Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานฉบับสมบูรณ์ Feedback สังคมไทย ต่อภัย COVID

รายงานฉบับสมบูรณ์ Feedback สังคมไทย ต่อภัย COVID

Published by tpso7 newsletter, 2022-08-01 04:48:16

Description: รายงานฉบับสมบูรณ์ Feedback สังคมไทย ต่อภัย COVID

Search

Read the Text Version

รายงานผลโครงการอบรมให้ความรู้ ออกแบบเครื่องมือ การประมวลผล และรว่ มเผยแพรผ่ ลกจิ กรรมวดั อณุ หภูมทิ างสังคม (พม. POLL) ประจำปีงบประมาณ 2565 เรอ่ื ง “Feedback สังคมไทย ตอ่ ภัย COVID-19” เสนอ สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 7 กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ โดย ศูนยส์ ำรวจความคิดเห็น “นิดา้ โพล” สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์

คำนำ รายงานผลการสำรวจความคิดเห็น เรื่อง “Feedback สังคมไทย ต่อภัย COVID-19” มีวัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจผลกระทบด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคม ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคโควิด 19 และนำข้อมูลที่ได้ไปเป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายเพื่อให้ความช่วยเหลือประชาชน ที่ได้รับผลกระทบต่อไปโดยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการลงพื้นที่ภาคสนามจากตัวอย่างที่มีอายุ 12 ปีขึ้นไป จำนวนทั้งสิ้น 4,400 หน่วยตัวอย่าง ทำการสำรวจในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2565 อนึ่ง การสำรวจ ในครั้งนีส้ ำเร็จลุล่วงไปไดด้ ้วยดี เป็นการดำเนนิ งานร่วมกันระหวา่ งศูนยส์ ำรวจความคิดเหน็ ทางสงั คม พม. Poll โดยสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กับศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ในการร่วมกำหนดกรอบ ประเด็นและแนวทางการดำเนินการสำรวจและขอขอบคุณกลุ่มตัวอย่างที่ได้สละเวลาแสดงความคิดเห็น ในแบบสอบถามครง้ั นี้ ศูนยส์ ำรวจความคิดเหน็ “นิดา้ โพล” สถาบนั บัณฑิตพฒั นบริหารศาสตร์ ศูนย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) ก

สารบัญ หนา้ คำนำ .....................................................................................................................................................ก สารบญั ..................................................................................................................................................ข สารบัญตาราง ........................................................................................................................................ค 1. ความเปน็ มา ............................................................................................................................................. 1 2. วัตถุประสงค์ในการศกึ ษา ......................................................................................................................... 2 3. ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รับ ....................................................................................................................... 2 4. ขอบเขตการดำเนินงาน ............................................................................................................................ 2 5. ระเบยี บวธิ วี จิ ัย ......................................................................................................................................... 2 6. ผลการสำรวจ ........................................................................................................................................... 4 ภาคผนวก ............................................................................................................................................ 17 ภาคผนวก ก เอกสารเผยแพรผ่ ลโพล ........................................................................................................... 18 ภาคผนวก กราฟกิ ผลโพล (ระดบั ประเทศ)................................................................................................... 29 ภาคผนวก กราฟกิ ผลโพล สสว. 1-11 (ระดับกลมุ่ จังหวัด)........................................................................... 32 ภาคผนวก แบบสอบถาม.............................................................................................................................. 50 ภาคผนวก มูลค่าสอื่ ........................................................................................................................................ 4 ศูนย์สำรวจความคดิ เหน็ ทางสังคม (พม. Poll) ข

สารบญั ตาราง หนา้ ตารางที่ 1 ลกั ษณะขอ้ มูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม .................................................................................. 4 ตารางท่ี 2 จำนวนและร้อยละของสมาชิกในครอบครัวทีก่ ำลงั กำลังศึกษา....................................................... 6 ตารางท่ี 3 จำนวนและร้อยละของสมาชิกในครอบครัวที่เรียนออนไลน์ ........................................................... 7 ตารางท่ี 4 จำนวนและรอ้ ยละของสมาชกิ ในครอบครัวได้รบั การชว่ ยเหลือด้านการศกึ ษาในช่วงการแพร่ระบาด ของโรคโควดิ 19 ............................................................................................................................ 7 ตารางที่ 5 จำนวนและรอ้ ยละของความคดิ เหน็ ในเรื่องผลกระทบจากการเรยี นออนไลน์ ................................ 8 ตารางที่ 6 จำนวนและร้อยละของความต้องการสำหรับการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์ปจั จุบนั ........ 9 ตารางที่ 7 จำนวนและรอ้ ยละของครอบครัวที่ได้รับผลกระทบทางเศรษฐกจิ ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ....... 9 ตารางที่ 8 อนั ดับและรอ้ ยละของผลกระทบทางเศรษฐกิจท่ีไดร้ ับ ในช่วงสถานการณโ์ ควิด 19 ..................... 10 ตารางท่ี 9 จำนวนและร้อยละของการปรบั ตวั ในด้านการเงนิ ในชว่ งสถานการณโ์ ควิด 19 ............................. 10 ตารางที่ 10 อนั ดับและรอ้ ยละของเรื่องทส่ี ่งผลกระทบตอ่ การดำเนนิ ชวี ติ ในชว่ งสถานการณ์โควิด 19......... 11 ตารางท่ี 11 จำนวนและรอ้ ยละของเหตกุ ารณ์ความรนุ แรงที่เกิดขนึ้ ภายในครอบครวั ในช่วงสถานการณ์โควดิ 19.......................................................................................................... 12 ตารางท่ี 12 จำนวนและร้อยละของได้รับความช่วยเหลอื จากภาครฐั ในชว่ งสถานการณ์โควดิ 19 ................. 12 ตารางท่ี 13 อันดับและร้อยละของเรอ่ื งทตี่ ้องการใหภ้ าครฐั ดำเนินการอย่างเรง่ ด่วน ในช่วงสถานการณ์โควดิ 19........................................................................................................... 13 ตารางที่ 14 จำนวนและร้อยละของการเปล่ียนแปลงหรอื การปรับตวั ของสังคมไทย ในสถานการณ์โควดิ 19................................................................................................................ 13 ตารางที่ 15 จำนวนและรอ้ ยละของขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ เพิม่ เติม.................................................................... 14 ศนู ยส์ ำรวจความคิดเหน็ ทางสังคม (พม. Poll) ค

โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน “Feedback สังคมไทย ตอ่ ภยั COVID-19” 1. ความเป็นมา ในปี 2563 หลายประเทศทั่วทุกภูมิภาคของโลกเผชิญกบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งโรคระบาดนีส้ ร้างความเสียหายอย่างเป็นวงกว้างทัง้ ตอ่ ชีวิตความเป็นอยู่ ของผคู้ น และสง่ ผลกระทบต่อความม่ันคงด้านสุขภาพระดับโลก (Global Health Security) เนอ่ื งจากพบการ ระบาดของโรคเพม่ิ ข้ึนอย่างต่อเนือ่ งและยงั ไม่สามารถควบคมุ การระบาดของโรคได้ (วเิ ชยี ร มนั แหล่ และคณะ, 2021) และประเทศไทยเปน็ หนึง่ ในประเทศท่ีเผชญิ กับปัญหาการแพร่ระบาดของโรคดงั กล่าว เนื่องจากมีการ พบยอดผู้ติดเชื้อสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีการแพร่ระบาดไปเกือบทุกจังหวัด ทำให้รัฐบาลต้องประกาศใช้ พระราชกำหนดฉุกเฉินทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2563 มีการห้ามเดินทาง และการปิดเมือง (Lockdown) การบังคับใช้เคอร์ฟิว รวมไปถึงการสั่งปิดสถานที่ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการแพร่ระบาดของ โรคโควิด 19 เช่น ห้างสรรพสินค้า (ยกเว้นซุปเปอร์มาร์เก็ต) สถานบริการ สถานบันเทิง โรงภาพยนตร์ สวน สนุก คลนิ ิกเสริมความงาม โรงยิมหรอื สถานท่อี อกกกำลังกาย สถานศกึ ษา และสถาบนั กวดวิชา ฯ ซึ่งมาตรการ ดังกล่าวสง่ ผลกระทบท้ังทางตรงและทางอ้อมต่อประชาชนในทุกมติ ิ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และ การศกึ ษา (เสาวลักษม์ กิตตปิ ระภสั ร์ และคณะ, 2563) ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมอย่างกว้างขวาง นอกจากปญั หาทางดา้ นสาธารณสขุ ที่ต้องรบั มือกับโรคอุบตั ิใหม่และสถานการณ์การแพรร่ ะบาดแลว้ มาตรการ การเว้นระยะหา่ งทางสงั คม (social distancing) การปิดเมอื ง (lockdown) และการปดิ สถานทีต่ ่าง ๆ เพ่ือลด การระบาดของโรคโควิด 19 ยงั ทำให้เกิดการชะงักงนั ในกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ สง่ ผลกระทบตอ่ ผ้ปู ระกอบการ ผูค้ า้ ขายรายยอ่ ย ลกู จา้ ง และแรงงานนอกระบบจำนวนมาก ทำใหเ้ กดิ การตกงานและขาดรายได้อย่างฉับพลัน ลูกจ้างตอ้ งหยุดงานโดยไมไ่ ด้รับเงินเดือน ถกู เลิกจ้าง หรือถูกลดรายได้ และจากมาตรการป้องกันและควบคุม การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 สถาบันการศึกษาไม่สามารถจัดให้ผู้เรียนเข้าเรียน ในโรงเรียนหรือ มหาวิทยาลัยตามปกติได้ จงึ ปรบั รปู แบบการเรยี นการสอนเป็นแบบออนไลนผ์ ่านสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกสแ์ ทน รวมถึง พนักงานทั้งภาครัฐและเอกชน ที่มีการปรับรูปแบบการทำงาน เป็นการทำงานที่บ้าน (work form home) และจากปัญหาที่ได้กล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่าประชาชนทุกจังหวัดทั่วประเทศไทยได้รับผลกระทบทั้งใน ด้านเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา ดังนั้นศูนย์สำรวจความคิดเห็นทางสังคม พม. Poll สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ จึงทำการสำรวจผลกระทบด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคม ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปเป็นแนวทางในการกำหนดนโยบาย เพื่อให้ความช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบต่อไป ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. Poll) 1

2. วัตถปุ ระสงค์ในการศกึ ษา เพ่ือศึกษาผลกระทบด้านการศกึ ษา ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคม ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด ของโรคโควดิ 19 3. ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับ ได้ทราบความคิดเห็นและผลกระทบของเด็กและเยาวชน รวมถึงประชาชนทั่วไป ในด้านการศึกษา ดา้ นเศรษฐกจิ และดา้ นสังคม ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 4. ขอบเขตการดำเนินงาน 4.1 ขอบเขตดา้ นประชากร กลุ่มเปา้ หมายการสำรวจในครัง้ น้ี คอื ประชาชนที่มอี ายุ 12 ปีขน้ึ ไป 4.2 ขอบเขตทางด้านเนื้อหา การสำรวจครั้งนี้ สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 และศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นดิ า้ โพล” ร่วมกันกำหนดขอบเขตของการสำรวจครอบคลุมเนื้อหาดังต่อไปน้ี สว่ นที่ 1 ผลกระทบด้านการศึกษา ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 สว่ นท่ี 2 ผลกระทบดา้ นเศรษฐกิจ ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ส่วนที่ 3 ผลกระทบด้านสังคม ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 สว่ นท่ี 4 ลักษณะขอ้ มลู ท่วั ไป 4.3 ขอบเขตดา้ นการปฏบิ ตั งิ าน 1. ออกแบบสอบถามและพัฒนาแบบสอบถามเพ่ือใช้ในการสำรวจจรงิ 2. กำหนดระเบียบวิธใี นการวิจัย ซงึ่ ประกอบด้วย การกำหนดประชากรเป้าหมาย การสุ่มตัวอย่าง การกำหนดขนาดตวั อยา่ ง ตลอดจนแนวทางในการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมลู 3. ตรวจสอบคุณภาพขอ้ มูลและบันทกึ ข้อมูลลงโปรแกรมสำเรจ็ รปู 4. วิเคราะหแ์ ละประมวลผลขอ้ มูล 5. สรปุ ผลการสำรวจและนำเสนอผลโพลผ่านสอื่ และเวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ 5. ระเบียบวธิ ีวจิ ยั 5.1 ลักษณะและรปู แบบการวิจัย ในการสำรวจคร้งั น้ีใชร้ ะเบียบวิธีวิจยั เชิงสำรวจ (Survey Research) ซ่งึ เป็นระเบียบวิธีเชิงปริมาณ (Quantitative Methodology) ในการวัดและประเมนิ ผล การกำหนดขนาดตวั อย่าง การสมุ่ ตัวอย่าง การเก็บ รวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ และการประมวลผล เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย และเป็นประโยชน์สงู สดุ ต่อสำนกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 ศูนย์สำรวจความคดิ เหน็ ทางสังคม (พม. Poll) 2

5.2 ประชากรเป้าหมายและการสุ่มตัวอยา่ ง ประชากรเปา้ หมายในการสำรวจครั้งน้ี คอื ประชาชนทมี่ ีอายุ 12 ปขี ้นึ ไป โดยกระจายทุกภูมิภาค ทั่วประเทศ กลุ่มตัวอย่างท่ีสำรวจครั้งนี้ คือ ประชาชนที่มีอายุ 12 ปีขึ้นไป ผู้วิจัยเลอื กใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กำหนดความน่าจะเป็นตามสัดส่วนกับจำนวนประชากร เป้าหมาย โดยกำหนดขนาดตัวอย่างของการสำรวจครั้งน้ี 4,400 หน่วยตัวอยา่ ง ซึ่งมีค่าความเชือ่ ม่ัน ร้อยละ 95.00 5.3 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเรื่อง Feedback สังคมไทย ต่อภัย COVID-19 ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยวธิ ีการลงพื้นท่ีภาคสนาม (Field Survey) เปน็ การสมั ภาษณ์จากผู้ให้คำตอบ โดยตรง (Face to Face Interview) ตามขอบเขตเน้อื หาการสำรวจในครง้ั นี้ 5.4 การวิเคราะหแ์ ละประมวลผลข้อมลู การวิเคราะหข์ ้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ โดยเลอื กใชส้ ถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) เป็นสถิติเบอ้ื งตน้ ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ได้แก่ ความถ่ี และคา่ ร้อยละ ศนู ยส์ ำรวจความคิดเห็นทางสังคม (พม. Poll) 3

6. ผลการสำรวจ การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเรื่อง Feedback สังคมไทย ต่อภัย COVID-19 ทำการ สำรวจจากประชาชนที่มอี ายุ 12 ปีขึ้นไป กระจายทุกภมู ิภาคทว่ั ประเทศ จำนวนท้ังส้นิ 4,400 หน่วยตัวอย่าง สามารถสรุปผลการสำรวจไดด้ งั น้ี ตารางท่ี 1 ลักษณะข้อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ลกั ษณะขอ้ มลู ทว่ั ไป จำนวน รอ้ ยละ เพศ 1,746 39.68 ชาย 2,584 58.73 หญิง เพศทางเลอื ก 70 1.59 รวมทั้งสน้ิ 4,400 100.00 อายุ 1,100 25.00 อายุ 12-18 ปี 1,100 25.00 อายุ 19-24 ปี 2,200 50.00 อายุ 25 ปขี ้ึนไป 4,400 100.00 รวมทั้งสิ้น 12 ปี อายุตำ่ สดุ 87 ปี อายสุ งู สุด 28 ปี อายุเฉลย่ี 12.661 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถานภาพ 3,006 68.32 1,224 27.82 โสด สมรส 142 3.23 หม้าย/หย่ารา้ ง/แยกกันอยู่ 28 0.63 ไมร่ ะบุ 4,400 100.00 รวมทง้ั ส้นิ 3,044 69.18 จำนวนบตุ ร 1,356 30.82 ไมม่ บี ุตร 1,147 84.59 มีบุตร 191 14.09 18 1.32 1-2 คน 4,400 100.00 3-4 คน 5 คนขนึ้ ไป 1 คน 7 คน รวมทั้งสนิ้ 2 คน จำนวนบตุ รท่ตี ำ่ สดุ 0.888 จำนวนบตุ รท่สี ูงสุด จำนวนบตุ รเฉลี่ย ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. Poll) 4

ตารางท่ี 1 (ตอ่ ) ลักษณะข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน ร้อยละ ลักษณะขอ้ มลู ทัว่ ไป 70 1.59 ระดับการศึกษา 439 9.98 1,588 36.09 ไมไ่ ดร้ บั การศึกษา 580 13.18 ประถมศึกษา 1,613 36.66 มธั ยมศึกษาหรือเทยี บเทา่ 108 2.45 อนปุ รญิ ญาหรือเทยี บเทา่ 0.05 ปรญิ ญาตรีหรอื เทยี บเทา่ 2 100.00 ปริญญาโทหรือเทียบเทา่ 4,400 ปริญญาเอกหรอื เทียบเท่า 15.41 678 2.23 รวมท้งั ส้ิน 98 7.41 อาชีพหลกั 326 2.86 126 8.52 รบั ราชการ/พนกั งาน/ลูกจ้างของรฐั 375 9.77 พนกั งานรัฐวสิ าหกจิ 430 3.02 พนกั งานบรษิ ทั เอกชน 133 7.14 เจา้ ของธุรกิจสว่ นตวั 314 0.50 ค้าขาย 22 40.19 รับจา้ งทั่วไป/ผู้ใชแ้ รงงาน 1,768 2.95 เกษตรกรรม/ประมง 130 100.00 อาชีพอสิ ระ 4,400 เกษียณอายุ/ขา้ ราชการบำนาญ 19.93 นักเรยี น/นกั ศกึ ษา 877 26.27 พอ่ บ้าน/แม่บ้าน/วา่ งงาน 1,156 7.45 2.50 รวมท้ังส้ิน 328 1.18 รายไดต้ ่อเดอื น 110 35.58 52 7.09 ไมเ่ กนิ 10,000 บาท 1,565 100.00 10,001-20,000 บาท 312 20,001-30,000 บาท 4,400 30,001-40,000 บาท 40,001 บาทขึน้ ไป ไมม่ ีรายได้ ไมร่ ะบุ รวมทง้ั สิ้น ศนู ยส์ ำรวจความคดิ เหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 5

จากตารางที่ 1 พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 58.73 เป็นเพศหญิง ร้อยละ 39.68 เป็นเพศชาย และร้อยละ 1.59 เป็นเพศทางเลือก ตัวอย่างร้อยละ 50.00 อายุ 25 ปีขึ้นไป ร้อยละ 25.00 อายุระหว่าง 12-18 ปี และ อายรุ ะหว่าง อายุ 19-24 ปี ในสดั สว่ นท่ีเท่ากัน โดยมอี ายเุ ฉลีย่ 28 ปี ตวั อยา่ งรอ้ ยละ 68.32 มีสถานภาพโสด ร้อยละ 27.82 สมรส ร้อยละ 3.23 หม้าย/หย่าร้าง/แยกกันอยู่ และร้อยละ 0.63 ไม่ระบุสถานภาพ ตัวอย่าง ร้อยละ 69.18 ไมม่ บี ตุ ร และรอ้ ยละ 30.82 มบี ุตร โดยตัวอยา่ งที่มบี ตุ ร รอ้ ยละ 84.59 มีบุตร 1-2 คน ร้อยละ 14.09 มบี ตุ ร 3-4 คน และร้อยละ 1.32 มีบตุ ร 5 คนข้นึ ไป โดยมีบตุ รเฉล่ยี 2 คน ตัวอย่างร้อยละ 36.66 จบการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ร้อยละ 36.09 จบการศึกษา มัธยมศึกษาหรอื เทียบเท่า ร้อยละ 13.18 จบการศึกษาอนปุ รญิ ญาหรือเทียบเท่า ร้อยละ 9.98 จบการศึกษา ประถมศกึ ษา รอ้ ยละ 2.45 จบการศึกษาปรญิ ญาโทหรอื เทียบเทา่ รอ้ ยละ 1.59 ไมไ่ ด้รบั การศกึ ษา และรอ้ ยละ 0.05 จบการศึกษาปริญญาเอกหรือเทียบเท่า ตัวอย่างร้อยละ 40.19 เป็นนักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ 15.41 รับราชการ/พนักงาน/ลกู จ้างของรัฐ รอ้ ยละ 9.77 รบั จ้างทวั่ ไป/ผู้ใช้แรงงาน ร้อยละ 8.52 คา้ ขาย รอ้ ยละ 7.41 พนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 7.14 อาชีพอิสระ ร้อยละ 3.02 เกษตรกรรม/ประมง ร้อยละ 2.95 พ่อบ้าน/ แม่บ้าน/ว่างงาน ร้อยละ 2.86 เจ้าของธุรกิจส่วนตัว ร้อยละ 2.23 พนักงานรัฐวิสาหกิจ และร้อยละ 0.50 เกษยี ณอาย/ุ ข้าราชการบำนาญ ตวั อยา่ งร้อยละ 35.58 ไม่มรี ายได้ ร้อยละ 26.27 รายได้ 10,001-20,000 บาท ร้อยละ 19.93 รายได้ ไม่เกิน 10,000 บาท ร้อยละ 7.45 รายได้ 20,001-30,000 บาท ร้อยละ 7.09 ไม่ระบุรายได้ ร้อยละ 2.50 รายได้ 30,001-40,000 บาท และรอ้ ยละ 1.18 รายได้ 40,001 บาทขนึ้ ไป ตารางท่ี 2 จำนวนและร้อยละของสมาชิกในครอบครัวท่ีกำลังกำลังศกึ ษา จำนวน ร้อยละ 3,328 75.64 สมาชกิ ในครอบครัวท่กี ำลังกำลงั ศึกษา มี 2,910 87.44 368 11.06 1-2 คน 41 1.23 3-4 คน 7 0.21 5-6 คน 2 0.06 7-8 คน 1,072 24.36 9-10 คน 4,400 100.00 ไมม่ ี 1 คน รวมทงั้ สน้ิ 10 คน จำนวนสมาชกิ คา่ ต่ำสดุ 2 คน จำนวนสมาชิกคา่ สงู สุด จำนวนสมาชิกคา่ เฉลี่ย จากตารางที่ 2 พบว่า ตัวอยา่ งสว่ นใหญ่ รอ้ ยละ 75.64 ระบวุ ่า มีสมาชิกในครอบครวั ที่กำลังศึกษาอยู่ และร้อยละ 24.36 ระบุว่าไมม่ ี โดยตัวอย่างท่ีมีสมาชิกในครอบครัวที่กำลังศึกษาอยู่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 87.44 ระบุว่ามีสมาชิกที่กำลังศึกษาอยู่จำนวน 1-2 คน รองลงมา ร้อยละ 11.06 มีสมาชิกจำนวน 3-4 คน ร้อยละ 1.23 มีสมาชกิ จำนวน 5-6 คน ร้อยละ 0.21 มสี มาชิกจำนวน 7-8 คน และรอ้ ยละ 0.06 มสี มาชิกจำนวน 9- 10 คน โดยมีจำนวนสมาชิกที่กำลงั ศกึ ษาอยู่เฉลีย่ 2 คน ศนู ยส์ ำรวจความคิดเห็นทางสงั คม (พม. Poll) 6

ตารางท่ี 3 จำนวนและร้อยละของสมาชิกในครอบครัวทเี่ รียนออนไลน์ จำนวน ร้อยละ 3,094 92.97 สมาชกิ ในครอบครัวที่เรียนออนไลน์ มี ผู้ที่เรยี นออนไลน์ และใชอ้ ปุ กรณ์ในการเรียนออนไลน์ (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ) 1,271 41.08 592 19.13 คอมพวิ เตอร/์ โน๊ตบคุ๊ แท็บเล็ต/ไอแพด 2,551 82.45 โทรศัพท์มือถอื สมารท์ โฟน 93 3.01 สมารท์ ทวี ี/กลอ่ งดิจิทลั 30 0.97 ไมม่ อี ุปกรณ์การเรียนออนไลน์ 7.03 ไม่มี ผ้ทู ี่เรยี นออนไลน์ 234 100.00 3,328 รวมท้งั สิ้น หมายเหตุ: เฉพาะผทู้ มี่ สี มาชิกในครอบครวั ทก่ี ำลังกำลังศกึ ษา จากตารางท่ี 3 พบว่า ตัวอย่างที่มสี มาชิกในครอบครัวที่กำลังกำลังศกึ ษาอยู่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 92.97 ระบุว่า มีสมาชิกในครอบครัวที่เรียนออนไลน์ และร้อยละ 7.03 ระบุว่าไม่มี โดยในจำนวนผู้ที่มีสมาชิก ในครอบครัวทเี่ รียนออนไลน์ ร้อยละ 82.45 ใชโ้ ทรศัพทม์ ือถอื สมาร์ทโฟนในการเรยี น รองลงมา ร้อยละ 41.08 ใช้คอมพิวเตอร์/โน๊ตบุ๊ค ร้อยละ 19.13 ใช้แท็บเล็ต/ไอแพด ร้อยละ 3.01 ใช้สมาร์ททีวี/กล่องดิจิทัล และ ร้อยละ 0.97 ไมม่ อี ุปกรณก์ ารเรียนออนไลน์ ตารางท่ี 4 จำนวนและรอ้ ยละของสมาชกิ ในครอบครวั ได้รบั การชว่ ยเหลอื ด้านการศึกษาในช่วงการแพรร่ ะบาด ของโรคโควิด 19 สมาชกิ ในครอบครัวท่ีได้รับการช่วยเหลอื จำนวน ร้อยละ ได้รบั การชว่ ยเหลือดา้ นการศกึ ษา (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) 2,968 89.18 อปุ กรณท์ ่ใี ช้ในการเรยี นออนไลน์ 221 7.45 การสนับสนุนคา่ อินเทอรเ์ นต็ 402 13.54 การลดคา่ เลา่ เรยี น/คืนเงนิ ค่าเทอม (บางส่วน) 1,173 39.52 ไดร้ ับเงนิ คนื ค่าอาหารกลางวัน 655 22.07 เงนิ เยียวยาจากรฐั บาล 2,000 บาท 1,777 59.87 ช่วยเหลือเร่อื งทนุ การศึกษา 216 7.28 ลดดอกเบ้ยี เงนิ กู้ยมื เพอ่ื การศึกษา (กยศ.) 101 3.40 ไมไ่ ด้รับการช่วยเหลือด้านการศกึ ษา 360 10.82 ระบเุ ร่ืองทตี่ อ้ งการใหช้ ่วยเหลอื ดงั น้ี 104 100.00 การลดค่าเทอม 25 24.04 ทนุ การศึกษา 22 21.15 สนับสนุนคา่ อินเตอร์เนต็ 30 28.85 อปุ กรณ์การเรยี นออนไลน์ 27 25.96 3,328 100.00 รวมท้ังส้นิ หมายเหตุ: เฉพาะผทู้ ่ีมีสมาชิกในครอบครวั ทก่ี ำลงั กำลงั ศึกษา ศูนย์สำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. Poll) 7

จากตารางท่ี 4 พบว่า ตัวอย่างที่มสี มาชิกในครอบครัวที่กำลังกำลงั ศึกษาอยู่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 89.18 ได้รบั การช่วยเหลอื ด้านการศกึ ษา และร้อยละ 10.82 ไมไ่ ด้รบั การช่วยเหลือ โดยตัวอย่างที่ไดร้ บั การช่วยเหลือ ด้านการศึกษา รอ้ ยละ 59.87 ไดร้ ับความชว่ ยเหลือเปน็ เงินเยียวยาจากรัฐบาล 2,000 บาท รองลงมา ร้อยละ 39.52 การลดค่าเล่าเรียน/คืนเงินค่าเทอม (บางส่วน) ร้อยละ 22.07 ได้รับเงินคืนค่าอาหารกลางวัน ร้อยละ 13.54 การสนับสนุนค่าอินเทอร์เนต็ ร้อยละ 7.45 อุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนออนไลน์ ร้อยละ 7.28 ช่วยเหลือ เรื่องทุนการศึกษา และร้อยละ 3.40 ลดดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ส่วนตัวอย่างที่ไม่ได้รับการ ช่วยเหลือดา้ นการศึกษา ร้อยละ 28.85 ต้องการใหส้ นบั สนุนค่าอนิ เตอร์เน็ต รองลงมา ร้อยละ 25.96 ต้องการ อุปกรณก์ ารเรียนออนไลน์ ร้อยละ 24.04 การลดค่าเทอม และร้อยละ 21.15 ใหท้ ุนการศกึ ษา ตารางท่ี 5 จำนวนและร้อยละของความคิดเห็นในเร่อื งผลกระทบจากการเรยี นออนไลน์ ผลกระทบจากกการเรียนออนไลน์ จำนวน ร้อยละ เพิ่มภาระคา่ ใช้จ่ายในการซือ้ อปุ กรณ์การเรยี นออนไลน์ ค่าไฟ คา่ อินเทอร์เน็ต 2,982 67.77 ผูป้ กครองมีภาระเพ่ิมข้นึ ในเรอ่ื งการเรยี นของบตุ รหลาน 2,130 48.41 เด็กทะเลาะ/เกดิ ความขดั แย้งกับผูป้ กครอง 776 17.64 เด็กขาดปฏิสัมพันธก์ ับเพ่ือน ขาดทักษะทางสงั คม (ไม่มีพิธีไหว้ครู ไม่มกี จิ กรรม 1,954 44.41 กีฬา) ไม่ไดแ้ ต่งกายชดุ ยนู ฟิ อร์มของโรงเรียน 749 17.02 ปวดตา ปวดหลงั เมอ่ื ยล้าจากการเรียนออนไลน์ 1,989 45.20 เรียนไม่เขา้ ใจ ไมม่ สี มาธิในการเรยี น ผลการเรยี นลดลง 3,178 72.23 เดก็ อาจเข้าถงึ สอื่ ท่ไี มเ่ หมาะสมไดง้ ่าย 1,375 31.25 การเรยี นออนไลนไ์ มส่ ่งผลกระทบต่อเร่ืองใด 4 0.09 หมายเหตุ: ผลกระทบจากกการเรียนออนไลน์ เลือกตอบไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ และมจี ำนวนผ้ตู อบ 4,400 หน่วยตวั อยา่ ง จากตารางที่ 5 พบว่า ผลกระทบจากกการเรียนออนไลน์ ตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 72.23 ระบุว่า เรียนไม่เข้าใจ ไม่มีสมาธิในการเรียน ผลการเรียนลดลง รองลงมา ร้อยละ 67.77 เพิ่มภาระค่าใช้จ่ายในการซื้อ อุปกรณ์การเรียนออนไลน์ ค่าไฟ ค่าอินเทอร์เน็ต ร้อยละ 48.41 ผู้ปกครองมีภาระเพิ่มขึ้นในเรื่องการเรียนของ บุตรหลาน รอ้ ยละ 45.20 ปวดตา ปวดหลงั เม่อื ยลา้ จากการเรียนออนไลน์ ร้อยละ 44.41 เด็กขาดปฏิสัมพันธ์กับ เพื่อน ขาดทักษะทางสังคม (ไม่มีพิธไี หว้ครู ไม่มีกิจกรรมกฬี า) ร้อยละ 31.25 เด็กอาจเข้าถึงสือ่ ท่ีไม่เหมาะสมได้ ง่าย ร้อยละ 17.64 เด็กทะเลาะ/เกิดความขัดแย้งกับผู้ปกครอง ร้อยละ 17.02 ไม่ได้แต่งกายชุดยูนิฟอร์มของ โรงเรียน และร้อยละ 0.09 การเรียนออนไลนไ์ มส่ ่งผลกระทบตอ่ เร่ืองใด ศูนย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสังคม (พม. Poll) 8

ตารางท่ี 6 จำนวนและรอ้ ยละของความต้องการสำหรับการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์ปัจจุบนั การจดั การเรยี นการสอน จำนวน ร้อยละ การเรียน On-site (เรยี นในสถานศึกษา) 2,591 58.89 การเรยี น Online (เรยี นออนไลน์) 1,060 24.09 การเรยี น On-air (เรียนผา่ นโทรทัศน์ในระบบดจิ ิทัล) 88 2.00 การเรียน On-hand (การรบั ใบงานมาทำทบ่ี า้ น) 332 7.55 อ่ืน ๆ เชน่ การเรียน On-site (เรยี นในสถานศึกษา) สลับกบั การเรียน Online 9 0.20 (เรียนออนไลน)์ ไมท่ ราบ/ไมแ่ น่ใจ 320 7.27 4,400 100.00 รวมทงั้ สิน้ จากตารางที่ 6 พบว่า ตวั อย่างรอ้ ยละ 58.89 ตอ้ งการใหจ้ ดั การเรียนการสอนในแบบ On-site (เรียน ในสถานศกึ ษา รองลงมา ร้อยละ 24.09 การเรียน Online (เรยี นออนไลน์) รอ้ ยละ 7.55 การเรยี น On-hand (การรับใบงานมาทำทีบ่ า้ น) ร้อยละ 7.27 ไมท่ ราบ/ไมแ่ นใ่ จ รอ้ ยละ 2.00 การเรียน On-air (เรียนผ่านโทรทัศน์ ในระบบดิจิทัล) และร้อยละ 0.20 อื่น ๆ เช่น การเรียน On-site (เรียนในสถานศึกษา) สลับกับ การเรียน Online (เรียนออนไลน์) ตารางท่ี 7 จำนวนและรอ้ ยละของครอบครวั ทไ่ี ด้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจในช่วงสถานการณโ์ ควดิ 19 ผลกระทบทางเศรษฐกจิ ในช่วงสถานการณโ์ ควิด 19 จำนวน ร้อยละ ไดร้ บั ผลกระทบ 3,257 74.02 ไมไ่ ดผ้ ลกระทบ 825 18.75 ไม่ทราบ/ไมแ่ นใ่ จ 318 7.23 4,400 100.00 รวมทั้งส้ิน จากตารางที่ 7 พบว่า ตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 74.02 ได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจในช่วง สถานการณ์โควดิ 19 ร้อยละ 18.75 ไมไ่ ด้รบั ผลกระทบ และรอ้ ยละ 7.23 ไม่ทราบ/ไมแ่ นใ่ จ ศูนยส์ ำรวจความคดิ เหน็ ทางสังคม (พม. Poll) 9

ตารางท่ี 8 อนั ดับและร้อยละของผลกระทบทางเศรษฐกจิ ทไี่ ด้รับ ในช่วงสถานการณ์โควดิ 19 รอ้ ยละ 30.90 อันดับ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ ท่ไี ดร้ บั ในชว่ งสถานการณ์โควิด 19 13.27 1 คา่ ใช้จ่ายสูงข้ึน 11.92 2 ต้องนำเงินเก็บ/เงนิ ออมมาใช้จา่ ย 10.95 3 การประกอบอาชีพยากลำบาก เชน่ ขายของยากข้ึน 9.73 4 ตกงาน/วา่ งงาน 6.61 5 หน้ีสนิ จากการกยู้ ืม 6.02 6 ถูกตัด/ลดค่าใชจ้ ่ายในชีวิตประจำวัน 5.19 7 ต้องเปลีย่ นงาน/เปล่ยี นอาชพี 3.04 8 ถูกลดเงนิ เดือน 2.38 9 ถกู ลด/ไมไ่ ด้รบั โบนสั 10 ถกู พกั งานโดยไมไ่ ดร้ ับคา่ จ้าง หมายเหตุ: เฉพาะผู้ทีไ่ ด้รับผลกระทบ จำนวน 3,257 คน จากตารางท่ี 8 พบว่า ในช่วงสถานการณโ์ ควดิ 19 ผลกระทบทางเศรษฐกิจทต่ี วั อยา่ งไดร้ บั อันดับที่ 1 ร้อยละ 30.90 ระบุว่า ค่าใช้จ่ายสูงขึ้น อันดับที่ 2 ร้อยละ 13.27 ระบุว่า ต้องนำเงินเก็บ/เงินออมมาใช้จ่าย อันดับที่ 3 ร้อยละ 11.92 ระบุว่า การประกอบอาชีพยากลำบาก เช่น ขายของยากขึ้น อันดับที่ 4 ร้อยละ 10.95 ระบวุ ่า ตกงาน/ว่างงาน อนั ดับท่ี 5 รอ้ ยละ 9.73 ระบวุ า่ หนสี้ ินจากการกยู้ ืม อันดบั ท่ี 6 ร้อยละ 6.61 ระบุว่า ถูกตัด/ลดค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน อันดับที่ 7 ร้อยละ 6.02 ระบุว่า ต้องเปลี่ยนงาน/เปลี่ยนอาชพี อันดับที่ 8 ร้อยละ 5.19 ระบุว่า ถูกลดเงินเดือน อันดับที่ 9 ร้อยละ 3.04 ระบุว่า ถูกลด/ไม่ได้รับโบนัส และ อันดบั ที่ 10 รอ้ ยละ 2.38 ระบว่า ถกู พักงานโดยไม่ไดร้ บั คา่ จา้ ง ตารางท่ี 9 จำนวนและรอ้ ยละของการปรบั ตวั ในดา้ นการเงนิ ในช่วงสถานการณ์โควดิ 19 การปรบั ตัวในดา้ นการเงินในชว่ งสถานการณ์โควดิ 19 จำนวน ร้อยละ มีการปรับตวั ในดา้ นการเงิน (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) 3,844 87.36 1,945 50.60 หารายได้เพมิ่ 2,993 77.86 ประหยดั คา่ ใช้จา่ ย 24.01 มกี ารเกบ็ ออม 923 31.04 นำเงินออมออกมาใช้จ่าย 1,193 10.61 นำทรัพยส์ นิ ออกมาขาย 408 12.38 จำนำทรัพย์สิน 476 11.13 กู้ยืมเงินจากสถาบันการเงนิ ในระบบ 428 กู้ยืมเงินนอกระบบ 260 6.76 ไม่มีการปรบั ตัวในดา้ นการเงิน 368 8.36 ไมท่ ราบ/ไม่แน่ใจ 188 4.27 4,400 100.00 รวมทง้ั ส้ิน ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 10

จากตารางที่ 9 พบว่า ตัวอย่างสว่ นใหญ่ ร้อยละ 87.36 มีการปรับตัวด้านการเงนิ ในชว่ งสถานการณ์ โควิด 19 ร้อยละ 8.36 ไม่มกี ารปรับตวั ในดา้ นการเงนิ และรอ้ ยละ 4.27 ไมท่ ราบ/ไมแ่ น่ใจ โดยตัวอย่างท่มี ีการ ปรับตัวในด้านการเงิน ร้อยละ 77.86 ระบุว่า ประหยัดค่าใช้จ่าย รองลงมา ร้อยละ 50.60 หารายได้เพิ่ม ร้อยละ 31.04 นำเงินออมออกมาใชจ้ ่าย ร้อยละ 24.01 มีการเก็บออม ร้อยละ 12.38 จำนำทรัพย์สิน ร้อยละ 11.13 กู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินในระบบ ร้อยละ 10.61 นำทรัพย์สินออกมาขาย และร้อยละ 6.76 กู้ยืมเงนิ นอกระบบ ตารางท่ี 10 อันดับและรอ้ ยละของเรือ่ งท่สี ่งผลกระทบต่อการดำเนินชวี ิต ในชว่ งสถานการณโ์ ควดิ 19 อนั ดับ เรือ่ งทีส่ ่งผลกระทบตอ่ การดำเนินชีวิต ในช่วงการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ร้อยละ 1 สวมหน้ากากอนามยั ตลอดเวลา ลา้ งมอื บ่อยข้ึน 17.58 2 เปล่ียนแปลงวิธีการทำงานและรูปแบบการประกอบอาชพี 16.56 3 ต้องปรับรูปแบบการเรียนเปน็ แบบออนไลน์ (Online) 14.77 4 ไมไ่ ด้ออกไปพบปะกบั เพ่ือนฝงู 13.21 5 การเดินทางทอ่ งเทีย่ วไมส่ ะดวก 11.30 6 การใช้เทคโนโลยีมากขนึ้ เช่น การติดตอ่ สอื่ สาร การชำระคา่ สินค้าและบริการ 10.32 การซ้ือสินคา้ ออนไลน์ 7 ไมส่ ามารถเข้าร่วมกจิ กรรมตามประเพณี ศาสนาและวัฒนธรรม 8.61 8 ทำกิจกรรมร่วมกบั ครอบครวั เพิ่มข้ึน 4.22 9 ไมส่ ามารถเขา้ ร่วมงานคอนเสิรต์ งานเลีย้ งสงั สรรค์ 3.42 จากตารางที่ 10 พบว่า ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ตัวอย่างได้รับผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต อันดับที่ 1 ร้อยละ 17.58 ระบุว่า สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา ล้างมือบ่อยขึ้น อันดับที่ 2 ร้อยละ 16.56 ระบุว่า เปลยี่ นแปลงวิธกี ารทำงานและรูปแบบการประกอบอาชีพ อันดบั ท่ี 3 ร้อยละ 14.77 ระบวุ า่ ต้องปรับ รูปแบบการเรยี นเปน็ แบบออนไลน์ (Online) อนั ดับที่ 4 ร้อยละ 13.21 ระบวุ ่า ไมไ่ ด้ออกไปพบปะกับเพอ่ื นฝูง อันดับที่ 5 ร้อยละ 11.30 การเดินทางท่องเที่ยวไม่สะดวก อันดับที่ 6 ร้อยละ 10.32 ระบุว่า ใช้เทคโนโลยี มากขึ้น เช่น การติดต่อสื่อสาร การชำระค่าสินค้าและบริการการซือ้ สินค้าออนไลน์ อันดับที่ 7 ร้อยละ 8.61 ระบุว่า ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมตามประเพณี ศาสนาและวัฒนธรรม อันดับที่ 8 ร้อยละ 4.22 ระบุว่า ทำกิจกรรมร่วมกับครอบครัวเพิ่มขึ้น และอันดับที่ 9 ร้อยละ 3.42 ระบุว่า ไม่สามารถเข้าร่วมงานคอนเสิรต์ งานเล้ยี งสังสรรค์ ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. Poll) 11

ตารางท่ี 11 จำนวนและรอ้ ยละของเหตกุ ารณ์ความรนุ แรงทเ่ี กดิ ข้นึ ภายในครอบครัวในช่วงสถานการณ์โควิด 19 มีเหตุการณค์ วามรนุ แรงเกิดข้นึ จำนวน รอ้ ยละ มเี หตกุ ารณ์ความรุนแรงเกดิ ขึ้น (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) 476 10.82 102 21.43 ดา้ นรา่ งกาย เช่น ทุบ ตี เตะ ตบ ต่อย เป็นตน้ 402 84.45 ดา้ นจติ ใจ เชน่ การดถู ูก ดหู มิ่น ทำให้รู้สึกอบั อาย การกกั ขัง เป็นตน้ 3,924 89.18 ไม่มีเหตุการณค์ วามรนุ แรงเกดิ ขึ้น 4,400 100.00 รวมทัง้ สน้ิ จากตารางท่ี 11 พบว่า ตวั อยา่ งสว่ นใหญ่ รอ้ ยละ 89.18 ไมม่ ีเหตกุ ารณค์ วามรนุ แรงภายในครอบครัว ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 และร้อยละ 10.82 มีเหตุการณ์ความรุนแรงเกิดขึ้น โดยเหตุการณ์ความรุนแรง ท่ีเกิดขึ้น ร้อยละ 84.45 ระบุว่า ด้านจิตใจ เช่น การดูถูก ดูหมิ่น ทำให้รู้สึกอับอาย การกักขัง เป็นต้น และ ร้อยละ 21.43 เป็นด้านร่างกาย เชน่ ทบุ ตี เตะ ตบ ตอ่ ย เป็นตน้ ตารางท่ี 12 จำนวนและร้อยละของได้รับความช่วยเหลอื จากภาครฐั ในชว่ งสถานการณโ์ ควิด 19 การชว่ ยเหลือจากภาครัฐในชว่ งสถานการณ์โควิด 19 จำนวน รอ้ ยละ ได้รบั ความช่วยเหลอื จากภาครฐั 3,833 87.11 ไม่ไดร้ ับความชว่ ยเหลอื จากภาครัฐ 567 12.89 ระบุเหตุผล 67 100.00 26 คุณสมบัติไม่เข้าเงอ่ื นไขการรับสิทธิ์ 20 38.80 ไมท่ ราบข้อมูลโครงการ 15 29.85 ไม่สามารถเข้าถึงการบริการของภาครัฐ 3 22.39 ลงทะเบียนไม่ทัน 3 4.48 ลงทะเบยี นไม่เปน็ 4,400 4.48 100.00 รวมทง้ั ส้นิ จากตารางที่ 12 พบว่า ตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 87.11 ได้รับการช่วยเหลือจากภาครัฐในช่วง สถานการณ์โควดิ 19 และรอ้ ยละ 12.89 ไม่ได้รบั ความชว่ ยเหลือ โดยเหตุผลท่ีตวั อย่างไม่ไดร้ ับความช่วยเหลือ ร้อยละ 38.80 ระบุว่า คุณสมบัติไม่เข้าเงื่อนไขการรับสิทธิ์ ร้อยละ 29.85 ระบุว่า ไม่ทราบข้อมูลโครงการ ร้อยละ 22.39 ระบุว่า ไม่สามารถเข้าถึงการบริการของภาครัฐ ร้อยละ 4.48 ระบุว่า ลงทะเบียนไม่ทัน และลงทะเบยี นไมเ่ ป็น ศูนยส์ ำรวจความคิดเหน็ ทางสังคม (พม. Poll) 12

ตารางท่ี 13 อันดับและร้อยละของเร่อื งทต่ี ้องการให้ภาครัฐดำเนนิ การอยา่ งเรง่ ดว่ นในชว่ งสถานการณโ์ ควดิ 19 อนั ดบั ความต้องการใหภ้ าครัฐดำเนินการอย่างเรง่ ด่วน ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 รอ้ ยละ 1 ลดคา่ ครองชีพ/ค่าใช้จา่ ยในชีวติ ประจำวนั เชน่ ค่าน้ำ คา่ ไฟ ค่าอนิ เทอร์เน็ต คา่ วัสดุ 20.25 อปุ กรณใ์ นการศึกษา 2 การเขา้ สกู่ ระบวนการรกั ษาท่สี ะดวกและรวดเรว็ 19.67 3 การจดั หาอปุ กรณ์ตรวจเชอื้ ATK/เครอ่ื งวดั ไข/้ หนา้ กากอนามยั /แอลกอฮอล์ 16.73 4 เงินเยียวยาผไู้ ด้รับผลกระทบจากโรคโควดิ 19 15.32 5 การจัดหาวัคซีนทมี่ ีประสิทธภิ าพในการป้องกนั โรคโควิด 19 13.22 6 จดั เตรยี มสถานทกี่ กั ตวั สำหรับผไู้ ด้รบั ความเสี่ยงจากโรคโควดิ 19 10.80 7 การสง่ เสริมการฝึกอาชีพให้มีรายได้ 4.01 จากตารางที่ 13 พบว่า ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 เรื่องที่ตัวอย่างต้องการให้ภาครัฐดำเนินการ ชว่ ยเหลอื อย่างเร่งด่วน อันดบั ที่ 1 รอ้ ยละ 20.25 ระบุว่า ลดค่าครองชพี /ค่าใช้จ่ายในชวี ิตประจำวัน เชน่ ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าอนิ เทอรเ์ นต็ คา่ วัสดอุ ปุ กรณ์ อันดับที่ 2 ร้อยละ 19.67 ระบวุ า่ การเข้าส่กู ระบวนการรักษาที่สะดวก และรวดเรว็ อันดบั ท่ี 3 รอ้ ยละ 16.73 ระบวุ า่ การจัดหาอปุ กรณ์ตรวจเชือ้ ATK/เคร่อื งวดั ไข้/หน้ากากอนามยั / แอลกอฮอล์ อันดับที่ 4 ร้อยละ 15.32 ระบุว่า เงินเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากโรคโควิด 19 อันดับที่ 5 รอ้ ยละ 13.22 ระบวุ า่ การจัดหาวัคซนี ทม่ี ีประสทิ ธิภาพในการป้องกันโรคโควิด 19 อันดบั ที่ 6 รอ้ ยละ 10.80 ระบุว่า จดั เตรยี มสถานทก่ี กั ตวั สำหรบั ผูไ้ ด้รบั ความเส่ยี งจากโรคโควิด 19 และอันดบั ที่ 7 รอ้ ยละ 4.01 ระบุว่า การส่งเสรมิ การฝึกอาชีพให้มีรายได้ ตารางท่ี 14 จำนวนและรอ้ ยละของการเปลี่ยนแปลงหรือการปรบั ตวั ของสังคมไทยในสถานการณ์โควดิ 19 การเปลี่ยนแปลงหรอื การปรับตัวของสงั คมไทยในสถานการณ์โควิด 19 จำนวน ร้อยละ ระบบการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทยมีความพร้อมรับมอื กับโรคอุบัติใหม่ 1,945 44.20 เกิดความร่วมมอื จากทุกหนว่ ยงานในการดูแลให้ความชว่ ยเหลอื ผู้ไดร้ บั 1,825 41.48 ผลกระทบ คนไทยให้ความสำคญั กับการดูแลสขุ ภาพมากขนึ้ 2,443 55.52 คนไทยรจู้ ักแบ่งปนั ช่วยเหลอื ผอู้ ื่นมากข้ึน 1,773 40.30 ปัญหายาเสพติด อาชญากรรม ความรุนแรงในสังคมมากข้ึน 1,312 29.82 ประชาชนเกดิ การเรียนร้แู ละใชเ้ ทคโนโลยมี ากข้นึ 1,658 37.68 เด็กและเยาวชน ผสู้ งู อายุ ผู้พิการ ถูกทอดท้ิงหรือขาดการเลี้ยงดูอยา่ งเหมาะสม 1,062 24.14 จากครอบครวั ไม่ทราบ/ไมแ่ นใ่ จ 253 5.75 ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. Poll) 13

จากตารางที่ 14 พบว่า ตัวอย่างเห็นการเปลี่ยนแปลงหรือการปรบั ตัวของสังคมไทยในสถานการณ์ โควิด 19 โดยร้อยละ 55.52 ระบุว่า คนไทยให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพมากขึ้น ร้อยละ 44.20 ระบบการแพทย์และสาธารณสขุ ของประเทศไทยมคี วามพร้อมรับมือกบั โรคอุบตั ิใหม่ รอ้ ยละ 41.48 เกดิ ความ ร่วมมือจากทุกหน่วยงานในการดูแลให้ความช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ ร้อยละ 40.30 คนไทยรู้จักแบ่งปัน ชว่ ยเหลือผูอ้ ่นื มากข้ึน รอ้ ยละ 37.68 ประชาชนเกิดการเรียนรูแ้ ละใชเ้ ทคโนโลยีมากข้ึน ร้อยละ 29.82 ปัญหา ยาเสพติด อาชญากรรม ความรุนแรงในสังคมมากขึ้น ร้อยละ 24.14 เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ถกู ทอดทิง้ หรอื ขาดการเลย้ี งดอู ยา่ งเหมาะสมจากครอบครวั และรอ้ ยละ 5.75 ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ ตารางท่ี 15 จำนวนและร้อยละของข้อเสนอแนะอน่ื ๆ เพ่มิ เตมิ ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ เพม่ิ เติม จำนวน รอ้ ยละ ดา้ นการศกึ ษา ควรมีการเรียน On-site (เรียนในสถานศกึ ษา) สลับกบั การเรยี น Online 15 4.41 (เรยี นออนไลน์) ควรปรับลดเวลาเรยี น เนอื้ หาวิชาการ และการบ้าน เพอ่ื ลดความเครียดของนกั เรยี น 114 33.53 ควรเพิ่มและพัฒนาคณุ ภาพบุคลากรทางการศกึ ษา 24 7.06 ควรมกี องทุนการศกึ ษาให้เด็กทข่ี าดโอกาส หรือได้รับผลกระทบในช่วงการแพร่ 26 7.65 ระบาดของโรคโควิด 19 ควรมมี าตรการใหน้ ักเรียนสามารถไปเรยี นทีโ่ รงเรยี นตามปกติ แตม่ แี นวทางปอ้ งกนั 78 22.94 เพ่ิมมากขน้ึ ควรลดคา่ เทอม/ไม่เรยี กเกบ็ ค่าเทอม 37 10.88 ควรสนับสนนุ ค่าอนิ เทอร์เน็ต 11 3.24 ควรสนบั สนนุ อปุ กรณก์ ารเรียนออนไลน์ 35 10.29 340 100.00 รวมท้ังส้ิน ด้านเศรษฐกจิ 2 0.75 ควรขยายระยะเวลาโครงการคนละคร่ึง 17 6.42 ควรปรบั ลดราคาน้ำมนั ให้ถกู ลง 164 61.89 ควรปรบั ลดราคาสนิ ค้าอปุ โภคบริโภค 6 2.26 ควรเพมิ่ ค่าแรงข้นั ตำ่ 8 3.02 ควรเพ่มิ ราคาสินค้าทางการเกษตร 25 9.43 ควรมีมาตรการเยยี วยาผทู้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบ ในชว่ งการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 35 13.21 รฐั บาลควรเรง่ มมี าตรการกระตุน้ และฟน้ื ฟเู ศรษฐกจิ ไทย 8 3.02 ควรลดภาษ/ี ลดภาระค่าใช้จ่าย/ลดดอกเบีย้ 265 100.00 รวมท้งั ส้นิ ศนู ย์สำรวจความคิดเห็นทางสงั คม (พม. Poll) 14

ตารางท่ี 15 (ตอ่ ) จำนวนและรอ้ ยละของข้อเสนอแนะอนื่ ๆ เพ่มิ เตมิ จำนวน รอ้ ยละ ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ เพิม่ เติม 5 8.06 ดา้ นสังคม 7 11.29 ควรแกป้ ัญหาอาชญากรรม 6 9.68 ควรจดั กจิ กรรมสร้างความสามัคครี ่วมกับคนในครอบครวั และคนในชุมชน 12 19.35 การทำให้ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ การบรกิ ารดา้ นสาธารณสุขได้อย่างทัว่ ถงึ ควรปราบปรามยาเสพติดอยา่ งเขม้ งวด 7 11.29 ควรมมี าตรการหรือบทลงโทษกบั ผฝู้ ่าฝนื การกระทำท่ีกอ่ ให้เกดิ การเเพรเ่ ช้อื โรค 22 35.48 โควดิ 19 3 4.84 ควรรณรงคส์ รา้ งความร่วมมอื ปฏบิ ตั ติ นตามแนวทางปอ้ งกันโรคโควิด 19 62 100.00 ภาครฐั ควรสนบั สนนุ หน้ากากอนามยั และแอลกอฮอล์ 32 74.42 รวมทงั้ สิน้ ดา้ นอนื่ ๆ 6 13.95 ภาครฐั ควรมมี าตรการช่วยเหลือประชาชนผ่านโครงการต่าง ๆ อยา่ งต่อเนอื่ งและ 5 11.63 ทว่ั ถึง 43 100.00 ภาครัฐควรจัดสรรวัคซีนท่ีมีคุณภาพใหก้ ับประชาชนอย่างทวั่ ถงึ ภาครัฐควรสนบั สนุนชุดตรวจ ATK หรอื รบั ตรวจหาเชื้อโรคโควิด 19 ฟรี รวมทั้งส้ิน จากตารางท่ี 15 พบว่า ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติมด้านการศึกษา ตวั อยา่ งรอ้ ยละ 33.53 ระบุว่า ควรปรับ ลดเวลาเรียน เนอ้ื หาวชิ าการ และการบา้ น เพ่อื ลดความเครียดของนักเรยี น รองลงมา ร้อยละ 22.94 ระบุว่า ควรมมี าตรการให้นักเรยี นสามารถไปเรยี นท่โี รงเรียนตามปกติ แต่มแี นวทางปอ้ งกนั เพิ่มมากขน้ึ ร้อยละ 10.88 ระบุว่า ควรลดค่าเทอม/ไม่เรียกเก็บค่าเทอม ร้อยละ 10.29 ระบุว่า ควรสนับสนุนอุปกรณก์ ารเรียนออนไลน์ ร้อยละ 7.65 ระบุว่า ควรมีกองทุนการศึกษาให้เด็กที่ขาดโอกาส หรือได้รับผลกระทบในช่วงการแพร่ระบาด ของโรคโควิด 19 ร้อยละ 7.06 ระบุว่า ควรเพิ่มและพัฒนาคุณภาพบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 4.41 ระบวุ ่า ควรมกี ารเรยี น On-site (เรียนในสถานศึกษา) สลับกบั การเรียน Online (เรียนออนไลน)์ และรอ้ ยละ 3.24 ระบุวา่ ควรสนบั สนนุ คา่ อินเทอรเ์ น็ต ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมด้านเศรษฐกิจ ตัวอย่างร้อยละ 61.89 ระบุว่า ควรปรับลดราคาสินค้าอุปโภค บริโภค รองลงมา ร้อยละ 13.21 ระบุว่า รัฐบาลควรเร่งมีมาตรการกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจไทย ร้อยละ 9.43 ระบุวา่ ควรมมี าตรการเยียวยาผูท้ ่ีได้รับผลกระทบ ในชว่ งการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 รอ้ ยละ 6.42 ระบุวา่ ควรปรับลดราคาน้ำมนั ให้ถูกลง ร้อยละ 3.02 ระบวุ ่า ควรเพม่ิ ราคาสินค้าทางการเกษตรและลดภาษี/ ลดภาระคา่ ใช้จา่ ย/ลดดอกเบ้ีย ร้อยละ 2.26 ระบวุ า่ ควรเพ่มิ ค่าแรงข้ันต่ำ และร้อยละ 0.75 ระบุวา่ ควรขยาย ระยะเวลาโครงการคนละคร่ึง ศูนยส์ ำรวจความคดิ เหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 15

ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมด้านสงั คม ตัวอย่างรอ้ ยละ 35.48 ระบุว่า ควรรณรงค์สร้างความร่วมมือปฏบิ ัติ ตนตามแนวทางป้องกันโรคโควิด 19 รองลงมา ร้อยละ 19.35 ระบุวา่ ควรปราบปรามยาเสพตดิ อย่างเข้มงวด ร้อยละ 11.29 ระบุว่า ควรจัดกิจกรรมสร้างความสามัคคีร่วมกับคนในครอบครัวและคนในชุมชนและ มีมาตรการหรือบทลงโทษกับผู้ฝ่าฝืนการกระทำที่ก่อให้เกิดการเเพร่เชื้อโรคโควิด 19 ร้อยละ 9.68 ระบุว่า การทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการบริการด้านสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง ร้อยละ 8.06 ระบุว่า ควรแก้ปัญหาอาชญากรรม และร้อยละ 4.84 ระบุวา่ ภาครฐั ควรสนบั สนุนหน้ากากอนามัยและแอลกอฮอล์ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมด้านอื่น ๆ ตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 74.42 ระบุว่า ภาครัฐควรมีมาตรการ ช่วยเหลือประชาชนผ่านโครงการต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องและทั่วถึง ร้อยละ 13.95 ระบุว่า ภาครัฐควรจัดสรร วัคซีนที่มีคุณภาพใหก้ ับประชาชนอย่างทั่วถึง และร้อยละ 11.63 ระบุว่า ภาครัฐควรสนับสนุนชุดตรวจ ATK หรอื รบั ตรวจหาเช้อื โรคโควิด 19 ฟรี ศูนยส์ ำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. Poll) 16

ภาคผนวก ศนู ย์สำรวจความคิดเห็นทางสังคม (พม. Poll) 17

ภาคผนวก ก เอกสารเผยแพร่ผลโพล ศูนย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 18

วันอังคาร ท่ี 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 พม. Poll ศนู ย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสงั คม กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ โดย สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 1-11 E-mail: [email protected] ร่วมกบั ศนู ยส์ ำรวจความคิดเห็น “นดิ ้าโพล” สถาบันบณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์ E-mail: [email protected] จำนวน 8 หน้า รวมหน้าน้ี “Feedback สงั คมไทย ต่อภยั COVID-19” เรยี น บรรณาธิการบริหาร/บรรณาธกิ ารข่าว/หัวหนา้ ข่าว/หัวหนา้ หนว่ ยงาน พม. Poll ศูนย์สำรวจความคิดเห็นทางสังคม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 ร่วมกับ ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลสำรวจ เรื่อง “Feedback สังคมไทย ต่อภัย COVID-19” เกี่ยวกบั ผลกระทบทไ่ี ดร้ ับในช่วงสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ทัง้ ดา้ นการศกึ ษา ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคม โดยทำการสำรวจในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2565 จากตัวอย่างที่มีอายุ 12 ปีขึ้นไป กระจาย ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบหลายข้ันตอน (Multi-Stage Sampling) รวมขนาดตัวอย่างทั้งสิ้น จำนวน 4,400 หน่วยตัวอย่าง เกบ็ รวบรวมข้อมูลดว้ ยวธิ ลี งพน้ื ท่ภี าคสนาม กำหนดคา่ ความเช่อื ม่ัน ร้อยละ 95.00 จากผลการสำรวจ พบวา่ 1. ดา้ นการศกึ ษา เมื่อถามตัวอย่างถึงการมีสมาชิกในครอบครัวที่กำลังศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 75.64 ระบุว่า มีสมาชิกในครอบครัวที่กำลังศึกษาอยู่ โดยเฉลี่ย 2 คน และร้อยละ 24.36 ระบุว่า ไม่มี ซึ่งตัวอย่างท่ีมี สมาชิกในครอบครัวที่กำลังศึกษาอยู่ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 92.97 ระบุว่า มีผู้ที่เรียนออนไลน์ และร้อยละ 7.03 ระบุว่า ไม่มีผู้ที่เรียนออนไลน์ ซึ่งอุปกรณ์ท่ีใช้ในการเรียนออนไลน์ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 82.45 เป็นโทรศัพท์มือถอื สมาร์ทโฟน รองลงมา ร้อยละ 41.08 เป็นคอมพิวเตอร์/โน๊ตบุ๊ค และร้อยละ 19.13 เป็นแท็บเล็ต/ไอแพด สำหรับ การได้รับการช่วยเหลือด้านการศึกษา ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พบว่า ตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 89.18 ได้รับการช่วยเหลือด้านการศึกษา โดยร้อยละ 59.87 ระบุว่า ได้รับการช่วยเหลือเป็นเงนิ เยียวยาจาก รัฐบาล 2,000 บาท ร้อยละ 39.52 การลดค่าเลา่ เรียน/คืนเงนิ ค่าเทอม (บางส่วน) และรอ้ ยละ 22.07 ได้รบั เงนิ คืนค่าอาหารกลางวัน ขณะที่ร้อยละ 10.82 ไม่ได้รับการช่วยเหลือด้านการศึกษา โดยร้อยละ 28.85 ระบุวา่ ต้องการให้ช่วยเหลือสนับสนุนค่าอินเทอรเ์ น็ต ร้อยละ 25.96 อุปกรณ์การเรียนออนไลน์ และร้อยละ 24.04 การลดคา่ เทอม เมื่อถามถึงผลกระทบจากการเรียนออนไลน์ พบว่า ตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 72.23 ระบวุ า่ เรียนไมเ่ ข้าใจ ไม่มสี มาธิในการเรียน ผลการเรยี นลดลง รองลงมา รอ้ ยละ 67.77 เพมิ่ ภาระคา่ ใชจ้ ่ายใน การซื้ออปุ กรณ์การเรยี นออนไลน์ ค่าไฟ ค่าอินเทอรเ์ น็ต และร้อยละ 48.41 ผู้ปกครองมีภาระเพิ่มขึน้ ในเรื่อง การเรียนของบุตรหลาน ส่วนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ตัวอย่างต้องการมากที่สุด ในสถานการณ์ ปจั จบุ นั คอื การเรยี นการสอนแบบ On-site (เรียนในสถานศกึ ษา) ศนู ย์สำรวจความคดิ เหน็ ทางสังคม (พม. Poll) 19

สำหรับข้อเสนอแนะเพิ่มเติมด้านการศึกษา ตัวอย่างเสนอว่าควรปรับลดเวลาเรียน เนื้อหา วชิ าการ และการบ้าน เพ่อื ลดความเครียดของนักเรยี น กำหนดมาตรการหรือแนวทางป้องกัน เพอ่ื ให้นักเรียน สามารถไปเรียนที่โรงเรียนได้ตามปกติ หรือควรจัดการเรียนการสอนแบบ On-site (เรียนในสถานศึกษา) สลับกับ การเรียน Online (เรียนออนไลน์) รวมถึงสนับสนุนอุปกรณ์การเรียนออนไลน์และค่าอินเทอร์เน็ต และควรลดคา่ เทอม/ไมเ่ รยี กเกบ็ ค่าเทอม 2. ด้านเศรษฐกิจ เมื่อถามถึงการได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พบว่า ตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 74.02 ได้รับผลกระทบ และ ร้อยละ 18.75 ไม่ได้ผลกระทบ สำหรับผู้ที่ได้รับ ผลกระทบทางเศรษฐกิจในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 โดยผลกระทบที่ได้รับ มากที่สุด 3 อันดับแรก พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 30.90 ระบุว่า ค่าใช้จ่ายสูงขึ้น อันดับ 2 ร้อยละ 13.27 ระบุว่า ต้องนำเงินเก็บ/ เงนิ ออมมาใชจ้ ่าย และอนั ดบั 3 ร้อยละ 11.92 ระบวุ ่า การประกอบอาชพี ยากลำบาก เช่น ขายของยากขึ้น เมอื่ ถามถงึ การปรบั ตวั ทางด้านการเงนิ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พบวา่ ตัวอย่าง ส่วนใหญ่ ร้อยละ 87.36 มีการปรับตัวในด้านการเงิน โดยร้อยละ 77.86 ระบุว่า มีการปรับตัวในเรื่องของ การประหยัดค่าใช้จ่าย รองลงมา ร้อยละ 50.60 หารายได้เพิ่ม และร้อยละ 31.04 นำเงินออมออกมาใช้จ่าย ขณะทร่ี ้อยละ 8.36 ตวั อยา่ งไมม่ ีการปรบั ตัวในดา้ นการเงิน และร้อยละ 4.27 ไมท่ ราบ/ไม่แน่ใจ สำหรับข้อเสนอแนะเพิ่มเติมด้านเศรษฐกิจ ตัวอย่างเสนอว่ารัฐบาลควรปรับลดราคาสินค้า อปุ โภคบริโภค ลดราคานำ้ มนั รวมถึงลดภาษี/ลดภาระคา่ ใชจ้ า่ ย/ลดดอกเบี้ย และเรง่ ใหม้ ีมาตรการกระตุ้นและ ฟื้นฟูเศรษฐกิจไทย และขยายระยะเวลาโครงการคนละครึ่ง เพิ่มราคาสินค้าทางการเกษตร เพิ่มค่าแรงข้นั ต่ำ และเพ่ิมมาตรการเยยี วยาผทู้ ีไ่ ดร้ บั ผลกระทบในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 3. ด้านสังคม เมื่อถามถึงเรือ่ งทีส่ ่งผลต่อการดำเนินชีวติ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 มากที่สดุ 3 อันดับแรก พบวา่ อนั ดบั 1 รอ้ ยละ 17.58 สวมหนา้ กากอนามัยตลอดเวลา ล้างมอื บอ่ ยข้นึ อันดบั 2 ร้อยละ 16.56 เปลี่ยนแปลงวิธีการทำงานและรูปแบบการประกอบอาชีพ และอันดับ 3 ร้อยละ 14.77 ต้องปรับ รปู แบบการเรียนเป็นแบบออนไลน์ (Online) สำหรับการได้รับการช่วยเหลือจากภาครัฐ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พบว่า ตัวอยา่ งส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 87.11 ได้รบั ความช่วยเหลือจากภาครัฐ ขณะท่รี อ้ ยละ 12.89 ไมไ่ ด้รบั ความช่วยเหลือ จากภาครัฐ โดยส่วนใหญ่ ร้อยละ 38.80 ให้เหตุผลของการไม่ได้รับความช่วยเหลือจากภาครฐั ว่า คุณสมบัติ ไม่เข้าเงื่อนไขในการรับสิทธิจากภาครัฐ รองลงมา ร้อยละ 29.85 ไม่ทราบข้อมูลโครงการ และร้อยละ 22.39 ไม่สามารถเข้าถงึ การบรกิ ารของภาครฐั ส่วนเรื่องที่ต้องการให้ภาครัฐดำเนินการช่วยเหลืออยา่ งเร่งด่วน ในช่วงการแพร่ระบาดของ โรคโควิด 19 3 อันดับแรก พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 20.25 ลดค่าครองชีพ/ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟ คา่ อนิ เทอร์เน็ต คา่ วสั ดอุ ุปกรณ์ในการศกึ ษา อันดบั 2 รอ้ ยละ 19.67 การเข้าส่กู ระบวนการรักษา ที่สะดวกและรวดเร็ว และอันดับ 3 ร้อยละ 16.73 การจัดหาอุปกรณ์ตรวจเชื้อ ATK/เครื่องวัดไข้/หน้ากาก อนามยั /แอลกอฮอล์ ศนู ยส์ ำรวจความคดิ เหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 20

เม่อื ถามความคิดเหน็ เก่ียวกบั สิง่ ท่ีเปลย่ี นแปลงหรือการปรบั ตัวของสังคมไทย ในช่วงการแพร่ ระบาดของโรคโควิด 19 พบว่า ร้อยละ 55.52 ระบุว่า คนไทยให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพมากขึ้น ร้อยละ 44.20 ระบบการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทยมีความพร้อมรับมือกับโรคอุบัติใหม่ และ รอ้ ยละ 41.48 เกิดความร่วมมอื จากทกุ หน่วยงานในการดแู ลให้ความชว่ ยเหลือผู้ได้รบั ผลกระทบ สำหรับข้อเสนอแนะเพิ่มเติมด้านสังคม ตัวอย่างเสนอว่าหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรรณรงค์ สร้างความร่วมมือเกี่ยวกับการปฏิบัติตนตามแนวทางป้องกันโรคโควิด 19 สนับสนุนหน้ากากอนามัยและ เจลแอลกอฮอล์ รวมถึงทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการบริการด้านสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง และการมี มาตรการหรือบทลงโทษกับผู้ฝ่าฝืนการกระทำที่ก่อให้เกิดการเเพร่เชื้อโรคโควิด 19 อีกทั้งภาครัฐควรมี มาตรการในการปราบปรามยาเสพติดอยา่ งเข้มงวด และการแกป้ ัญหาอาชญากรรม เมื่อพิจารณาลักษณะข้อมูลทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 58.73 เป็นเพศหญิง รอ้ ยละ 39.68 เปน็ เพศชาย และรอ้ ยละ 1.59 เปน็ เพศทางเลือก ตวั อยา่ งมอี ายเุ ฉล่ียประมาณ 28 ปี และส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 68.32 มีสถานภาพโสด ร้อยละ 27.82 สมรสแลว้ และร้อยละ 3.23 หม้าย/หยา่ รา้ ง/แยกกันอยู่ ตัวอย่าง ร้อยละ 69.18 ระบุว่า ไม่มีบุตร และร้อยละ 30.82 มีบุตร ซึ่งมีบุตรโดยเฉลี่ย 1-2 คน ส่วนระดับการศึกษา ตัวอย่างร้อยละ 36.66 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ร้อยละ 36.09 มีการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า และร้อยละ 13.18 มีการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่า ส่วนอาชีพ พบว่า ตวั อย่างรอ้ ยละ 40.19 เปน็ นกั เรยี นนักศกึ ษา ร้อยละ 15.41 รบั ราชการ/พนักงาน/ลกู จ้างของรัฐ และร้อยละ 9.77 รับจ้างทั่วไป/ผู้ใช้แรงงาน ตัวอย่างร้อยละ 35.58 ระบุว่า ไม่มีรายได้ ร้อยละ 26.27 มีรายได้ 10,001- 20,000 บาท และร้อยละ 19.93 มรี ายได้ไม่เกนิ 10,000 บาท ตามลำดบั ศูนยส์ ำรวจความคิดเห็นทางสงั คม (พม. Poll) 21

1. ท่านหรือสมาชิกในครอบครัวของท่านมผี ูท้ กี่ ำลังเรยี น หรอื ไม่ รอ้ ยละ การมสี มาชกิ ในครอบครวั ที่กำลังศึกษา 75.64 มี 2 คน จำนวนสมาชิกในครอบครวั ทก่ี ำลังศกึ ษาอยู่ เฉลี่ย 1 คน ค่าตำ่ สดุ 10 คน 24.36 คา่ สูงสดุ 100.00 ไมม่ ี รวม 2. ทา่ นหรือสมาชกิ ในครอบครวั ของทา่ นมผี ้ทู ่เี รียนออนไลน์ หรอื ไม่ รอ้ ยละ การมีสมาชกิ ในครอบครวั ท่เี รยี นออนไลน์ 92.97 มีผทู้ เี่ รียนออนไลน์ และใช้อุปกรณ์ในการเรียนออนไลน์ ดงั นี้ 82.45 โทรศพั ทม์ อื ถอื สมาร์ทโฟน 41.08 คอมพวิ เตอร/์ โนต๊ บคุ๊ 19.13 แท็บเล็ต/ไอแพด 3.01 สมารท์ ทีวี/กลอ่ งดจิ ิทัล 0.97 ไมม่ อี ุปกรณ์การเรียนออนไลน์ 7.03 ไมม่ ีผทู้ ีเ่ รยี นออนไลน์ รวม 100.00 หมายเหตุ: เฉพาะผู้ทมี่ สี มาชิกในครอบครัวที่กำลงั ศกึ ษา จำนวน 3,328 คน 3. ในช่วงการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ท่านหรอื สมาชกิ ในครอบครัวไดร้ บั การช่วยเหลือดา้ นการศกึ ษา หรอื ไม่ (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ) การได้รับการชว่ ยเหลอื ด้านการศกึ ษา ในชว่ งการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ร้อยละ ไดร้ บั การช่วยเหลือด้านการศกึ ษา 89.18 เงนิ เยยี วยาจากรฐั บาล 2,000 บาท 59.87 การลดค่าเล่าเรียน/คนื เงนิ ค่าเทอม (บางสว่ น) 39.52 ไดร้ ับเงนิ คนื คา่ อาหารกลางวัน 22.07 การสนับสนนุ คา่ อนิ เทอรเ์ นต็ 13.54 อปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในการเรยี นออนไลน์ 7.45 ช่วยเหลือเรอ่ื งทุนการศึกษา 7.28 ลดดอกเบยี้ เงินกู้ยืมเพ่อื การศกึ ษา (กยศ.) 3.40 ไม่ได้รบั การช่วยเหลอื ดา้ นการศกึ ษา 10.82 เรือ่ งท่ีตอ้ งการให้ช่วยเหลอื ดังนี้ สนับสนุนคา่ อินเทอรเ์ น็ต 28.85 อปุ กรณก์ ารเรียนออนไลน์ 25.96 การลดค่าเทอม 24.04 ทุนการศึกษา 21.15 รวม 100.00 หมายเหตุ: เฉพาะผู้ทม่ี สี มาชกิ ในครอบครัวท่กี ำลงั ศกึ ษา จำนวน 3,328 คน ศูนยส์ ำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. Poll) 22

4. ทา่ นคิดว่าการเรยี นออนไลน์ส่งผลกระทบในเรอ่ื งใดบ้าง (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) ร้อยละ ผลกระทบจากการเรียนออนไลน์ 72.23 67.77 เรยี นไมเ่ ขา้ ใจ ไม่มีสมาธใิ นการเรียน ผลการเรยี นลดลง 48.41 เพ่มิ ภาระค่าใช้จ่ายในการซอื้ อุปกรณก์ ารเรยี นออนไลน์ คา่ ไฟ ค่าอนิ เทอรเ์ นต็ 45.20 ผู้ปกครองมีภาระเพิม่ ข้ึนในเรื่องการเรียนของบุตรหลาน 44.41 ปวดตา ปวดหลัง เมือ่ ยลา้ จากการเรียนออนไลน์ 31.25 เดก็ ขาดปฏิสมั พันธก์ ับเพื่อน ขาดทักษะทางสงั คม (ไมม่ พี ธิ ไี หว้ครู ไม่มีกจิ กรรมกีฬา) 17.64 เดก็ อาจเข้าถึงสอ่ื ท่ไี ม่เหมาะสมไดง้ ่าย 17.02 เดก็ ทะเลาะ/เกดิ ความขัดแยง้ กับผปู้ กครอง 0.09 ไมไ่ ด้แต่งกายชุดยูนฟิ อรม์ ของโรงเรียน การเรยี นออนไลนไ์ ม่ส่งผลกระทบตอ่ เรอ่ื งใด 5. ในสถานการณป์ จั จุบนั ทา่ นตอ้ งการให้มีการจัดการเรยี นการสอนแบบใดมากทส่ี ุด รอ้ ยละ การจัดการเรยี นการสอนทตี่ ้องการมากทสี่ ุด ในสถานการณป์ จั จุบัน 58.89 24.09 การเรยี น On-site (เรยี นในสถานศึกษา) 7.55 การเรียน Online (เรียนออนไลน์) 2.00 การเรียน On-hand (การรับใบงานมาทำท่ีบา้ น) 0.20 การเรียน On-air (เรียนผา่ นโทรทัศนใ์ นระบบดจิ ิทัล) 7.27 อื่น ๆ เช่น การเรียน On-site (เรียนในสถานศกึ ษา) สลบั กบั การเรยี น Online (เรียนออนไลน)์ 100.00 ไมท่ ราบ/ไมแ่ นใ่ จ รวม 6. ในชว่ งสถานการณโ์ ควิด 19 ท่านหรือครอบครัวของทา่ นไดร้ ับผลกระทบทางเศรษฐกจิ หรือไม่ การไดร้ ับผลกระทบทางเศรษฐกจิ ในช่วงการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 รอ้ ยละ ได้รบั ผลกระทบ 74.02 ไม่ได้ผลกระทบ 18.75 ไม่ทราบ/ไมแ่ น่ใจ 7.23 รวม 100.00 ศูนยส์ ำรวจความคิดเห็นทางสงั คม (พม. Poll) 23

7. (เฉพาะผู้ทไ่ี ดร้ ับผลกระทบ) ท่านหรอื ครอบครัวของท่านไดร้ บั ผลกระทบทางเศรษฐกิจในเรื่องใด มากทส่ี ดุ 3 อันดบั แรก อนั ดบั ผลกระทบทางเศรษฐกจิ ทไี่ ดร้ ับ ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 รอ้ ยละ 1 ค่าใช้จา่ ยสูงข้นึ 30.90 2 ตอ้ งนำเงนิ เก็บ/เงนิ ออมมาใชจ้ า่ ย 13.27 3 การประกอบอาชพี ยากลำบาก เชน่ ขายของยากขึ้น 11.92 4 ตกงาน/วา่ งงาน 10.95 5 หน้สี ินจากการกูย้ ืม 9.73 6 ถกู ตัด/ลดค่าใชจ้ า่ ยในชวี ติ ประจำวัน 6.61 7 ต้องเปลีย่ นงาน/เปลี่ยนอาชพี 6.02 8 ถูกลดเงนิ เดอื น 5.19 9 ถูกลด/ไม่ไดร้ ับโบนสั 3.04 10 ถูกพักงานโดยไมไ่ ดร้ ับคา่ จ้าง 2.38 หมายเหตุ: เฉพาะผู้ท่ไี ด้รับผลกระทบ จำนวน 3,257 คน 8. ในช่วงสถานการณโ์ ควิด 19 ท่านหรือครอบครัวของท่านมีการปรบั ตัวในดา้ นการเงนิ อยา่ งไรบา้ ง การปรบั ตวั ทางดา้ นการเงิน ในชว่ งการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ร้อยละ มีการปรับตัวในดา้ นการเงนิ 87.36 ประหยัดค่าใช้จ่าย 77.86 หารายไดเ้ พิ่ม 50.60 นำเงินออมออกมาใช้จ่าย 31.04 มีการเก็บออม 24.01 จำนำทรพั ย์สนิ 12.38 กยู้ ืมเงินจากสถาบนั การเงนิ ในระบบ 11.13 นำทรพั ยส์ ินออกมาขาย 10.61 ก้ยู ืมเงินนอกระบบ 6.76 ไมม่ ีการปรบั ตัวในด้านการเงิน 8.36 ไมท่ ราบ/ไม่แน่ใจ 4.27 รวม 100.00 ศนู ยส์ ำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 24

9. ท่านคิดวา่ สถานการณโ์ ควิด 19 ส่งผลกระทบต่อการดำเนนิ ชีวติ ของทา่ นในเรอ่ื งใด มากท่สี ุด 3 อนั ดบั แรก อันดับ เรื่องทีส่ ่งผลกระทบตอ่ การดำเนนิ ชวี ิต ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ร้อยละ 1 สวมหนา้ กากอนามัยตลอดเวลา ล้างมือบอ่ ยขึ้น 17.58 2 เปลีย่ นแปลงวธิ กี ารทำงานและรูปแบบการประกอบอาชีพ 16.56 3 ต้องปรบั รูปแบบการเรียนเปน็ แบบออนไลน์ (Online) 14.77 4 ไม่ได้ออกไปพบปะกบั เพ่อื นฝูง 13.21 5 การเดนิ ทางท่องเทย่ี วไม่สะดวก 11.30 6 การใชเ้ ทคโนโลยมี ากขนึ้ เชน่ การตดิ ต่อส่อื สาร การชำระคา่ สินค้าและบริการ 10.32 การซ้อื สนิ ค้าออนไลน์ 7 ไม่สามารถเขา้ ร่วมกจิ กรรมตามประเพณี ศาสนาและวฒั นธรรม 8.61 8 ทำกิจกรรมร่วมกับครอบครัวเพม่ิ ขน้ึ 4.22 9 ไมส่ ามารถเขา้ รว่ มงานคอนเสริ ต์ งานเลีย้ งสังสรรค์ 3.42 10. ในช่วงสถานการณโ์ ควิด 19 ทา่ นได้รับการชว่ ยเหลอื จากภาครัฐหรือไม่ ร้อยละ การได้รบั การชว่ ยเหลอื จากภาครฐั ในช่วงการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 87.11 12.89 ไดร้ ับความช่วยเหลือจากภาครัฐ ไมไ่ ดร้ บั ความช่วยเหลอื จากภาครฐั 38.80 เหตผุ ลของการไม่ไดร้ บั ความช่วยเหลอื จากภาครฐั 29.85 22.39 คณุ สมบตั ิไมเ่ ข้าเง่ือนไขการรับสิทธิ 4.48 ไมท่ ราบข้อมูลโครงการ 4.48 ไมส่ ามารถเข้าถงึ การบรกิ ารของภาครฐั 100.00 ลงทะเบยี นไม่ทนั ลงทะเบียนไมเ่ ป็น รวม 11. ในชว่ งสถานการณ์โควิด 19 ทา่ นตอ้ งการใหภ้ าครฐั ดำเนนิ การอย่างเรง่ ดว่ นในเร่ืองใด มากทส่ี ดุ 3 อนั ดับแรก อนั ดับ เรื่องทต่ี ้องการให้ภาครัฐดำเนนิ การอยา่ งเร่งด่วน ร้อยละ 20.25 1 ลดค่าครองชีพ/คา่ ใช้จ่ายในชีวติ ประจำวัน เชน่ ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าอนิ เทอร์เน็ต ค่าวสั ดุอุปกรณ์ในการศึกษา 19.67 16.73 2 การเข้าสกู่ ระบวนการรกั ษาท่สี ะดวกและรวดเรว็ 15.32 13.22 3 การจัดหาอปุ กรณ์ตรวจเช้ือ ATK/เครื่องวัดไข้/หนา้ กากอนามัย/แอลกอฮอล์ 10.80 4.01 4 เงินเยยี วยาผไู้ ดร้ ับผลกระทบจากโรคโควดิ 19 5 การจดั หาวัคซีนที่มีประสทิ ธภิ าพในการป้องกนั โรคโควิด 19 6 จัดเตรยี มสถานท่ีกกั ตวั สำหรับผู้ไดร้ ับความเส่ยี งจากโรคโควิด 19 7 การส่งเสรมิ การฝกึ อาชพี ใหม้ รี ายได้ ศูนยส์ ำรวจความคิดเหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 25

12. จากสถานการณ์โควิด 19 ท่านเห็นการเปลี่ยนแปลงหรือการปรับตัวของสังคมไทยในเรื่องใดบ้าง (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) ส่งิ ท่ีเปลย่ี นแปลงหรือการปรับตวั ของสังคมไทย ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 รอ้ ยละ คนไทยใหค้ วามสำคัญกับการดูแลสุขภาพมากขึ้น 55.52 ระบบการแพทย์และสาธารณสขุ ของประเทศไทยมีความพรอ้ มรบั มือกับโรคอุบัตใิ หม่ 44.20 เกดิ ความรว่ มมือจากทุกหน่วยงานในการดูแลให้ความชว่ ยเหลอื ผ้ไู ด้รับผลกระทบ 41.48 คนไทยรู้จักแบง่ ปนั ชว่ ยเหลือผูอ้ ื่นมากข้ึน 40.30 ประชาชนเกดิ การเรียนรูแ้ ละใช้เทคโนโลยีมากขึ้น 37.68 ปัญหายาเสพติด อาชญากรรม ความรุนแรงในสังคมมากขน้ึ 29.82 เดก็ และเยาวชน ผู้สงู อายุ ผพู้ ิการ ถกู ทอดทงิ้ หรือขาดการเลี้ยงดูอย่างเหมาะสมจากครอบครวั 24.14 ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 5.75 ศูนย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 26

1. เพศ ลกั ษณะข้อมลู ทวั่ ไปของตัวอยา่ ง ร้อยละ 58.73 หญงิ เพศ 39.68 ชาย รวมทง้ั สิ้น 1.59 เพศทางเลือก 100.00 อายุ 2. อายุ รอ้ ยละ สถานภาพ 28.15 อายุเฉล่ีย รวมทง้ั สิ้น 12 ปี ค่าตำ่ สดุ จำนวนบตุ ร 87 ปี ค่าสูงสุด 3. สถานภาพ รวมทั้งสิ้น ร้อยละ ระดับการศึกษา 68.32 โสด 27.82 สมรส รวมทง้ั สิ้น 3.23 หม้าย/หยา่ ร้าง/แยกกนั อยู่ 0.65 ไม่ระบุ 100.00 4. จำนวนบตุ ร ร้อยละ 69.18 ไม่มีบตุ ร 30.82 มีบุตร 2 คน 1 คน จำนวนบุตรเฉลยี่ 7 คน ค่าต่ำสดุ 100.00 ค่าสูงสุด ร้อยละ 5. ระดบั การศึกษา 1.59 9.98 ไมไ่ ดร้ ับการศึกษา 36.09 ประถมศึกษา 13.18 มธั ยมศกึ ษาหรือเทียบเท่า 36.66 อนุปรญิ ญาหรอื เทียบเท่า 2.45 ปรญิ ญาตรหี รือเทยี บเท่า 0.05 ปรญิ ญาโทหรือเทียบเท่า 100.00 ปรญิ ญาเอกหรือเทยี บเทา่ ศนู ยส์ ำรวจความคดิ เห็นทางสงั คม (พม. Poll) 27

6. อาชีพ ร้อยละ อาชพี 40.19 15.41 นักเรยี น/นกั ศกึ ษา 9.77 รบั ราชการ/พนกั งาน/ลกู จา้ งของรัฐ 8.52 รบั จา้ งท่วั ไป/ผู้ใช้แรงงาน 7.41 คา้ ขาย 7.14 พนกั งานบริษัทเอกชน 3.02 อาชีพอสิ ระ 2.95 เกษตรกรรม/ประมง 2.86 พ่อบ้าน/แมบ่ ้าน/วา่ งงาน 2.23 เจา้ ของธุรกิจส่วนตัว 0.50 พนักงานรฐั วสิ าหกจิ 100.00 เกษียณอายุ/ข้าราชการบำนาญ รอ้ ยละ รวมทงั้ สิ้น 19.93 26.27 7. รายได้ รายได้ 7.45 รวมท้งั ส้นิ 2.50 ไม่เกนิ 10,000 บาท 1.18 10,001-20,000 บาท 35.58 20,001-30,000 บาท 7.09 30,001-40,000 บาท 100.00 40,001 บาทขึน้ ไป ไม่มีรายได้ ไมร่ ะบุ ศนู ย์สำรวจความคิดเห็นทางสังคม (พม. Poll) 28

ภาคผนวก กราฟิกผลโพล (ระดบั ประเทศ) ศนู ย์สำรวจความคดิ เหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 29

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 30

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 31

ภาคผนวก กราฟกิ ผลโพล สสว. 1-11 (ระดบั กลมุ่ จังหวดั ) ศนู ย์สำรวจความคิดเหน็ ทางสงั คม (พม. Poll) 32

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 33

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 34

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 35

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 36

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 37

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 38

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 39

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 40

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 41

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 42

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 43

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 44

ศนู ย์สำรวจความคดิ เห็นทางสังคม (พม. Poll) 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook