน และมบี ตุ รหลานคอยจนุ เจอื อย่บู ้าง ร้อยละ 11.46 ระบุว่า เป็นผู้สูงอายุใช้โทรศัพท์ลงทะเบียนไม่เป็น ไม่มีใครลงทะเบียนให้ ร้อยละ 9.37 ระบุว่า ไม่ได้ใช้มือถือ สมารท์ โฟน และคณุ สมบัตไิ มเ่ ข้าเกณฑ์ ในสัดส่วนที่เท่ากนั และรอ้ ยละ 3.13 ระบุวา่ ลงทะเบียนไมท่ ัน ตารางที่ 8 จำนวนและร้อยละของสงิ่ ท่ีต้องการความช่วยเหลือเพ่ิมเติม จำนวน รอ้ ยละ สิ่งที่ต้องการความช่วยเหลือเพมิ่ เตมิ 217 23.77 145 15.88 การชว่ ยเหลอื เยียวยาจากภาครฐั เช่น ค่าเช่าบ้าน คา่ อนิ เทอร์เน็ต วัคซนี ปอ้ งกนั เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทมี่ ีประสิทธภิ าพ เพียงพอตอ่ 141 15.44 ความตอ้ งการ และได้รบั การจัดสรรอย่างทวั่ ถงึ ช่วยเหลือเรอ่ื ง อาหาร สนิ ค้าอปุ โภคบริโภค เครอ่ื งนงุ่ หม่ ยารักษาโรค หน้ากากอนามัย 131 14.35 เจลล้างมอื และสเปรยแ์ อลกอฮอล์ เพ่มิ วงเงินและขยายระยะเวลาในการช่วยเหลอื เยียวยาผา่ นโครงการต่าง ๆ ของรัฐ 131 14.35 เชน่ โครงการบตั รสวสั ดิการแหง่ รัฐ โครงการคนละคร่ึง 49 5.37 เพิม่ เงินสวสั ดิการตา่ ง ๆ เช่น เบยี้ ยังชีพผ้สู งู อายุ เงินสงเคราะห์ และเงินสวัสดิการอื่น ๆ 47 5.15 31 3.39 การเขา้ รบั การรักษาและบรกิ ารสาธารณสขุ อย่างท่วั ถึง 19 2.08 2 0.22 สง่ เสริมด้านการประกอบอาชีพทงั้ อาชพี หลักและอาชพี เสรมิ ชว่ ยเหลอื เรอื่ ง เงนิ กู้ เงินลงทนุ หมนุ เวยี นในการประกอบอาชพี ทีม่ ีอัตราดอกเบ้ียต่ำ การตง้ั จุดตรวจหาเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ฟรี และสามารถเข้าถึงไดง้ า่ ย ผสู้ ูงอายสุ ามารถเข้าถึงบริการของรัฐได้อย่างทวั่ ถึง หมายเหตุ: เฉพาะผ้ทู แี่ สดงความคิดเห็นจำนวน 913 หนว่ ยตัวอย่าง ศนู ย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสังคม (พม. POLL) 9

จากตารางท่ี 8 พบวา่ ในจำนวนผ้สู ูงอายทุ ่ีระบุถึงสิ่งที่ต้องการความช่วยเหลือเพ่ิมเติม ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 23.77 การช่วยเหลือเยียวยาจากภาครัฐ เช่น ค่าเช่าบ้าน ค่าอินเทอร์เน็ต รองลงมา ร้อยละ 15.88 วัคซีนป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีประสิทธิภาพ เพียงพอต่อความต้องการ และได้รับการ จดั สรรอย่างทั่วถึง รอ้ ยละ 15.44 ความชว่ ยเหลือเรื่อง อาหาร สนิ ค้าอุปโภคบริโภค เครอื่ งนุ่งห่ม ยารักษาโรค หน้ากากอนามัย เจลล้างมือ และสเปรย์แอลกอฮอล์ ร้อยละ 14.35 เพิ่มวงเงินและขยายระยะเวลา ในการช่วยเหลือเยียวยาผ่านโครงการต่าง ๆ ของรัฐ เช่น โครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โครงการคนละคร่ึง และเพิ่มเงินสวัสดิการต่าง ๆ เช่น เบยี้ ยังชีพผู้สูงอายุ เงินสงเคราะห์ และเงนิ สวัสดกิ ารอื่น ๆ ในสดั สว่ นที่เทา่ กัน ร้อยละ 5.37 ระบุว่า การเข้ารับการรักษาและบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึง ร้อยละ 5.15 ส่งเสริม ด้านการประกอบอาชีพทั้งอาชีพหลักและอาชีพเสริม ร้อยละ 3.39 ความช่วยเหลือเรื่องเงินกู้ เงินลงทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพที่มีอัตราดอกเบี้ยต่ำ ร้อยละ 2.08 ระบุว่า การตั้งจุดตรวจหา เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ฟรี และสามารถเข้าถึงได้ง่าย และร้อยละ 0.22 ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึง บรกิ ารของรฐั ได้อยา่ งท่ัวถึง ตารางท่ี 9 จำนวนและรอ้ ยละของการรับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ) การรับมอื กับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จำนวน ร้อยละ ตดิ ตามข้อมลู ข่าวสาร เก่ียวกับสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั 3,806 86.50 โคโรนา 2019 (COVID-19) ปฏบิ ัตติ นตามนโยบายมาตรการการควบคมุ ของรฐั 3,573 81.20 ฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 2,287 51.98 ใช้สมนุ ไพรทางเลอื กมากขึ้น เชน่ ฟ้าทะลายโจร กระชาย เป็นต้น 1,895 43.07 เตรียมอาหาร ข้าวของเคร่ืองใชอ้ ุปโภค บริโภค ให้เพยี งพอ 1,282 29.14 ปรับเปลี่ยนวางแผนการเข้ารับการบริการทางสาธารณสุข เช่น การเลื่อนนัดพบแพทย์ 1,131 25.70 การรบั ยาทางไปรษณีย์หรือ รพสต. อสม. ร้านขายยาใกลบ้ ้านทไี่ ดร้ ับการรับรอง เป็นตน้ ออกกำลงั กาย 1,127 25.61 เขา้ รับการตรวจหาเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 1,110 25.23 วางแผนการใช้จา่ ยเงิน และทำบัญชคี รวั เรือน 879 19.98 ปฏิบัตติ ามหลกั ศาสนา 829 18.84 ทำงานอดเิ รกเพ่มิ มากขึ้น เช่น อ่านหนงั สอื ดูหนงั ฟังเพลง ปลกู ต้นไม้ เล้ียงสัตว์ 792 18.00 งานฝีมือหัตถกรรม เป็นต้น เรียนรู้ ฝึกทักษะ หาแนวทางประกอบอาชพี เสริม 302 6.86 จากตารางที่ 9 พบว่า การรับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 86.50 ระบุว่า มีการรับมือกับสถานการณ์โดยติดตามข้อมูล ข่าวสาร เกี่ยวกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รองลงมา ร้อยละ 81.20 ระบุว่า ปฏิบัติตนตามนโยบายมาตรการการควบคุมของรัฐ ร้อยละ 51.98 ระบุว่า ฉีดวัคซีนป้องกัน เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ร้อยละ 43.07 ระบุว่า ใช้สมุนไพรทางเลือกมากขึ้น เช่น ฟ้าทะลายโจร กระชาย เป็นต้น ร้อยละ 29.14 ระบุว่า เตรียมอาหาร ข้าวของเครื่องใช้อุปโภค บริโภค ให้เพียงพอ ร้อยละ 25.70 ระบุว่า ปรับเปลี่ยนวางแผนการเข้ารับการบริการทางสาธารณสุข เช่น การเลื่อนนัดพบแพทย์ ศูนยส์ ำรวจความคดิ เหน็ ทางสังคม (พม. POLL) 10

การรับยาทางไปรษณยี ห์ รือ รพสต. อสม. รา้ นขายยาใกลบ้ า้ นที่ไดร้ ับการรบั รอง เป็นต้น รอ้ ยละ 25.61 ระบุว่า ออกกำลังกาย ร้อยละ 25.23 ระบุว่า เข้ารับการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ร้อยละ 19.98 ระบุว่า วางแผนการใช้จ่ายเงิน และทำบัญชีครัวเรือน ร้อยละ 18.84 ระบุว่า ปฏิบัติตามหลักศาสนา ร้อยละ 18.00 ระบุว่า ทำงานอดิเรกเพิ่มมากขึ้น เช่น อ่านหนังสือ ดูหนัง ฟังเพลง ปลูกต้นไม้ เลี้ยงสัตว์ งานฝีมือ หตั ถกรรม เป็นตน้ และร้อยละ 6.86 ระบุว่า เรยี นรู้ ฝกึ ทกั ษะ หาแนวทางประกอบอาชพี เสริม ตารางที่ 10 อันดับและร้อยละของสิ่งที่ต้องการความช่วยเหลือมากที่สุด 3 อันดับแรก ในช่วงสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อันดบั สงิ่ ท่ีต้องการความชว่ ยเหลือมากทสี่ ุด 3 อนั ดับแรก รอ้ ยละ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 1 ฉีดวคั ซนี ป้องกนั เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 23.56 2 การชว่ ยเหลือฟนื้ ฟู เยยี วยา เช่น การจ่ายเงินเยยี วยาและชดเชย การสร้างงาน สร้างอาชีพ 18.33 3 อาหาร ยารกั ษาโรค เคร่อื งนงุ่ หม่ ที่พักอาศยั ทถ่ี ูกสุขลักษณะ หนา้ กากอนามยั เจลลา้ งมือ 15.40 4 การเขา้ รับการรกั ษา สถานทรี่ กั ษา รถรบั สง่ ผปู้ ่วย เตยี งผปู้ ่วย 11.33 5 เขา้ รับการตรวจหาเชอ้ื 10.98 6 การเข้ามาพูดคุย ให้กำลังใจ ให้คำแนะนำการปฏิบตั ิตวั จากภาคเี ครือข่ายภาครฐั และเอกชน 5.33 7 การไดร้ ับการดแู ลเอาใจใส่ การชว่ ยเหลือเกอ้ื กลู จากบคุ คลในครอบครวั หรอื คนรอบข้าง 4.90 8 การเขา้ มาฉีดพน่ ยาฆ่าเชื้อตามท่ีพักอาศยั 4.73 9 การปรับสภาพและซ่อมแซมทอ่ี ย่อู าศยั ให้เหมาะสม 2.54 10 การเข้ารว่ มกิจกรรมผู้สูงอายุ เช่น ชมรม/โรงเรียนผู้สูงอายุ 1.81 11 สอนหรอื ชว่ ยแนะนำการใชอ้ ปุ กรณแ์ ละเทคโนโลยี 1.09 จากตารางท่ี 10 พบว่า สงิ่ ที่ผูส้ ูงอายุตอ้ งการความชว่ ยเหลอื ในช่วงสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) อนั ดบั 1 รอ้ ยละ 23.56 คอื การฉดี วัคซีนป้องกันเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อันดับ 2 ร้อยละ 18.33 การช่วยเหลือฟื้นฟู เยียวยา เช่น การจ่ายเงินเยียวยาและชดเชย การสร้างงาน สร้างอาชีพ อันดับ 3 ร้อยละ 15.40 อาหาร ยารักษาโรค เครื่องนุ่งห่ม ที่พักอาศัยที่ถูกสุขลักษณะ หน้ากากอนามัย เจลล้างมือ อันดับ 4 ร้อยละ 11.33 การเข้ารับการรักษา สถานที่รักษา รถรับส่งผู้ป่วย เตียงผู้ป่วย อันดับ 5 ร้อยละ 10.98 เข้ารับการตรวจหาเชื้อ อันดับ 6 ร้อยละ 5.33 การเข้ามาพูดคุย ให้กำลังใจ ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัว จากภาคีเครือข่ายภาครัฐและเอกชน อันดับ 7 ร้อยละ 4.90 การได้รับ การดูแลเอาใจใส่ การช่วยเหลือเกื้อกูล จากบุคคลในครอบครัวหรือคนรอบข้าง อันดับ 8 ร้อยละ 4.73 การเข้ามาฉีดพ่นยาฆ่าเชื้อตามที่พักอาศัย อันดับ 9 ร้อยละ 2.54 การปรับสภาพ และซ่อมแซมที่อยู่อาศัย ให้เหมาะสม อันดับ 10 ร้อยละ 1.81 การเข้าร่วมกิจกรรมผู้สูงอายุ เช่น ชมรม/โรงเรียนผู้สูงอายุ และอนั ดบั 11 ร้อยละ 1.09 สอนหรือช่วยแนะนำการใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยี ศูนยส์ ำรวจความคิดเหน็ ทางสงั คม (พม. POLL) 11

ตารางท่ี 11 อนั ดบั และรอ้ ยละของส่งิ ต้องการใหก้ ระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มมี าตรการชว่ ยเหลือ เยียวยาหรือฟ้นื ฟมู ากท่ีสดุ 3 อันดับแรก ทัง้ ในปจั จุบันและอนาคต อันดับ สงิ่ ต้องการให้กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ (พม.) รอ้ ยละ มีมาตรการช่วยเหลอื เยยี วยาหรอื ฟื้นฟูมากท่ีสดุ 3 อันดบั แรก ท้ังในปัจจุบนั และอนาคต 1 สามารถติดตอ่ ขอรบั ความชว่ ยเหลือไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเร็ว ทนั เวลา 16.80 2 สง่ เสรมิ การมงี านทำ พฒั นาทกั ษะอาชพี ตามความถนัดและความสนใจ 14.50 3 เพิ่มวงเงินกู้ยืมเงินกองทนุ ประกอบอาชีพสำหรบั ผ้สู ูงอายุ 14.03 4 อำนวยความสะดวกในการติดตอ่ ประสานงานกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง เพื่อเข้าถึง 12.43 การดูแลสุขภาพ 5 มชี ่องทางใหบ้ ริการขอ้ มูลขา่ วสารทจี่ ำเป็นตอ่ การดำรงชวี ิต และมคี วามนา่ เช่อื ถือ 10.17 6 สง่ เสริมกจิ กรรมยามว่างหรือกจิ กรรมการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ผู้สงู อายุ 9.47 7 สิ่งอำนวยความสะดวกด้านอาคารสถานที่ทางอารยสถาปัตย์ต่าง ๆ ข้าวของเครื่องใช้ 7.44 ตามสภาพความจำเปน็ สำหรับผสู้ งู อายุ 8 มเี จา้ หน้าทเี่ ข้ามาพูดคุย ใหก้ ำลงั ใจ 5.47 9 จัดหาทีพ่ กั อาศยั สำหรบั ผู้สงู อายุ (ชัว่ คราว/ถาวร) 4.72 10 สง่ เสริมการเรยี นรู้พัฒนาศักยภาพด้านความร้เู ท่าทันสื่อให้กับผสู้ ูงอายุให้เข้าใจ และใช้ 4.68 เครอื่ งมือเทคโนโลยีไดง้ ่าย 11 อนื่ ๆ ไดแ้ ก่ เพม่ิ เงนิ สงเคราะห์ เครือ่ งอุปโภค/บรโิ ภค และอาหารเพื่อยงั ชีพ 0.29 จากตารางที่ 11 พบว่า สิ่งที่ผูส้ งู อายุต้องการให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มีมาตรการช่วยเหลือ เยียวยาหรือฟืน้ ฟู ทั้งในปัจจุบันและอนาคต อันดับ 1 ร้อยละ 16.80 คือ สามารถติดต่อ ขอรับความช่วยเหลือได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทันเวลา อันดับ 2 ร้อยละ 14.50 ส่งเสริมการมีงานทำ พัฒนา ทักษะอาชีพตามความถนัดและความสนใจ อันดับ 3 ร้อยละ 14.03 เพิ่มวงเงินกู้ยืมเงินกองทุนประกอบอาชีพ สำหรับผสู้ งู อายุ อนั ดบั 4 รอ้ ยละ 12.43 อำนวยความสะดวกในการติดตอ่ ประสานงานกับหน่วยงานท่เี ก่ียวข้อง เพ่อื เขา้ ถงึ การดแู ลสขุ ภาพ อนั ดบั 5 ร้อยละ 10.17 มชี อ่ งทางให้บรกิ ารขอ้ มูลข่าวสารท่ีจำเป็นตอ่ การดำรงชีวิต และมีความน่าเชื่อถือ อันดับ 6 ร้อยละ 9.47 ส่งเสริมกิจกรรมยามว่างหรือกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ อันดับ 7 ร้อยละ 7.44 สิ่งอำนวยความสะดวกด้านอาคารสถานที่ทางอารยสถาปัตย์ต่าง ๆ ข้าวของ เครื่องใช้ตามสภาพความจำเป็นสำหรับผู้สูงอายุ อันดับ 8 ร้อยละ 5.47 มีเจ้าหน้าที่เข้ามาพูดคุย ให้กำลังใจ อันดับ 9 ร้อยละ 4.72 จัดหาที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุ (ชั่วคราว/ถาวร)อันดับ 10 ร้อยละ 4.68 ส่งเสริม การเรียนรู้พัฒนาศักยภาพด้านความรู้เท่าทันสื่อให้กับผู้สูงอายุให้เข้าใจ และใช้เครื่องมือเทคโนโลยีได้ง่าย และอนั ดบั 11 รอ้ ยละ 0.29 อนื่ ๆ ไดแ้ ก่ เพิม่ เงินสงเคราะห์ เคร่อื งอุปโภค/บริโภค และอาหารเพือ่ ยงั ชีพ ศูนยส์ ำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 12

ตารางท่ี 12 จำนวนและรอ้ ยละของแนวโนม้ การปฏิบตั ิตวั ตามรปู แบบวิถีถัดไป (Next Normal) ในอนาคต รปู แบบวิถีถดั ไป (Next Normal) ในอนาคต แนวโนม้ การปฏบิ ัติในอนาคต รวม ทำ ไม่ทำ ไม่แน่ใจ ดูแลสขุ ภาพร่างกายใหแ้ ขง็ แรงอยูเ่ สมอ 4,341 21 38 4,400 (ออกกำลังกาย ล้างมอื บ่อย ๆ สวมใสห่ นา้ กากอนามยั เม่ือออกนอก (98.66) (0.48) (0.86) (100.00) บา้ น เวน้ ระยะห่างทางสงั คม) ทำกบั ข้าว ปลูกผักสวนครัว ไวก้ นิ เอง 4,044 234 122 4,400 (91.91) (5.32) (2.77) (100.00) จัดสภาพแวดล้อม ที่พกั อาศัยและชมุ ชนใหส้ ะอาด 3,903 232 265 4,400 ถกู หลกั สขุ อนามยั (88.71) (5.27) (6.02) (100.00) กนิ อาหาร เนื้อสตั ว์ ผัก ผลไม้ ธัญพืช ปลอดสารพิษ สินค้าเกษตร 3,800 160 440 4,400 อินทรีย์ (86.36) (3.64) (10.00) (100.00) ฝกึ ปรบั สภาพจติ ใจและอารมณใ์ หส้ มดลุ ปฏบิ ัติ 3,625 286 489 4,400 ตามหลกั ศาสนา หากเกดิ ความเครียด ความวิตกกังวล (82.39) (6.50) (11.11) (100.00) กินสิ่งทเี่ ป็นประโยชนต์ ่อร่างกายเนน้ เสรมิ ภมู ิค้มุ กันรา่ งกาย เชน่ 3,604 284 512 4,400 วติ ามนิ อาหารเสริม สมุนไพรตา่ ง ๆ (81.91) (6.45) (11.64) (100.00) ลดการทงิ้ ขยะ มีการนำมาใช้ซำ้ /ลดการใชไ้ ฟฟ้า น้ำ น้ำมัน เช้อื เพลิง 3,440 393 567 4,400 (78.18) (8.93) (12.89) (100.00) หลีกเล่ยี งการจบั หรือสมั ผัสกับส่ิงต่าง ๆ โดยไมจ่ ำเปน็ ใช้เทคโนโลยี 2,512 1363 525 4,400 ไร้การสมั ผสั เช่น การรบั โอน จา่ ยเงิน ผา่ นโทรศัพท์มอื ถอื สง่ั ของออนไลน์ (57.09) (30.98) (11.93) (100.00) ทำกิจกรรม ทำงานประกอบอาชพี ธุรกจิ ทีบ่ ้านหรอื ทางออนไลน์ 1,634 2179 587 4,400 (37.14) (49.52) (13.34) (100.00) จากตารางที่ 12 พบว่า ผู้สูงอายุมีแนวโน้มการปฏิบัติตัวตามรูปแบบวิถีถัดไป (Next Normal) ในอนาคต ในประเดน็ ตา่ ง ๆ ตอ่ ไปนี้ การดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ (ออกกำลังกาย ล้างมือบ่อย ๆ สวมใส่หน้ากากอนามัย เมื่อออกนอกบ้าน เว้นระยะห่างทางสังคม) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 98.66 ระบุว่าทำ ร้อยละ 0.48 ไม่ทำ และร้อยละ 0.86 ไม่แนใ่ จ การทำกับข้าว ปลูกผักสวนครัว ไว้กินเอง ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 91.91 ระบุว่าทำ ร้อยละ 5.32 ไมท่ ำ และร้อยละ 2.77 ไม่แน่ใจ การจัดสภาพแวดล้อม ที่พักอาศัยและชุมชนให้สะอาด ถูกหลักสุขอนามัย ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 88.71 ระบวุ ่าทำ รอ้ ยละ 5.27 ไมท่ ำ และร้อยละ 6.02 ไมแ่ นใ่ จ การกินอาหาร เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ ธัญพืช ปลอดสารพิษ สินค้าเกษตรอินทรีย์ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 86.36 ระบุวา่ ทำ รอ้ ยละ 3.64 ไมท่ ำ และรอ้ ยละ 10.00 ไม่แน่ใจ การฝกึ ปรบั สภาพจิตใจและอารมณ์ให้สมดลุ ปฏิบัติ ตามหลกั ศาสนา หากเกิดความเครยี ด ความวิตก กงั วล ผูส้ งู อายุส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 82.39 ระบุวา่ ทำ ร้อยละ 6.50 ไมท่ ำ และรอ้ ยละ 11.11 ไมแ่ น่ใจ การกินสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายเน้นเสริมภูมิคุ้มกันร่างกาย เช่น วิตามิน อาหารเสริม สมุนไพรต่าง ๆ ผ้สู ูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 81.91 ระบุวา่ ทำ ร้อยละ 6.45 ไมท่ ำ และรอ้ ยละ 11.64 ไม่แนใ่ จ ศนู ยส์ ำรวจความคิดเหน็ ทางสงั คม (พม. POLL) 13

ลดการทงิ้ ขยะ มกี ารนำมาใชซ้ ้ำ/ลดการใช้ไฟฟ้า น้ำ นำ้ มนั เชอ้ื เพลงิ ผสู้ งู อายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 78.18 ระบวุ ่าทำ รอ้ ยละ 8.93 ไม่ทำ และรอ้ ยละ 12.89 ไม่แนใ่ จ การหลีกเลี่ยงการจับหรือสัมผัสกับสิ่งต่าง ๆ โดยไม่จำเป็นใช้เทคโนโลยีไร้การสัมผัส เช่น การรับ โอน จ่ายเงิน ผ่านโทรศัพท์มือถือ สั่งของออนไลน์ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 57.09 ระบุว่าทำ ร้อยละ 30.98 ไมท่ ำ และร้อยละ 11.93 ไม่แนใ่ จ การทำกจิ กรรม ทำงานประกอบอาชีพธรุ กิจที่บา้ นหรือทางออนไลน์ ผ้สู ูงอายุสว่ นใหญ่ ร้อยละ 49.52 ระบวุ า่ ไมท่ ำ รอ้ ยละ 37.14 ระบุวา่ ทำ และรอ้ ยละ 11.11 ไมแ่ น่ใจ ตารางที่ 13 จำนวนและรอ้ ยละของข้อเสนอแนะเพิ่มเติมท่ีจะชว่ ยให้ผ้สู งู อายมุ ีคุณภาพชีวิตทด่ี ขี ึ้น ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมท่ีจะช่วยให้ผสู้ ูงอายุมีคุณภาพชวี ติ ที่ดขี ึ้น จำนวน รอ้ ยละ 44.13 ควรเพิ่มสิทธิและสวัสดิการของผู้สูงอายุ เช่น การเพิ่มเบี้ยยังชีพรายเดือนให้แก่ 471 15.98 ผสู้ งู อายุ 11.00 ควรสง่ เสรมิ การประกอบอาชพี เพ่อื สร้างรายได้ใหก้ ับผู้สงู อายุ 151 8.47 7.41 การได้รับการบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขโดยมชี ่องทางการบริการสำหรับ 104 3.70 ผ้สู งู อายุ เพือ่ อำนวยความสะดวกและรวดเรว็ ในการเขา้ รบั การรักษา 3.28 2.65 ควรส่งเสรมิ ใหม้ กี ิจกรรมยามว่างหรือกจิ กรรมการพฒั นาคุณภาพชีวติ ผสู้ งู อายุ 80 2.22 ควรจัดสรรวัคซีนป้องกนั เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีมีประสิทธภิ าพ 70 0.63 0.53 เพยี งพอต่อความต้องการ ผูส้ ูงอายตุ ้องได้รับการดแู ลเอาใจใส่ พดู คยุ ใหก้ ำลงั ใจ จากครอบครัวอยา่ งใกล้ชิด 35 การสอนหรอื แนะนำการใชอ้ ุปกรณเ์ ครอื่ งมือเทคโนโลยตี ่าง ๆ 31 ควรมีเจา้ หน้าท่หี นว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้องมาให้ความรูเ้ กย่ี วกับโรคต่าง ๆ ในปัจจุบัน และ 25 แนะนำวธิ กี ารดตู วั เองทีถ่ ูกต้องใหก้ บั ผูส้ งู อายุในชุมชน ควรสง่ เสรมิ การศึกษาตลอดชีวติ /โรงเรยี นผู้สงู อายุ 21 ควรส่งเสริมการดแู ลรกั ษาพยาบาลผู้สงู อายุ 6 ควรจัดหาทีพ่ ักอาศัยสำหรับผูส้ ูงอายุ (แบบถาวร/ชวั่ คราว) 5 หมายเหต:ุ เฉพาะผ้ทู ่แี สดงความคิดเห็นจำนวน 945 หนว่ ยตัวอยา่ ง จากตารางที่ 13 พบว่า ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 44.13 ระบุว่า ควรเพิ่มสิทธิและสวัสดิการของผู้สูงอายุ เช่น การเพิ่มเบี้ยยังชีพ รายเดือนให้แก่ผู้สูงอายุ รองลงมา ร้อยละ 15.98 ระบุว่า ควรส่งเสริมการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ให้กับผู้สูงอายุ ร้อยละ 11.00 ระบุว่า ควรได้รับการบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขโดยมีช่องทาง การบริการสำหรับผู้สูงอายุ เพื่ออำนวยความสะดวกและรวดเร็วในการเข้ารับการรักษา ร้อยละ 8.47 ระบุว่า ควรส่งเสริมให้มีกิจกรรมยามว่างหรือกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ร้อยละ 7.41 ระบุว่า ควรจัดสรรวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีประสิทธิภาพ เพียงพอต่อความต้องการ ร้อยละ 3.70 ระบุว่า ผู้สูงอายุต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ พูดคุย ให้กำลังใจ จากครอบครัวอย่างใกล้ชิด ร้อยละ 3.28 ระบุว่า การสอนหรือแนะนำการใช้อุปกรณ์เครื่องมือเทคโนโลยีต่าง ๆ ร้อยละ 2.65 ระบุว่า ควรมีเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ความรู้เกี่ยวกับโรคต่าง ๆ ในปัจจุบัน และแนะนำวิธีการดูตัวเอง ที่ถูกต้องให้กับผู้สูงอายุในชุมชน ร้อยละ 2.22 ระบุว่า ควรส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต/โรงเรียนผู้สูงอายุ ร้อยละ 0.63 ระบุว่า ควรส่งเสริมการดูแลรักษาพยาบาลผู้สูงอายุ และร้อยละ 0.53 ระบุว่า ควรจัดหาที่พัก อาศยั สำหรับผู้สงู อายุ (แบบถาวร/ชั่วคราว) ศูนยส์ ำรวจความคิดเหน็ ทางสังคม (พม. POLL) 14

บรรณานกุ รม ภาณุวัฒก์ วอ่ งตระกลู เรือง. (ม.ป.ป.). โรงพยาบาลนครธน. ดแู ลผู้สูงอายุอย่างไร ในชว่ งโควดิ -19. สบื คน้ เมื่อวันท่ี 27 สิงหาคม 2564 จาก https://1th.me/UIdUb ธนาคารแหง่ ประเทศไทย. (2563). The Next Normal สอ่ งเทรนด์ \"ความปกติถัดไป\" หลงั โควดิ 19. BOT พระสยาม Magazine. ปที ี่ 43 (ฉบับที่ 6), 8 – 9. สืบค้นเมอื่ วนั ท่ี 27 สิงหาคม 2564 จาก https://www.bot.or.th/Thai/BOTMagazine/Documents/PhraSiam0663/BOTMAG06_63.pdf# page=6 เฟอรน์ านโด ดูอารเ์ ต. (2564). บีบซี ี เวิลด์ เซอร์วสิ . โควดิ -19 : ผ้เู ชี่ยวชาญชโ้ี ควิดอาจไม่หมดไปจากโลก แนะวิธีรับมือ. สบื ค้นเมอ่ื วนั ท่ี 27 สงิ หาคม 2564 จาก https://www.bbc.com/thai/international- 57887146 สำนกั งานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). สช.ชวนสรา้ งคา่ นิยม ‘Next Normal’ ลดเสย่ี ง โควิด-19. สืบค้นเม่ือวนั ท่ี 27 สิงหาคม 2564 จาก https://www.nationalhealth.or.th/th/node/3011 องค์การอนามัยโลกประจำประเทศไทย (World Health Organization Thailand). (ม.ป.ป.). โรคโควิด-19 คอื อะไร. เอกสารนำเสนอ. สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 27 สงิ หาคม 2564 จาก https://www.who.int/docs/default-source/searo/thailand/update-28-covid-19-what-we- know---june2020---thai.pdf?sfvrsn=724d2ce3_0 ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 15

ภาคผนวก เอกสารเผยแพร่ผลโพล ศนู ยส์ ำรวจความคิดเหน็ ทางสังคม (พม. POLL) 16

วันศุกร์ ที่ 10 กนั ยายน พ.ศ. 2564 พม. POLL ศูนยส์ ำรวจความคิดเห็นทางสังคม โดย สำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 1-11 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ E-mail: [email protected] รว่ มกับ ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็น “นิดา้ โพล” สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์ E-mail: [email protected] จำนวน 10 หน้า รวมหนา้ นี้ “60+ ฝ่าวกิ ฤติ COVID-19 สวู่ ิถีถดั ไป (Next Normal)” เรียน บรรณาธิการบรหิ าร/บรรณาธกิ ารขา่ ว/หัวหนา้ ข่าว/หัวหน้าหน่วยงาน พม. POLL ศูนย์สำรวจความคิดเห็นทางสังคม สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับ ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลสำรวจ เรื่อง “60+ ฝ่าวิกฤติ COVID-19 สู่วิถีถัดไป (Next Normal)” ทำการสำรวจในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2564 จากผู้สูงอายุมีอายุตั้งแต่ 60 ปีบริบูณ์ขึ้นไป กระจายทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) รวมขนาดตัวอย่างทั้งสิ้น จำนวน 4,400 หน่วยตัวอย่าง เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีลงพื้นที่ภาคสนาม และการตอบแบบสอบถามออนไลน์ กำหนดค่าความเชื่อม่ัน รอ้ ยละ 95.00 จากผลการสำรวจ เมื่อถามถึงการใช้อุปกรณ์สื่อสารในชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 83.36 ระบุว่า ใช้อุปกรณ์สื่อสารในชีวิตประจำวัน ขณะที่ ร้อยละ 16.64 ระบุว่า ไม่ใช้ ซึ่งในจำนวนผู้สูงอายุที่ใช้อุปกรณ์สื่อสารในชีวิตประจำวัน ส่วนใหญ่ ร้อยละ 66.66 ใช้มือถือแบบสมาร์ทโฟน รองลงมา รอ้ ยละ 34.05 ใชม้ อื ถือแบบไมใช่สมารท์ โฟน รอ้ ยละ 5.94 ใชค้ อมพิวเตอร์ตั้งโตะ๊ โนต้ บุ๊ก/แลป็ ท็อป รอ้ ยละ 4.83 ใชแ้ ท็บเลต็ และรอ้ ยละ 1.20 ใช้นาฬิกาอัจฉริยะ (สมาร์ทวอทช)์ สำหรับการใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบวา่ ผู้สงู อายุสว่ นใหญ่ ร้อยละ 62.79 ระบวุ ่า ใช้แอปพลเิ คชนั ต่าง ๆ และรอ้ ยละ 37.21 ระบุว่า ไม่ใช้แอปพลิเคชัน ซึ่งในจำนวนผู้สูงอายุที่ใช้แอปพลิเคชัน ส่วนใหญ่ ร้อยละ 90.19 ระบุว่า ใชไ้ ลน์ รองลงมา ร้อยละ 67.39 ใช้เฟซบ๊กุ ร้อยละ 52.45 ใช้ยูทบู รอ้ ยละ 27.49 ใชก้ เู กิล้ โครม รอ้ ยละ 16.59 ใช้แอปพลิเคชันเกี่ยวกับการสั่งซื้อสินค้าการบริการออนไลน์ ร้อยละ 16.20 ใช้แอปพลิเคชันเกี่ยวกับการเงิน ธนาคาร โอน รับ จา่ ยเงิน ร้อยละ 7.29 ใชอ้ เี มล รอ้ ยละ 3.91 ใช้ทวติ เตอร์ และรอ้ ยละ 0.13 ใชต้ ๊ิกตอ็ ก เมื่อถามถึงผลกระทบที่ได้รับในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบว่า ผู้สงู อายุสว่ นใหญ่ รอ้ ยละ 90.00 ได้รบั ผลกระทบโดยเกิดความเครยี ด วติ กกงั วล รองลงมา ร้อยละ 59.32 รายได้ลดลง มีภาระค่าใช้จ่าย หนี้สินมากขึ้น ร้อยละ 47.86 การออกไปพบปะสังสรรค์ ทำกจิ กรรมนอกบา้ น ลดน้อยลง รอ้ ยละ 44.07 มีเวลาใสใ่ จดูแลสุขภาพตวั เองมากขึ้น ร้อยละ 23.84 ผู้สูงอายุ ต้องใช้เทคโนโลยีซึ่งเป็นสิ่งที่ยากและเป็นภาระ ร้อยละ 23.61 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในครอบครัว เพิ่มขึ้น ร้อยละ 22.48 มีการจัดการดูแลสภาพแวดล้อม ที่พักอาศัยและชุมชนให้สะอาด ถูกหลักอนามัย ร้อยละ 20.20 มีการปรับใช้เทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น เช่น มีการพูดคุย สื่อสารทางสังคมออนไลน์มากข้ึน ร้อยละ 18.86 ปริมาณขยะมูลฝอยและขยะติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 15.43 กิจการ ธุรกิจการค้าขาย ประสบปัญหา หยุด พัก เลิกกิจการ ไม่สามารถส่งงาน/สินค้าให้แก่ผู้บริโภคได้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด และรอ้ ยละ 4.82 รายได้เพมิ่ มากขึน้ เนือ่ งจากมีการปรับตวั ของกิจการ ธุรกิจการค้าขาย สินคา้ และการบริการ ศูนย์สำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. POLL) 17

สำหรับสิ่งที่ผู้สูงอายุวิตกกังวลในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มากที่สุด 3 อันดับแรก พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 31.88 ระบุว่า เกิดความเครียดและกังวลว่า จะติดเชื้อ อันดับ 2 ร้อยละ 17.58 ระบุว่า รายได้ รายจ่าย ภาระหนี้สิน อันดับ 3 ร้อยละ 13.89 ระบุว่า การทำมาหาเลี้ยงชีพ การประกอบอาชีพ ด้านการได้รับการช่วยเหลือตามมาตรการเยียวยา/กระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล ในช่วงสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 96.55 ระบุว่า ไดร้ บั และร้อยละ 3.45 ระบุวา่ ไมไ่ ด้รบั โดยในจำนวนผูส้ งู อายทุ ี่ระบวุ ่าไดร้ บั ส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 45.48 ระบุว่า เป็นการลดค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า รองลงมา ร้อยละ 43.90 ระบุว่า เป็นบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ร้อยละ 37.05 ระบุว่า เป็นโครงการคนละครึ่ง ร้อยละ 36.84 ระบุว่า เป็นโครงการเราชนะ ร้อยละ 27.21 ระบุว่าเป็นเงินเยียวยา ผูส้ งู อายุ เดือนละ 1,000 บาท เปน็ เวลา 3 เดือน ร้อยละ 10.99 ระบุว่า เป็นเงนิ เยยี วยาผู้ประกอบอาชีพอิสระ หรือเกษตรกรรายย่อย ร้อยละ 8.95 ระบุว่า เป็นการพักชำระหน้ี และร้อยละ 0.05 ระบุว่า เป็นเงินเยียวยา กลมุ่ เปราะบาง สำหรับสาเหตุที่ไม่ได้รับการช่วยเหลือตามมาตรการเยียวยา/กระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล ในจำนวน ผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 38.54 ระบุว่าเนื่องจากเป็นข้าราชการบำนาญ รองลงมา ร้อยละ 15.63 ระบุว่า ไม่ได้ลงทะเบียน ร้อยละ 12.50 ระบุว่า ต้องการให้คนที่เดือดร้อนกว่า ยังพอช่วยเหลือตนเองได้ มีธุรกิจ เปน็ ของตัวเองมที ี่ดนิ ทำกิน และมบี ุตรหลานคอยจนุ เจืออยบู่ า้ ง รอ้ ยละ 11.46 ระบุว่า เป็นผู้สูงอายุใชโ้ ทรศัพท์ ลงทะเบียนไม่เป็น ไม่มีใครลงทะเบียนให้ ร้อยละ 9.37 ระบุว่า ไม่ได้ใช้มือถือสมาร์ทโฟน และคุณสมบัติ ไมเ่ ขา้ เกณฑ์ ในสดั สว่ นทีเ่ ทา่ กนั และรอ้ ยละ 3.13 ระบุว่า ลงทะเบียนไมท่ นั เมื่อถามถึงสิ่งที่ต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติม พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ร้อยละ 23.77 การช่วยเหลือเยียวยาจากภาครัฐ เช่น ค่าเช่าบ้าน ค่าอินเทอร์เน็ต รองลงมา ร้อยละ 15.88 วัคซีนป้องกัน เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีประสิทธิภาพ เพียงพอต่อความต้องการ และได้รับการจัดสรร อย่างทั่วถึง ร้อยละ 15.44 ความช่วยเหลือเรื่อง อาหาร สินค้าอุปโภคบริโภค เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค หน้ากากอนามัย เจลล้างมือ และสเปรย์แอลกอฮอล์ ร้อยละ 14.35 เพิ่มวงเงินและขยายระยะเวลา ในการช่วยเหลือเยียวยาผ่านโครงการต่าง ๆ ของรัฐ เช่น โครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โครงการคนละครึ่ง และเพม่ิ เงนิ สวัสดกิ ารต่าง ๆ เช่น เบี้ยยังชพี ผูส้ งู อายุ เงินสงเคราะห์ และเงนิ สวัสดิการอ่ืน ๆ ในสัดสว่ นทเ่ี ทา่ กนั ร้อยละ 5.37 ระบุว่า การเข้ารับการรักษาและบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึง ร้อยละ 5.15 ส่งเสริม ด้านการประกอบอาชีพทั้งอาชีพหลักและอาชีพเสริม ร้อยละ 3.39 ความช่วยเหลือเรื่องเงินกู้ เงินลงทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพที่มีอัตราดอกเบี้ยต่ำ ร้อยละ 2.08 ระบุว่า ตั้งจุดตรวจหาเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ฟรี และสามารถเข้าถึงได้ง่าย และร้อยละ 0.22 ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงบริการ ของรฐั ไดอ้ ย่างท่ัวถึง สำหรับการรับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบวา่ ผสู้ ูงอายุสว่ นใหญ่ ร้อยละ 86.50 ระบวุ า่ มกี ารรบั มอื กบั สถานการณ์โดยติดตามข้อมูล ขา่ วสาร เก่ียวกับ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รองลงมา ร้อยละ 81.20 ระบุว่า ปฏิบัติตนตามนโยบายมาตรการการควบคุมของรัฐ ร้อยละ 51.98 ระบุว่า ฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ร้อยละ 43.07 ระบุว่า ใช้สมุนไพรทางเลือกมากขึ้น เช่น ฟ้าทะลายโจร กระชาย เป็นต้น ร้อยละ 29.14 ระบุว่า เตรียมอาหาร ข้าวของเครื่องใช้อุปโภค บริโภค ให้เพียงพอ ร้อยละ 25.70 ระบุว่า ปรับเปลี่ยนวางแผนการเข้ารับการบริการทางสาธารณสุข เช่น การเลื่อนนัดพบแพทย์ การรับยาทางไปรษณยี ์ หรือ รพสต. อสม. ร้านขายยาใกล้บ้านที่ได้รับการรับรอง เป็นต้น ร้อยละ 25.61 ระบุว่า ออกกำลังกาย ร้อยละ 25.23 ระบุว่า เข้ารับการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ร้อยละ 19.98 ระบุว่า วางแผนการใช้จ่ายเงิน และทำบัญชีครัวเรือน ร้อยละ 18.84 ระบุว่า ปฏิบัติตามหลักศาสนา ร้อยละ 18.00 ระบุว่า ทำงานอดิเรกเพิ่มมากขึ้น เช่น อ่านหนังสือ ดูหนัง ฟังเพลง ปลูกต้นไม้ เลี้ยงสัตว์ งานฝีมือ หตั ถกรรม เปน็ ต้น และร้อยละ 6.86 ระบุวา่ เรียนรู้ ฝกึ ทกั ษะ หาแนวทางประกอบอาชพี เสริม ศูนยส์ ำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. POLL) 18

สำหรับสิ่งที่ผู้สูงอายุต้องการความช่วยเหลือในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) มากที่สุด 3 อันดับแรก พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 23.56 คือ การฉีดวัคซีนป้องกัน เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อันดับ 2 ร้อยละ 18.33 คือ การช่วยเหลือฟื้นฟู เยียวยา เช่น การจ่ายเงิน เยียวยาและชดเชย การสร้างงาน สร้างอาชีพ อันดับ 3 ร้อยละ 15.40 คือ อาหาร ยารักษาโรค เครื่องนุ่งห่ม ทพ่ี ักอาศัยทถ่ี ูกสุขลักษณะ หน้ากากอนามยั เจลลา้ งมอื สำหรบั สิ่งท่ีผู้สูงอายุตอ้ งการใหก้ ระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ (พม.) มมี าตรการ ช่วยเหลอื เยียวยาหรือฟืน้ ฟู ทั้งในปัจจุบนั และอนาคต มากที่สุด 3 อันดับแรก พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 16.80 คือ สามารถติดต่อขอรับความช่วยเหลือได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทันเวลา อันดับ 2 ร้อยละ 14.50 คือ ส่งเสริม การมีงานทำ พัฒนาทักษะอาชีพตามความถนัดและความสนใจ อันดับ 3 ร้อยละ 14.03 คือ เพิ่มวงเงินกู้ยืม เงินกองทุนประกอบอาชีพสำหรับผสู้ งู อายุ สำหรับแนวโน้มการปฏิบัติตัวตามรูปแบบวิถีถัดไป (Next Normal) ในอนาคต ซึ่งพิจารณาเฉพาะ สัดส่วนผู้ที่ระบุว่า “ทำ” โดยเรียงลำดับจากมากไปน้อยในประเด็นต่าง ๆ พบว่า ร้อยละ 98.66 ระบุว่า ดูแล สุขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ (ออกกำลังกาย ล้างมือบ่อย ๆ สวมใส่หน้ากากอนามัยเมื่อออกนอกบ้าน เว้นระยะห่างทางสังคม) มากที่สุด รองลงมา ร้อยละ 91.91 ระบุว่า ทำกับข้าว ปลูกผักสวนครัว ไว้กินเอง ร้อยละ 88.71 ระบุว่า การจัดสภาพแวดล้อม ที่พักอาศัยและชุมชนให้สะอาด ถูกหลักสุขอนามัย ร้อยละ 86.36 ระบุว่า การกินอาหาร เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ ธัญพืช ปลอดสารพิษ สินค้าเกษตรอินทรีย์ ร้อยละ 82.39 ระบุว่า การฝึกปรับสภาพจิตใจและอารมณ์ให้สมดุล ปฏิบัติ ตามหลักศาสนา หากเกิด ความเครียด ความวิตกกังวล ร้อยละ 81.91 ระบุว่า กินสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายเน้นเสริมภูมิคุ้มกัน ร่างกาย เช่น วิตามิน อาหารเสริม สมุนไพรต่าง ๆ ร้อยละ 78.18 ระบุว่า ลดการทิ้งขยะ มีการนำมาใช้ซ้ำ/ ลดการใช้ไฟฟ้า น้ำ น้ำมัน เชื้อเพลิง ร้อยละ 57.09 ระบุว่า หลีกเลี่ยงการจับหรือสัมผัสกับสิ่งต่าง ๆ โดยไม่จำเป็น ใช้เทคโนโลยี ไร้การสัมผัส เช่น การรับ โอน จ่ายเงิน ผ่านโทรศัพท์มือถือ สั่งของออนไลน์ และรอ้ ยละ 37.14 ระบุว่า ทำกิจกรรม ทำงานประกอบอาชพี ธุรกิจทบี่ ้านหรือทางออนไลน์ ท้ายที่สุด เมื่อถามถึงข้อเสนอแนะเพิ่มเติมที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 44.13 ระบุว่า ควรเพิ่มสิทธิและสวัสดิการของผู้สูงอายุ เช่น การเพิ่มเบี้ยยังชีพ รายเดือนให้แก่ผู้สูงอายุ รองลงมา ร้อยละ 15.98 ระบุว่า ควรส่งเสริมการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ให้กับผู้สูงอายุ ร้อยละ 11.00 ระบุว่า ควรได้รับการบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขโดยมีช่องทาง การบริการสำหรับผู้สูงอายุ เพื่ออำนวยความสะดวกและรวดเร็วในการเข้ารับการรักษา ร้อยละ 8.47 ระบุว่า ควรส่งเสริมให้มีกิจกรรมยามว่างหรือกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ร้อยละ 7.41 ระบุว่า ควรจัดสรรวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีประสิทธิภาพ เพียงพอต่อความต้องการ ร้อยละ 3.70 ระบุว่า ผู้สูงอายุต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ พูดคุย ให้กำลังใจ จากครอบครัวอย่างใกล้ชิด ร้อยละ 3.28 ระบุว่า การสอนหรือแนะนำการใช้อุปกรณ์เครื่องมือเทคโนโลยีต่าง ๆ ร้อยละ 2.65 ระบุว่า ควรมีเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ความรู้เกี่ยวกับโรคต่าง ๆ ในปัจจุบัน และแนะนำวิธีการดูตัวเองที่ ถูกต้องให้กับผู้สูงอายุในชุมชน ร้อยละ 2.22 ระบุว่า ควรส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต/โรงเรียนผู้สูงอายุ ร้อยละ 0.63 ระบุว่า ควรส่งเสริมการดูแลรักษาพยาบาลผู้สูงอายุ และร้อยละ 0.53 ระบุว่า ควรจัดหาที่พัก อาศัยสำหรบั ผู้สงู อายุ (แบบถาวร/ช่ัวคราว) เมื่อพิจารณาลักษณะข้อมูลทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 58.93 เป็นเพศหญิง และรอ้ ยละ 41.07 เปน็ เพศชาย ตัวอย่างร้อยละ 78.34 มีอายุระหว่าง 60 – 70 ปี รอ้ ยละ 17.43 มีอายุระหว่าง 71 – 80 ปี ร้อยละ 4.00 มีอายรุ ะหว่าง 81 – 90 ปี และรอ้ ยละ 0.23 อายมุ ากกว่า 90 ปี ตวั อย่างรอ้ ยละ 52.77 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 18.20 จบการศกึ ษาระดับตำ่ กว่าประถมศึกษา รอ้ ยละ 10.93 จบการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 6.66 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. หรือเทียบเท่า ร้อยละ 2.71 จบการศึกษาระดับอนุปริญญา/ปวส. หรือเทียบเท่า ร้อยละ 8.55 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี และร้อยละ 0.18 จบการศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรีขึ้นไป ตัวอย่างร้อยละ 46.66 อาศัยอยู่กับบุตรหลาน ศูนย์สำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. POLL) 19

รอ้ ยละ 41.66 อาศยั อยกู่ ับคสู่ มรส/คชู่ วี ติ รอ้ ยละ 5.82 อาศยั อย่กู ับญาติ/พนี่ ้อง ร้อยละ 4.25 อาศัยอยู่ตามลำพัง รอ้ ยละ 1.57 อาศยั อยกู่ บั พ่อ แม่ และรอ้ ยละ 0.04 อาศยั อยกู่ ับเพ่ือน ตวั อย่างส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 56.84 สมรสแล้ว รอ้ ยละ 28.18 หมา้ ย/หยา่ รา้ ง/แยกกันอยู่ รอ้ ยละ 8.36 โสด และรอ้ ยละ 6.62 อยู่ดว้ ยกนั แตไ่ ม่ได้แต่งงาน ตัวอย่างร้อยละ 60.75 ยงั คงทำงาน/ประกอบอาชีพอยู่ ขณะทรี่ ้อยละ 39.25 ไมไ่ ดท้ ำงาน โดยในจำนวน ผสู้ งู อายุทีย่ งั คงทำงาน/ประกอบอาชพี อยู่ ร้อยละ 41.23 เป็นเกษตรกร/ประมง/เล้ียงสัตว์ ร้อยละ 35.13 ค้าขาย/ ธรุ กจิ ส่วนตวั /อาชีพอสิ ระ รอ้ ยละ 23.27 รบั จ้างท่วั ไป/ผูใ้ ช้แรงงาน และร้อยละ 0.37 ไมร่ ะบอุ าชีพ ตวั อย่างร้อยละ 40.61 มีรายไดไ้ ม่เกนิ 5,000 บาท/เดอื น รอ้ ยละ 23.84 มรี ายได้ 5,001 – 10,000 บาท/เดอื น ร้อยละ 12.87 ไม่มีรายได้ ร้อยละ 9.84 มีรายได้ 10,001 – 20,000 บาท/เดือน รอ้ ยละ 6.93 ไมร่ ะบรุ ายได้ ร้อยละ 4.73 มีรายได้ 20,001 – 30,000 บาท/เดือน และร้อยละ 1.18 มรี ายไดม้ ากกวา่ 30,000 บาท/เดอื น 1. การใช้อปุ กรณ์สื่อสารในชีวิตประจำวันของผสู้ ูงอายุ ร้อยละ 83.36 การใช้อุปกรณ์สอ่ื สารในชวี ติ ประจำวันของผสู้ ูงอายุ 66.66 ใช้ อุปกรณ์สอื่ สารท่ีใช้ (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) 34.05 มอื ถือแบบสมาร์ทโฟน 5.94 มือถือแบบไมใช่สมาร์ทโฟน 4.83 คอมพวิ เตอร์ต้ังโตะ๊ โนต้ บุ๊ก/แล็ปท็อป 1.20 แท็บเลต็ 16.64 นาฬิกาอัจฉรยิ ะ (สมารท์ วอทช์) 100.00 ไมใ่ ช้อุปกรณส์ ่ือสาร รวมทั้งสน้ิ 2. การใช้แอปพลเิ คชันตา่ ง ๆ ในชว่ งสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) การใชแ้ อปพลเิ คชันต่าง ๆ ในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาด ร้อยละ ของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใช้ แอปพลิเคชันตา่ ง ๆ (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) 62.79 ไลน์ 90.19 เฟซบ๊กุ 67.39 ยทู ูบ 52.45 กูเกิล้ โครม 27.49 สัง่ ซ้ือสนิ คา้ การบรกิ ารออนไลน์ 16.59 การเงนิ ธนาคาร โอน รับ จา่ ยเงิน 16.20 อเี มล 7.29 ทวิตเตอร์ 3.91 ตก๊ิ ต็อก 0.13 ไม่ใชแ้ อปพลิเคชนั 37.21 รวม 100.00 หมายเหตุ: เฉพาะผู้ที่ใช้อุปกรณ์สื่อสาร แบบมือถือแบบสมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ โน้ตบุ๊ก/แล็ปท็อป แทบ็ เล็ต และนาฬิกาอัจฉรยิ ะ (สมารท์ วอทช)์ จำนวน 2,303 หนว่ ยตัวอยา่ ง ศูนย์สำรวจความคิดเห็นทางสังคม (พม. POLL) 20

3. ผลกระทบที่ได้รับในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ผลกระทบทไ่ี ดร้ บั ในช่วงสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด ร้อยละ ของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เกดิ ความเครยี ด วติ กกังวล 90.00 รายไดล้ ดลง มีภาระคา่ ใช้จา่ ย หนส้ี ินมากข้นึ 59.32 การออกไปพบปะสงั สรรค์ ทำกจิ กรรมนอกบ้าน ลดน้อยลง 47.86 มีเวลาใสใ่ จดูแลสขุ ภาพตวั เองมากขึ้น 44.07 ผสู้ ูงอายตุ ้องใช้เทคโนโลยีซงึ่ เปน็ สงิ่ ท่ยี ากและเปน็ ภาระ 23.84 ความสัมพันธ์ระหวา่ งบคุ คลในครอบครัวเพ่มิ ขึ้น 23.61 มกี ารจัดการดูแลสภาพแวดล้อม ท่พี ักอาศัยและชุมชนใหส้ ะอาด ถกู หลกั อนามยั 22.48 มีการปรบั ใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ิมมากขนึ้ เช่น มีการพดู คุย สอ่ื สาร ทางสงั คมออนไลน์มากขน้ึ 20.20 ปริมาณขยะมูลฝอยและขยะติดเชือ้ เพ่ิมมากขึน้ 18.86 กจิ การ ธุรกจิ การค้าขายประสบปญั หา หยดุ พกั เลกิ กจิ การ ไม่สามารถสง่ งาน/สินคา้ 15.43 ใหแ้ กผ่ ูบ้ รโิ ภคไดท้ นั ตามระยะเวลาท่กี ำหนด รายได้เพม่ิ มากข้ึน เน่อื งจากมกี ารปรบั ตัวของกจิ การ ธุรกจิ การค้าขาย สนิ ค้า การบรกิ าร 4.82 4. สิ่งท่ีวิตกกังวลมากท่ีสุด 3 อันดับแรก ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อนั ดบั สิ่งท่ีวติ กกงั วลมากที่สุด 3 อนั ดบั แรก ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาด ร้อยละ ของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 1 เกิดความเครยี ดและกงั วลวา่ จะติดเชอ้ื 31.88 2 รายได้ รายจา่ ย ภาระหนสี้ ิน 17.58 3 การทำมาหาเล้ียงชีพ การประกอบอาชีพ 13.89 4 ชีวติ ความเปน็ อยขู่ องตนเองและบคุ คลในครอบครัว 11.78 5 การเข้ารับบรกิ ารสาธารณสุข เช่น การตรวจ การรกั ษา การรบั ยารักษาโรค 10.20 การรับวคั ซีน การเดินทางไปสถานพยาบาล 9.60 6 สถานการณ์และการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 3.10 1.97 7 การได้รับสวัสดิการทางสังคมจากภาครัฐอย่างมีความเหมาะสม เท่าเทียม และเปน็ ธรรม 8 การใช้อปุ กรณ์และเทคโนโลยตี า่ ง ๆ ศูนย์สำรวจความคิดเห็นทางสังคม (พม. POLL) 21

5. การได้รับการช่วยเหลือตามมาตรการเยียวยา/กระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลในช่วงสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การได้รบั การช่วยเหลือตามมาตรการเยยี วยา/กระตุ้นเศรษฐกจิ ของรัฐบาล รอ้ ยละ ไดร้ บั มาตรการเยยี วยา/กระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ) 96.55 การลดคา่ นำ้ คา่ ไฟฟ้า 45.48 บัตรสวัสดิการแหง่ รฐั 43.90 คนละคร่งึ 37.05 เราชนะ 36.84 เงินเยยี วยาผู้สูงอายุ เดอื นละ 1,000 บาท เป็นเวลา 3 เดอื น 27.21 เหงรินือเยเงยี นิ วสยงาเผคู้ปราระหก์ฉอุกบเอฉาินชอีพื่นอิสๆระ หรือเกษตรกรรายย่อย 10.99 การพักชำระหน้ี 8.95 เงนิ เยยี วยากลมุ่ เปราะบาง 0.05 ไมไ่ ดร้ บั สาเหตุท่ไี ม่ได้รบั การช่วยเหลือ (เฉพาะผู้ทร่ี ะบุสาเหตุ) 3.45 เปน็ ขา้ ราชการบำนาญ 38.54 ไมไ่ ดล้ งทะเบยี น 15.63 ต้องการใหค้ นทเ่ี ดอื ดรอ้ นกว่า ยงั พอชว่ ยเหลอื ตนเองได้ มีธุกจิ เปน็ ของตัวเอง 12.50 มที ีด่ ินทำกิน และมบี ตุ รหลานคอยจุนเจืออย่บู า้ ง เปน็ ผู้สงู อายุใชโ้ ทรศัพทล์ งทะเบยี นไม่เปน็ ไมม่ ีใครลงทะเบียนให้ 11.46 ไม่ไดใ้ ช้มอื ถือสมารท์ โฟน 9.37 คุณสมบตั ิไม่เข้าเกณฑ์ 9.37 ลงทะเบยี นไมท่ นั 3.13 รวมท้ังสน้ิ 100.00 6. ส่งิ ทตี่ อ้ งการความชว่ ยเหลอื เพิ่มเติม รอ้ ยละ สงิ่ ท่ีต้องการความช่วยเหลือเพิม่ เตมิ 23.77 15.88 การช่วยเหลอื เยยี วยาจากภาครฐั เช่น ค่าเชา่ บ้าน คา่ อินเทอรเ์ น็ต วัคซนี ปอ้ งกนั เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่มี ปี ระสิทธภิ าพ เพยี งพอตอ่ 15.44 ความต้องการ และไดร้ บั การจดั สรรอยา่ งท่วั ถึง ชว่ ยเหลอื เร่อื ง อาหาร สินค้าอปุ โภคบริโภค เครือ่ งนุง่ หม่ ยารกั ษาโรค หน้ากากอนามยั 14.35 เจลลา้ งมอื และสเปรยแ์ อลกอฮอล์ เพิ่มวงเงินและขยายระยะเวลาในการช่วยเหลอื เยียวยาผา่ นโครงการต่าง ๆ ของรฐั 14.35 เชน่ โครงการบัตรสวสั ดิการแห่งรฐั โครงการคนละคร่ึง 5.37 เพ่ิมเงนิ สวสั ดิการตา่ ง ๆ เช่น เบี้ยยังชีพผู้สงู อายุ เงินสงเคราะห์ และเงินสวัสดกิ ารอน่ื ๆ 5.15 การเข้ารบั การรกั ษาและบรกิ ารสาธารณสขุ อย่างทวั่ ถึง 3.39 สง่ เสริมด้านการประกอบอาชพี ทง้ั อาชีพหลักและอาชีพเสรมิ 2.08 ช่วยเหลือเรื่อง เงนิ กู้ เงนิ ลงทุนหมนุ เวยี นในการประกอบอาชพี ท่มี ีอตั ราดอกเบยี้ ตำ่ 0.22 การตั้งจดุ ตรวจหาเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ฟรี และสามารถเข้าถงึ ไดง้ า่ ย ผูส้ งู อายุสามารถเข้าถึงบริการของรัฐไดอ้ ยา่ งท่วั ถงึ หมายเหต:ุ เฉพาะผทู้ ่แี สดงความคดิ เหน็ จำนวน 913 หนว่ ยตัวอย่าง ศนู ย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสังคม (พม. POLL) 22

7. การรบั มอื กบั สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) การรับมือกับสถานการณก์ ารแพร่ระบาด รอ้ ยละ ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ติดตามข้อมลู ขา่ วสาร เกย่ี วกับสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 86.50 ปฏบิ ตั ติ นตามนโยบายมาตรการการควบคมุ ของรัฐ 81.20 ฉีดวัคซีนปอ้ งกนั เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 51.98 ใชส้ มนุ ไพรทางเลอื กมากขน้ึ เช่น ฟา้ ทะลายโจร กระชาย เปน็ ต้น 43.07 เตรียมอาหาร ข้าวของเครอ่ื งใช้อุปโภค บริโภค ให้เพยี งพอ 29.14 ปรับเปลี่ยนวางแผนการเข้ารับการบริการทางสาธารณสุข เช่น การเลื่อนนัดพบแพทย์การรับ 25.70 ยาทางไปรษณยี ์หรอื รพสต. อสม. ร้านขายยาใกล้บา้ นทไี่ ดร้ บั การรบั รอง เปน็ ตน้ ออกกำลังกาย 25.61 เข้ารับการตรวจหาเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 25.23 วางแผนการใช้จ่ายเงนิ และทำบญั ชคี รวั เรือน 19.98 ปฏบิ ัติตามหลกั ศาสนา 18.84 ทำงานอดิเรกเพิม่ มากข้ึน เช่น อา่ นหนงั สือ ดหู นงั ฟังเพลง ปลกู ต้นไม้ เลยี้ งสตั ว์ 18.00 งานฝมี อื หตั ถกรรม เปน็ ตน้ เรียนรู้ ฝกึ ทักษะ หาแนวทางประกอบอาชพี เสริม 6.86 8. สิ่งท่ีต้องการความช่วยเหลือมากที่สุด 3 อันดับแรก ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อนั ดบั สิง่ ท่ตี ้องการความชว่ ยเหลือมากที่สุด 3 อันดบั แรก ร้อยละ ในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 1 ฉีดวคั ซีนป้องกันเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 23.56 2 การช่วยเหลอื ฟืน้ ฟู เยยี วยา เชน่ การจา่ ยเงนิ เยยี วยาและชดเชย การสร้างงาน สร้างอาชีพ 18.33 3 อาหาร ยารกั ษาโรค เครื่องน่งุ ห่ม ทพี่ ักอาศยั ท่ถี ูกสุขลักษณะ หน้ากากอนามัย เจลล้างมือ 15.40 4 การเขา้ รบั การรักษา สถานทรี่ ักษา รถรับสง่ ผ้ปู ว่ ย เตยี งผ้ปู ว่ ย 11.33 5 เข้ารบั การตรวจหาเชื้อ 10.98 6 การเข้ามาพดู คุย ใหก้ ำลงั ใจ ให้คำแนะนำการปฏบิ ตั ติ วั จากภาคีเครือขา่ ยภาครัฐและเอกชน 5.33 7 การได้รบั การดแู ลเอาใจใส่ การช่วยเหลือเกอื้ กูล จากบุคคลในครอบครวั หรือคนรอบขา้ ง 4.90 8 การเขา้ มาฉีดพ่นยาฆา่ เช้ือตามทีพ่ ักอาศยั 4.73 9 การปรับสภาพและซ่อมแซมทอี่ ยูอ่ าศยั ให้เหมาะสม 2.54 10 การเขา้ ร่วมกจิ กรรมผู้สงู อายุ เชน่ ชมรม/โรงเรยี นผสู้ ูงอายุ 1.81 11 สอนหรือชว่ ยแนะนำการใชอ้ ปุ กรณแ์ ละเทคโนโลยี 1.09 ศนู ยส์ ำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. POLL) 23

9. สิ่งต้องการให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มีมาตรการช่วยเหลือ เยียวยาหรอื ฟืน้ ฟมู ากทีส่ ุด 3 อันดับแรก ทง้ั ในปจั จบุ ันและอนาคต อนั ดบั สง่ิ ต้องการให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ (พม.) ร้อยละ มมี าตรการช่วยเหลอื เยียวยาหรือฟนื้ ฟูมากที่สุด 3 อนั ดบั แรก ท้งั ในปจั จบุ นั และอนาคต 1 สามารถตดิ ตอ่ ขอรับความชว่ ยเหลือไดอ้ ย่างสะดวก รวดเรว็ ทันเวลา 16.80 2 ส่งเสริมการมีงานทำ พัฒนาทักษะอาชพี ตามความถนัดและความสนใจ 14.50 3 เพ่มิ วงเงนิ กู้ยืมเงนิ กองทุนประกอบอาชีพสำหรับผ้สู ูงอายุ 14.03 4 อำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเข้าถึงการ 12.43 ดูแลสขุ ภาพ 5 มชี ่องทางใหบ้ ริการข้อมูลข่าวสารท่จี ำเปน็ ต่อการดำรงชีวติ และมีความน่าเชือ่ ถือ 10.17 6 สง่ เสริมกิจกรรมยามว่างหรอื กจิ กรรมการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตผ้สู งู อายุ 9.47 7 สิ่งอำนวยความสะดวกด้านอาคารสถานที่ทางอารยสถาปัตย์ต่าง ๆ ข้าวของเครื่องใช้ 7.44 ตามสภาพความจำเปน็ สำหรบั ผู้สูงอายุ 8 มเี จา้ หนา้ ท่เี ขา้ มาพดู คยุ ใหก้ ำลงั ใจ 5.47 9 จดั หาที่พักอาศยั สำหรับผู้สงู อายุ (ชวั่ คราว/ถาวร) 4.72 10 ส่งเสริมการเรียนรู้พัฒนาศักยภาพด้านความรู้เท่าทันสื่อให้กับผู้สูงอายุให้เข้าใจ 4.68 และใชเ้ ครือ่ งมอื เทคโนโลยไี ด้ง่าย 11 อน่ื ๆ ไดแ้ ก่ เพ่มิ เงนิ สงเคราะห์ และเครื่องอปุ โภค บริโภค อาหาร เพอื่ ยังชพี 0.29 10. แนวโน้มการปฏิบัตติ ัวตามรูปแบบวถิ ีถัดไป (Next Normal) ในอนาคต (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ) รปู แบบวิถีถดั ไป (Next Normal) ในอนาคต ร้อยละ ดูแลสุขภาพรา่ งกายให้แข็งแรงอยูเ่ สมอ 98.66 (ออกกำลังกาย ลา้ งมือบ่อย ๆ สวมใส่หน้ากากอนามัยเม่ือออกนอกบ้าน เวน้ ระยะหา่ งทางสงั คม) ทำกับข้าว ปลกู ผักสวนครัว ไว้กนิ เอง 91.91 จดั สภาพแวดล้อม ที่พกั อาศัยและชุมชนใหส้ ะอาด ถูกหลักสขุ อนามัย 88.71 กนิ อาหาร เน้ือสัตว์ ผัก ผลไม้ ธญั พชื ปลอดสารพษิ สินคา้ เกษตรอินทรยี ์ 86.36 ฝกึ ปรบั สภาพจติ ใจและอารมณใ์ หส้ มดลุ ปฏบิ ัติตามหลกั ศาสนา หากเกิดความเครยี ด ความวติ กกังวล 82.39 กินส่งิ ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ รา่ งกายเนน้ เสริมภูมคิ ้มุ กนั รา่ งกาย เชน่ วติ ามิน อาหารเสริม สมนุ ไพรต่าง ๆ 81.91 ลดการท้ิงขยะ มีการนำมาใชซ้ ำ้ /ลดการใชไ้ ฟฟ้า น้ำ น้ำมัน เช้ือเพลิง 78.18 หลีกเลีย่ งการจับหรือสมั ผัสกับสิ่งต่าง ๆ โดยไม่จำเป็นใชเ้ ทคโนโลยีไร้การสัมผัส เชน่ การรบั 57.09 โอนจ่ายเงนิ ผา่ นโทรศพั ท์มือถือ สง่ั ของออนไลน์ ทำกจิ กรรม ทำงานประกอบอาชีพธุรกจิ ท่บี า้ นหรอื ทางออนไลน์ 37.14 ศูนย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 24

11. ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ ท่จี ะช่วยใหผ้ ู้สูงอายมุ ีคณุ ภาพชวี ิตท่ีดีขึ้น ร้อยละ ข้อเสนอแนะเพิม่ เติมท่ีจะช่วยให้ผู้สูงอายุมีคณุ ภาพชีวิตท่ีดีข้ึน 44.13 15.98 ควรเพมิ่ สทิ ธแิ ละสวสั ดิการของผู้สูงอายุ เช่น การเพมิ่ เบีย้ ยงั ชีพรายเดือนใหแ้ ก่ผสู้ งู อายุ 11.00 ควรส่งเสริมการประกอบอาชีพเพ่ือสรา้ งรายได้ใหก้ ับผ้สู งู อายุ 8.47 การไดร้ บั การบริการทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุขโดยมีช่องทางการบริการสำหรับผู้สูงอายุ 7.41 เพือ่ อำนวยความสะดวกและรวดเร็วในการเขา้ รับการรักษา 3.70 ควรส่งเสริมให้มกี จิ กรรมยามวา่ งหรอื กิจกรรมการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผูส้ งู อายุ 3.28 ควรจัดสรรวัคซนี ป้องกันเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ เพียงพอตอ่ ความตอ้ งการ 2.65 ผสู้ งู อายตุ อ้ งได้รับการดแู ลเอาใจใส่ พูดคุย ใหก้ ำลังใจ จากครอบครัวอยา่ งใกลช้ ดิ 2.22 การสอนหรอื แนะนำการใชอ้ ุปกรณ์เคร่อื งมอื เทคโนโลยตี า่ ง ๆ 0.63 ควรมีเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ความรู้เกี่ยวกับโรคต่าง ๆ ในปัจจุบัน และแนะนำ 0.53 วธิ กี ารดูตวั เองทถ่ี ูกต้องใหก้ ับผ้สู ูงอายใุ นชุมชน ควรส่งเสรมิ การศึกษาตลอดชีวติ /โรงเรยี นผสู้ ูงอายุ ควรสง่ เสรมิ การดูแลรกั ษาพยาบาลผู้สูงอายุ ควรจดั หาที่พักอาศยั สำหรับผ้สู งู อายุ (แบบถาวร/ชวั่ คราว) หมายเหตุ: เฉพาะผู้ทแี่ สดงความคดิ เห็นจำนวน 945 หนว่ ยตวั อยา่ ง ลักษณะขอ้ มลู ทัว่ ไปของตัวอยา่ ง 1. จำนวนและรอ้ ยละจำแนกตามเพศ เพศ จำนวน ร้อยละ 41.07 ชาย 1,807 58.93 100.00 หญิง 2,593 รวมทั้งส้ิน 4,400 2. จำนวนและร้อยละจำแนกตามชว่ งอายุ จำนวน ร้อยละ ชว่ งอายุ 3,447 78.34 767 17.43 60 - 70 ปี 176 4.00 71 - 80 ปี 10 0.23 81 - 90 ปี 4,400 100.00 มากกวา่ 90 ปี จำนวน ร้อยละ รวมท้ังส้นิ 801 18.20 3. จำนวนและรอ้ ยละจำแนกตามระดับการศกึ ษา 2,322 52.77 ระดบั การศกึ ษา 481 10.93 293 6.66 ตำ่ กวา่ ประถมศึกษา 119 2.71 ประถมศึกษา 376 8.55 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 8 0.18 มธั ยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. หรอื เทียบเท่า อนุปริญญา/ปวส. หรอื เทียบเท่า 4,400 100.00 ปรญิ ญาตรี ศูนย์สำรวจความคิดเห็นทางสงั คม (พม. POLL) 25 สงู กวา่ ปรญิ ญาตรีข้นึ ไป รวมท้ังสน้ิ

4. จำนวนและรอ้ ยละจำแนกตามบคุ คลทพี่ ักอาศัยอย่ดู ว้ ย จำนวน ร้อยละ บคุ คลทีพ่ ักอาศยั อยู่ด้วย 2,053 46.66 1,833 41.66 บตุ รหลาน 256 5.82 คสู่ มรส/คชู่ ีวิต 187 4.25 ญาต/ิ พ่ีน้อง 69 1.57 อย่ตู ามลำพงั 2 0.04 พอ่ แม่ 4,400 100.00 เพือ่ น จำนวน รอ้ ยละ รวมทั้งส้ิน 2,501 56.84 1,240 28.18 5. จำนวนและรอ้ ยละจำแนกตามสถานภาพ 8.36 สถานภาพ 368 6.62 291 100.00 สมรส 4,400 หมา้ ย/หย่ารา้ ง/แยกกนั อยู่ โสด อยดู่ ้วยกนั แต่ไม่ไดแ้ ต่งงาน รวมท้ังส้นิ 6. จำนวนและร้อยละจำแนกตามภาวะการทำงาน จำนวน ร้อยละ ภาวะการทำงาน 2,673 60.75 1,727 39.25 ยังคงทำงาน/ประกอบอาชพี อยู่ 4,400 100.00 ไมไ่ ด้ทำงาน รวมทั้งสิ้น 7. จำนวนและร้อยละจำแนกตามอาชีพ จำนวน รอ้ ยละ อาชพี (เฉพาะผูท้ ี่ยังคงทำงาน/ประกอบอาชพี อยู่) 1,102 41.23 เกษตรกร/ประมง/เล้ยี งสัตว์ 939 35.13 ค้าขาย/ธรุ กจิ สว่ นตวั /อาชีพอิสระ 622 23.27 รบั จ้างทว่ั ไป/ผูใ้ ชแ้ รงงาน 10 0.37 ไม่ระบุอาชพี 2,678 100.00 รวมท้ังสิ้น 8. จำนวนและรอ้ ยละจำแนกตามรายไดเ้ ฉลยี่ ต่อเดอื น จำนวน ร้อยละ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 566 12.87 40.61 ไมม่ รี ายได้ 1,787 23.84 ไมเ่ กนิ 5,000 บาท 1,049 9.84 5,001 - 10,000 บาท 4.73 10,001 - 20,000 บาท 433 1.18 20,001 - 30,000 บาท 208 6.93 มากกว่า 30,000 บาท 52 100.00 ไมร่ ะบุรายได้ 305 4,400 รวมท้ังส้ิน ศนู ยส์ ำรวจความคิดเห็นทางสงั คม (พม. POLL) 26

ภาคผนวก กราฟิกผลโพล (ระดับประเทศ) ศนู ยส์ ำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. POLL) 27

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 28

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 29

ภาคผนวก กราฟิกผลโพล สสว. 1–11 (ระดบั กลุ่มจังหวัด) ศูนย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 30

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 31

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 32

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 33

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 34

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 35

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 36

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 37

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 38

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 39

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 40

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 41

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 42

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 43

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 44

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. POLL) 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook