Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือสวดมนต์ "งานเสริมสิริมงคลชีวิต" (ฉบับพิเศษ)

หนังสือสวดมนต์ "งานเสริมสิริมงคลชีวิต" (ฉบับพิเศษ)

Description: หนังสือสวดมนต์ "งานเสริมสิริมงคลชีวิต" (ฉบับพิเศษ)

โดย พระภาวนาเขมคุณ วิ. (พระอาจารย์สุรศักดิ์ เขมรังสี)
วัดมเหยงคณ์ จ.พระนครศรีอยุธยา

Keywords: งานเสริมสิริมงคลชีวิต

Search

Read the Text Version

70 ภาค  ๒ ทำ�วตั รเย็น คำ�บชู าพระรตั นตรัย โย  โส  ภะคะวา  อะระหัง  สัมมาสมั พุทโธ, พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองคใ์ ด,  ทรงเปน็ พระอรหนั ต์,  ตรัสรู้ด้วยพระองคเ์ องโดยชอบ สว๎ ากขาโต  เยนะ  ภะคะวะตา  ธัมโม, พระธรรมทพี่ ระผู้มพี ระภาคเจ้าพระองคใ์ ด, ตรัสไว้ดีแล้ว สปุ ะฏปิ นั โน  ยัสสะ  ภะคะวะโต  สาวะกะสังโฆ, พระสงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคใ์ ด,  เป็นผ้ปู ฏิบตั ดิ ีแลว้

71 ตมั มะยงั   ภะคะวนั ตงั   สะธมั มงั   สะสงั ฆงั ,  อเิ มหิ สกั กาเรห ิ ยะถาระหัง  อาโรปเิ ตหิ  อะภปิ ชู ะยามะ, ข้าพเจ้าท้ังหลาย,  ขอบูชาอย่างยิ่ง,  ซ่ึงพระผู้ม ี พระภาคเจ้าพระองค์น้ัน,  พร้อมท้ังพระธรรม,  พร้อมท้ังพระสงฆ์,  ด้วยเครื่องสักการะเหล่าน้ี,  ทพี่ วกขา้ พเจา้ ทงั้ หลาย, ยกขน้ึ ไวต้ ามสมควรแลว้ สาธ ุ โน  ภนั เต  ภะคะวา  สุจริ ะปะรนิ ิพพโุ ตป,ิ ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เจริญ,  ดังพวก  ข้าพเจ้าขอโอกาส,  ขอพระผู้มีพระภาคเจ้า  ท้ังหลาย,  แม้ปรินิพพานไปนานแล้ว ปจั ฉมิ าชะนะตานุกมั ปะมานะสา, มีพระหฤทัยอนุเคราะห์แก่ประชุมชนท่ีเกิดมา  ภายหลงั อเิ ม สกั กาเร ทคุ คะตะปณั ณาการะภเู ต ปะฏคิ คณั ห๎ าต,ุ โปรดทรงรับเครื่องสักการะเหล่านี้,  อันเป็น  บรรณาการของคนยาก

72 อมั ห๎ ากัง  ทีฆะรตั ตัง  หิตายะ  สุขายะ. เพ่ือประโยชน ์ เพ่อื ความสุข แก่ข้าพเจ้าท้งั หลาย,   สิน้ กาลนาน  เทอญ ฯ ขณะอยนู่ อกประตูเมือง  เมื่อทรงเสด็จออกมหาภเิ นษกรมณ์

73 คำ�นมสั การพระรตั นตรัย อะระหงั   สัมมาสมั พทุ โธ  ภะคะวา, พระผู้มีพระภาคเจ้า, เป็นพระอรหันต์, ดับเพลิง  กิเลส  เพลิงทุกข์ส้ินเชิง,  ตรัสรู้ชอบได้โดย  พระองคเ์ อง พุทธงั   ภะคะวันตัง  อะภิวาเทม.ิ ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า,  ผู้รู้  ผู้ตื่น  ผู้เบกิ บาน (กราบ) สว๎ ากขาโต  ภะคะวะตา  ธัมโม, พระธรรม  เป็นธรรมท่ีพระผู้มีพระภาคเจ้า,  ตรสั ไวด้ แี ล้ว ธัมมัง  นะมสั สาม.ิ ข้าพเจา้ นมัสการพระธรรม (กราบ)

74 สุปะฏิปนั โน  ภะคะวะโต  สาวะกะสงั โฆ, พระสงฆส์ าวกของพระผ้มู ีพระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแลว้ สงั ฆงั   นะมาม.ิ ข้าพเจา้ นอบนอ้ มพระสงฆ์ (กราบ) ขณะเสดจ็ ไปตามลาำ ดับ  เม่อื ทรงเสดจ็ ออกมหาภเิ นษกรมณ์

75 ปพุ พภาคนมการ หนั ทะ มะยงั พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปพุ พะภาคะนะมะการงั กะโรมะ  เส. (เชิญเถิด  เราทงั้ หลาย  ท�ำ ความนอบนอ้ มเปน็ สว่ นเบอ้ื งต้น   แดพ่ ระผูม้ พี ระภาคพุทธเจ้าเถิด) นะโม  ตัสสะ  ภะคะวะโต, ขอนอบนอ้ มแดพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ , พระองคน์ น้ั อะระหะโต, ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกเิ ลส สมั มาสมั พทุ ธัสสะ. ตรสั ร้ชู อบได้โดยพระองค์เอง (กล่าว  ๓  ครง้ั )

76 พุทธานุสสติ หนั ทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส. (เชิญเถิด  เราท้ังหลาย  กระท�ำ ซ่ึงนยั   คอื ความตามระลกึ ถงึ พระพทุ ธเจ้าเถิด) ตงั   โข  ปะนะ  ภะคะวันตัง  เอวงั   กลั ย๎ าโณ กิตติสัทโท  อพั ภุคคะโต, ก็กิตติศัพท์อันงามของพระผู้มีพระภาคเจ้าน้ัน,  ได้ฟงุ้ ไปแล้วอย่างนี้วา่ อติ ิปิ  โส  ภะคะวา, เพราะเหตอุ ย่างน ้ี ๆ  พระผมู้ พี ระภาคเจา้ นัน้ อะระหงั , เป็นผไู้ กลจากกเิ ลส สมั มาสมั พุทโธ, เปน็ ผูต้ รัสร้ชู อบได้โดยพระองค์เอง

77 วชิ ชาจะระณะสมั ปนั โน, เป็นผู้ถงึ พร้อมด้วยวชิ ชาและจรณะ สุคะโต, เป็นผ้ไู ปแลว้ ดว้ ยดี โลกะวทิ ,ู เป็นผูร้ โู้ ลกอย่างแจ่มแจ้ง อะนตุ ตะโร  ปรุ สิ ะทมั มะสาระถิ, เปน็ ผู้สามารถฝกึ บรุ ุษทส่ี มควรฝกึ ไดอ้ ยา่ ง ไมม่ ีใครยง่ิ กว่า สัตถา  เทวะมะนสุ สานงั , เป็นครูผู้สอน  ของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย พทุ โธ, เปน็ ผูร้ ู้  ผูต้ ื่น  ผเู้ บิกบานด้วยธรรม ภะคะวาติ. เป็นผู้มีความจ�ำเริญ  จ�ำแนกธรรมสั่งสอนสัตว ์ ดงั นี้

78 พุทธาภิคตี ิ หันทะ  มะยงั   พุทธาภคิ ตี ิง  กะโรมะ  เส. (เชญิ เถดิ เราทง้ั หลายท�ำ ความขบั คาถาพรรณนาเฉพาะพระพทุ ธเจา้ เถดิ ) พุทธว๎ าระหันตะวะระตาทคิ ุณาภยิ ตุ โต, พระพทุ ธเจา้ ประกอบดว้ ยคณุ ,  มคี วามประเสรฐิ แห่งอรหันตคุณ  เป็นตน้ สุทธาภญิ าณะกะรุณาหิ  สะมาคะตตั โต, มีพระองค์อันประกอบด้วยพระญาณ,  และ  พระกรุณาอันบริสุทธิ์ โพเธส ิ โย  สุชะนะตงั   กะมะลงั วะ  สูโร, พระองค์ใด  ทรงกระท�ำชนที่ดีให้เบิกบาน,  ดุจอาทิตย์ท�ำบัวให้บาน วนั ทามะหัง  ตะมะระณงั   สิระสา  ชเิ นนทัง, ข้าพเจ้าไหว้พระชินสีห์,  ผู้ไม่มีกิเลสพระองค์  น้ัน  ด้วยเศียรเกล้า * ค�ำท่อี ยู่ในวงเลบ็ ต่อทา้ ยเชน่ น ี้ ส�ำหรับผู้หญงิ วา่

79 พุทโธ โย สัพพะปาณีนงั สะระณงั เขมะมตุ ตะมงั , พระพุทธเจ้าพระองค์ใด,  เป็นสรณะอันเกษม  สงู สดุ ของสตั ว์ทั้งหลาย ปะฐะมานสุ สะตฏิ ฐานัง  วนั ทาม ิ ตงั   สิเรนะหงั , ข้าพเจ้าไหว้พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น,  อันเป็น  ที่ตั้งแห่งความระลึกองค์ท่ีหน่งึ   ดว้ ยเศียรเกลา้ พทุ ธสั สาหสั ม๎ ิ ทาโส (ทาส)ี * วะ พทุ โธ เม สามกิ สิ สะโร, ขา้ พเจา้ เปน็ ทาสของพระพทุ ธเจา้ ,  พระพทุ ธเจา้ เปน็ นายมีอสิ ระเหนือขา้ พเจา้ พุทโธ ทกุ ขัสสะ ฆาตา จะ วธิ าตา จะ หิตัสสะ เม, พระพุทธเจ้าเป็นเคร่ืองก�ำจัดทุกข์,  และทรงไว้  ซงึ่ ประโยชน ์ แก่ขา้ พเจา้ พุทธัสสาหงั   นยิ ยาเทมิ  สะรรี ัญชีวติ ญั จิทัง, ข้าพเจา้ มอบกายถวายชีวิตน ี้ แด่พระพทุ ธเจา้ วันทนั โตหัง (ตีหัง) จะรสิ สามิ พุทธัสเสวะ สโุ พธติ งั , ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตาม,  ซ่ึงความ  ตรัสรู้ดีของพระพุทธเจ้า

80 นตั ถิ เม สะระณัง อญั ญงั พทุ โธ เม สะระณัง วะรัง, สรณะอ่ืนของข้าพเจ้าไม่มี,  พระพุทธเจ้าเป็น  สรณะอนั ประเสรฐิ ของขา้ พเจ้า เอเตนะ  สจั จะวชั เชนะ  วฑั เฒยยงั   สตั ถ ุ สาสะเน, ด้วยการกล่าวค�ำสัตย์นี้,  ข้าพเจ้าพึงเจริญใน  พระศาสนาของพระศาสดา พทุ ธงั   เม  วันทะมาเนนะ (มานายะ)  ยงั   ปญุ ญงั ปะสตุ ัง  อิธะ, ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซ่ึงพระพุทธเจ้า,  ได้ขวนขวาย  บญุ ใดในบัดน้ี สพั เพป ิ อนั ตะรายา  เม  มาเหสงุ   ตสั สะ  เตชะสา. อันตรายท้ังปวง  อย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า,  ด้วยเดช  แห่งบญุ นนั้ (หมอบลงกลา่ ว)

81 กาเยนะ  วาจายะ  วะ  เจตะสา  วา, ดว้ ยกายก็ดี  ด้วยวาจากด็ ี  ดว้ ยใจก็ดี พทุ เธ  กุกมั มงั   ปะกะตงั   มะยา  ยงั , กรรมน่าติเตียนอันใด  ท่ีข้าพเจ้ากระท�ำแล้วใน  พระพทุ ธเจ้า พทุ โธ  ปะฏิคคัณ๎หะตุ  อัจจะยนั ตัง, ขอพระพุทธเจา้   จงงดซงึ่ โทษลว่ งเกนิ อนั น้นั กาลนั ตะเร  สงั วะรติ งุ   วะ  พุทเธ. เพอื่ การส�ำรวมระวงั ในพระพทุ ธเจา้ ในกาลตอ่ ไป *บทขอให้งดโทษน้ี มิได้เป็นการขอล้างบาป, เป็นเพียงการเปิดเผยตัวเอง, และค�ำว่า  โทษในทน่ี ้ี มไิ ดห้ มายถงึ กรรม, หมายถงึ เพยี งโทษเลก็ นอ้ ยซงึ่ เปน็ “สว่ นตวั ” ระหวา่ งกนั   ที่พึงอโหสิกันได้, การขอขมาชนิดน้ี ส�ำเร็จผลได้ในเมื่อผู้ขอต้ังใจท�ำจริงๆ, และเป็น  เพียงศีลธรรมหรอื สงิ่ ทคี่ วรประพฤติ

82 ธมั มานสุ สติ หันทะ  มะยงั   ธมั มานุสสะตนิ ะยงั   กะโรมะ  เส. (เชิญเถิด  เราทง้ั หลาย  กระท�ำ ซง่ึ นัย  คอื ความตามระลึกถงึ พระธรรมเถิด) ส๎วากขาโต  ภะคะวะตา  ธมั โม, พระธรรม  เป็นสงิ่ ทพ่ี ระผมู้ พี ระภาคเจ้า, ได้ตรสั ไว้ดีแลว้ สนั ทฏิ ฐโิ ก, เปน็ สง่ิ ทผ่ี ศู้ กึ ษาและปฏบิ ตั ิ พงึ เหน็ ไดด้ ว้ ยตนเอง อะกาลิโก, เปน็ สง่ิ ทป่ี ฏบิ ตั ไิ ด ้ และใหผ้ ลได ้ ไมจ่ �ำกดั กาล เอหปิ สั สโิ ก, เปน็ สิง่ ที่ควรกลา่ วกะผอู้ ่ืนว่า  ทา่ นจงมาดูเถิด

83 โอปะนะยิโก, เป็นส่ิงที่ควรน้อมเขา้ มาใส่ตัว ปจั จัตตงั   เวทติ ัพโพ  วิญญูหีต๑ิ . เปน็ สงิ่ ทผ่ี ้รู ู้กร็ ูไ้ ด้เฉพาะตน  ดงั นี้ ทรงเสดจ็ ออกมหาภเิ นษกรมณ ์ ถึงจุดหมายปลายทาง ๑ ตามบาลี  จะออกเสียงเป็น  วิญญฮู ีติ

84 ธัมมาภคิ ีติ หันทะ  มะยัง  ธมั มาภคิ ีตงิ   กะโรมะ  เส. (เชิญเถดิ   เราทัง้ หลาย  ท�ำ ความขับคาถาพรรณนา เฉพาะพระธรรมเถดิ ) ส๎วากขาตะตาทิคณุ ะโยคะวะเสนะ  เสยโย, พระธรรม  เป็นส่ิงที่ประเสริฐเพราะประกอบ  ด้วยคุณ, คือความท่ีพระผู้มีพระภาคเจ้า, ตรัสไว ้ ดีแล้ว  เป็นต้น โย  มัคคะปากะปะริยตั ติวโิ มกขะเภโท, เป็นธรรมอันจ�ำแนกเป็น  มรรค  ผล  ปริยัติ    และนิพพาน ธัมโม  กุโลกะปะตะนา  ตะทะธารธิ ารี, เป็นธรรมทรงไว้ซ่ึงผู้ทรงธรรม  จากการตกไป  สโู่ ลกทช่ี ว่ั * ค�ำท่ีอยูใ่ นวงเล็บต่อทา้ ยเชน่ นี ้ ส�ำหรับผ้หู ญิงวา่

85 วนั ทามะหงั   ตะมะหะรงั   วะระธมั มะเมตัง, ขา้ พเจา้ ไหวพ้ ระธรรมอนั ประเสรฐิ นน้ั ,  อนั เปน็ เครอ่ื งขจัดเสียซ่ึงความมืด ธมั โม โย สัพพะปาณนี งั สะระณงั เขมะมุตตะมัง, พระธรรมใด  เป็นสรณะอันเกษมสูงสุดของ  สัตว์ทั้งหลาย ทุติยานุสสะตฏิ ฐานัง  วนั ทามิ  ตัง  สิเรนะหงั , ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมนั้น,  อันเป็นท่ีต้ังแห่ง  ความระลึกองค์ท่ีสอง  ด้วยเศียรเกล้า ธมั มสั สาหสั ๎มิ  ทาโส (ทาสี)*  วะ  ธมั โม  เม สามิกสิ สะโร, ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระธรรม,  พระธรรมเป็น  นายมอี ิสระเหนอื ขา้ พเจ้า ธมั โม ทกุ ขสั สะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หติ สั สะ เม, พระธรรมเป็นเครื่องก�ำจัดทุกข์,  และทรงไว ้ ซ่ึงประโยชน์แก่ข้าพเจ้า

86 ธัมมสั สาหัง  นยิ ยาเทม ิ สะรรี ญั ชวี ติ ัญจิทัง, ข้าพเจ้ามอบกายถวายชีวิตน้ ี แด่พระธรรม วันทันโตหัง (ตหี ัง)  จะรสิ สาม ิ ธมั มสั เสวะ สุธมั มะตงั , ข้าพเจ้าผไู้ หว้อยจู่ กั ประพฤติตาม,  ซึ่งความ เปน็ ธรรมดขี องพระธรรม นตั ถ ิ เม สะระณงั อญั ญงั ธมั โม เม สะระณงั วะรงั , สรณะอนื่ ของข้าพเจ้าไมม่ ี,  พระธรรมเป็น สรณะอันประเสริฐของขา้ พเจา้ เอเตนะ  สจั จะวชั เชนะ  วฑั เฒยยงั   สตั ถ ุ สาสะเน, ด้วยการกล่าวค�ำสัตย์นี้,  ข้าพเจ้าพึงเจริญใน  พระศาสนา  ของพระศาสดา ธัมมงั   เม  วันทะมาเนนะ (มานายะ)  ยงั   ปุญญัง ปะสุตัง  อิธะ, ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่ซ่ึงพระธรรม,  ได้ขวนขวาย  บุญใดในบัดนี้

87 สพั เพป ิ อนั ตะรายา  เม  มาเหสงุ   ตสั สะ  เตชะสา.  อันตรายทั้งปวง  อย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า  ด้วยเดช  แหง่ บุญน้นั (หมอบลงกล่าว) กาเยนะ  วาจายะ  วะ  เจตะสา  วา, ดว้ ยกายก็ด ี ด้วยวาจากด็  ี ดว้ ยใจก็ดี ธัมเม  กุกมั มงั   ปะกะตงั   มะยา  ยงั , กรรมน่าติเตียนอันใด  ท่ีข้าพเจ้ากระท�ำแล้ว  ในพระธรรม ธมั โม  ปะฏิคคณั ๎หะตุ  อัจจะยนั ตงั , ขอพระธรรม  จงงดซึ่งโทษล่วงเกนิ อนั นั้น กาลนั ตะเร  สงั วะริตุง  วะ  ธัมเม. เพื่อการส�ำรวมระวัง ในพระธรรม ในกาลตอ่ ไป

88 สังฆานสุ สติ หนั ทะ  มะยงั   สังฆานสุ สะตนิ ะยัง  กะโรมะ  เส. (เชญิ เถดิ เราทง้ั หลาย กระท�ำ ซง่ึ นยั คอื ความตามระลกึ ถงึ พระสงฆเ์ ถดิ ) สปุ ะฏิปันโน  ภะคะวะโต  สาวะกะสังโฆ, สงฆ์สาวกของพระผ้มู พี ระภาคเจ้า  หมใู่ ด, ปฏบิ ตั ดิ ีแลว้ อชุ ปุ ะฏิปนั โน  ภะคะวะโต  สาวะกะสังโฆ, สงฆส์ าวกของพระผู้มีพระภาคเจา้   หมู่ใด, ปฏบิ ัติตรงแลว้ ญายะปะฏปิ นั โน  ภะคะวะโต  สาวะกะสงั โฆ, สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า  หมใู่ ด, ปฏบิ ัตเิ พอื่ รู้ธรรมเปน็ เครอื่ งออกจากทกุ ขแ์ ลว้ สามจี ปิ ะฏิปันโน  ภะคะวะโต  สาวะกะสังโฆ,  สงฆ์สาวกของพระผมู้ ีพระภาคเจา้   หมใู่ ด, ปฏบิ ตั สิ มควรแล้ว

89 ยะทิทัง, ได้แกบ่ คุ คลเหล่านี้คอื จตั ตาริ  ปรุ สิ ะยคุ าน ิ อัฏฐะ  ปุริสะปคุ คะลา, คูแ่ หง่ บุรษุ ๔ ค,ู่   นบั เรยี งตวั บรุ ษุ   ได้ ๘ บรุ ุษ เอสะ  ภะคะวะโต  สาวะกะสงั โฆ, นนั่ แหละ  สงฆส์ าวกของพระผู้มพี ระภาคเจา้ อาหเุ นยโย, เปน็ สงฆค์ วรแกส่ กั การะทเ่ี ขาน�ำมาบูชา ปาหเุ นยโย, เปน็ สงฆ์ควรแก่สกั การะทีเ่ ขาจดั ไวต้ ้อนรบั ทักขิเณยโย, เปน็ ผคู้ วรรับทกั ษณิ าทาน อญั ชะลกิ ะระณีโย เปน็ ผู้ทบี่ คุ คลทัว่ ไปควรท�ำอญั ชลี อะนตุ ตะรัง  ปุญญักเขตตัง  โลกัสสาติ. เปน็ เนอ้ื นาบญุ ของโลก, ไมม่ นี าบญุ อน่ื ยงิ่ กวา่ ดงั น้ี

90 สงั ฆาภคิ ตี ิ หันทะ  มะยัง  สังฆาภิคีตงิ   กะโรมะ  เส. (เชญิ เถิด  เราท้ังหลาย  ท�ำ ความขับคาถาพรรณนา เฉพาะพระสงฆเ์ ถดิ ) สัทธัมมะโช  สปุ ะฏิปตั ตคิ ณุ าทิยตุ โต, พระสงฆ์ทเี่ กดิ โดยพระสัทธรรม,  ประกอบ ด้วยคุณมีความปฏบิ ัติดีเปน็ ต้น โยฏฐพั พิโธ  อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ, เป็นหมู่แห่งพระอริยบุคคลอันประเสริฐแปด  จ�ำพวก สลี าทิธมั มะปะวะราสะยะกายะจติ โต, มกี ายและจิต อันอาศยั ธรรมมีศีลเป็นต้นอนั บวร วนั ทามะหงั   ตะมะริยานะ  คะณงั   สุสทุ ธัง, ข้าพเจา้ ไหว้หม่แู ห่งพระอริยเจ้าเหลา่ นั้น, อนั บริสุทธิ์ด้วยดี

91 สงั โฆ  โย  สพั พะปาณนี งั   สะระณงั   เขมะมตุ ตะมงั , พระสงฆ์  หมู่ใด  เป็นสรณะอันเกษมสูงสุด  ของสัตว์ท้ังหลาย ตะติยานุสสะติฏฐานัง  วนั ทามิ  ตงั   สเิ รนะหงั , ข้าพเจ้าไหว้พระสงฆ์หมู่นั้น,   อันเป็นท่ีตั้ง  แห่งความระลึกองค์ที่สาม  ด้วยเศียรเกล้า สงั ฆสั สาหสั ม๎ ิ ทาโส (ทาส)ี * วะ สงั โฆ เม สามกิ สิ สะโร, ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระสงฆ์,  พระสงฆ์เป็น  นายมีอิสระเหนือข้าพเจ้า สงั โฆ ทกุ ขสั สะ ฆาตา จะ วธิ าตา จะ หติ สั สะ เม, พระสงฆ์เป็นเคร่ืองก�ำจัดทุกข์,  และทรงไว้  ซ่ึงประโยชน์แก่ข้าพเจ้า สงั ฆสั สาหัง  นิยยาเทม ิ สะรีรัญชีวติ ัญจทิ ัง, ขา้ พเจ้ามอบกายถวายชีวิตน ้ี แดพ่ ระสงฆ์ * ค�ำท่อี ยู่ในวงเล็บต่อท้ายเช่นนี้ ส�ำหรับผู้หญงิ ว่า

92 วนั ทนั โตหงั (ตหี งั ) จะรสิ สามิ สงั ฆสั โสปะฏปิ นั นะตงั , ข้าพเจ้าผู้ไหว้อยู่จักประพฤติตาม,  ซึ่งความ  ปฏิบัตดิ ขี องพระสงฆ์ นตั ถ ิ เม สะระณงั อญั ญงั สงั โฆ เม สะระณงั วะรงั , สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี,  พระสงฆ์เป็น  สรณะอันประเสริฐของข้าพเจ้า เอเตนะ  สจั จะวชั เชนะ  วฑั เฒยยงั   สตั ถ ุ สาสะเน, ด้วยการกล่าวค�ำสัตย์นี้,  ข้าพเจ้าพึงเจริญใน  พระศาสนา  ของพระศาสดา สังฆัง  เม  วันทะมาเนนะ  (มานายะ)  ยัง  ปุญญัง  ปะสุตัง  อิธะ, ขา้ พเจา้ ผไู้ หวอ้ ยซู่ งึ่ พระสงฆ,์ ไดข้ วนขวายบญุ ใด  ในบดั น้ี สพั เพป ิ อนั ตะรายา  เม  มาเหสงุ   ตสั สะ  เตชะสา. อันตรายทั้งปวง  อย่าได้มีแก่ข้าพเจ้า,  ด้วยเดช  แห่งบญุ นั้น (หมอบลงกล่าว)

93 กาเยนะ  วาจายะ  วะ  เจตะสา  วา, ดว้ ยกายก็ด ี ด้วยวาจาก็ดี  ดว้ ยใจกด็ ี สังเฆ  กกุ มั มงั   ปะกะตัง  มะยา  ยัง, กรรมน่าติเตียนอันใด  ที่ข้าพเจ้ากระท�ำแล้ว  ในพระสงฆ์ สังโฆ  ปะฏิคคณั ๎หะต ุ อัจจะยนั ตัง, ขอพระสงฆ ์ จงงดซงึ่ โทษล่วงเกนิ อนั น้ัน กาลนั ตะเร  สังวะริตงุ   วะ  สงั เฆ. เพอื่ การส�ำรวมระวงั   ในพระสงฆ ์ ในกาลตอ่ ไป จบค�ำ ทำ�วัตรเย็น

94 (นง่ั พบั เพยี บ) นมัสการพระอรหนั ต์  ๘  ทศิ (น�ำ) หันทะ  มะยงั   สะระภัญเญนะ พุทธะมังคะละคาถาโย  ภะณามะ  เส ฯ (รับ) สมั พทุ โธ  ทิปะทงั   เสฏโฐ นิสินโน  เจวะ  มชั ฌิเม, โกณฑัญโญ  ปุพพะภาเค  จะ อาคะเณยเย  จะ  กัสสะโป, สารีปตุ โต  จะ  ทกั ขิเณ หะระติเย  อปุ าลี  จะ, ปัจฉเิ มปิ  จะ  อานันโท พายพั เพ  จะ  คะวมั ปะติ, โมคคัลลาโน  จะ  อุตตะเร อสิ าเนป ิ จะ  ราหุโล, อิเม  โข  มังคะลา  พทุ ธา  สัพเพ  อธิ ะ  ปะตฏิ ฐิตา,

95   วนั ทิตา  เต  จะ  อัมเ๎ หหิ    สักกาเรห ิ จะ  ปชู ิตา,   เอเตสัง  อานุภาเวนะ   สัพพะโสตถี  ภะวนั ตุ  โน ฯ อจิ เจวะมจั จันตะนะมัสสะเนยยงั , นะมัสสะมาโน  ระตะนัตตะยัง  ยงั , ปุญญาภสิ ันทัง  วิปุลัง  อะลัตถงั , ตัสสานภุ าเวนะ  หะตันตะราโย ฯ ทรงเสดจ็ ออกมหาภเิ นษกรมณ ์ แบบภารหตุ

159 สัพพมงั คลคาถา ภะวะตุ สพั พะมงั คะลัง รักขนั ต ุ สัพพะเทวะตา สพั พะพุทธานภุ าเวนะ สะทา โสตถ ี ภะวนั ตุ เต ฯ ภะวะต ุ สพั พะมังคะลงั รักขนั ต ุ สัพพะเทวะตา สพั พะธมั มานุภาเวนะ สะทา โสตถ ี ภะวนั ตุ เต ฯ ภะวะตุ สพั พะมงั คะลงั รกั ขันต ุ สพั พะเทวะตา สพั พะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวนั ตุ เต ฯ คำ�สมาทานกรรมฐาน อุกาสะ  อุกาสะ,  ณ  โอกาสบัดนี้,  ข้าพเจ้า,  ขอสมาทาน,  ซึ่งพระกรรมฐาน,  เพ่ือขณิกสมาธิ,  อุปจารสมาธิ,  อัปปนาสมาธิ,  วิปัสสนาญาณ, และ  มรรค ผล นิพพาน, จะพึงบังเกิดข้ึน, ในขันธสันดาน,  ของข้าพเจ้า,  ข้าพเจ้า,  จะตั้งสติก�ำหนดรู้,  อยู่ท ี่ รูปนามปัจจุบัน,  ให้ทันติดต่อกันไป,  สามหน  และเจ็ดหน,  ร้อยหน  และพันหน,  ต้ังแต่บัดน้ี,  เป็นต้นไป  เทอญ

160 บทพจิ ารณาสังขาร หนั ทะ  มะยงั   สังขาระปจั จะเวกขะณะปาฐัง  ภะณามะ  เส. (เชิญเถิด  เราทง้ั หลาย  กล่าวบาลพี ิจารณาสงั ขารกันเถิด) สพั เพ  สงั ขารา  อะนิจจา, สงั ขารคอื รา่ งกาย  จติ ใจ,  แลรปู ธรรมนามธรรม  ทั้งหมดทั้งสิ้น,  มันไม่เท่ียง,  เกิดข้ึนแล้วดับไป  มีแล้วหายไป สพั เพ  สังขารา  ทกุ ขา, สงั ขารคอื รา่ งกาย  จติ ใจ,  แลรปู ธรรมนามธรรม  ท้ังหมดท้ังสิ้น,  มันเป็นทุกข์ทนยาก,  เพราะ  เกิดขนึ้ แล้ว,  แก ่ เจ็บ  ตายไป สพั เพ  ธมั มา  อะนตั ตา, สิ่งท้ังหลายท้ังปวง,  ทั้งที่เป็นสังขาร  แลมิใช่  สังขารท้ังหมดท้ังส้ิน, ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน, ไม่ควร  ถือว่าเรา  ว่าของเรา  ว่าตัวว่าตนของเรา

161 อะธุวงั   ชวี ติ ัง, ชีวิตเปน็ ของไมย่ ่ังยนื ธุวงั   มะระณงั , ความตายเปน็ ของยงั่ ยนื อะวัสสงั   มะยา  มะรติ พั พงั , อนั เราจะพึงตายเปน็ แท้ มะระณะปะริโยสานงั   เม  ชวี ิตงั , ชวี ิตของเรา  มคี วามตายเปน็ ท่ีสุดรอบ ชวี ติ งั   เม  อะนยิ ะตัง, ชวี ติ ของเรา  เป็นของไมเ่ ที่ยง มะระณัง  เม  นิยะตงั , ความตายของเรา  เปน็ ของเท่ียง วะตะ, ควรที่จะสงั เวช อะยงั   กาโย, ร่างกายน้ี อะจิรงั , มไิ ด้ต้งั อยู่นาน อะเปตะวิญญาโณ, คร้นั ปราศจากวิญญาณ ฉุฑโฑ, อนั เขาทงิ้ เสียแลว้

162 จักนอนทบั ซง่ึ แผน่ ดิน อะธิเสสสะติ, ประดุจดังว่าท่อนไม้และ ปะฐะวิง, ท่อนฟืน กะลิงคะรัง  อิวะ, หาประโยชนม์ ไิ ด้ นิรตั ถงั . พราหมณโ์ สตถิยะ ถวายหญา้ คาเพ่อื ปลู าดเหนอื อาสนะใต้ตน้ พระศรมี หาโพธ์ิ

163 อตตี ปจั จเวกขณปาฐะ หันทะ  มะยงั   อะตตี ะปจั จะเวกขะณะปาฐัง  ภะณามะ  เส. (เชิญเถดิ   เราทง้ั หลาย  กล่าวบาลีพิจารณาการใชส้ อยปจั จัยสี่ ที่ผ่านพน้ ล่วงเลยมาแล้วกนั เถิด) (ขอ้ ว่าดว้ ยจีวร) อชั ชะ มะยา อะปัจจะเวกขติ ว๎ า ยงั จวี ะรัง ปะริภตุ ตัง, จวี รใด  อนั เรานงุ่ หม่ แลว้ ไมท่ นั พจิ ารณาในวนั นี้ ตงั   ยาวะเทวะ  สีตัสสะ  ปะฏฆิ าตายะ, จวี รนน้ั เรานงุ่ หม่ แลว้ เพยี งเพอื่ บ�ำบดั ความหนาว อณุ ห๎ สั สะ  ปะฏิฆาตายะ, เพือ่ บ�ำบดั ความร้อน ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง  ปะฏิฆาตายะ, เพื่อบ�ำบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ  ยุง  ลม  แดด,  และสตั ว์เลือ้ ยคลานท้ังหลาย

164 ยาวะเทวะ  หริ ิโกปนิ ะปะฏิจฉาทะนัตถัง. และเพยี งเพอ่ื ปกปดิ อวยั วะอนั ใหเ้ กดิ ความละอาย (ข้อว่าดว้ ยบณิ ฑบาต) อัชชะ  มะยา  อะปัจจะเวกขิต๎วา  โย  ปิณฑะปาโต ปะรภิ ุตโต, บิณฑบาต (อาหาร) ใด  อันเราฉัน  (บริโภค)  แลว้   ไมท่ นั พจิ ารณาในวนั นี้ โส  เนวะ  ทะวายะ, บิณฑบาต (อาหาร) นั้น เราฉัน (บริโภค) แล้ว  ไมใ่ ช่เป็นไปเพอ่ื ความเพลดิ เพลินสนกุ สนาน นะ  มะทายะ, ไม่ใช่เป็นไปเพื่อความเมามัน  เกิดก�ำลังพลัง  ทางกาย นะ  มัณฑะนายะ, ไมใ่ ชเ่ ป็นไปเพ่อื ประดับ

165 นะ  วภิ สู ะนายะ, ไมใ่ ชเ่ ปน็ ไปเพ่อื ตกแตง่ ยาวะเทวะ  อิมสั สะ  กายสั สะ  ฐิติยา, แตใ่ หเ้ ปน็ ไปเพียงเพอ่ื ความต้งั อยไู่ ด้แห่งกายน้ี ยาปะนายะ, เพ่อื ความเป็นไปได้ของอตั ตภาพ วิหงิ สปุ ะระตยิ า, เพ่ือความสิน้ ไปแห่งความล�ำบากทางกาย พร๎ ัห๎มะจะริยานุคคะหายะ, เพ่อื อนเุ คราะห์แกก่ ารประพฤตพิ รหมจรรย์ อติ  ิ ปุราณัญจะ  เวทะนงั   ปะฏิหังขาม,ิ ด้วยการท�ำอย่างน้ี,  เราย่อมระงับเสียได้  ซ่ึง  ทุกขเวทนาเกา่ คือความหิว นะวัญจะ  เวทะนัง  นะ  อุปปาเทสสาม,ิ และไม่ท�ำทุกขเวทนาใหม่ใหเ้ กดิ ข้ึน

166 ยาต๎รา  จะ  เม  ภะวิสสะติ  อะนะวัชชะตา  จะ  ผาสุวิหาโร  จาติ. อน่ึงความเป็นไปโดยสะดวกแห่งอัตตภาพน ี้ ด้วย,  ความเป็นผู้หาโทษมิได้ด้วย,  และความ  เป็นอย่โู ดยผาสกุ ดว้ ย,  จกั มีแกเ่ รา  ดังน้ี (ขอ้ วา่ ด้วยเสนาสนะ) อัชชะ  มะยา  อะปัจจะเวกขิต๎วา  ยัง  เสนาสะนัง  ปะริภุตตัง, เสนาสนะใด  อันเราใช้สอยแล้วไม่ทันพิจารณา  ในวนั น้ี ตัง  ยาวะเทวะ  สีตสั สะ  ปะฏิฆาตายะ, เสนาสนะนั้น  เราใช้สอยแล้วเพียงเพ่ือบ�ำบัด  ความหนาว อุณห๎ สั สะ  ปะฏฆิ าตายะ, เพื่อบ�ำบดั ความรอ้ น

167 ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง  ปะฏฆิ าตายะ, เพ่ือบ�ำบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ  ยุง  ลม  แดด,  และสัตว์เลื้อยคลานท้ังหลาย ยาวะเทวะ  อตุ ปุ ะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัลลานารามตั ถงั . เพียงเพื่อบรรเทาอันตรายอันจักพึงมีจากดิน  ฟ้าอากาศ,  และเพ่ือความเป็นผู้ยินดีอยู่ได้ในท ่ี หลกี เร้นส�ำหรับภาวนา (ขอ้ ว่าดว้ ยคลิ านเภสัช) อัชชะ  มะยา  อะปจั จะเวกขติ ว๎ า  โย คลิ านะปจั จะยะเภสชั ชะปะริกขาโร  ปะริภุตโต, คิลานเภสัชบริขารใด  อันเราบริโภคแล้วไม่ทัน  พิจารณาในวันน้ี

168 โส ยาวะเทวะ อปุ ปนั นานงั เวยยาพาธกิ านงั เวทะนานงั   ปะฏฆิ าตายะ, คิลานะเภสัชบริขารน้ัน  เราบริโภคแล้ว  เพียง  เพื่อบ�ำบัดทุกขเวทนาอันบังเกิดขึ้นแล้ว,  ม ี อาพาธต่างๆ  เป็นมลู อัพ๎ยาปัชฌะปะระมะตายาต.ิ เพื่อความเป็นผู้ไม่มีโรคเบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง  ดังนี้ ทรงตอ่ สู้กับพญามาร และเหลา่ ทัพมาร

170 อุททสิ สนาธิฏฐานคาถา (กรวดน้ำ� ตอนเย็น) หันทะ  มะยงั   อทุ ทสิ สะนาธิฏฐานะคาถาโย  ภะณามะ  เส. (เชิญเถดิ เราทัง้ หลาย กล่าวคาถาอธษิ ฐานจติ อทุ ศิ สว่ นบญุ กนั เถิด) บทที่  ๑ อมิ นิ า ปญุ ญะกัมเมนะ ดว้ ยบุญนี้ อทุ ิศให้ อุปัชฌายา คณุ ตุ ตะรา อปุ ชั ฌาย์ ผเู้ ลิศคณุ อาจะรยิ ปู ะการา จะ แลอาจารย์ ผูเ้ กอ้ื หนุน มาตา ปติ า จะ ญาตะกา ทงั้ พ่อแม่ แลปวงญาติ สรุ โิ ย จนั ทมิ า ราชา สรู ย์จนั ทร์ แลราชา คณุ ะวนั ตา นะราปิ จะ ผทู้ รงคุณหรอื สงู ชาติ พ๎รหั ๎มะมารา จะ อนิ ทา จะ พรหมมารและอนิ ทราช โลกะปาลา จะ เทวะตา ทง้ั ทวยเทพและโลกบาล ยะโม มติ ตา มะนุสสา จะ ยมราช มนษุ ยม์ ติ ร

มัชฌัตตา เวรกิ าปิ จะ 171 สพั เพ สัตตา สขุ ี โหนต ุ ผู้เป็นกลาง ผ้จู อ้ งผลาญ ปญุ ญานิ ปะกะตานิ เม ขอให้ เปน็ สขุ ศานติ์ ทกุ ทัว่ หน้า อย่าทกุ ขท์ น สุขงั จะ ติวธิ งั เทนต ุ บญุ ผอง ทขี่ ้าท�ำ ขปิ ปัง ปาเปถะ อะมะตงั จงช่วย อ�ำนวยศภุ ผล ให้สขุ สามอยา่ งลน้ ใหล้ ุถงึ นิพพานพลนั ๑ บทท่ี  ๒ เย เกจิ ขุททะกา ปาณา สตั ว์เลก็ ทงั้ หลายใด มะหนั ตาปิ มะยา หะตา ท้ังสตั วใ์ หญ่ เราหำ�้ ห่นั เย จาเนเก ปะมาเทนะ มใิ ชน่ อ้ ย เพราะเผลอผลนั กายะวาจามะเนเหวะ ทางกายา วาจาจติ ปุญญัง เม อะนโุ มทนั ตุ จงอนุโมทนากศุ ล ๑ ถ้าจะวา่ เพียงเทา่ นไ้ี ม่วา่ ตอ่ ไปอีก “นพิ พานพลัน” เปล่ียนเปน็ “นิพพาน เทอญ”

172 ถอื เอาผล อันอกุ ฤษฏ์ ถ้ามเี วร จงเปล้อื งปลดิ คัณห๎ ันตุ ผะละมุตตะมงั อดโทษขา้ อย่าผกู ไว๒้ เวรา โน เจ ปะมุญจนั ตุ สัพพะโทสัง ขะมนั ตุ เม บทที ่ ๓ ยงั กญิ จิ กสุ ะลัง กัมมัง กศุ ลกรรม อยา่ งใดหน่ึง กัตตพั พงั กริ ยิ ัง มะมะ เป็นกจิ ซง่ึ ควรฝักใฝ่ กาเยนะ วาจามะนะสา ด้วยกาย วาจาใจ ติทะเส สคุ ะตัง กะตงั เราท�ำแลว้ เพอื่ ไปสวรรค์ เย สตั ตา สญั ญิโน อัตถิ สัตว์ใด มสี ญั ญา เย จะ สตั ตา อะสญั ญิ โน หรอื หาไม่ เป็นอสัญญ์ กะตงั ปญุ ญะผะลัง มยั ห๎ ัง ผลบุญ ขา้ ท�ำนัน้ สัพเพ ภาคี ภะวันตุ เต ทกุ ๆ สตั ว์ จงมสี ่วน เย ตัง กะตัง สวุ ทิ ิตัง สัตว์ใดรู้ กเ็ ป็นอนั ทินนัง ปุญญะผะลัง มะยา ว่าข้าให้ แลว้ ตามควร ๒ ถ้าจะหยุดว่าเพียงเท่าน้ี เปลย่ี น “อย่าผูกไว”้ เป็น “ทว่ั หน้า เทอญ”

เย จะ ตตั ถะ นะ ชานันติ 173 เทวา คนั ต๎วา นเิ วทะยุง สพั เพ โลกมั ๎หิ เย สัตตา สตั ว์ใด มริ ู้ถ้วน ชวี ันตาหาระเหตุกา ขอเทพเจ้า จงเล่าขาน มะนุญญัง โภชะนงั สพั เพ ปวงสัตว์ ในโลกีย์ ละภันตุ มะมะ เจตะสา มชี ีวติ ดว้ ยอาหาร จงได้ โภชน์ส�ำราญ ตามเจตนา ขา้ อาณตั ๓ิ บทท ี่ ๔ อิมนิ า  ปญุ ญะกมั เมนะ ดว้ ยบญุ น้ ี ท่ีเราท�ำ อิมนิ า  อทุ ทเิ สนะ  จะ แลอทุ ศิ   ใหป้ วงสตั ว์ ขิปปาหัง  สุละเภ  เจวะ เราพลนั ได ้ ซง่ึ การตดั ตณั ๎หุปาทานะเฉทะนงั ตัวตณั หา  อปุ าทาน เย  สันตาเน  หินา  ธัมมา สงิ่ ชัว่   ในดวงใจ ยาวะ  นิพพานะโต  มะมัง กวา่ เราจะ  ถงึ นพิ พาน นัสสนั ตุ  สพั พะทา  เยวะ มลายสนิ้   จากสนั ดาน ๓ ถ้าจะหยดุ วา่ เพยี งเทา่ นี้ เปลยี่ น “ข้าอาณัติ” เปน็ “ของข้า เทอญ”

174 ยตั ถะ ชาโต ภะเว ภะเว ทกุ ๆ ภพ ทเี่ ราเกิด อุชุจติ ตัง สะตปิ ัญญา มีจติ ตรง และสติ ทั้งปญั ญา อันประเสริฐ สัลเลโข วริ ยิ ัมห๎ นิ า พร้อมท้งั ความเพียรเลศิ เปน็ เครือ่ งขดู กเิ ลสหาย มารา ละภนั ตุ โนกาสัง โอกาส อยา่ พึงมี แกห่ มู่มาร สนิ้ ท้งั หลาย กาตญุ จะ วริ เิ ยสุ เม เปน็ ช่อง ประทุษรา้ ย ท�ำลายลา้ ง ความเพียรจม พทุ ธาทปิ ะวะโร นาโถ พระพุทธผู้ บวรนาถ ธัมโม นาโถ วะรตุ ตะโม พระธรรมที่ พงึ่ อดุ ม นาโถ ปจั เจกะพุทโธ จะ พระปจั เจกะพทุ ธสม- สงั โฆ นาโถตตะโร มะมงั ทบพระสงฆ์ ท่พี งึ่ ผยอง เตโสตตะมานภุ าเวนะ ดว้ ยอานภุ าพนั้น มาโรกาสงั ละภันตุ มา ขอหมมู่ าร อยา่ ไดช้ อ่ ง ทะสะปญุ ญานุภาเวนะ ด้วยเดชบุญ ทงั้ สบิ ปอ้ ง มาโรกาสงั ละภนั ตุ มา อยา่ เปดิ โอกาสแกม่ าร เทอญ

179 คำ�แผ่เมตตาให้แก่ตนเอง อะหงั สุขโิ ต โหมิ, ขอใหข้ า้ พเจา้ จงมคี วามสุข อะหัง นทิ ทกุ โข โหมิ, ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจาก  ความทกุ ข์ อะหัง อเวโร โหม,ิ ขอให้ข้าพเจ้าจงเป็นผู้ไม่มี  เวร อะหัง อัพย๎ าปชั โฌ โหมิ, ขอให้ข้าพเจ้าจงเป็นผู้ไม่  เบียดเบยี น อะหัง อะนโี ฆ โหม,ิ ขอให้ข้าพเจ้าจงเป็นผู้ไม่มี  ทุกข์ สขุ ี อตั ตานงั ปะรหิ ะราม.ิ รักษาตนให้มคี วามสขุ ตลอดกาลนาน เทอญ

180 คำ�แผเ่ มตตาให้ผู้อ่ืน สพั เพ  สตั ตา, สตั วท์ งั้ หลาย,  ทเ่ี ปน็ เพอ่ื นทกุ ข,์   เกิดแกเ่ จบ็ ตาย,  ดว้ ยกันทงั้ หมด   ทง้ั ส้นิ อะเวรา, จงเป็นสุข ๆ เถดิ , อย่าได้ มเี วรแก่กันและกันเลย อพั ๎ยาปชั ฌา, จงเปน็ สขุ  ๆ เถดิ , อย่าได้ เบียดเบียนซ่ึงกันและกันเลย อะนีฆา, จงเปน็ สขุ  ๆ เถดิ ,  อย่าได้ มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย สุข ี อัตตานัง  ปะรหิ ะรนั ต.ุ จงมคี วามสขุ กายสขุ ใจ, รกั ษาตน  ใหพ้ น้ จากทกุ ขภ์ ยั ทงั้ สน้ิ เถดิ

181 คำ�อธิษฐาน ข้าพเจ้า,  ขอตั้งสัจจะอธิษฐาน,  ขออานุภาพ,  แห่งบุญกุศล,  ท่ีได้บ�ำเพ็ญแล้ว,  ในวันนี้,  จงเป็น  พลวะปัจจัย,  เป็นนิสัยตามส่ง,  ให้เกิดปัญญาญาณ,  ทั้งชาติน้ีและชาติหน้า,  ตลอดชาติอย่างยิ่ง,  จนถึง  ความพน้ ทุกข,์   คอื พระนิพพาน  เทอญ ทรงบรรลุพระอนุตตรสมั มาสัมโพธิญาณ ตรสั ร้เู ป็นพระพุทธเจ้า

182 วนั ทาพระ อุกาสะ วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะ  ฐาเน สปุ ะตฏิ ฐติ งั สารรี กิ ะธาตมุ ะหาโพธงิ พทุ ธะรปู งั   สะกะลงั สะทา กาเยนะ วะจะสา มะนะสา เจวะฯ  วันทาเมเต  ตะถาคะเต  สะยะเน  อาสะเน  ฐาเน  คะมะเน  จาปิ  สัพพะทา ฯ ดังข้าพเจ้าจะขอโอกาสไหว้พระเจดีย์ท้ังปวง  พระบรมสารรี กิ ธาตุ ตน้ ศรมี หาโพธิ์ และพระพทุ ธรปู   ทุก ๆ พระองค์  ซ่ึงประดิษฐานไว้ดีแล้วอยู่ในทุกท่ี  ทุก ๆ เวลา  ด้วยกาย  ด้วยวาจา  และด้วยใจ,  ข้าพเจ้าขอไหว้พระตถาคตเจ้าเหล่าน้ัน  ในกาล  ทุกเม่ือ  แม้ในเวลานอน  เวลานั่ง  เวลายืน  และ  ในเวลาเดินทางไปก็ตาม (กราบ  ๑  ครงั้ )

183 วนั ทามิ ภนั เตฯ สพั พงั อะปะราธัง, ขะมะถะ เม  ภนั เตฯ มะยา กะตงั ปญุ ญงั สามนิ า อะนโุ มทติ พั พงั ฯ ข้าแต่ท่านผู้เจริญ  ข้าพเจ้าขอไหว้ท่านทั้งหลาย  ขอท่านท้ังหลายจงโปรดอดโทษท้ังปวงแก่ข้าพเจ้า  เถดิ เจ้าขา้  ฯ บุญอนั เป็นของข้าพเจ้า ทข่ี ้าพเจา้ กระท�ำ  แลว้   ขอทา่ นทัง้ หลายพงึ อนโุ มทนา ฯ สามินา  กะตัง  ปุญญัง  มัย๎หัง  ทาตัพพังฯ  สาธุ  สาธ ุ สาธุ  อะนโุ มทามิ ฯ บุญอันเป็นของท่าน  ทที่ า่ นทง้ั หลายกระท�ำแลว้ พงึ ใหแ้ กข่ า้ พเจา้  ฯขา้ พเจา้ ขออนโุ มทนาสาธุสาธุสาธฯุ (กราบ  ๓  คร้งั )

97 ชมุ นมุ เทวดา (ถ้าจะสวดเจด็ ต�ำนานใช้) สะรชั ชัง  สะเสนัง  สะพนั ธุง  นะรินทัง ปะริตตานุภาโว  สะทา  รักขะตูติ ผะริตว๎ านะ  เมตตัง  สะเมตตา  ภะทันตา อะวิกขติ ตะจิตตา  ปะริตตงั   ภะณนั ตุ สคั เค  กาเม  จะ  รเู ป  คริ สิ ขิ ะระตะเฏ  จนั ตะลกิ เข  วิมาเน  ทีเป  รัฏเฐ  จะ  คาเม  ตะรุวะนะคะหะเน  เคหะวัตถุม๎หิ  เขตเต  ภุมมา  จายันตุ  เทวา  ชะละถะละวิสะเม  ยกั ขะคนั ธพั พะนาคา  ติฏฐนั ตา สนั ติเก ยงั มุนวิ ะระวะจะนัง สาธะโว เม สณุ ันต ุ ฯ ธมั มัสสะวะนะกาโล  อะยมั ภะทันตา ธัมมสั สะวะนะกาโล  อะยมั ภะทันตา ธมั มสั สะวะนะกาโล  อะยัมภะทันตา ฯ

98 (ถ้าจะสวดสบิ สองต�ำนานใช)้ สะมันตา จกั กะวาเฬสุ อัต๎ราคจั ฉันตุ เทวะตา สทั ธัมมงั มนุ ิราชัสสะ สุณนั ตุ สัคคะโมกขะทงั  ฯ สคั เค  กาเม  จะ  รเู ป  คริ สิ ขิ ะระตะเฏ  จนั ตะลกิ เข  วิมาเน  ทีเป  รัฏเฐ  จะ  คาเม  ตะรุวะนะคะหะเน  เคหะวัตถุม๎หิ  เขตเต  ภุมมา  จายันตุ  เทวา  ชะละถะละวิสะเม  ยักขะคันธัพพะนาคา  ติฏฐันตา  สนั ติเก ยงั มุนิวะระวะจะนงั สาธะโว เม สณุ ันต ุ ฯ ธมั มัสสะวะนะกาโล  อะยัมภะทนั ตา ธมั มสั สะวะนะกาโล  อะยมั ภะทันตา ธมั มัสสะวะนะกาโล  อะยัมภะทันตา ฯ

99 ปุพพภาคนมการปาฐะ (นาำ )  นะโม  ตัสสะ  ภะคะวะโต  (รับ)  อะระหะโต  สัมมาสมั พุทธัสสะ ฯ   นะโม  ตสั สะ  ภะคะวะโต    อะระหะโต  สมั มาสมั พุทธสั สะ ฯ   นะโม  ตัสสะ  ภะคะวะโต    อะระหะโต  สัมมาสมั พทุ ธสั สะ ฯ ทรงเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ ์ แบบอมราวดยี คุ แรก