Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธรรมทั้งหลายไหลมาแต่เหตุ (พระภาวนาเขมคุณ วิ.)

ธรรมทั้งหลายไหลมาแต่เหตุ (พระภาวนาเขมคุณ วิ.)

Description: ธรรมทั้งหลายไหลมาแต่เหตุ
วัดมเหยงคณ์ จ.พระนครศรีอยุธยา พระภาวนาเขมคุณ กรรมฐาน

Keywords: ธรรมทั้งหลายไหลมาแต่เหตุ,วัดมเหยงคณ์,พระภาวนาเขมคุณ,กรรมฐาน

Search

Read the Text Version

ธรรมท้ังหลาย ไ ห ล ม า แ ต ่ เ ห ตุ เขมรงั สี  ภิกขุ

ธรรมท้ังหลาย ไ ห ล ม า แ ต่ เ ห ตุ เขมรงั สี  ภิกขุ

ธรรมทั้งหลาย ไ ห ล ม า แ ต ่ เ ห ตุ เขมรงั ส ี ภกิ ขุ พมิ พค์ รัง้ ท่ ี ๑  ตุลาคม  ๒๕๖๐   จำ� นวนพิมพ์  ๓๕,๐๐๐  เล่ม จัดพมิ พ์เปน็ ธรรมทานโดย วัดมเหยงคณ ์ ตำ� บลหันตรา  อ�ำเภอพระนครศรอี ยธุ ยา จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา  ๑๓๐๐๐ โทรศัพท์  :  ๐๓๕-๘๘๑-๖๐๑-๒,  ๐๘๒-๒๓๓-๓๘๔๘ โทรสาร  :  ๐๓๕-๘๘๑-๖๐๓ www.mahaeyong.org   www.watmaheyong.org ออกแบบ  /  จดั ทำ� รูปเลม่   /  พิสูจน์อักษร  คณะศิษยช์ มรมกลั ยาณธรรม กรุณาเพ่มิ เพอื่ นทางไลน์ เพื่อรับขา่ วสารจากชมรมกลั ยาณธรรม ID line : @kanlayanatam สนบั สนุนจัดพมิ พเ์ ปน็ ธรรมทานโดย บรษิ ทั ขมุ ทองอุตสาหกรรมและการพมิ พ์  จ�ำกัด โทร.  ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๐-๓



พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมในเร่ือง “ธรรมทง้ั หลายไหลมาแตเ่ หต”ุ  วชิ ชาและวมิ ตุ ติ อาศยั เหตปุ จั จยั ตา่ งๆ ดงั น ้ี ฉะนน้ั การทพ่ี วกเรา มาเข้าวัดปฏิบัติธรรม  มาฟังธรรมกันในวันน้ี เรากม็ าสรา้ งเหตปุ จั จยั ของการเปน็ ผทู้ ไ่ี ดส้ ดบั ฟังพระสัทธรรม  เพื่อที่จะได้เป็นผู้มีศรัทธา เป็นผู้มีสติสัมปชัญญะที่สมบูรณ์ขึ้นด้วยการ เจริญสติปัฏฐาน  ๔  แล้ว  เราก็จะได้เจริญ กา้ วหนา้ ในธรรมปฏบิ ัติ



นะมัตถุ  รัตตะนะตะยัสสะ  ขอนอบน้อมแด่ พระรัตนตรัย  ขอความผาสุกความเจริญในธรรม จงมแี ก่ญาตสิ ัมมาปฏบิ ตั ธิ รรมทัง้ หลาย ต่อไปน้ีก็จะได้ปรารภธรรมะตามหลักค�ำ สงั่ สอนขององคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้   เพอ่ื ส่งเสริมศรัทธาปสาทะ  ความเช่ือ  ความเล่ือมใส สติ  สมาธิ  และปัญญา  การที่ท่านได้มาเข้าวัด 6 ธ ร ร ม ทั้ ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต ่ เ ห ตุ

บวชเนกขัมมะ  ได้มาฟังธรรมปฏิบัติธรรมกันน้ี ก็เพ่ือท่ีจะน�ำพาชีวิตจิตใจของเราให้ถึงซึ่งความ ดับทุกข์  เพ่ือท่ีจะท�ำลายความหลง  ความไม่รู้ ออกไป  ถ้าเรายังมีความหลง  ความไม่รู้หรือ อวิชชา  เราก็จะมีความทุกข์ต่อไปเร่ือยๆ  ไม่มี ทีส่ น้ิ สุดในวฏั สงสาร พระพุทธเจ้าทรงตรัสถึงความยืนยาวของ สังสารวัฏว่า  น�้ำตาของสัตว์ท่ีต้องเวียนว่าย ตายเกิดนี้  ถ้าน�ำมารวมไว้ได้  จะมากมายกว่าน้�ำ ในมหาสมทุ ร  เพยี งพอไหมทเี่ ราจะเกดิ ความสงั เวช สลดใจกับชีวิตท่ีเราผ่านมาด้วยความทุกข์ยาก ล�ำบาก  แล้วยังมีท่ีจะต้องเผชิญอยู่ข้างหน้าอีก ไม่รู้ทุกข์จะสิ้นสุดเมื่อไหร่  ก็ด้วยความไม่รู้  ด้วย ความหลง  ด้วยอวิชชา เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 7

พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงถึงอวิชชาไว้ใน “อวิชชาสูตร”  ในอังคุตตรนิกาย  ทสกนิบาต พระไตรปิฎกเลม่ ที ่ ๒๔  ว่า “ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย  เบ้ืองต้นของอวิชชา  ไม่ปรากฏ  ในกาลก่อนอวิชชาไม่มี  ภายหลังจึงมี เพราะมสี ง่ิ นเ้ี ปน็ ปจั จยั   อวชิ ชาจงึ ม ี อะไรเลา่ เปน็ อาหารของอวิชชา  ควรตอบวา่   นวิ รณ ์ ๕”๑ ค�ำว่า  “อาหาร”  หมายถึง  ปัจจัยหรือเหตุ ที่น�ำมาซ่ึงผลให้เกิดข้ึน  คือเม่ือเกิดนิวรณ์ข้ึนมา กเ็ ป็นอาหารให้อวิชชาเกิดขน้ึ ๑  นวิ รณ ์ =  สง่ิ ทกี่ น้ั จติ ไมใ่ หก้ า้ วหนา้ ในคณุ ธรรม,  อกศุ ล ท่ที �ำจิตใหเ้ ศรา้ หมอง 8 ธ ร ร ม ท ้ั ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต ่ เ ห ตุ

นิวรณ์  ๕  คือสิ่งท่ีก้ันจิตไม่ให้ก้าวหน้าใน คุณธรรม  ไดแ้ ก่ ๑. กามฉนั ท ์ คอื   ความตอ้ งการ  ความพอใจ ในกามคุณอารมณ์  ได้แก่  รูป  เสียง  กลิ่น  รส สัมผสั ทน่ี ่าใคร่น่าปรารถนา ๒. พยาบาท  คือ  ความอาฆาตพยาบาท ความคิดรา้ ย  ความขัดเคืองใจ ๓. ถนี มทิ ธะ  คอื   ความหดห ู่ เซอื่ งซมึ   ทอ้ แท้ ทอ้ ถอย  ง่วงเหงาหาวนอน ๔. อทุ ธจั จกกุ กจุ จะ  คอื   ความฟงุ้ ซา่ นรำ� คาญ ใจ  ร้อนใจ  กระวนกระวายใจ  กลุม้ ใจ  กงั วลใจ  ๕. วิจกิ ิจฉา  คอื   ความลงั เลสงสัย เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 9

แล้วพระพุทธองค์ได้ตรัสว่า  “แม้นิวรณ์  ๕ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร  มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร อะไรคอื อาหารของนวิ รณ ์ ๕ ควรตอบวา่   ทจุ รติ  ๓” ทจุ รติ   ๓  คอื   ความประพฤตชิ วั่ ทางกาย  ทาง วาจา  ทางใจ  ทุจริตที่ท�ำให้นิวรณ์ต่างๆ  กลุ้มรุม จติ ใจ  มดี ังน้ี กายทุจริต  ๓  ได้แก่  การฆ่าสัตว์  (ปาณาติ- บาต)  การลกั ทรพั ย ์ (อทนิ นาทาน)  การประพฤติ ผดิ ในกาม  (กาเมสมุ ิจฉาจาร) วจที จุ รติ  ๔  ไดแ้ ก ่ พดู โกหก  (มสุ าวาท)  พดู ส่อเสียด  (ปิสุณาวาจา)  พูดค�ำหยาบ  (ผรุสวาจา) พูดเพ้อเจ้อ  (สมั ผัปปลาปะ) 10 ธ ร ร ม ท ้ั ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต่ เ ห ตุ

มโนสุจริต  ๓  ได้แก่  ความเพ่งเล็งอยาก ได้ของผู้อื่น  (อภิชฌา)  ความอาฆาตพยาบาท (พยาปาทะ)  มีความเห็นผิด  (มจิ ฉาทฏิ ฐิ) มิจฉาทิฏฐิ  คือ  การมีความเห็นผิด  ปฏิเสธ บุญบาป  เห็นว่าการให้ทานไม่มีผล  การบูชาไม่มี ผล  โลกนโี้ ลกหนา้ ไมม่  ี ทำ� ดไี มไ่ ดด้  ี ทำ� ชว่ั ไมไ่ ดช้ ว่ั คุณบิดามารดาไม่มี  สัตว์ที่เป็นโอปปาติกะไม่มี สมณพราหมณ์ผู้ปฏิบัติรู้แจ้งเห็นจริงไม่มี  เหล่านี้ คือความเห็นผดิ   เปน็ ปัจจัยให้เกดิ นวิ รณ์

พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า  “แม้ทุจริต  ๓  เรา กก็ ลา่ ววา่ มอี าหาร  มไิ ดก้ ลา่ ววา่ ไมม่ อี าหาร  อะไร เป็นอาหารของทุจริต  ๓  ควรตอบว่า  ความไม่ สำ� รวมอนิ ทรยี ๒์ ” ความไมส่ ำ� รวมอนิ ทรยี  ์ คอื   การไมร่ ะมดั ระวงั ในการเห็น  การได้ยิน  การรู้กล่ิน  การรู้รส  การ รู้สัมผัส  การคิดนึก  ปล่อยให้บาปเกิดขึ้น  เกิด ความโลภบ้าง  ความโกรธบ้าง  ความหลงบ้าง ในขณะท่ีตาเห็นรูป  หูฟังเสียง  จมูกดมกลิ่น  ล้ิน ล้ิมรส  กายสัมผัสถูกต้อง  อกุศลเกิดขึ้น  บาปเกิด ขน้ึ   เพราะการไมส่ ำ� รวมตา  ห ู จมกู   ลน้ิ   กาย  ใจ ๒  อินทรีย์  =  อายตนะภายใน  ๖  ได้แก่  ตา  หู  จมูก ล้นิ   กาย  ใจ 12 ธ ร ร ม ท ั้ ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต่ เ ห ตุ

พระพุทธองค์ตรัสว่า  “แม้การไม่ส�ำรวม อินทรีย์  เราก็กล่าวว่ามีอาหาร  มิได้กล่าวว่าไม่มี อาหาร  อะไรคืออาหารของการไม่ส�ำรวมอินทรีย์ ควรตอบวา่   การไมม่ ีสตสิ ัมปชัญญะ” การขาดสตสิ มั ปชญั ญะในการเหน็   การไดย้ นิ การดมกลน่ิ   การลม้ิ รส  การสมั ผสั ถกู ตอ้ งทางกาย การปลอ่ ยใจใหน้ กึ คดิ ปรงุ แตง่ ไปเรอื่ ยโดยไมร่ เู้ นอ้ื รตู้ ัว  เป็นปจั จยั ให้เกดิ การไม่สำ� รวมอนิ ทรยี ์ พระองคต์ รสั วา่   “แมก้ ารขาดสตสิ มั ปชญั ญะ เราก็กล่าวว่ามีอาหาร  มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร อะไรเป็นอาหารของการไม่มีสติสัมปชัญญะ  ควร ตอบวา่   การมนสิการ๓ โดยไม่แยบคาย” ๓  มนสกิ าร  =  การทำ� ในใจ  การใสใ่ จ  การพิจารณา เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 13

การมนสกิ ารโดยไมแ่ ยบคาย คอื  การพจิ ารณา ไม่ถูกต้อง  การคิดไม่เป็น  คิดไม่ถูก  คิดไปในทาง ท่ีไม่ถูกต้องตามธรรม  เป็นผู้ท่ีขาดปัญญาใน การคิดพจิ ารณา พระองคต์ รสั วา่   “การมนสกิ ารโดยไมแ่ ยบคาย เราก็กล่าวว่ามีอาหาร  มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร อะไรเป็นอาหารของการมนสิการโดยไม่แยบคาย ควรตอบวา่   ความไม่มศี รทั ธา” ความไม่มีศรัทธา  คือ  ไม่มีความเชื่อ  ความ เลอ่ื มใส  ไมเ่ ชอื่ เรอ่ื งบญุ บาป  ไมเ่ ชอื่ เรอ่ื งกรรมวา่ สตั วท์ งั้ หลายมกี รรมเปน็ ของของตน  ไมเ่ ชอื่ ในการ ตรัสรขู้ องพระพทุ ธเจา้ 14 ธ ร ร ม ท้ ั ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต่ เ ห ตุ



พระพุทธองค์ตรัสว่า  “แม้การไม่มีศรัทธา เราก็กล่าวว่ามีอาหาร  มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร อะไรเปน็ อาหารของความไมม่ ศี รทั ธา  ควรตอบวา่ การไมไ่ ดฟ้ ังพระสัทธรรม” พระสัทธรรม  คือ  พระธรรมค�ำสอนของ พระพทุ ธเจา้ ทพี่ ระองคต์ รสั สอนในเรอื่ งความเปน็ จริงของชีวิต  ของธรรมชาติ  ท่ีพระองค์ทรงตรัสรู้ และสงั่ สอนสัตวท์ ั้งหลายเพื่อใหพ้ ้นจากทกุ ข์ ตรัสต่อว่า  “แม้การไม่ได้ฟังพระสัทธรรม เราก็กล่าวว่ามีอาหาร  มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร อะไรเป็นอาหารของการไม่ได้ฟังพระสัทธรรม ควรตอบวา่   การไมค่ บสตั บรุ ษุ ”  คอื ไมไ่ ดค้ บคนดี คนมศี ีลมีธรรม  จงึ ไมม่ ีโอกาสไดฟ้ งั ธรรม 16 ธ ร ร ม ทั ้ ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต ่ เ ห ตุ

ฉะนั้น  พระองค์จึงแสดงอาหารต่างๆ  ของ อวชิ ชาวา่ “การไม่คบสัตบุรุษ  ที่บริบูรณ์  ย่อมท�ำให้ การไม่ได้ฟังพระสัทธรรม  บรบิ ูรณ์ การไม่ได้ฟังพระสัทธรรมที่บริบูรณ์  ย่อม ท�ำให้  ความไมม่ ศี รัทธา  บริบรู ณ์ การไม่มีศรัทธาท่ีบริบูรณ์  ย่อมท�ำให้  การ  มนสกิ ารโดยไมแ่ ยบคาย  บรบิ ูรณ์ การมนสิการโดยไม่แยบคายที่บริบูรณ์  ย่อม ทำ� ให้  ความไม่มีสติสัมปชัญญะ  บริบรู ณ์ การไมม่ สี ตสิ มั ปชญั ญะทบ่ี รบิ รู ณ ์ ยอ่ มทำ� ให้ ความไมส่ ำ� รวมอนิ ทรยี ์  บริบูรณ์ เ ข ม รั ง ส ี ภิ ก ขุ 17

ความไมส่ ำ� รวมอินทรีย์ทบ่ี ริบรู ณ์  ย่อมท�ำให้ ทุจรติ   ๓  บริบรู ณ์ ทุจริต  ๓  ท่ีบริบูรณ์  ย่อมท�ำให้  นิวรณ์  ๕  บรบิ ูรณ์ นิวรณ์  ๕  ที่บริบูรณ์  ย่อมท�ำให้  อวิชชา  บรบิ ูรณ์ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  อวิชชามีอาหารอย่างน้ี บรบิ ูรณ์อยา่ งนี้” ทั้งหมดที่พระพุทธองค์ตรัสนี้  แสดงถึงธรรม ท่ีเป็นเหตุเป็นปัจจัยกัน  คือแสดงถึงว่า  ธรรม  ท้ังหลายไหลมาแต่เหตุ  ไม่ใช่เกิดขึ้นลอยๆ  และ เราจะเห็นได้ว่า  พระองค์ทรงช้ีให้เห็นว่าปัจจัย  ส�ำคัญท่ีเป็นต้นเหตุของอวิชชา  คือ  การไม่คบ  18 ธ ร ร ม ท ั้ ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต่ เ ห ตุ

สัตบุรุษ  การขาดกัลยาณมิตรท่ีจะชักจูงให้ได้ยิน ได้ฟังค�ำสั่งสอนของพระพุทธองค์ท่ีจะท�ำให้เป็น ผู้มีศรัทธา  เป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ  มีปัญญา  และ พระองค์ยังชี้ให้เห็นโทษอย่างย่ิงของการขาด สตสิ มั ปชญั ญะ  ขาดการสำ� รวมระวงั กายใจ  ทท่ี ำ� ให้ เกดิ การประพฤตทิ จุ รติ ทางกาย  วาจา  ใจ  อนั เปน็ ปัจจยั สำ� คญั ของอวิชชา เม่ือมีอวิชชา  (ความไม่รู้)  เป็นเหตุให้มีกิเลส ตัณหา  อุปาทาน  ต่อๆ  ไป  เม่ือมีกิเลส  ตัณหา อปุ าทาน  กเ็ ปน็ เหตใุ หท้ ำ� กรรมลงไป  ไมว่ า่ จะเปน็ กรรมดีหรือกรรมช่ัวก็ตาม  แม้กรรมดีก็ท�ำไป เพราะมีกิเลสชักชวนก็มี  เช่น  อยากรวย  อยาก สวย  อยากไปเกดิ บนสวรรค ์ กช็ วนใจใหท้ �ำบญุ ได้ หรือเม่ือมีโลภะ  อยากได้หน้าตา  ชื่อเสียง  อยาก เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 19

ได้การยกย่องสรรเสริญ  จึงบริจาคทาน  อย่างนี้ ก็ด้วยความโลภ  ความหลง  ชวนใจให้ท�ำบุญ ผลบญุ ที่ไดจ้ ึงไมเ่ ต็มที่ เมอื่ ทำ� กรรมลงไปแลว้ ดงั น ี้ จงึ เปน็ เหตใุ หเ้ กดิ การอบุ ตั ขิ น้ึ ของรปู นามหรอื ขนั ธ ์ ๕  เมอ่ื มขี นั ธ ์ ๕ ความทุกข์ทั้งหลายก็ตามมา  และเม่ือมีรูปนาม ขนั ธ ์ ๕  เกดิ   แก ่ เจบ็   ตาย  เปน็ ทกุ ขต์ า่ งๆ  แลว้ ก็ยังหลงต่อไปอีก  ถ้าไม่ได้ปฏิบัติธรรม  ก็ยังคง มีอวิชชา  ท�ำให้ต้องหลงวนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ ของความทุกข์กายทกุ ข์ใจ  ไม่มีท่สี ้นิ สุด เมื่อเกิดมีขันธ์  ๕  ความทุกข์จึงมีขึ้น  ฉะนั้น พระพุทธองค์จึงให้พิจารณาขันธ์  ๕  โดยความ  เปน็ ของวา่ ง เปน็ ของทไี่ มม่ สี าระ เพอื่ พน้ จากทกุ ข์ 20 ธ ร ร ม ทั ้ ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต่ เ ห ตุ

คร้ังหน่ึงพระพุทธเจ้าประทับอยู่ริมฝั่งแม่นำ�้ คงคา  ได้ตรัสกับภกิ ษุท้งั หลายวา่ “ดกู อ่ นภกิ ษทุ งั้ หลาย  เธอจงพจิ ารณาขนั ธ ์ ๕ โดยความเป็นของว่าง  ไม่มีสาระ  ดุจดังฟองน้�ำ ดุจดงั พยบั แดด  ดจุ ดงั การเล่นกลของนกั มายากล มอื อาชพี ”  คอื   การทจี่ ะออกจากทกุ ขไ์ ดน้ นั้ ตอ้ ง  พจิ ารณาขนั ธ ์ ๕  ใหเ้ ห็นตามความเป็นจรงิ ขันธ์  ๕  คือส่ิงท่ีประกอบเป็นชีวิต  ท่ียึดถือ ว่าเป็นตัวเรานี่แหละ  ได้แก่  รูป  เวทนา  สัญญา สงั ขาร  และวญิ ญาณ ๑.  รูปขันธ์  เป็ นส่วนท่ีประกอบกันเป็ น อวยั วะตา่ งๆ  ของรา่ งกาย  เปน็ ธรรมชาตทิ ม่ี คี วาม เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 21

แตกสลาย  เส่ือมสลายอยู่ตลอดเวลา  เสมือนกับ ฟองนำ้� ทมี่ นั แตกทนั ทเี ปน็ ฟองๆ  ผทู้ เี่ จรญิ สตแิ ลว้ มีวิปัสสนาญาณเกิดข้ึน  หยั่งรู้ในกายนี้  ว่ามัน แตกสลายๆ  เปรียบเหมือนฟองน้�ำอยู่ทุกขณะ การเห็นเช่นน้ีจึงท�ำให้เห็นตามความเป็นจริงว่า รปู ไมเ่ ทย่ี ง  สง่ิ ใดไมเ่ ทยี่ งสงิ่ นนั้ เปน็ สขุ หรอื เปน็ ทกุ ข์ ก็ต้องเป็นทุกข์  คือทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้  เม่ือ ไม่เทีย่ ง  เปน็ ทุกข์  มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือที่จะยึดว่าเป็นตัวตน  ก็เห็นได้ว่าไม่ใช่ ตวั ตน  ไมใ่ ชต่ วั เราของเรา ๒.  เวทนาขันธ์  เป็นส่วนที่เสวยอารมณ์ เป็นสุข  เป็นทุกข์  สบายกาย  ไม่สบายกาย  ดีใจ เสียใจ  เฉยๆ  นี่  เวทนาก็มีความเปล่ียนแปลง เหมอื นตอ่ มนำ้�   เปลย่ี นแปลงอยทู่ กุ ขณะ  ไมย่ งั่ ยนื 22 ธ ร ร ม ทั ้ ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต ่ เ ห ตุ

เวทนานก้ี ไ็ มเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข ์ ไมใ่ ชต่ วั ตน  แตผ่ หู้ ลง ไม่เห็นความจริง  เพราะว่าเราไม่ได้เจริญสติ พิจารณา  เมื่อไม่ได้พจิ ารณากย็ ดึ ถอื วา่ เปน็ ตวั เรา เปน็ ของเรา  วนเวยี นอยแู่ บบนี้ ๓.  สญั ญาขนั ธ ์ คอื   ความจำ� ไดห้ มายร ู้ ทรง อปุ มาเปรยี บเทยี บวา่ เหมอื น  พยบั แดดในฤดรู อ้ น แดดจา้ มากๆ มองไกลๆ จะเหน็ เปน็ ตวั  ระยบิ ระยบั แต่พอเข้าใกล้กลับว่างเปล่า  ความจ�ำได้หมายรู้ก็ เหมือนกัน  ถ้าไม่ได้ก�ำหนดรู้พิจารณาให้เห็นแจ้ง ก็จะถูกอุปาทานยึดถือเอาเป็นตัวเป็นตน  เป็น ตัวเราของเรา ๔. สงั ขารขนั ธ ์ คอื  สภาพทปี่ รงุ แตง่ จติ  ปรงุ แตง่ ให้รัก  ให้ชัง  ปรุงแต่งใหห้ ่วง  ใหห้ วง  ใหว้ ิตก เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 23

กังวล  เป็นต้น  สังขารมีสภาพไม่เที่ยงแท้ถาวร ว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน  ทรงอุปมา เปรียบเทียบสังขารขันธ์  เหมือนต้นกล้วย  ถ้า ไม่รู้  ก็จะส�ำคัญมั่นหมายว่ามีแก่น  แต่เมื่อปอก กาบลอกออกไปแล้วก็หาแก่นไม่มี  สังขารก็ เช่นเดียวกัน  ถูกอุปาทานยึดถือส�ำคัญม่ันหมาย ว่าเปน็ ตวั เป็นตน  เป็นตัวเราของเรา ภิกษุรูปหนึ่งเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า  ณ ทป่ี ระทบั ในเมอื งสาวตั ถ ี กราบทลู ถามวา่   “สงั ขาร  หรอื ขนั ธท์ เี่ ทยี่ งแทย้ ง่ั ยนื มหี รอื ไม”่   พระพทุ ธองค์ ทรงหยิบก้อนโคมัยหรือมูลโคข้ึนมาหน่อยหนึ่ง แลว้ ตรสั ว่า 24 ธ ร ร ม ท ั้ ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต่ เ ห ตุ

“อัตตภาพท่ีเท่ียงแท้ถาวรแม้เท่านี้ก็ ไม่มี  ถ้าหากความเที่ยงแท้มีอยู่ในขันธ์  ๕  การ ประพฤติพรหมจรรย์เพ่ือการออกจากทุกข์ กจ็ ะไมม่ ”ี พระพุทธองค์ตรัสเล่าต่อไปว่า  ในอดีตชาติ พระองค์เคยเกิดเป็นกษัตริย์อยู่ในเมืองกุสาวดี มีเมืองขึ้น  ๘๔,๐๐๐  เมือง  มีปราสาท  มีบัลลังก์ มีเรือนยอด  มีช้าง  ม้า  รถ  เป็นต้น  อย่างละ ๘๔,๐๐๐  แต่สังขารเหล่าน้ันในอดีตก็เส่ือมสิ้น สลายไป  ไม่มีอะไรเหลืออยู่เลย ดังน้ัน  จะเห็นได้ว่าสังขารทั้งหลายไม่เท่ียง คงอยู่ตลอดไปไม่ได้  ไม่มีหรอกที่เกิดแล้วจะคง อยู่ได้ตลอดไป  ไม่ว่าจะเกิดเป็นเทวดา  พรหม  เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 25

อรปู พรหม  เปน็ อะไรกต็ าม  ไมม่ หี รอกทจ่ี ะเทย่ี ง เม่ือมีการเกิดขึ้นของขันธ์อยู่ร�่ำไปเช่นน้ี จึงต้องตกอยู่ในสภาพของความไม่เท่ียง  ความ เปล่ียนแปลง  แตกดับ  แล้วก็บังคับไม่ได้  คือ บังคบั สังขารว่าอย่าเป็นอย่างน้นั   อย่าเปน็ อยา่ งน้ี ก็ไม่ได้  ในปัญญาของผู้ปฏิบัติที่ก�ำหนดพิจารณา รูปนามขันธ์  ๕  อยู่  ก็จะเห็นว่า  รูปนามขันธ์  ๕ บังคับไม่ได้จริง  ขันธ์  ๕  จะเกิดก็บังคับไม่ให้ เกิดไม่ได้  ขันธ์  ๕  จะดับก็บังคับไม่ให้ดับ  น่ีก็ บงั คับไม่ได้ ฉะนั้น  เม่ือเห็นแจ้งเช่นน้ีมากข้ึนเรื่อยๆ  จิต จึงต้องยอม  เมื่อมันไม่เที่ยง  ก็ต้องยอมรับว่า มันไม่เท่ียง  มันเป็นเช่นนั้นเอง  มันล้วนเกิดขึ้น  26 ธ ร ร ม ท้ั ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต ่ เ ห ตุ

ตามเหตุตามปัจจัย  สิ่งนี้เกิด  ส่ิงนี้ๆ  จึงเกิด ส่ิงนี้ดับ  สิ่งน้ีๆ  จึงดับ  เหตุเกิด...ผลก็เกิด  เหตุ ดับ...ผลก็ดับ  มันต้องเป็นเช่นนั้นแหละ  ใจก็เริ่ม ยอมรบั กบั ความจรงิ เชน่ นน้ั   จติ กว็ าง  เมอื่ วางกว็ า่ ง เมอ่ื ว่างก็หลุดพน้ ๕.  วญิ ญาณขนั ธ ์ คอื ธาตรุ ู้ สภาพรอู้ ารมณ์ พระพุทธองค์ทรงเปรียบเทียบว่าเหมือนการ เล่นกลของนักแสดงมายากลมืออาชีพ  บางที เขาพรางตาคนดูให้เห็นเหมือนกับว่าเป็นจริง เป็นจัง  เขาหลอกให้เห็นเป็นต่างๆ  จับผิดเขา ไมท่ นั  หยบิ ขนึ้ มาเปน็ นก เปน็ อะไรตา่ งๆ  วญิ ญาณ ก็เหมือนกัน  อุปาทานมันยึดท�ำให้ดูเหมือนว่า เป็นตัวเรา  ถ้าไม่มีสติปัญญาที่รู้แจ้ง  จะรู้สึกว่า เปน็ เราไปหมด เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 27



วิญญาณ  คือ  ธาตุรู้  เวลาเห็น  (เกิดจักษุ วิญญาณ)  ก็รู้สึกเหมือนกับว่าเราเห็น  เวลาได้ยิน (เกิดโสตวิญญาณ)  ก็เหมือนว่าเราได้ยิน  เวลา ไดก้ ลนิ่   (เกดิ ฆานวญิ ญาณ)  กเ็ หมอื นวา่ เราไดก้ ลน่ิ เวลารรู้ ส  (เกดิ ชวิ หาวญิ ญาณ)  เวลารสู้ กึ สมั ผสั ทาง กาย  (เกิดโผฏฐัพพวิญญาณ)  เวลาคิดนึก  (เกิด มโนวญิ ญาณ)  กร็ สู้ กึ วา่ เปน็ เราไปหมด  นกี่ เ็ พราะ ว่ามีอุปาทานเข้าไปยึด  ยึดเอาวิญญาณเป็นเรา เอาเราเป็นวิญญาณ  วิญญาณเป็นตัวตนของเรา วญิ ญาณอยใู่ นเรา  เราอยใู่ นวญิ ญาณ พระพุทธเจ้าทรงให้พิจารณาว่าเป็นของว่าง ไมม่ ตี วั เรา  ของเรา  เวลาเจรญิ สต ิ จงึ ตอ้ งกำ� หนด  ให้รู้เท่าทันสภาวธรรม  คือ  วิญญาณท่ีก�ำลัง ปรากฏ  กจ็ ะเหน็ ตามความเปน็ จรงิ ว่า  วญิ ญาณงั   เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 29

อนิจจัง  วิญญาณไม่เที่ยง  วิญญาณัง  อนัตตา  วิญญาณไม่ใช่ตัวตน  บังคับบัญชาไม่ได้  วิชชาจึง เกิดข้ึน  เขา้ ถึงวมิ ุตตคิ วามหลดุ พน้ เป็นขณะๆ  ไป พระพทุ ธเจา้ ไดท้ รงแสดงวา่   “แมว้ ชิ ชา  และ วิมุตติ  เราก็กล่าวว่ามีอาหาร  มิได้กล่าวว่าไม่มี อาหาร  อะไรเล่าเป็นอาหารของวิชชาและวิมุตติ ควรตอบวา่   โพชฌงค ์ ๗” โพชฌงค์  คือ  องค์แห่งการตรัสรู้  มี  ๗ ประการ ใ น ส มั ย ท่ี พ ร ะ ม ห า กั ส ส ป ะ อ า พ า ธ ห นั ก พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ไปเยยี่ มถามอาการ  ทา่ นกบ็ อก ว่าทุกข์ทรมานมาก  ไม่บรรเทาเลย  พระองค์ทรง 30 ธ ร ร ม ท้ ั ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต ่ เ ห ตุ

แสดงโพชฌงค์  ๗  ให้ฟัง  พระมหากัสสปะได้ฟัง เร่ืองโพชฌงค์ก็หายอาพาธ อีกคราหนึ่ง  พระมหาโมคคัลลาน์อาพาธ หนักเหมือนกัน  พระพุทธองค์ทรงไปเยี่ยมถาม อาการ  ท่านก็ว่าทุกข์ทรมานมาก  พระองค์ก็ทรง แสดงโพชฌงค์  ๗  เม่ือทรงแสดงจบก็หายอาพาธ เช่นเดยี วกนั แม้เม่ือพระพุทธองค์ทรงพระประชวร พระองค์ก็ให้พระจุนทะ  สาวกของพระองค์แสดง โพชฌงค์  ๗  ให้ฟัง  พอฟังแล้วพระองค์ก็หาย จากอาการอาพาธ  ฉะน้ัน  โพชฌงค์  ๗  นี่ก็เป็น ธรรมะที่ฟังแล้วหายป่วย  แล้วก็เป็นอาหารของ วชิ ชาและวมิ ุตติ เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 31

ทง้ั พระมหาโมคคลั ลาน ์ และพระมหากสั สปะ ท่านเป็นพระอรหันต์  ท่านมีความเข้าใจแจ่มแจ้ง ในเรอื่ งของโพชฌงค ์ ๗  เปน็ อยา่ งดเี พราะทา่ นได้ บรรลุธรรมถึงวิมุตติแล้ว  ยิ่งพระพุทธเจ้าทรงเป็น ผู้ตรัสธรรมด้วยพระองค์เอง  ก็ยิ่งมีความซาบซึ้ง ในธรรมเร่ืองโพชฌงค์  ๗  มาก  เพราะว่าเข้าใจ อยา่ งถอ่ งแทแ้ ละรแู้ จง้ แลว้   จงึ เกดิ ปตี มิ าก  อำ� นาจ ของปตี ิกจ็ ะแผซ่ ่าน  ร่างกายจึงหายป่วยได้ โพชฌงค์  ๗  ไดแ้ ก่ ๑.  สติสัมโพชฌงค์  องค์แห่งการตรัสรู้  คือ ความระลึกได้ที่ต้ังม่ัน  คือสติท่ีระลึกรู้อยู่กับ สภาวะรูปนามท่ีก�ำลังปรากฏอย่างต่อเนื่อง  และ อย่างมีก�ำลัง  จิตไม่ส่งออกนอก  มีสติตั้งม่ัน อยู่ในตัว  ไม่ต้องพยายามมากก็รู้อยู่ในตัวตลอด 32 ธ ร ร ม ท้ั ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต่ เ ห ตุ

เป็นอตั โนมัตดิ ว้ ยความชำ� นชิ �ำนาญ ๒.  ธมั มวจิ ยสมั โพชฌงค ์ องคแ์ หง่ การตรสั รู้ คอื   การสอดสอ่ งพจิ ารณาในธรรม  เปน็ ตวั ปญั ญา เกิดร่วมกับสติ  เวลาสติระลึกรู้อะไร  ปัญญาก็ พิจารณาธรรมเหล่าน้ัน  คือพิจารณาสภาวะของ รปู ธรรมนามธรรมตา่ งๆ  วา่ ตกอยใู่ นสภาพสามญั - ลักษณะ  หรือไตรลักษณ์  คือ  ไม่เที่ยง  เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา  บังคบั บัญชาไม่ได้ ๓.  วริ ยิ สมั โพชฌงค ์ องคแ์ หง่ การตรสั ร ู้ คอื ความเพียร  ไม่ย่นย่อท้อถอย  ความพยายาม ประคองต้ังจิตไว้ในการมีสติรู้อยู่พิจารณาอยู่ อย่างต่อเน่ือง  ในรูปธรรม  และนามธรรมท่ีก�ำลัง ปรากฏ เ ข ม รั ง ส ี ภิ ก ขุ 33

๔.  ปีติสัมโพชฌงค์  องค์แห่งการตรัสรู้  คือ ความอมิ่ ใจ  เบิกบาน  อ่ิมเอิบในธรรม ๕.  ปสั สทั ธสิ มั โพชฌงค ์ องคแ์ หง่ การตรสั รู้ คอื   ความสงบกาย  สงบใจ ๖.  สมาธิสัมโพชฌงค์  องค์แห่งการตรัสรู้ คอื   ความมจี ติ ตั้งมน่ั อยู่ในอารมณ์เดยี ว ๗.  อเุ บกขาสมั โพชฌงค ์ องคแ์ หง่ การตรสั รู้ คือ  จิตท่ีมีความสม่�ำเสมอเป็นกลาง  เพราะรู้เห็น ตามความเป็นจริงของรูปและนาม  ว่าเป็น ไตรลักษณ์ที่ล้วนเกิดดับ  บังคับไม่ได้  ไม่ใช่ตัวตน ของเรา 34 ธ ร ร ม ทั้ ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต่ เ ห ตุ

จะเห็นได้ว่าจิตที่เป็นอุเบกขาหรือเป็นกลาง น้ัน  จะเกิดข้ึนได้ต้องประกอบไปด้วยปัญญา แต่ไม่ใช่ปัญญาจากการคิดนึกเอานะ  แต่เป็นการ เห็นแจ้งจากการภาวนาท่ีวางใจได้ถูก  ในการ เจรญิ สตนิ น้ั   ผปู้ ฏบิ ตั จิ ะตอ้ งมกี ารวางใจใหถ้ กู ตอ้ ง ด้วย  คือ  ต้องไม่เพ่ง  ไม่เผลอ  คือ  ไม่จดจ้อง เพง่ เลง็   บงั คบั   และไมป่ ลอ่ ยใจใหเ้ หมอ่ ลอย  ถา้ จติ มีก�ำลังของสติสัมปชัญญะดี  ก็จะมีใจที่เป็นกลาง คือ  ไมเ่ พง่ และไมเ่ ผลอ  ผู้ปฏบิ ตั ใิ หม่ๆ  มักจะเพง่ จอ้ ง  หรือไมก่ เ็ ผลอ นอกจากนี้  ในการเจริญสตินั้นจะให้ช�ำนิ  ชำ� นาญ  กต็ อ้ งฝึกใหม้ าก  ทำ� ให้ตอ่ เน่อื ง  ถา้ เรา  นานๆ  ฝึกที  มาวัดก็ฝึก  กลับบ้านก็เลิกฝึก  แบบน้ีแล้วเมื่อไหร่จึงจะพัฒนา  ผู้ปฏิบัติจึงต้อง เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 35

เจริญสติอย่างต่อเน่ืองในทุกขณะที่ต่ืน  ไม่ว่าจะ ท�ำอะไรอยู่อยู่ในอิริยาบถไหน  ก็ให้รู้ตัวทั่วพร้อม อย่างเป็นปกติอยู่ตลอดเวลา พระพุทธองค์ได้ทรงแสดงต่อไปว่า  “โพช- ฌงค์  ๗  เราก็กล่าวว่ามีอาหาร  มิได้กล่าวว่า ไม่มีอาหาร  อะไรเป็นอาหารของโพชฌงค์  ๗ ควรตอบวา่   สติปัฏฐาน  ๔” สติปัฏฐาน  ๔  คือ  การมีสติระลึกรู้อยู่ใน ฐานทั้ง  ๔  ได้แก่  กาย  เวทนา  จิต  และธรรม เปน็ การตามดรู เู้ ทา่ ทนั กายในกาย  เวทนาในเวทนา จิตในจิต  และธรรมในธรรม  อยู่เนืองๆ  ด้วย ความเพยี ร  ดว้ ยสต ิ ดว้ ยสมั ปชญั ญะ  ละอภชิ ฌา (ความยินดี  พอใจ)  และโทมนัส  (ความยินร้าย 36 ธ ร ร ม ท้ ั ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต ่ เ ห ตุ

ไม่พอใจ)  ในโลกออกเสียได้ คือจะต้องมีสติ  มีสัมปชัญญะ  มีความเพียร ประกอบอย ู่ เพอ่ื ทจ่ี ะไมย่ นิ ดยี นิ รา้ ยในขณะระลกึ รู้สภาวธรรมที่กายท่ีใจ  อย่างปกติ  เป็นกลาง  คือสักแต่ว่า  ไม่ว่าอะไร  เมื่อเห็นก็สักแต่ว่าเห็น ได้ยินก็สักแต่ว่าได้ยิน  ทราบก็สักแต่ว่าทราบ รูก้ ส็ ักแต่วา่ รู้ ผู้ปฏิบัติจะต้องก�ำหนดสติอยู่ในทุกอิริยาบถ ของกายที่ก�ำลังยืน  กายท่ีก�ำลังเดิน  กายที่ก�ำลัง น่ัง  กายที่ก�ำลังนอน  กายคู้เหยียดเคลื่อนไหว ลมหายใจเข้า  ลมหายใจออก  ลมหายใจนี่ก็จัด อยใู่ นหมวดของกาย  เหลา่ นเ้ี รยี กวา่   “กายานปุ สั -  สนาสติปฏั ฐาน” เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 37

นอกจากนี้จะต้องมีสติก�ำหนดรู้อยู่ในความ สบาย  (สุขเวทนา)  ความไม่สบาย  (ทุกขเวทนา) ความไม่สุขไม่ทุกข์  หรือเฉยๆ  (อุเบกขาเวทนา) เหลา่ น้ีเรยี กว่า  “เวทนานปุ สั สนาสติปฏั ฐาน” อีกประการก็จะต้องรู้ถึงจิต  จิตมีราคะหรือ ไม่มีราคะ  ก็รู้  จิตมีโทสะหรือไม่มีโทสะ  ก็รู้  จิต มีโมหะหรือไม่มีโมหะ  ก็รู้  จิตหดหู่  จิตฟุ้งซ่าน จิตมีสมาธิหรือจิตไม่มีสมาธิ  ก็รู้  จิตหลุดพ้นหรือ จิตไม่หลุดพ้น  ก็รู้  เหล่าน้ีเรียกว่า  “จิตตานุปัส-  สนาสติปฏั ฐาน” บางทีก�ำหนดไปรู้ถึงจิตมีโทสะ  พอก�ำหนด ไปๆ  หายโกรธก็รู้  แต่บางคนก�ำหนดไปก็ยังโกรธ อยอู่ ย่างน้ัน  หรือบางทีฟุ้ง  กฟ็ ุง้ อยอู่ ย่างนัน้   เป็น 38 ธ ร ร ม ท ้ั ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต ่ เ ห ตุ



เพราะเราชอบที่จะไปบังคับให้มันหายฟุ้ง  หาย โกรธใชไ่ หม  เหมอื นคนจะดบั ไฟ  แตเ่ อาเชอ้ื เพลงิ เข้าไปใส ่ มันก็เลยไม่ดบั การก�ำหนดรู้ด้วยการบงั คบั จะเอาใหไ้ ด้ดังใจ มันเป็นตัวตัณหาที่เปรียบเหมือนเช้ือเพลิง  พอ ไม่ได้ดั่งใจก็ย่ิงโกรธ  ย่ิงโมโหโทโส  เพราะมีความ ทะยานอยาก  (ตณั หา)  ฉะนน้ั ผปู้ ฏบิ ตั ติ อ้ งกำ� หนด รู้อย่างปล่อยวาง  ต้องสอนใจตนเองอยู่เสมอว่า การระลึกรู้ต้องปล่อยวางนะ  การปฏิบัติไม่ได้ ปฏิบัติเพื่อท่ีจะเอาให้ได้ด่ังใจ  แต่ฝึกเพื่อที่จะ เรียนรู้  เพื่อท่ีจะสละละวาง  ปล่อยวางด้วยการรู้ เทา่ ทนั ต่อกิเลสตณั หาในใจตา่ งหาก 40 ธ ร ร ม ท้ั ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต่ เ ห ตุ

หมน่ั คอยดใู จตวั เองไมใ่ หม้ นั แลน่ ไปดว้ ยความ ทะยานอยาก  ถา้ วางใจได ้ ดเู ขาไปอยา่ งเปน็ ปกติ ไม่ว่าอะไร  จะเกิดก็เกิด  เราก็เห็นว่า  สิ่งเหล่านี้ จะคอ่ ยๆ  จางคลายไปเองและดบั ไปในทส่ี ดุ   ทเี่ รา มาปฏบิ ตั นิ กี่ เ็ พอื่ มาเรยี นรกู้ ายใจของตนเอง  วา่ มนั บงั คบั ไมไ่ ด ้ มนั ไมใ่ ชต่ วั ตน  ไมใ่ ชเ่ รา  ไมใ่ ชข่ องเรา แลว้ ยังจะไปบงั คับมนั   บงั คับไดไ้ หม อีกประการก็พิจารณาธรรมในธรรม  ธรรม อันใดเกิดขึ้นก็รู้  จะเป็นกุศล  อกุศล  เป็นอพยา- กตธรรม  ตอ้ งกำ� หนดรหู้ มด  จนกระทงั่ เหน็ สภาพ ธรรมไมเ่ ทย่ี ง  เหน็ สภาพธรรมเปน็ ทกุ ข ์ ทนอยใู่ น สภาพเดมิ ไมไ่ ด ้ เหน็ สภาพธรรมเปน็ อนตั ตา  บงั คบั บัญชาไม่ได้  เหล่านี้เรียกว่า  “ธัมมานุปัสสนา-  สติปฏั ฐาน” เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 41

การเจรญิ สตปิ ฏั ฐาน ๔ เชน่ น ี้ เปน็ อาหารของ โพชฌงค์  ๗  และทรงตรัสต่อไปว่า  “สติปัฏฐาน ทั้ง  ๔  เราก็กล่าวว่ามีอาหาร  มิได้กล่าวว่าไม่มี อาหาร  อะไรคอื อาหารของสตปิ ฏั ฐานทงั้   ๔  ควร ตอบว่า  สุจริต  ๓” สุจริต  ๓  คือ  กายสุจริต  วจีสุจริต  มโน- สุจริต  น่ีคือ  “ศีล”  ศีลนี่ส�ำคัญมากเลยนะ  การ เจริญสติปัฏฐานที่ไม่ได้ผลน้ันเป็นเพราะขาดศีล ทส่ี มบรู ณ ์ นกั ปฏิบัติจงึ ต้องรกั ษาศลี ใหส้ มบูรณ์ กายสจุ รติ   (๓)  ไดแ้ ก ่ ไมฆ่ า่ สตั ว ์ ไมล่ กั ทรพั ย์ ไม่ประพฤตผิ ดิ ในกาม 42 ธ ร ร ม ทั้ ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต ่ เ ห ตุ

วจีสุจริต  (๔)  ได้แก่  ไม่พูดโกหก  ไม่พูด สอ่ เสียด  ไม่พูดคำ� หยาบ  ไม่พดู เพ้อเจ้อ มโนสุจริต  (๓)  ได้แก่  ไม่เพ่งเล็งอยากได้ ของผู้อื่น  ไม่มีจิตคิดร้าย  ไม่เห็นผิดจากท�ำนอง คลองธรรม  คือมีความเห็นถูก  เช่น  บุญมีจริง บาปมีจรงิ   ผลของบญุ ของบาปมีจรงิ   เปน็ ต้น ความเป็นผู้มีความสุจริตกาย  วาจา  ใจ  จึง เป็นอาหารของสติปฏั ฐาน  ๔ ทรงตรัสว่า  “แม้สุจริต  ๓  เราก็กล่าวว่ามี อาหาร  มิไดก้ ลา่ ววา่ ไมม่ อี าหาร  อะไรเปน็ อาหาร ของสจุ ริต  ๓  ควรตอบวา่   การส�ำรวมอินทรยี ”์ เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 43

การสำ� รวมอนิ ทรยี  ์ คอื   การหมน่ั คอยระมดั - ระวังในการดู  การฟัง  การดมกล่ิน  การลิ้มรส การสัมผัสถูกต้อง  การนึกคิดต่างๆ  ให้ดี  อย่าให้ บาปเกดิ ขนึ้ “แมก้ ารสำ� รวมอนิ ทรยี เ์ รากก็ ลา่ ววา่   มอี าหาร มิได้กล่าวว่าไม่มีอาหาร  อะไรเป็นอาหารของ การส�ำรวมอินทรีย์  ควรตอบว่า  การมีสติสัมป-  ชญั ญะ” เมื่อใดที่เราไม่มีสติสัมปชัญญะ  เราก็จะดู ในสิ่งที่ไม่ควรดู  ฟังในสิ่งท่ีไม่ควรฟัง  กระท�ำใน สงิ่ ทไี่ มค่ วรกระทำ�   ครนั้ เรามสี ตสิ มั ปชญั ญะ  เราก็ จะมีการส�ำรวมตา  หู  จมกู   ลิ้น  กาย  ใจ 44 ธ ร ร ม ท้ั ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต ่ เ ห ตุ

“แม้การมีสติสัมปชัญญะ  เราก็กล่าวว่ามี อาหาร  มิไดก้ ลา่ วว่าไมม่ อี าหาร  อะไรเป็นอาหาร ของการมีสติสัมปชัญญะ  ควรตอบว่า  มนสิการ-  โดยแยบคาย” มนสกิ ารโดยแยบคาย  คอื   การทำ� ในใจไวโ้ ดย แยบคาย  ได้แก่  การพิจารณาเป็น  พิจารณาถูก เข้าใจคิด  คิดถกู   คดิ เป็น “แม้มนสิการโดยแยบคาย  เราก็กล่าวว่ามี อาหาร  มิไดก้ ลา่ ววา่ ไมม่ อี าหาร  อะไรเปน็ อาหาร ของมนสกิ ารโดยแยบคาย  ควรตอบว่า  ศรทั ธา” ศรัทธา  คือ  ความเชื่อ  ความเลื่อมใส  เช่น เชื่อในกรรม  เช่ือในผลของกรรม  เชื่อว่าสัตว์มี เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 45

กรรมเป็นของตน  เช่ือในการตรัสรู้ของพระพุทธ- เจ้า  เชื่อในพระธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้าจะ ท�ำให้เราเป็นผู้มีปัญญา  ท�ำให้คิดเป็น  เข้าใจคิด คดิ ไปในทางทีถ่ กู   ศรทั ธานี่จงึ สำ� คญั มาก “แมศ้ รทั ธาเรากก็ ลา่ ววา่ มอี าหาร  มไิ ดก้ ลา่ ว ว่าไม่มีอาหาร  อะไรเป็นอาหารของศรัทธา  ควร ตอบวา่   การได้ฟงั พระสทั ธรรม” พระสัทธรรม  คือ  ค�ำส่ังสอนที่พระพุทธเจ้า ทรงแสดงไว ้ ดงั ทเ่ี ราก�ำลังฟงั อยนู่ ่ี “แม้การได้ฟังพระสัทธรรม  เราก็กล่าวว่ามี อาหาร  มไิ ด้กลา่ วว่าไมม่ ีอาหาร  อะไรเปน็ อาหาร ของการได้ฟังพระสัทธรรม  ควรตอบว่า  การคบ  สตั บรุ ุษ” 46 ธ ร ร ม ท้ั ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต่ เ ห ตุ

สัตบุรุษ  คือ  คนดี  คนมีศีลมีธรรม  การได้ คบสัตบุรุษ  คือ  การได้กัลยาณมิตรท่ีดีคอยชักจูง เราไปในทางทด่ี  ี อยา่ งวนั นท้ี ที่ า่ นไดม้ าฟงั ธรรมกนั ก็เพราะอาศัยมีกัลยาณมิตรชักจูงแนะนำ� ให้มาวัด ไดม้ ารจู้ กั วดั นกี้ เ็ ลยไดม้ าวดั   มาฟงั ธรรม  มาถอื ศลี กัน  น่ีก็เพราะว่าเราคบคนดี  คนมีศีลมีธรรม  ถ้า เราไปคบคนพาล  กพ็ าไปในทางเสอื่ มเสยี   เลน่ การ พนัน  ต้ังวงเหล้า  เท่ียวกลางคืน  ฯลฯ  น่ีก็เพราะ คบคนช่ัวเป็นมิตร  ก็คงไม่ได้มาวัดใช่ไหม  การ มมี ติ รทด่ี จี งึ สำ� คญั อยา่ งมาก  ชวี ติ เราจะเจรญิ หรอื จะเสอื่ มก็อย่ทู ่กี ารเลือกคบคน เ ข ม รั ง ส ี ภิ ก ขุ 47

ฉะน้ัน  พระพทุ ธองคจ์ ึงตรัสวา่ “การคบสตั บรุ ษุ   ทบ่ี รบิ รู ณ ์ ยอ่ มทำ� ให ้ การ  ไดฟ้ งั พระสัทธรรม  บริบรู ณ์ การได้ฟังพระสัทธรรมท่ีบริบูรณ์  ย่อมท�ำให้ ความมศี รทั ธา  บริบรู ณ์ ความมีศรัทธาท่ีบริบูรณ์  ย่อมท�ำให้  การ  มนสกิ ารโดยแยบคาย  บรบิ รู ณ์ การมนสกิ ารโดยแยบคายทบ่ี รบิ รู ณ ์ ยอ่ มทำ� ให้ การมีสตสิ มั ปชัญญะ  บริบูรณ์ การมีสติสัมปชัญญะท่ีบริบูรณ์  ย่อมท�ำให้ ความสำ� รวมอินทรีย ์ บริบูรณ์ 48 ธ ร ร ม ทั้ ง ห ล า ย  ไ ห ล ม า แ ต่ เ ห ตุ

ความส�ำรวมอินทรีย์ที่บริบูรณ์  ย่อมท�ำให้ สจุ รติ   ๓  บริบรู ณ์ สจุ รติ  ๓ ทบี่ รบิ รู ณ ์ ยอ่ มทำ� ให ้ สตปิ ฏั ฐาน ๔ บรบิ รู ณ์ สตปิ ฏั ฐาน ๔ ทบี่ รบิ รู ณ ์ ยอ่ มทำ� ให ้ โพชฌงค์ บรบิ ูรณ์ โพชฌงค์  ๗  ท่ีบริบูรณ์  ย่อมท�ำให้  วิชชา  และวิมุตต ิ บริบรู ณ์” “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  วิชชาและวิมุตติ  มี อาหารอย่างนี้  บริบูรณ์อย่างนี้  ภิกษุทั้งหลาย การคบสัตบุรุษที่บริบูรณ์  ย่อมท�ำให้การฟังพระ เ ข ม รั ง สี ภิ ก ขุ 49