Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit 4ธุรกิจที่พัก

unit 4ธุรกิจที่พัก

Published by pajaree0026, 2017-09-07 05:01:46

Description: unit 4

Search

Read the Text Version

บทท่ี 4 ธรุ กจิ ในอตุ สาหกรรมทอ งเท่ียวจุดประสงค 1. ทราบถงึ ธุรกจิ ตางๆในอุตสาหกรรมทอ งเท่ยี ว 2. อธิบายรปู แบบของธุรกิจรปู แบบตา งๆได 3. เพ่ือใหผ เู รยี นมคี วามเขาใจในความสําคญั ของธรุ กิจอุตสาหกรรมทอ งเที่ยวเนอ้ื หาประกอบดวย 1. ธรุ กจิ ทีพ่ ักแรม 2. ธุรกิจบริการอาหารและเครื่องด่มื 3. ธุรกิจนําเท่ียว 4. ธรุ กจิ สินคาทรี่ ะลกึ 5. ธุรกจิ คมนาคม 6. ธรุ กิจประชมุ นิทรรศการและการทอ งเท่ียวเพื่อเปนรางวลัผลการเรยี นรู มคี วามรูความเขาใจเก่ยี วกับธุรกจิ ในอุตสาหกรรมทองเท่ียว เชน ธุรกิจที่พกัแรม ธุรกจิ บริการอาหารและเครือ่ งด่มื ธุรกิจนําเที่ยว ธรุ กจิ สินคาที่ระลึก ธรุ กจิ การคมนาคม และธุรกจิ การจดั ประชมุ นิทรรศการและการทอ งเท่ยี วเพ่ือเปนรางวัล ผเู รียนสามารถเช่อื มโยงธรุ กิจตางๆ ได

ธุรกิจในอตุ สาหกรรมทอ งเที่ยว บทท่ี 4 ธุรกิจในอตุ สาหกรรมทอ งเทยี่ ว ธรุ กิจในอุตสาหกรรมทอ งเทยี่ วมีความหลากหลายแตกตางกันไป ธรุ กจิ เหลานสี้ วนใหญจะใชทรพั ยากรมนุษยในการขบั เคล่อื น เนื่องจากเปนธรุ กิจที่เก่ียวขอ งกับการใหบรกิ าร และธรุ กจิแตล ะประเภทสามารถเช่ือมโยงกนั เปนเครือขายในอตุ สาหกรรมทองเท่ียว จึงมคี วามจาํ เปนอยางยิง่ ท่จี ะตองมีความรคู วามเขาใจในธุรกิจแตล ะประเภท ซึ่งธรุ กจิ ในอุตสาหกรรมทองเทย่ี วสามารถแบงออกเปน 6 ประเภท ดังน้ี (มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช, 2550)4.1 ธุรกิจทพี่ กั แรม ธุรกจิ ที่พักแรมนบั เปน ธุรกจิ ทเ่ี กย่ี วขอ งกับนักทอ งเท่ยี วโดยตรง เนือ่ งจากนกั ทอ งเท่ยี วสวนใหญมกั จะเดินทางไปทองเทยี่ วในสถานทไ่ี มส ามารถเดินทางถงึ จุดหมายปลายทางไดในวันเดียว หรือมักจะทองเที่ยวเปน ระยะเวลาท่ีนานกวาหนง่ึ วัน จาํ เปนที่จะตองพักแรมเพื่อพักผอนหลบั นอนในระหวา งการเดนิ ทาง ธุรกจิ ท่พี กั แรมจึงเกิดขึ้นเพ่ือใหบ รกิ ารที่พักแกคนเดินทางหรอืนักทองเท่ยี วทีต่ องการหาทพี่ ักคางคนื 1. ความเปน มาและววิ ัฒนาการของธรุ กจิ ทพี่ ักแรม 1.1 ธุรกจิ ท่ีพักแรมในระยะแรกเร่ิม ธุรกิจท่ีพักแรมเกดิ ขึ้นเม่อื หลายพันปมาแลว ในยุคกรีกและโรมันโบราณ (Ancient Greece and Rome) ทพ่ี ักแรมแบบทาเวิรน(tavern) เกิดขึ้นราว 400 ปกอนคริสตศ ักราช เพอื่ ใหบรกิ ารที่พักแรมแกน ักเดนิ ทาง พอคาตลอดจนผจู าริกแสวงบุญทางศาสนา โดยอาํ นวยความสะดวกในการพักผอน ตลอดจนน้ําด่ืมเพ่ือความสดชืน่ แกผูเดินทางไกล ในสมัยอาณาจักรโรมนั ไดมีการสรา งถนนสายหลักยาวถึง 51,000 ไมล สําหรับขาราชสํานกั โรมนั เดินทาง เพ่ือประกอบกิจการของรฐั รวมท้ังการสื่อสารไปรษณีย จึงเกิดที่พักแรมสื่อสารไปรษณยี  (posting house) ข้ึนบริเวณรมิ ถนนสายหลัก โดยมีระยะหางกนั ประมาณ25 ไมล เพื่อใหเ ปนสถานที่พกั ผอนสําหรบั ขาราชการสํานกั โรมนั และคนเดินสารชาวโรมัน 38

ธุรกจิ ในอุตสาหกรรมทองเท่ยี ว ในชว งกอนคริสตศักราชที่ 200 อาณาจกั รโรมันเจรญิ รุงเรืองมาก มีท้งั การเดินทางเพอ่ื การคาของพอคา และการเดนิ ทางเพื่อแสวงหาความสําราญของชาวโรมันจํานวนมาก ทําใหเจาของที่ดนิ ร่ํารวยจากการสรางธุรกิจที่พกั แรมขนาดเล็ก (inn) ขึ้น โดยบางแหงใชทาสทํางานในทพ่ี ักแรม และตอ มาไดพ ัฒนาข้ึนโดยมีการใหบ ริการดา นอาหารและเครือ่ งด่ืมดวยโดยในคร้งัแรกใหบริการแกนักเดินทางท่ีไมม ีเวลากลับบา นเพ่ือรับประทานอาหารกลางวัน สถานทีพ่ กั แรมขนาดเลก็ ไดรับความนิยมมากและไดขยายตวั ไปท่วั อาณาจักร จนกระทง่ั ถึงยคุ ของการลม สลายของอาณาจักรโรมัน เพื่อเรมิ่ เขาสยู คุ มดื (Dark Ages) นักเดินทางเพ่อื การคาและแสวงหาความสําราญลดนอยลง ทาํ ใหธุรกิจทพี่ ักแรมขนาดเลก็ หลายแหง ตองปดกิจการของผเู ดินทางในยุคมืดเปน เพียงผูท่ีเก่ยี วขอ งกบั ราชสํานกั และศาสนา เชน ผสู อนศาสนา นักบวช และผูจ าริกแสวงบุญเดินทางไปยงั ศาสนสถานท่ีศักดิส์ ิทธ์ิ ในยุคนี้สถานท่ีพักแรมขนาดเล็กมักอยูใกลสถานท่ีสําคัญทางศาสนา และดาํ เนนิ การโดยกลุมนกั บวชทางศาสนาท่มี ักไมเ กบ็ คา บริการ ในยคุ กลาง (Middle Ages) ระหวา งป ค.ศ. 600-700 การเดินทางในทวีปยโุ รปสว นใหญยังคงเกย่ี วของกับศาสนา วดั กลายเปนทีพ่ กั แรมของคนเดนิ ทางโดยไดม ีการสรางทพ่ี ักแรมของวัด (Hospices) ข้ึนในเมืองตางๆ ในทวีปยโุ รปหลายแหง เพื่อเปนที่พกั สําหรับคนเดนิ ทางโดยเฉพาะผจู ารกิ แสวงหาบญุ ทางศาสนา ตอมานกั เดินทางเริม่ มีการเดนิ ทางระหวา งเมอื งหรือระหวางประเทศมากข้นึ ทาํ ใหเ กดิ สถานทพี่ ักแรมขนาดเล็กใกลเสนทางหลวงตลอดทั่วทวีปยโุ รป แตมาตรฐานการใหบรกิ ารยังคงตาํ่ มากโดยเพยี งปูฟูกไวใ หแขกพักรวมกนั ในหองโถง และมบี รกิ ารอาหารแบบประหยัด เชน ขนมปง เน้อื สตั ว และเบียร แตตอมาเม่ือมีคนเดินทางมากข้ึน คุณภาพของทพี่ ักแรมกเ็ ริม่ ดขี ้นึ เปน ลาํ ดับโดยเฉพาะท่พี ักแรมในประเทศองั กฤษ อิตาลี และฝรง่ั เศส ยุคฟนฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) ระหวางป ค.ศ. 1400-1800 เกิดการเปล่ียนแปลงหลายดานทัง้ ระบบสังคมและเศรษฐกิจ มกี ารพัฒนาระบบขนสง โดยใชรถมาโดยสาร(stagecoach) ตลอดจนการขยายตัวทางการคา ภายในและระหวา งประเทศ ทําใหก ารพัฒนาธุรกิจท่พี ักแรมเจริญเติบโต เม่ือชาวอังกฤษเดนิ ทางไปยังประเทศอาณานิคมก็ไดมีการพัฒนาธรุ กิจที่พกั แรมในประเทศอาณานิคมนั้นๆ ดวย และเม่ือมีการเดินทางไปสูทวีปอเมริกา ก็ไดม ีการนาํกิจการทพ่ี ักแรมเขา ไปสูประเทศสหรัฐอเมรกิ าดว ยเชนกนั ในชว งศตวรรษท่ี 15 ไดเ ร่ิมมีการสรางถนนที่พักแรมข้ึนเพอื่ มงุ แสวงหากําไรข้ึนเปนครง้ั แรกในยุโรปโดยเฉพาะอยางยงิ่ ประเทศอังกฤษ และมักนิยมต้ังชื่อตามชื่อของผมู ีอํานาจหรือเจาของที่ดนิ ขนาดใหญ ในป ค.ศ. 1788 ไดม ีการสรางที่พักแรมทีม่ ีรูปแบบเปนโรงแรม(hotel) ข้ึนในเมือง นานเทศ (Nantes) ช่ือวา The Hotel de Henry IV2 ใหบริการทพ่ี ักทัง้ หมด 60 เตยี ง 39

ธุรกจิ ในอตุ สาหกรรมทอ งเที่ยว 1.2 การเผยแพรธุรกิจทพี่ ักรมเขาไปในสหรัฐอเมรกิ า ในป ค.ศ. 1974 ไดมีการเปดกขิ การโรงแรมข้นึ เปน คร้ังแรกในประเทศสหรฐั อเมรกิ า คือซติ ี้ โฮเตล็ (City Hotel)ในเมืองนิวยอรคซิตี้ มกี ารใหบ รกิ ารทพี่ ัก 70 หอ ง และอาหารระดับธรรมดา ยังไมหรูหราเหมอื นมาตรฐานในปจ จบุ นั จนถึงป ค.ศ. 1829 ไดม กี ารสรา งโรงแรมทรมี อนทเ ฮาส (Tremont House)ขึ้นท่เี มืองบอสตัน สหรัฐอเมริกา ซึ่งเปนจดุ เรม่ิ ตน ของการกอ สรางโรงแรมทีม่ ีความหรูหราโดยมีหอ งพกั 170 หอ ง และการใหบรกิ ารใหมๆ เชน หองพักสวนตัวที่สามารถปดกุญแจไดและมีสบไู วบรกิ ารประจาํ หอง มพี นกั งานขมสมั ภาระ ตลอดจนมอี าหารฝรั่งเศสไวบริการ การขยายตัวของการขนสง โดยรถไฟ ชวยใหประชาชนเดนิ ทางไดสะดวกข้นึ พอคาสามารถประกอบธุรกิจไดมากข้ึน ทําใหการขยายตัวของโรมแรมเกิดข้ึนตามมา ในชวงปลายศตวรรษที่ 19 ไดมีการสรางโรงแรมที่มีช่ือเสียงข้ึนหลายแหงของโลก เชน โรงแรมพาเลซ(Palace Hotel) ในซานฟรานซสิ โก โรงแรมซาวอย (Savoy Hotel) ในลอนดนิ โรงแรมรทิ ซ(Ritz Hotel) ในปารสี โรงแรมพลาซา (Plaza Hotel) และโรงแรมวอลดอรฟ (WaldorfHotel) ในเมืองนิวยอรค ชวงนี้จึงเรียกไดวายุคของโรงแรมสมัยใหม และตอมาภายหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 ไดม ีการพัฒนาเปน โรงแรมระหวา งประเทศข้ึน โดยการริเร่ิมของธรุ กจิ ท่ีพักแรมในสหรัฐอเมริกา ไดแ ก โรงแรมฮิลตัน (Hilton Hotel) โรงแรมฮอลิเดยอินน (HolidayInn) โรงแรมอินเตอรค อนตเิ นนตัล (Inter-Continental Hotel) กลาวโดยสรุป วิวัฒนาการของท่ีพักแรมมีความสัมพันธใกลชิดกับการเดินทางกลาวคือ เพ่ือตอบสนองความตองการของคนเดินทาง และมีการเปลี่ยนแปลงไปตามความเจริญกาวหนาของระบบขนสง ดังน้ัน การพัฒนารถมา รถไฟ และเครอื่ งบิน จึงมีผลสําคัญโดยตรงตอ การเจริญเตบิ โต ประเภทและที่ตัง้ ของที่พกั แรมตางๆ นอกจากน้ีการขยายจํานวนประชากรของโลกและการอยูอาศยั รวมกนั ในเมืองใหญในปจจบุ ันก็มีอิทธิพลตอธุรกิจท่ีพกั เปนอยา งมากดว ย 40

ธุรกิจในอุตสาหกรรมทองเทีย่ ว 2. ความเปน มาของธุรกจิ ท่พี กั แรมในประเทศไทย ธรุ กิจทีพ่ ักแรมในประเทศไทยมีมานานกวา 100 ป เดมิ เราเรียกวา “ท่ีพักคนเดินทาง” ตามคาํ บอกเลาของผรู ู เกิดจากความตอ งการของผทู ่ีนอกเมือง เดินทางมาคาขายหรอื เดินทางมาเลน หวย ก ข ในเมือง และไมสามารถเดนิ ทางกลับไดในวนั น้นั จงึ อาศัยคางบา นญาตพิ น่ี องหรือเพ่อื นฝงู ซง่ึ พอนานเขาเกิดความไมส ะดวกเพราะจาํ นวนคนมากขึ้น จึงมีการสรางท่ีพักคนเดินทางข้นึ มีลกั ษณะเปนเรือนแถวช้ันเดียว เปดตลาดเปนหองพกั แรม ลักษณะคลายกัลปศาลาวัด ตอมาเมื่อมีความตอ งการเพ่ิมขึน้ ไดมีการจัดแบงหองเปนสัดสวนเพ่ือความสะดวกสาย โดยใชฝาเปนเขตก้นั ท่ีพักคนเดินทางยงั คงพฒั นาขน้ึ เปนลําดับ ตอ มามีการสรางเปนตกึ แถว 2 ชั้น จนกระท่งั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยหู วั เกิดธรุ กจิ ทีพ่ ักแรมขึ้นเปน คร้ังแรกในป พ.ศ. 2405 เพ่ือรองรับนกั ธุรกิจหรือนกั ทองเท่ียวชาวตางประเทศซง่ึ สวนใหญมาจากประเทศในแถบตะวันตก ท่พี กั แรมนเ้ี รยี กวา บอรด ดิงเฮาส (boarding house) ซง่ึ ตงั้ อยทู ่ีตําบลคอกควาย บริเวณริมฝงแมน ํ้าเจาพระยาขางสถานกงสุลฝรง่ั เศส ในปตอมาไดมกี ารสรา งโรงแรมแหงแรกข้ึน (ป พ.ศ. 2406) ชอื่ โรงแรมยูเนียน (Union Hotel) และตอมาไดมีการสรางโรงแรมมาตรฐานตะวันตกขน้ึ หลายแหง ไดแก 2.1 โรงแรมโอเรียนเต็ล (Oriental Hotel) สรางข้ึนในป พ.ศ. 2419 ในสมยัรชั กาลที่ 5 โดยเร่มิ แรกเปนเพียงอาคารไมชน้ั เดยี ว และขยายเปนตึก และเปน โรงแรมแหง แรกในประเทศไทยทีม่ ีไฟฟา ใช ปจจุบันโรงแรมโอเรียนเตล็ เปน โรงแรมที่มีชื่อเสยี งแหง หนึง่ ของโลก 2.2 โรงแรมรอยัล (Royal Hotel) สรางขึน้ ในป พ.ศ. 2454 ในสมัยรัชกาลท่ี 6 ทถ่ี นนสาทรเหนอื เพอ่ื ใชต อนรบั แขกบา นแขกเมือง รวมทงั้ นกั ธุรกิจชาวตะวันตก ปจจุบันเปน ทีต่ ้ังของสถานทตู รสั เซยี 2.3 โรงแรมหัวหิน (Hua Hin Hotel) สรางเมื่อ พ.ศ. 2465 ในสมัยรัชกาลท่ี 6 โดยกรมรถไฟ (ปจ จบุ ันคือการรถไฟแหงประเทศไทย) เพ่ือเปนสถานท่ีตากอากาศสําหรบับคุ คลทวั่ ไป มีลกั ษณะเปน บังกะโลเรอื นไมร ิมทะเล ตอมากรมขนุ กําแพงเพชรอัครโยธนิ ซ่ึงเปน ผูบญั ชาการกรมรถไฟไดส่ังให กอสรางอาคารแบบยโุ รปข้ึน พรอมท้งั จดั ใหม ีบรกิ ารอาหารและพนักงานรับใชดวย โดรงแรมหัวหินจึงเปนโรงแรมชายทะเลแหงแรกของประเทศไทยและดาํ เนินการโดยการรถไฟแหงประเทศไทย ปจจุบันเอกชนไดซ้ือโรงแรมแหง น้ีไปดาํ เนินกิจการแลว และเปล่ียนช่อื เปน โรงแรมโซฟเทล เซนทรลั หัวหิน 41

ธรุ กิจในอุตสาหกรรมทองเท่ยี ว 2.4 โรงแรมวังพญาไท เม่ือ พ.ศ. 2469 รัชกาลท่ี 6 มีพระราชประสงคใ หเปลี่ยนแปลงแกไ ขวังพญาไทเปนโฮเตลวังพญาไท เพื่ออาํ นวยความสะดวกแกชาวตา งประเทศท่ีมาติดตอการคา แตทรงประชวรสวรรคตเสียกอน เม่ือรัชกาลท่ี 7 ข้ึนครองราชยก็ไดพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหก รมรถไฟดําเนนิ การตอ โรงแรมวงั พญาไทจดั เปนโรงแรมท่มี ีความหรูหรามากเนอื่ งจากเปนพระราชวังมากอน ประกอบดวย หองพัก 60 หอง หองรับรองหอ งอาหาร หองนั่งเลน หองเขียนหนังสือและบาร รวมท้งั มีบริเวณกวางขวางสําหรับเดนิ เลนปจจุบันโรงแรมวังพญาไทกลายมาเปนโรงพยาบาลทหารบกหรือโรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลาเน่ืองจากคณะปฏิวตั เิ ปลีย่ นแปลงการปกครองเมือ่ พ.ศ. 2475 ไดมีคาํ สั่งใหทําเปนโรงพยาบาลทหารบก 2.5 โรงแรมราชธานีหรอื โรงแรมหวั ลําโพง สรางขนึ้ โดยกรมรถไฟเม่อื พ.ศ.2470 ในบริเวณสถานรถไฟกรงุ เทพ (หัวลําโพง) ตามพระประสงคของรัชกาลที่ 6 ทจี่ ะใหเปนโรงแรมปลายทาง จึงมีหองพักเพียง 14 หอง แตมีหองอาหาร หองเตนรํา และบารดวยมีช่ือเสยี งมากใน 20 ปแรกของการดําเนินกิจการปจจุบันการรถไฟแหงประเทศไทยไดยกเลิกกิจการโรงแรมไปแลว เนื่องจากกจิ การซบเซาและมโี รงแรมอื่นที่ดีกวา 2.6 โรงแรมทรอคาเดโร (Trocadero Hotel) ซึ่งพระยาประภากรวงศ สรางข้นึ เมอ่ื พ.ศ. 2470 โดยกเู งินจากธนาคารในประเทศองั กฤษ โรงแรมเปนตกึ 4 ช้ันแบบฝร่ังเศสบนเน้ือที่ 1 ไร ชั้นลางเปนสวนตอ นรบั บาร หองอาหารและครัว ชน้ั บนเปนหอ งพักแรม 45หอง ตอมาเจาของโรงแรมไดใ หเอกชนอ่ืนเชากิจการไปแลว ปจจุบันเปลีย่ นช่ือเปนโรงแรมนิวทรอคาเดโร ซ่ึงยงั คงเปดบริการแกผูมาพกั อยู 2.7 โรงแรมรัตนโกสนิ ทรและโรงแรมสุริยานนท สรางขนึ้ เมื่อ พ.ศ. 2485ในรชั กาลท่ี 8 โดยจอมพล ป.พบิ ลู สงคราม โรงแรมทงั้ สองตัง้ อยูบริเวณถนนราชดําเนินกลางใกลสะพานผา นพิภพลลี าและสะพานผานฟาลลี าศตามลําดับ ในสมยั นน้ั โรงแรมรัตนโกสนิ ทร และโรงแรมสรุ ิยานนท มีชือ่ เสยี งมากในการบรกิ ารและเปนท่ชี ุมนมุ ของชนช้ันสงู และรัฐบาลใชเปนท่ีตอ นรับและจัดงานเลยี้ งรบั รองแขกเมอื งอยเู สมอ ตอมาเอกชนไดเชาโรงแรมรัตนโกสินทร และโรงแรมสุริยานนทไ ปดาํ เนินการโดยเปลีย่ นช่อื เปน “Royal” และ “Majestic” ตามลาํ ดับ 42

ธรุ กจิ ในอตุ สาหกรรมทองเทย่ี ว 2.8 โรงแรมเอราวัณ (Erawan Hotel) สรางข้นึ เม่ือ พ.ศ. 2499 ในสมยัจอมพล ป. พิบูลสงครามท่ีบริเวณมุมส่ีแยกราชประสงคบนเน้ือที่ดินประมาณ 9 ไร โรงแรมเอราวณั เปนโรงแรมของรัฐบาลเพือ่ รับรองแขกตา งประเทศ โดยปดใหบ รกิ ารเปนครั้งแรกเม่อืรฐั บาลไดเ ปนเจาภาพการประชุมใหญส มาชิกองคก ารซโี ต (SEATO) มีหองพกั 175 หอง การสง เสริมการทองเท่ียวซึ่งเปนผทู ี่มีความรูแ ละเชี่ยวชาญเรือ่ งโรมแรมเปน อยา งดี ไดดาํ รงตําแหนงประธานคณะกรรมการอํานวยการของโรงแรม ทําใหประสบผลสําเร็จในการดําเนินงานมีผลกําไรเรอ่ื ยมา ปจ จบุ นั โรงแรมเอราวัณเปลีย่ นชื่อเปน โรงแรมแกรนด ไฮแอท เอราวัณ (Grand HyatteErawan Hotel) 2.9 โรงแรมรามา (Rama Hotel) เปด ใหบริการเม่อื พ.ศ. 2504 เปนอาคารสงู 10 ชน้ั มหี องพกั 172 หองบนเน้อื ท่ี 4 ไร มมุ ถนนสีลมดว ยกบั ถนนสรุ ศักดิ์ ซง่ึ คุณสนุ รี ัตน เตลานเจาของโรงแรมไดเ ซ็นสัญญาการจดั การ (Management Contract) กับโรงแรมฮิลตนั ใหเ ขา มาบรหิ ารโรงแรมโดยเปลี่ยนช่ือเปนรามาฮิลตนั ในประเทศไทยนบั เปนโรงแรมแหงแรกของเมืองไทยที่บริหารโดยบรรษัทกลมุ ธรุ กิจโรงแรมนานาชาติ ซึ่งไดนาํ วธิ ีบริการและการจัดการโรงแรมระดับมาตรฐานสากลชั้นเย่ยี มมาสูประเทศไทย มีการออกแบบตกแตง เพ่ิมเติมภายในหองพัก เพ่ิมส่ิงอํานวยความสะดวก ปรับปรุงหองอาหารและหองจัดเลยี้ ง มีการจัดเทศกาลอาหารนานาชาติ และแฟชั่นโชวของนักออกแบบช้ันนําของโลก ปจจุบันกลายเปนโรงแรมฮอลิเดย อินน คราวนพลาซา (Holidays Inn Crown Plaza) ตอมา กลมุ ธรุ กิจโรงแรมนานาชาติ อื่นๆ ไดเขา มาบริหารโรงแรมท่ีเปดใหมอ กีเปนจํานวนมาก อาทิ เวสตินอ่นิ เตอรคอนติเนนตัล เชอราตัน ไฮแอท รเี จนท ฮอลิเดยอินนแมนดาริน โนโลเทว โซฟเทลและแชงกรีลา แตผบู ริหารชาวตางประเทศขาดความคุนเคยกับตลาดในประเทศไทย ทาํ ใหประสบปญหาการบริหารงาน จนกระทั่งบางกลมุ ถอนตัวกลบั ไปผูบรหิ ารโรงแรมชาวไทยจงึ เร่ิมเขามามีบทบาทมากขน้ึ ตามลําดบั 43

ธรุ กจิ ในอุตสาหกรรมทอ งเท่ียว 3. ความหมายและประเภทของท่ีพกั แรม ท่ีพักแรม (accommodation) หมายถึงการประกอบธุรกิจการขายบริการท่ีพักเพื่อคนเดินทางท่ตี องการพักคาง ซ่ึงอาจมีบริการอาหารและเครื่องดม่ื ไวบริการดวย ท่ีพกั แรกสําหรับนักเดินทางทองเท่ียวแบงออกไดหลายประเภท ซึง่ ความแตกตางของแตละประเภทอาจไมชัดเจน ทสี่ ําคัญคือความแตกตา งกันในภาพลักษณของธุรกจิ เชน อนิ น (inn) ใหค วามรูสึกอบอนุ และเปนกันเอง โมเต็ล (motel) เนนความสะดวกสบายและผูมาพักมีท่ีจอดรถของตนเองโรงแรม (hotel) ท่เี นนประสทิ ธิภาพและบริการความสะดวกสบายตางๆ เปนตน ที่พักแรมที่สําคัญท่ีควรกลา วถึง มีดังน้ี 3.1 โรงแรม (hotel) โรงแรมเปนสถานที่พักแรมที่รูจักกันดีในหมูนักเดินทางทองเที่ยว และมีความสาํ คญั ตอ เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมทองเท่ียวของประเทศ พระราชบัญญัติโรงแรมของประเทศองั กฤษ (Hotel Proprietor Act 1956) ใหความหมายโรงแรมวา คอื สถานท่ีประกอบการที่จะตองมีอาหาร เครอ่ื งด่ืมและที่พักไวบรกิ ารคนเดินทางทจี่ ายคาบริการน้ัน และพระราชบัญญตั ิโรงแรมของประเทศไทย พ.ศ. 2478 ใหคําจํากัดความวา โรงแรมหมายถึงสถานที่ทุกชนิดที่จัดตั้งข้ึนเพื่อรับสินจาง สําหรับคนเดินทางหรือบุคคลท่ีจะหาท่ีอยูหรือที่พักชว่ั คราว (มาตรา 3) และจะตอ งมีการจัดบริการอาหารและเครื่องด่มื แกผ ูเขา พักหรือผใู ชบริการดวย (มาตรา 25) 1.1 ประเภทของโรงแรม การจําแนกประเภทของโรงแรมอาจจะทําไดหลายวิธีโดยพิจารณาจากเกณฑท แ่ี ตกตางกันได 8 เกณฑ ดังนี้ - การจําแนกตามสถานท่ีตง้ั (location) - การจาํ แนกตามพาหนะของการขนสง (means of transport) - การจําแนกตามจุดประสงคข องการเย่ยี มเยียน (purpose of visit) - การจาํ แนกตามระยะเวลาทพ่ี กั คาง (duration of stay) - การจําแนกตามขนาด (size) - การจําแนกตามราคา (price) - การจําแนกตามระดบั หรอื เกรด (classification and grading system) - การจําแนกตามการเปนเจาของหรือการบริหาร (ownership andmanagement) 44

ธุรกจิ ในอตุ สาหกรรมทอ งเที่ยว 1.1.1 การจาํ แนกตามสถานที่ตั้ง (location) ไดแก โรงแรมในเมืองใหญ เมืองเล็กหรือชานเมืองหรือโรงแรมรสี อรท (resort hotel) ซึง่ ตัง้ อยใู นทําเลที่ตั้งที่มีภูมิทัศนเ หมาะสม เชน ทวิ ทศั น ภูเขา ทะเลและชนบท เปนตน 1.1.2 การจาํ แนกตามพาหนะของการขนสง (means of transport)ซึ่งบางตาํ รา อาจนาํ ไปรวมไวในการจําแนกตามสถานทีต่ ้ังเพราะโรงแรมเหลาน้ีจะตัง้ อยูใกลระบบการขนสง ตางๆ ไดแ ก โรงแรม รถยนต (Motor Hotel) หรอื โรงแรมริมทางหลวง (highwayhotel) โรงแรมรถไฟ (railway hotel) โรงแรมสนามบิน (airport hotel) เปนตน 1.1.3 การจาํ แนกตามจุดประสงคข องการเย่ียมเยอื น (purpose of visit)หรอื เหตผุ ลทท่ี าํ ใหเกิดการเดินทาง ไดแก โรงแรมนกั ทองเทีย่ ว (holiday/tourist hotel) เพอ่ื การทอ งเท่ียว โรงแรมธุรกิจ (business hotel) เพ่ือการติดตอธุรกิจโรงแรมการประชุม (conventionhotel) เพือ่ เขา รว มการประชุม และโรงแรมคาสิโน (casino hotel) เพื่อเลน การพนนั 1.1.4 การจาํ แนกตามระยะเวลาที่พกั คาง (duration of stay) สามารถแบง ไดเปน 2 ประเภท คอื โรงแรมที่พักระยะส้ัน (transit hotel) เปนรายวัน และโรงแรมทีพ่ ักระยะเวลานาน (residential hotel) ซ่งึ เปนการพักคา งนานเปนสัปดาห เดอื น หรือป 1.1.5 การจําแนกตามขนาด (size) การจําแนกตามขนาดไปยังไมมีการกําหนดขนาดเปนมาตรฐานสากล แตโดยทั่วไปขนาดหมายถึง จํานวนหองหรือจํานวนเตียงโรงแรมขนาดเล็ก (small hotel) มีจาํ นวนหองนอ ย เชน 50 หอง แตโรงแรมขนาดใหญ (largehotel) มกั มีจํานวนหองพักหลายรอยหอง สําหรับโรงแรมขนาดกลาง (medium-size hotel) อยูระหวา งโรงแรมขนาดเล็กและขนาดใหญ 1.1.6 การจําแนกตามราคา (price) เปนการจําแนกตามราคาทโี่ รงแรมกําหนดเปนอัตราเรยี กเกบ็ ท่ีพิจารณาจากคุณภาพของส่ิงอํานวยความสะดวกและบริการ ตามที่กาํ หนดขน้ึ ในสหรฐั อเมรกิ า สามารถแบง ออกไดเ ปน 3 ระดับ คอื 1) โรงแรมประหยัดและจํากัดบริการ (economy/budget/limited-service hotel) เนนความประหยัดและมีอุปกรณอํานวยความสะดวกนอย 2) โรงแรมราคาสูงและบริการสมบูรณแบบ (luxury/deluxe/fullservice hotel) เปนโรงแรมที่หรหู ราท่สี ุด อยใู นทําเลทตี่ งั้ ดี มกี ารลงทุนกอ สรางและตกแตงมาก 3) โรงแรมราคาปานกลาง (mid-scale/standard hotel) อยูร ะหวางโรงแรมราคาประหยดั กบั โรงแรมราคาสูง 45

ธุรกจิ ในอตุ สาหกรรมทองเทย่ี ว 1.1.7 การจําแนกตามระดับหรือเกรด (classification and gradingsystem) แมวาธุรกิจโรงแรมจะแพรหลายทั่วโลก แตอาจกลาวไดวายงั ไมม ีการจัดระดับโรงแรมท่ีเปนมาตรฐานสากลทั่วโลก แตละประเทศมีขอกําหนดของตนเองโดยหลักการพิจารณาจากรปู แบบของโรงแรม ความครบครนั ของส่ิงอํานวยความสะดวก และคณุ ภาพของการบริการ เชน ประเทศฝรั่งเศสจัดแบงโรงแรมเปนระดับมาตรฐานโดยแสดงระดับดวยจํานวนดาว(star) ซึ่งประกอบดว ย 5 ระดับ ดงั นี้ 1) โรงแรม 5 ดาว หรือเดอลกุ ซ (five-star/deluxe hotel) เปนลกั ษณะโรงแรมท่ีใหบ รกิ ารสมบรู ณแบบและมีราคาสงู โดยมีส่ิงอํานวยความสะดวกครบครัน เชนหอ งพักมอี างอาบน้ําสว นตัว มีภัตตาคารระดับสงู สรวายนํ้า สถานท่ีออกกําลังกาย และบริการท่ยี อดเย่ียม 2) โรงแรม 4 ดาว หรือระดบั หนึง่ (four-star/first class hotel)เปนโรงแรมท่ีใหบริการและส่ิงอํานวยความสะดวกสูงกวามาตรฐาน เชน หองพักสวนใหญมีอางอาบนา้ํ มีภัตตาคารและคอกเทลเลาจไ วบริการ 3) โรงแรม 3 ดาว (three-star hotel) เปนโรงแรมในระดับมาตรฐานเนน ความสะดวกสบาย/โดยปกตมิ ีบรกิ ารอาหารและเครอ่ื งดื่มในโรงแรม 4) โรงแรม 2 ดาว (two-star hotel) เปนโรงแรมเพอื่ การพาณชิ ยหรือนักทองเที่ยวแบบประหยัด มีลฟิ ทอ ํานวยความสะดวกในการข้นึ ลงระหวา งช้นั หอ งพักบางหองมีหองอาบนํ้าแบบฝกบัว และอาจมีบรกิ ารอาหารและเคร่อื งดื่มในโรงแรม แตผูพักตองเสยีคาบริการเพิม่ 5) โรงแรม 1 ดาว เปน โรงแรมใหบริการหองพักแบบประหยัด ไมม ีลิฟทบริการระหวางชั้นไมมีหองน้ําหรือหองอาบนํ้าในหองพัก และไมมีบริการอาหารและเคร่ืองด่มื ภายในโรงแรม อยางไรกต็ ามการจดั ระดับระบบดาว มขี อ จํากดั อยทู ี่การไมส ามารถวัดคณุ ภาพที่แทจริงของการใหบรกิ ารได ในหลายประเทศ เชน องั กฤษ อสสเตรเลีย หรอื นิวซีแลนด จึงมกี ารนาํ ระบบประกันคณุ ภาพมาใชประกอบกบั การจดั ระดับระบบดาว 46

ธรุ กิจในอุตสาหกรรมทองเทีย่ ว ภาพที่ 1 โรงแรม 5 ดาว 1.1.8 การจําแนกตามความเปนเจาของและการจัดการ (ownershipand management) ไดแ ก 1) โรงแรมอิสระ (independent hotel) โรงแรมท่ีดําเนินการโดยเจาของกิจการซึ่งเปน บคุ คล หรือกลุม บุคคลที่เปนผูลงทุนอสิ ระ อาจเปนโรงแรมขนาดเลก็ หรอืโรงแรมขนาดกลางท่ีเจาของกจิ การและครอบครวั เปนผบู รหิ าร โรงแรมอิสระมีขอ ดีในการมีอิสระและความคลอ งตวั ในการจดั การโรงแรม ใหสามารถตอบสนองความตองการของแขกผูมาพักไดทันที แตม ีขอ จํากดั ในดานทรัพยากร การเงิน และการตลาด 2) โรงแรมระบบแฟรนไชส (franchise hotel) หมายถึงโรงแรมที่ไดรับมอบสิทธิ (franchisee) จากโรงแรมเจาของสิทธิ (franchiser) ใหสามารถใชชื่อเคร่อื งหมายการคา ระบบการปฏบิ ัติงาน ระบบการจองหองพักซอฟแวรของมาตรฐานในการบริหาร หลักสูตรและฝก อบรมตลอดจนการใหค วามชว ยเหลือทางเทคนคิ ทีจ่ ําเปนของโรงแรมไดโดยโรงแรมทีไ่ ดร ับมอบสิทธิพิเศษจะตองจายคา ธรรมเนยี มใหตามท่ีกําหนด โรงแรมระบบแฟรนไชสไดรับความนิยมในสหรฐั อเมริกา แตไมแพรห ลายในทวีปยุโรปและเอเชีย ตัวอยา งโรงแรมระบบแฟรนไชส เชน ฮอลเิ ดย อินน (Holiday Inns) เดยส อนิ น (Days Inns) โรงแรมและรีสอรท มาริออท (Marriott Hotels and Resorts) เอมบาสซี่ สวทิ (Embassy Suites) เปนตน 47

ธุรกิจในอุตสาหกรรมทองเที่ยว 3) โรงแรมระบบทาํ สญั ญารว มจดั การ (management contract hotel)หมายถึง โรงแรมที่เจาของโรงแรมวาจางหรอื ทําสัญญาใหผูเ ชย่ี วชาญซง่ึ มักอยูในรปู บริษทั เขา มาบรหิ ารโรงแรมโดยจายคา ธรรมเนียมการบรหิ าร และหรอื แบง ผลกําไร (ประมาณรอ ยละ 3 ถึง6 ของรายได) ใหโดยมขี อตกลงวาจะตอ งบริหารโรงแรมใหเ กิดผลกาํ ไรตามตอ งการ ตัวอยางบรษิ ัททร่ี ับบรหิ ารโรงแรม เชน โรงแรมอินเตอรสเตท (Interstate Hotels) โรงแรมและรสี อรท บริสโทล (Bristol Hotesl & Resorts) สตารว ูด ลอรดจิ้ง (Starswood Lodging Corp) เปนตน 4) โรงแรมระบบเครือขาย (Chain hotel) หมายถึง กลมุ ของโรงแรมทีต่ กลงดําเนินธุรกิจรว มกับโรงแรมระบบเครือขายอาจเปนเจาของหรอื ควบคุมการบริหารการดําเนินการระบบเครือขาย มีหลายวิธีไดแก บริษทั แม (parent company) อาจเปน เจาของมอบสิทธแิ ฟรนไชส จํากัด (Interstate Hotels Ltd.) ใชร ะบบแฟรนไชสดาํ เนินการภายใตกลมุ เครอื ขายมาริออท (Marriott) ฮลิ ตัน (Hilton) เวสตนิ (Westin) และแฮมตัน (Hampton)แตใ ชระบบทําสญั ญารวมจัดการกับกลมุ เครอื ขา ยอ่นื ๆ การดําเนนิ การภายใตกลุมเครือขา ยหลายกลุมทาํ ใหบ รษิ ัทโรงแรมอนิ เตอรส เตทสามารถเขาถงึ กลุมนกั เดนิ ทางทเี่ ปนกลมุ เปหมายไดห ลายกลุมในเวลาเดยี วกัน โรงแรมระบบเครอื ขา ยสามารถใชความเช่ียวชาญในระบบการจดั การและการตลาดทีม่ ีกอ ใหเ กิดผลประโยชนท ทางการเงินหลายประการ อาทิ โรงแรมมอี ํานาจการจัดซื้อสนิ คาจากผูผลิตมากข้นึ ลดคา ใชจ ายในการดาํ เนินการสนับสนุนจากผเู ชย่ี วชาญมืออาชีพในการจัดการหนาที่ธุรกิจท่ีสําคัญ เชน การตลาดและกาขาย การบัญชีและการเงิน และการจัดการทรพั ยากรมนษุ ย 4. ท่พี กั แรมประเภทอื่นๆ นอกเหนือจากโรงแรมท่ีเปนที่พักแรมหลักแลว ยังมีธุรกิจท่ีพักแรมที่มีความสาํ คญั อีกหลายประเภท ซึ่งธรุ กจิ ท่ีพักแรมหลายประเภทจํานวนมากจะเกดิ ขนึ้ ในทวปี ยุโรปกอน และตอ มาไดข ยายกจิ การไปในทวีปอเมริกา และเอเชยี 2.1 ที่พักแรมแบบบา นแบงใหเชา (bed and breakfast inns) บานแบงใหเชา เปนที่พักแรมขนาดเลก็ ท่ีมีกาํ เนดิ จากประเทศในทวีปยุโรป โดยเฉพาะในประเทศอังกฤษและไอรแลนด และแพรขยายใหมาในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา โดยเจาของบานเปดรับนักทองเท่ียวเขามาพักในหองนอนที่จัดไว ซ่ึงมีหองน้ําในตัว และจัดบริการอาหารมื้อเชาในบรรยากาศแบบครอบครัวใหดว ย นับเปนท่ีพักแรมที่กอใหเกดิ ความสมั พันธท่ีดี และมีการแลกเปลย่ี นความคิดเห็นกันระหวางเจา ของบา นและผูมาพักดว ย 48

ธรุ กจิ ในอตุ สาหกรรมทองเท่ียว 2.2 เพนชัน (pensions) เปนที่พักท่ีเจาของเปนผูดาํ เนินกิจการเองและมักอาศัยอยใู นเพนชันดว ย ซ่ึงพบมากในทวปี ยุโรปและลาตินอเมรกิ า เพนชันใหบรกิ ารอาหารและเคร่อื งด่ืมดวย นักทองเท่ียวมักนิยมพกั เนอื่ งจากบรรยากาศท่ีพกั พักเปนแบบครอบครัว และคา ทีพ่ กั ถกู วา โงแรมท่ีมีระดับมาตรฐานเดียวกัน 2.3 พาราดอร (Paradors) เปนท่ีพักแรมท่ีรัฐบาลคัดแปลงมาจากประสาทวัด คอนแวนต หรอื อาคารเกา โดยใหสาํ นกั งานการทอ งเทย่ี วแหงชาติเปนผูดาํ เนินการ เชน พาราดอรในประเทศสเปน โปรตุเกส ไอรแลนด อังกฤษ ฝร่ังเศส และเยอรมนี พาราดอรมักใหบริการอาหารแบบครบทุกมื้อ เพ่ือความสะดวกของผูเขาพัก พาราดอรเปนท่ีพักแรมทเี่ กิดจากการใชส ถานที่ในประวัติศาสตร เพ่ือประโยชนทางเศรษฐกิจ จึงมักไดรับความนิยมจากนกั ทองเท่ียวท่ีตอ งการบรรยากาศแบบเกา ในอดีต เชน ในศตวรรษท่ี 15 หรอื 16 2.4 ท่พี ักสําหรับเยาวชน (youth hostels) ท่ีพักสําหรบั เยาวชนเปนท่ีพักราคาถูกสําหรบั นักเรยี น นักศึกษา เกิดข้ึนโดยครูชาวเยอรมัน ในป ค.ศ. 1909 และไดแพรขยายไปทั่วโลก ซึ่งคาดวา ปจจุบันมีมากกวา 5,000 แหง ภายใตก ารควบคมุ ของสมาคมท่ีพักเยาวชนนานาชาติ (Youth Hostel Association) ท่ีพักสําหรบั เยาวชนจะใหบริการท่พี ักแบบธรรมดาโดยจัดใหมีเตียง 2 ช้ันจํานวนมากรวมกันอยใู นหองนอนขนาดใหญ มีหองนํ้าที่ใชรวมกนั โดยแยกเพศชาย-หญิง มีการใชพ ื้นท่สี วนกลางรวมกัน เชน หอ งพักผอ น หองอาหารหอ งครัว เปนตน 2.5 โมเต็ล (motels) เปนที่พักแรมขนาดเล็กประมาณ 50 หอง มีทําเลที่ต้งั อยใู กลถนนหลวงสายหลักระหวางเมือง และมีบริการทจ่ี อดรถฟรีแกแ ขกผูมาพัก แตมักไมม ีบริการอาหารและเคร่อื งมือ เปน บริการทพ่ี ักแบบประหยัดสําหรับนักเดนิ ทางหรอื นักทอ งเที่ยวท่ีนยิ มมากในสหรัฐอเมรกิ า 2.6 โรงแรมรถยนต (motor hotels) แตกตา งจากโมเต็ล เปน โรงแรมขนาดต้ังแต 30 ถึง 300 หอ ง มีสถานท่จี อดรถยนตฟรีแกผ มู าพัก และมภี ัตตาคารไวบ รกิ ารอาหารและเครอ่ื งด่มื แกผูม าพกั ดว ย 2.7 รีสอรทคอนโดมิเนียมหรือคอนโดเทล (resort condominiums/condotels)รีสอรทคอนโดมิเนียม เปนทพี่ กั แรมอาคารชุด ทีป่ จจบุ ันนิยมสรา งในแหลงทองเท่ียว โดยผูถอืกรรมสทิ ธ์ิหองชดุ น้ัน ใหบ ริษัทที่ซ่งึ โดยปกตผิ ูถอื กรรมสิทธมิ์ ักเขา พักเปน บางชว งเวลาอยูแ ลวเปน ผูด ําเนินการอาคารชุดจดั ใหผูอ่ืนเขาพกั และเกบ็ คาเชาพักไดใ นชวงทผ่ี ูถอื กรรมสิทธ์ิไมไดมาเขา พกั ในหองชุดน้นั รีสอรทคอนโดมเิ นยี มเปน ทีพ่ ักทีส่ ามารถปรุงอาหารไดด วย 49

ธุรกจิ ในอุตสาหกรรมทอ งเทย่ี ว 2.8 ที่พักแบบถือกรรมสิทธิ์รวม (Timesharings) ท่ีพักแบบถือกรรมสิทธ์ิรวม เปนทพ่ี ักแบบพิเศษซ่ึงเจาของกรรมสิทธิค์ อนโดมิเนียมเปนกลุมบคุ คลที่ไดร วมทุนกันซ้ือหองชุดโดยเฉลี่ยคาใชจา ยเทาๆ กัน ผูรวมถือกรรมสิทธิ์แตล ะคนมีสิทธิไปใชบริการพักตามท่ีกําหนดไวใ นแตละรอบปห มุนเวยี นสลับกนั ไป 2.9 เกสตเฮาส (guesthouses) เปนที่พักที่เจาของบานแบงหองใหนักทองเท่ียวเชาพัก จัดเปนท่ีพักขนาดเล็ก ราคาถูกในประเทศไทยเกสตเฮาสหรือท่ีบางคนเรียกวาเรือนแรมต้ังอยูในยานชุมชนหรือเมืองทองเที่ยว เชน บริเวณถนนขาวสารในกรงุ เทพมหานคร บริการจะมีเพียงหอ งพักเล็กๆ และหองนา้ํ รวม เหมาะกับนักทองเทีย่ วทอ่ี อกทองเท่ียวในเวลากลางวัน และเพยี งตอ งการทพ่ี ักหลบั นอนในเวลากลางคนื เทาน้ัน ปจ จุบนั เกสตเฮาสไดรับการพัฒนามากข้ึน โดยมีส่ิงอํานวยความสะดวกในหองพักเพิ่มข้ึน เชน โทรทัศนรวมทง้ั มีบรกิ ารอาหารเครอ่ื งดมื่ 2.10 สถานทพี่ ักแรมกลางแจง (camp grounds and caravan/recreationalvehicle parks) เปนที่พกั แรมที่จัดใหสําหรบั นักทอ งเท่ียวที่ประหยัดและชอบธรรมชาติ เพือ่ตอบสนองความตองการทพี่ ักแรมจาํ นวนมากในฤดูกาลทองเท่ียว นักทองเที่ยวมกั เดินทางเปนครอบครัว โดยรถยนต หรอื รถตู เพอื่ นนั ทนาการ (recreational vehicle) และเขา จอดรถเพื่อพกั แรมในสถานที่พักกลางแจง ท่ีมักเปนลานกวา ง อาจแบงออกไดเปน 3 กลมุ คือ 2.10.1 กลมุ พกั แรมโดยการกางเตนท (tent) 2.10.2 กลมุ พักแรมในรถพวงรถยนตท ม่ี ที นี่ อนขา งใน (trailer) 2.10.3 กลุมพกั แรมในรถตูเพือ่ นันทนาการ รถตเู พื่อนันทนาการเปนรถบรรทกุ ทีด่ า นหลังคนขับมหี องนํ้า หองครัว และหอ งนอนจดั รวมไวดวยกนั ในตูรถ ในยุโรปและอเมรกิ านยิ มใชร ถตูชนิดนส้ี ําหรับการเดนิ ทางทองเทีย่ วเปน ครอบครวั เพราะสามารถขับไปไดเร่ือยๆ และเมื่อถึงเวลาเย็นก็สามารถจอดพักแรมตามสถานที่พักแรมกลางแจงท่ีใหบริการสําหรบั จอดรถตเู พอื่ นนั ทนาการโดยมีทสี่ ําหคบั ตอ ทอสายนํ้า หรือทอสายแกส เพ่ือนกั ทอ งเที่ยวสามารถใชนาํ หรือแกสไดต ามตอ งการ สถานที่พกั แรมกลางแจงมที ง้ั ท่ีเปนของรัฐและเอกชน แตเดิมมีบริการส่ิงอาํ นวยความสะดวกพ้นื ฐาน เชน หอ งอาบน้ํา หองสวม และหอ งครวั เทานั้น ในปจจุบันเนื่องจากไดรับความนิยมมาก จึงมีสิ่งอํานวยความสะดวกเพ่ิมมากข้ึน เชน รา นขายอาหาร รา นสะดวกซื้อ สระวา ยนา้ํ ท่เี สียบปลัก๊ โทรทศั นเ คเบ้ลิ เปน ตน 50

ธุรกจิ ในอตุ สาหกรรมทองเทยี่ ว ภาพที่ 2 รถตูเพอื่ นนั ทนาการขนาด 24 ฟุต 2.11 เซอรวิสอพารทเมนท (serviced apartment) เปน ท่ีพักแรมทม่ี ักอยูในอาคารชุดที่ผูมาพักแรมมักพักนานเปนสัปดาห เดือน หรือป มีลักษณะเหมือนอพารทเมนทโดยทว่ั ไป มีหอ งครวั สําหรบั ปรุงอาหารได และมีบริการทําความสะอาดหองทุกวนั 2.12 ท่ีพกั แรมประเภทอน่ื เชน บังกะโล (bungalow) ชาเลท (chalet)เคบนิ (cabin) ลอดจ (lodge) หรือคอทเทจ (cottage) จะเปนบานพักช้นั เดยี วขนาดเล็ก มกัตง้ั อยใู นแหลงทอ งเทยี่ ว เชน บริเวณภเู ขา ริมทะเลสาบ ซึง่ นกั ทอ งเที่ยวนยิ มมาพกั ในฤดรู อน 51

ธุรกจิ ในอตุ สาหกรรมทอ งเท่ยี ว4.2 ธุรกิจอาหารและเครื่องด่มื ธรุ กจิ อาหารและเครอ่ื งด่ืมเกดิ ข้ึนเพ่ือบริการคนเดินทางและนักทองเทีย่ วซึ่งอยรู ะหวา งการเดินทางทอ งเทย่ี ว ไมสะดวกท่ีจะปรงุ อาหารหรือเดินทางกลบั ไปรับประทานอาหารทบ่ี านพักซ่งึ โดยทวั่ ไปนกั เดินทางทองเที่ยวมักจะรับประทานอาหารอยางนอยวนั ละ 3 มอ้ื ดังนั้น ธรุ กจิบรกิ ารอาหารและเคร่อื งดมื่ จึงมีความสําคัญตอการทองเทีย่ วมาตง้ั แตอ ดตี และกลายเปนธรุ กิจท่มี ีความสําคัญมากขน้ึ ในปจจุบัน เนอ่ื งจาก ภัตตาคารและรานอาหารกลายเปนสิ่งจูงใจสําคญั สวนหนง่ึ ทท่ี ําใหม กี ารเดนิ ทางทอ งเทยี่ วเพอ่ื ไปรบั ประทานอาหารทถ่ี ูกปากและถูกใจดว ย 1. ความเปน มาของธรุ กิจอาหารและเครื่องด่มื ในโลก 1.1 ธุรกจิ อาหารและเครื่องดื่มในระยะแรกเรมิ่ อาจกลาวไดวา ธุรกิจอาหารและเคร่ืองดื่ม มีความเกาแกมาเปนเวลานานเชนเดียวกบั ธุรกจิ ทพี่ กั แรมซ่งึ เกิดขึ้นในยุคกรีกและโรมันโดยมีการจัดบริการอาหารแกคนเดินทางท่ีพักแรมในทาเวิรน (taverns) และอินน (inn)ที่ตั้งอยบู นถนนสายสําคญั ซงึ่ เปน เสน ทางเพอื่ การประกอบกจิ กรรมทางศาสนาและการคาในทวปียุโรป อยางไรก็ตาม การบริการอาหารและเคร่ืองด่ืมในยุคนั้นจัดไดวาเปนบริการท่ีไมดีนักเนอื่ งจากความไมสะอาดในการเตรียมอาหาร มีรายการอาหารนอย และการบรกิ ารไมเปนที่ประทับใจ นอกจากน้ใี นยคุ โรมันยังมีการเปดรานอาหารแบบสเนคบาร (snck bars) (ที่เปนท่ีมาของธุรกิจอาหารจานดวน) บนเสนทางหลวงสําคัญท่ีอาณาจักรโรมันแผขยายอํานาจออกไปรวมทัง้ ในราชสาํ นกั โรมนั ซึ่งมกี ารจดั เลี้ยงในโอกาสพิเศษตางๆ เชน งานพิธกี ารงานฉลองชยั ชนะจากสงคราม หัวหนาพอครัว (chefs) และพอครัว (cooks) จึงจัดไดวาเปนบุคคลท่ีมีความสาํ คญั และมีการกนิ ดีอยดู ีในยคุ น้นั ในยุคกลาง การบริการอาหารและเครื่องด่มื มีววิ ัฒนาการเชนเดียวกับอนิ นห รือท่ีพกั แรมขนาดเลก็ ทเ่ี พ่มิ จาํ นวนมากข้ึนในยคุ นี้ แตการใหบ ริการต่ํากวา มาตรฐานในปจจบุ ันมากอาหารท่ใี ชบ ริการสวนใหญมเี พียงขนมปง เน้ือหรือบางคร้ังปลาหรือไกตอน และเบยี ร ในยคุ ในยุคฟน ฟูศลิ ปวิทยาการ ไดเรมิ่ มแี นวคิดเรอ่ื งการบรกิ ารทพี่ ักแรมพ่ือจุดประสงคท างธรุ กจิ ซ่งึ มีผลกระทบตอ การบรกิ ารอาหารดว ย เชน ใน ค.ศ. 1282 (พ.ศ.1825) ทีพ่ กั แรมทจ่ี ัดต้งั ขึ้นโดยสมาคม (Guilds) ท่เี มอื งฟลอเรนซป ระเทศอติ าลี มบี รกิ ารขายเหลาองุนเพิม่ ข้นึ ประกอบกับมกี ารประดิษฐคิดคน รถมา ขึ้นในประเทศอังกฤษ ทําใหม ีการเดนิ ทางเพ่มิ มากข้นึ นอกจากนี้ ราชสาํ นกั ในประเทศอังกฤษกม็ ีการจดั เลีย้ งอาหารและเครือ่ งดืม่ในพระราชพธิ ตี างๆ บอ ยครงั้ 52

ธรุ กจิ ในอุตสาหกรรมทอ งเท่ียว ในชว งศตวรรษที่ 16 มีการเปด รา นอาหารแบบธรรมดาเหมอื นท่ใี หบริการในท่ีพักแบบทาเวิรนขน้ึ ในประเทศอังกฤษ การบริการอาหารเปน แบบราคาตายตวั และรายการอาหารตายตัวลูกคาไมมีโอกาสเลือก ประกอบกับมีการนําเขาชาและกาแฟ ทําใหเกิดหองด่ืมกาแฟ(coffee houses) ท่ีมีการจําหนายเครื่องด่ืมกาแฟหรือชารอนขน้ึ ดวย และตอมาไดร บั ความนิยมแพรหลายอยา งกวางขวางในแถบทวปี ยโุ รป 1.2 ธุรกิจอาหารแบบภัตตาคารใน ค.ศ. 1765 (พ.ศ. 2308) มีรา นอาหารทเี่ ปนตนแบบของภัตตาคารแหง แรกข้ึนในเมืองปารสี โดยนายบูลองเจอร (MonsieurBoulanger) เพ่ือจําหนายซุบแบบโตร ุง รานขายซุปของนายมอแลนเจอร มีชื่อวา Restorantes(restoratives) ที่หมายถึงการจัดใหคืนสูส ภาพเดมิ โดยเขาต้ังใจจะจําหนายซุบใหแกผ ูหญิงที่ต้ังครรภหรือผูชายที่เมาคาง ซ่ึงตอมากลายเปนท่ีมาของคําวา ภัตตาคาร (restaurant) ในปจ จุบนั ในป ค.ศ. 1782 (พ.ศ. 2325) มีภตั ตาคารที่แทจ ริงชือ่ วา The Grande Taverne deLondres เกิดข้ึนในเมืองปารีส และตอมาไดมีภัตตาคารอื่นๆ เกิดข้ึนอีกกวา 500 แหงภตั ตาคารแพรขยายไปในประเทศองั กฤษและทวีปยุโรปอยา งกวา งขวาง 1.3 การแพรขยายธุรกจิ อาหารและเคร่ืองด่ืมเขาไปในสหรัฐอเมริกา ในสหรฐั อเมริกา ในป ค.ศ. 1848 (พ.ศ. 2391) รานอาหารประเภทราคาถูกทเี่ รยี กวา หอ งอาหาร(eating house) เกิดข้ึนในเมอื งนวิ ยอรค และในป ค.ศ. 1827 (พ.ศ. 2370) มภี ัตตาคารแหงแรกชื่อเดลโมนิโก (delmonico) เกิดข้ึนในเมอื งนิวยอรค ใหบ ริการอาหารราคาแพงโดยปรุงอาหารตํารับสวิสและฝร่ังเศส และคิดคน รายการอาหารที่ไดรบั ความนยิ มข้นึ หลายชนิด นับไดว าเดลโมนโิ กไดเ ปล่ียนแปลงประเพณีการรบั ประทานอาหารของคนอเมริกนั ในยุคนนั้ ธุรกิจภัตตาคารและรา นอาหารไดแพรขยายไปท่วั ประเทศสหรฐั อเมริกา รวมทั้งประเพณกี ารรบั ประทานอาหารนอกบา น และการบริการอาหารในโรงแรมสมัยใหม โดยเริม่ ตนท่ีการบรกิ ารอาหารฝรง่ั เศสในโรงแรมบอสตนั ทรีเมนตเ ฮาส (Boston’s Trement House) ใน ค.ศ.1829 (พ.ศ. 2372) ธุรกิจอาหารไดพฒั นามากข้ึนเปนลําดับ และในหลายรูปแบบ เชน มีภตั ตาคารระบบเครือขา ย (restaurant chain) แหงแรกท่ีขายแฮมเบอรเกอร ชอ่ื ไวทแ คนเซลิ(White Castle) ซึ่งกอต้ังใน ค.ศ. 1921 (พ.ศ. 2464) ภัตตาคารโฟซีซนั (Four SeasonsRestaurant) จาํ หนา ยอาหารแบบ 4 ฤดูกาล (ฤดรู อ น ฤดูใบไมรว ง ฤดหู นาว และฤดูใบไมผลิ)ซง่ึ กอตั้งใน ค.ศ. 1959 (พ.ศ. 2502) และรานอาหารขายแฮมเบอรแบบส่ังโดยไมตองลงจากรถ (drive-in) ชอ่ื แมคโดนัล (McDonald) กอตัง้ ขึน้ ในป ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) เนื่องจากผบู ริโภคตองการความรวดเรว็ และไมตองการลงจากรถเพราะอากาศหนาว 53

ธรุ กิจในอตุ สาหกรรมทองเทีย่ ว 2. ความเปนมาของธรุ กิจอาหารและเครอ่ื งดมื่ ในประเทศไทย ความเปน มาของธรุ กิจอาหารและเครอ่ื งด่มื ในประเทศไทยจัดแบงไดเปน 2 ยคุดงั น้ี 2.1 ยุคแรก คนไทยในอดีต นยิ มการทาํ อาหารรับประทานกันเองในครวั เรอื นไมน ยิ มรบั ประทานอาหารนอกบาน ดงั จะเหน็ ไดจ ากการทีป่ ระเทศไทยมขี นบธรรมเนียมประเพณีที่ดงี ามตงั้ แตสมยั กรงุ สโุ ขทยั ทเี่ จา ของบานมกั ใหก ารตอ นรบั ผูมาเยอื นดวยการจัดทพ่ี กั อาศัยและจัดอาหารคาวหวานใหร ับประทาน ดงั คํากลาวท่ีวา “ใครมาถึงเรือนชานตองตน รบั ” การรับรองแขกบานแขกเมือง หรือบุคคลสําคญั ระดับประเทศ ก็มักจัดใหพกั อยใู นพระบรมมหาราชวังหรอื พกั ตามบานของเจานายเช้ือพระวงศ หรือบานพักของขาราชการระดบั เสนาบดี สาํ หรบั พอคาหรอื นักเดินทางที่ไมมีญาติหรือมิตรสหาย อาจพักตามวัดหรอื ศาลาพักแรมสาธารณะและหากไมเตรียมอาหารมาเองหรือเตรียมมาไมเพียงพอก็มักอาศัยวัดกินอาหารตอจากพระโดยไมเสียคา ใชจายใดๆ เพราะนอกจากคนไทยจะนิยมทาํ อาหารรับประทานเอง และรบั รองแขกแลว ยังทําอาหารทําบุญถวายพระ ทาํ ทาน และจัดเล้ยี งในพธิ ีตางๆ ดวย 2.2 ยุคท่ีสอง เร่ิมขึ้นในสมัยกรุงรตั นโกสนิ ทรต อนตน ทเ่ี รม่ิ มคี นจนี อพยพเขามาอยใู นประเทศไทยมากข้ึนและมีคนจีนบางกลุมเปดรานอาหารข้ึนเพ่ือใหบริการลูกคาท่ีตองการรับประทานอาหารจนี โดยเฉพาะในรานอาหารข้ึนยานสําเพ็ง ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็พระจอมเกลาเจา อยูหัว รานอาหารจงึ ไดร ับความนิยมอยา งกวา งขวาง ลูกคาไมไดมีเพยี งกลมุ คนจีนเทา น้ัน แตเปนประชาชนท่ัวไป ประกอบกับในชวงเวลาน้ี ประเทศไทยมีการตดิ ตอ กบั ชาวตา งประเทศมากข้ึน จึงมีการสรางโรงแรมเพ่ือใหชาวตา งประเทศเขาพัก เชน โรงแรมยเู นียน(Union Hotel) และโรงแรมฟชเชอร (Fisher Hotel) ซึ่งโรงแรม 2 แหงหลงั ใหบ รกิ ารอาหารและเครอื่ งดมื่ ในโรงแรมดวย โดยเนนการใหบ ริการลกู คาของโรงแรมซึง่ เปน ชาวตางประเทศและกลุมชนช้ันสูง ตอมาไดมีโรงแรมเกิดข้ึนเปนจํานวนมาก ซ่ึงแตละโรงแรมก็จัดบริการอาหารและเครื่องดม่ื สาํ หรับผมู าพกั เปนอยา งดี 2.3 ยคุ ปจ จบุ ัน ในปจจบุ ันนอกจากหองอาหารในโรงแรมแลว ยงั มีรา นอาหารท่วั ไปเกิดขึ้นมากมายหลายประเภท ไดแ ก 2.3.1 ปจจุบันรานอาหารจีน มักตั้งอยูในยานถนนเยาวราช ถนนราชวงศ ถนนทรงวาด เปน ตน ความเจริญของรานอาหารจีนทําใหเ กดิ ภัตตาคารจีนขนาดใหญข้ึนหลายแหง เชน ข่ีจันเหลา และหอ ยเทยี นเหลา 2.3.2 รานอาหารฝรงั่ เชน สเตก็ สตู โครเก ออมเล็ท ตั้งอยแู ถวบางรกั จนถงึ ถนนสรุ วงศ เน่อื งจากแถวนน้ั มฝี รงั่ พักอาศัยมาก 2.3.3 คอฟฟชอป แหงแรกชอ่ื รานกาแฟนรสงิ ห ตั้งอยูถนนเสือปาดาํ เนินการโดยทางราชการ 54

ธุรกิจในอตุ สาหกรรมทองเท่ียว 2.3.4 รานอาหารไทยสําหรับชาวบานท่ัวไป มักต้ังอยใู นยา นชุมชนหรือตลาด เชน แถวหนา โรงบอ น และโรงหวย ตลาดเสาชงิ ชา ตลาดบานหมอ เปน ตน 2.3.5 รา นอาหารอินเดีย มักตั้งอยูยานที่มีชาวอินเดียหรอื ทํางานอยูเชน แถวถนนสรุ วงศ บางรกั และพาหรุ ัด เปน ตน การทรี่ ัฐบาลไทยไดเห็นความสาํ คัญของการทองเท่ียวทาํ ใหโ รงแรมขนาดใหญท่ีไดมาตรฐานสากลเกิดข้ึนมากมายในกรุงเทพมหานครและจังหวดั ใหญๆ ทเ่ี ปนแหลงทองเที่ยวโรงแรมเหลานี้สว นใหญบ รหิ ารงานโดยกลุม ธุรกิจตา งชาติ ทาํ ใหการบริการอาหารและเคร่ืองดื่มมีความหลากหลาย และหรหู ราตามมาตรฐานโลก ภัตตาคารและรา นอาหารตา งๆ ขยายตัวมากขึ้น เนือ่ งจากคนนยิ มทอ งเท่ยี วในประเทศไทยมากข้ึน ไมว าจะเปนคนไทยหรอื ชาวตางประเทศก็ตาม ประกอบกับคนไทยจํานวนมาก นิยมรับประทานอาหารนอกบานมากขน้ึ จงึ เกดิ สวนอาหารและฟาสตฟดู (Fast food) ทเี่ นนความสะดวกรวดเรว็ ตามมาดว ย 3. ความหมายและประเภทของธุรกจิ อาหารและเคร่อื งดมื่ 1. ความหมายของธรุ กจิ อาหารและเคร่อื งดืม่ ธุรกิจอาหารและเคร่ืองด่ืม (Food and Beverage) หมายถึง การประกอบธรุ กิจในการใหบ ริการอาหารและเครอ่ื งด่มื สําหรับคนเดนิ ทาง นกั ทองเท่ยี ว หรือประชาชนทั่วไป โดยจัดเตรียมท่ีน่ังใหผูบริโภคสามารถรับประทานอาหารภายในสถานท่ีท่ีใหบริการ หรืออาจใหบริการบรรจุอาหารเพ่ือใหผูบริโภคสามารถนําไปรับประทานที่อ่ืนได ธุรกิจอาหารและเครือ่ งด่ืมอาจจําแนกประเภทไดเปน 2 กลมุ ใหญ คอื 1.1 ธุรกิจอาหารและเคร่อื งดมื่ เชงิ พาณิชย (Commercial Food &Beverage) ไดแ ก ธรุ กจิ อาหารและเครอ่ื งดมื่ ท่มี ีจุดมงุ หมายในการขายบรกิ ารเพื่อแสวงหากาํ ไรโดยเปดบริการแกลูกคาทุกคน เชน ภตั ตาคาร รานอาหารจานดวน คอฟฟชอบ คาเฟทีเรียบรกิ ารอาหารและเครอื่ งดื่มในโรงแรมและสถานประกอบการอนื่ ๆ เชน สโมสร หา งสรรพสินคารวมทั้งการจดั บรกิ ารอาหารและเครอ่ื งดื่มในระหวางการเดินทาง อาทิ อาหารในเคร่อื งบนิ รถไฟรถทัวร ธุรกจิ กลุมน้ีนบั วามีความสาํ คัญตออุตสาหกรรมทองเที่ยวซึ่งจะกลา วถึงในรายละเอียดตอ ไป 1.2 ธุรกิจอาหารและเคร่อื งด่มื ในสถาบนั (Institutional Food &Beverage) ไดแก ธุรกจิ อาหารและเครื่องดื่มซ่ึงจัดขึน้ เพือ่ บริการแกกลุมลกู คา เฉพาะในสถาบันแหง ใดแหง หนงึ่ เปนการดาํ เนินการในรปู แบบของสวัสดิการไมเ นนผลกําไร แตเนนการควบคมุคาใชจายใหเหมาะสม เชน บริการอาหาหรและเคร่ืองดมื่ ในโรงพยาบาล โรงเรียน วทิ ยาลัยมหาวทิ ยาลัย ฐานทพั โรงงาน หอ งอาหารพนกั งาน เปนตน 55

ธรุ กจิ ในอตุ สาหกรรมทองเท่ยี ว อยา งไรกด็ ีธรุ กจิ อาหารท้ัง 2 กลุม นี้ ปจ จุบนั ไมไดแยกกันชดั เจนเหมือนในอดตีเน่ืองจาก สถาบันหลายแหง เชน มหาวทิ ยาลัยหรอื โรงพยาบาล อาจมีรานอาหารจานดวน เปดใหบ ริการไดเชนกัน เชน รานแมคโดนัล (McDonald) หรือ พซิ ซา ฮทั (Pizza Hut) เปนตน 2. ประเภทของธรุ กิจอาหารและเครอื่ งดืม่ เชงิ พาณชิ ย ธุรกิจอาหารและเครื่องด่ืมเชิงพาณชิ ย สามารถแบงออกไดเปน 4 ประเภทยอยดงั นี้ - ภัตตาคาร หรือรา นอาหารเด่ยี วหรอื อาหารเฉพาะอยาง - ธรุ กิจอาหารและเครอ่ื งด่มื ในโรงแรม - ธุรกิจอาหารและเคร่อื งดื่มในสถานประกอบการอื่น - ธรุ กิจอาหารและในเครอ่ื งดมื่ ในระหวา งการเดนิ ทาง 2.1 ภัตตาคาร หรอื รานอาหารเดีย่ ว (stand – alone restaurant) เปนธรุ กจิ อาหารและเคร่อื งด่ืมท่ีเปนทรี่ ูจักกันดีและมีจํานวนมาก ไดแ ก ภัตตาคารหรอื รานอาหารโดยท่วั ไปซ่ึงมีหลายขนาดและหลายลกั ษณะของการใหบ ริการ สามารถสรุปไดดงั นี้ 2.1.1 ภัตตาคารทใ่ี หบริการเตม็ รูปแบบ (full – service restaurant)ภัตตาคารประเภทน้ีจะมีการจัดพนักงานที่ไดรับการอบรมเปนอยา งดีมาบริการลูกคา และมีเมนูอาหารใหเลือกหลายประเภท ภัตตาคารประเภทนี้สวนใหญมกั ดาํ เนินการโดยบุคคลท่ีเปนเจาของกิจการเอง หรอื หุนสวน ภตั ตาคารบริการเตม็ รูปแบบยงั สามารถแบงประเทยอยไดอ ีกขึน้ อยูกบั ราคาอาหร บรรยากาศ และการตกแตงหองอาหาร รายการอาหาร และระดบั ของความหรูหราหรือความเปน พธิ กี าร ดังนี้ 1 ) ภั ต ตา ค า ร เ ก อ ร เ ม ตห รื อ ช้ั น ดี ( gourmet/classicalrestaurant) จัดเปนภัตตาคารชั้นดีท่ีตกแตงสวยงามหรือมีตน แบบมาจากตางประเทศ มีการบริการพิเศษและบรรยากาศหรูหรา และมีอาหารใหเลือกหลายอยาง มีพอครัวทม่ี ฝี มือในการปรงุ อาหาร ราคาอาหารมกั คอ นขางสงู ซึ่งเหมาะสําหรับลกู คา ทต่ี อ งการบริการท่สี ูงกวามาตรฐานและพรอมทีจ่ ะจา ยคา บรกิ ารตามที่กาํ หนด ภตั ตาคารประเภทนมี้ ักใหบ ริการม้ือคาํ่ ซึง่ ลูกคาควรจองโตะลว งหนา และแตงกายแบบพธิ กี าร ภัตตาคารประเภทนี้อาจมอี ยูในโรงแรมขนาดใหญด วย 2) ภัตตาคารเฉพาะเชือ้ ชาติ (ethnic restaurant) ใหบริการเฉพาะรายการอาหารประชาชาติหรือทองถิ่น โดยเปน ลกั ษณะประจําชาติ ต้งั แตการตกแตง รา นรายการอาหาร เครอ่ื งแบบของพนักงานและการฝก อบรมโดยเฉพาะอยา งยิ่งพอครวั ตองมคี วามรูเรื่องอาหารประชาชาติเปนอยางดี ธุรกิจภัตตาคารประเภทนี้อาจดําเนินการโดยครอบครัวของชนชาตติ างๆ หรอื อาจบริการโดยเครอื ขาย ราคาอาหารมักมีหลายระดับตง้ั แตราคาถูก ปานกลางจนถึงราคาแพง ข้ึนอยูกับระดับของการใหบรกิ าร เชน ภัตตาคารอาหารจนี อิตาเลียน ฝร่ังเศส 56

ธุรกจิ ในอุตสาหกรรมทอ งเท่ียวตะวันออกกลาง ญ่ีปุน เปนตน ความสําเรจ็ ของภัตตาคารประเภทนี้อยูทีอ่ าหารท่ีใหบรกิ ารซ่ึงตอ งเปนอาหารประจาํ ชาติหรอื ทองถน่ิ ที่แทจรงิ 3) ภัตตาคารชาํ นาญพิเศษ (specialty restaurant) จาํ กัดประเภทอาหารหรือมีลกั ษณะเฉพาะรายการอาหารพิเศษท่เี ปนจุดเนนของแตละภัตตาคาร เชนภัตตาคารซีฟูด เสต็กเฮาส การออกแบบและตกแตงสถานท่ีจะสอดคลองกับจุดเนนของภัตตาคาร ภัตตาคารอาจเปนของเจา ของคนเดียว หรือกลมุ เครือขาย และราคาอาหารอยูในระดับไมแพงจนเกนิ ไปนกั เชน เรดลอบสเตอร (Red Lobster) ในสหรฐั อเมรกิ า โชคชนั เสต็กเฮาส ในประเทศไทย 4) ภัตตาคารแบบครอบครวั (family restaurant) จัดเปนภัตตาคารท่ีใหบริการแบบกันเอง ดวยบรรยากาศและการตกแตงแบบสดใสหรือสบายตารายการอาหารแบบธรรมดาแตเนนคุณภาพ มกั ใหบริการตัง้ แตอาหารเชา อาหารกลางวนั และอาหารค่าํ โดยมีราคาอาหารไมแพงจนเกินไป การตกแตงรานมักประกอบดวย เคานเตอร โตะและที่นั่งแบบบธู (Booths) ภตั ตาคารแบบครอบครัวมักต้งั อยใู กลถนนหลักหรือยา นท่ีอยอู าศยัรวมท้ังมีทจี่ อดรถใหเ พราะลูกคา จะมาเปน ครอบครัว 5) ภตั ตาคารท่ีมีรปู แบบเฉพาะ (theme restaurant) เปนภตั ตาคารที่ออกแบบตามกรอบแนวคิดทีค่ ดิ คนโดยเจา ของกจิ การ ซ่ึงอาจเปน การปรับปรงุ อาคารโรงงานเกาแก เชน โรงสี โรงงาน สถานีดับเพลิง หรือกังหันลม หรือเปนแนวคิดท่ีเนนชวงเวลาทสี าํ คัญในประวตั ศิ าสตร ภาพยนตรทมี่ ีชือ่ เสียง นกั รอ ง ตัวละคนหรือนักกีฬาท่ีไดร ับความนิยม ภตั ตาคารประเภทน้จี ะมกี ารออกแบบและตกแตงสถานท่ี รายการอาหาร และลักษณะการใหบ ริการท่สี อดคลอ งกับกรอบแนวคิดทกี่ ําหนดขน้ึ เชน ภัตตาคารฮารดรอคคาเฟ (HardrockCafé ) เปนบรรยากาศของเพลงในยุค ค.ศ. 1960 ภัตตาคารแพลนเน็ต ฮอลลีวูด (PlanetHollywood) ทตี่ กแตงบรรยากาศเหมือนเมอื งฮอลลวี ูด ทีเ่ ตม็ ไปดวยนักสรางภาพยนตร และราดาดัง ภัตตาคารที่ตกแตงแบบบรรยากาศในยคุ โรมัน ยุคกลาง และเสิรฟอาหารแบบโบราณภตั ตาคารทีจีไอ ฟรายเดย(TGI Friday’s) เปน ตน ภัตตาคารทมี่ ีรูปแบบเฉพาะมักดาํ เนนิ การโดยกลมุ เครือขาย (chain) ระดับราคาอาหารปานกลาง และลูกคา มักเปนกลุมเฉพาะท่ีเริ่มมีครอบครัวหรืออยใู นวยั เรม่ิ ทํางานซ่ึงตองการบรรยากาศแปลกๆ และพบปะผูคนท่ีมคี วามชอบเหมือนกนั 6) ภัตตาคารทั่วไป จดั บริการอาหารหลายชนิดตามความตอ งการของกลุมลูกคา มีขนาดต้ังแตเล็กจนถึงใหญ และมีทําเลที่ตั้งอยูทั่วไปในเมือง ใกลสาํ นักงาน หรอื แหลงการคา ภัตตาคารแตล ะแหงมีลักษณะเฉพาะตวั โดยมีรายการอาหารท่ีพอครวั มคี วามถนดั เปน พิเศษ เชน ภัตตาคารอาหารไทย อาหารจีน เปน ตน 57

ธุรกิจในอตุ สาหกรรมทองเทยี่ ว 2.1.2 ภัตตาคารใหบ รกิ ารกงึ่ รูปแบบ (semi-service restaurant)เปนธุรกิจทมี่ ีการจัดพนกั งานไวใหบรกิ ารเฉพาะบางสวนและสวนไมม ีพนักงานบริการลูกคา ตองบรกิ ารตัวเอง ภัตตาคารใหบ ริการก่ึงรปู แบบทพี่ บเหน็ ไดแ ก 1) ภตั ตาคารแบบบุฟเฟต (buffet restaurant) จะจดั บริการอาหารท่ีปรงเรียบรอ ยแลวหลากหลายชนิดไวบ นโตะอาหารสําหรับลูกคา ไปตักอาหารดวยตนเองซ่งึ ลูกคาสามารถเลือกอาหารไดตามความชอบ และในปริมาณท่ีไมจ ํากัด หรือที่เรยี กวา “Allyou can eat.” โดยจา ยคาอาหารเปนรายหัวตามท่ีกาํ หนดไว สําหรับเครือ่ งด่มื มักมีพนกั งานมาบริการเสริ ฟใหท โ่ี ตะ ภัตตาคารแบบบฟุ เฟตม กั เปนภตั ตาคารขนาดใหญ โดยเฉพาะภัตตาคารทว่ั ไปที่รองรบั กลมุ นักทอ งเที่ยว หรอื อาจเปน ภตั ตาคารในโรงแรมก็ได ภัตตาคารแบบนีม้ ักไดรับความนยิ มในวนั อาทติ ย ท่ีเปนมื้อเชา -กลางวนั รว มกนั (brunch) 2) คอฟฟชอป (coffee shop) เปน รา นอาหารที่ขายอาหารและเคร่ืองด่มื ประเภทปรงุ งา ย สามารถบริการไดร วดเรว็ และราคาอาหารไมแพงเกินไป มกั ตั้งอยูในบริเวณอาคารสํานักงาน ศนู ยก ารคา โดยเนนการขายอาหารม้ือกลางวนั และอาหารวางแกผูทํางาน รูปแบบดัง้ เดมิ ลกู คามักบรกิ ารตนเอง หรือมีพนกั งานใหบริการเพยี งบางอยา ง เชน การรินนา้ํ ดื่มให แตป จจุบนั เรื่องจากการแขงขันสงู ทาํ ใหคอฟฟช อบพยายามเพ่ิมบริการมากข้ึนจนลูกคาอาจไมตองบรกิ ารตวั เองก็ได 3) ภัตตาคารอาหารจานดวนหรือฟาสตฟูดท่ีใหบริการกึ่งรปู แบบ (Fast Food restaurant) ภตั ตาคารอาหารอาหารจานดว นมกี ารจัดสถานท่ีไวสองสว นสว นหนึง่ สาํ หรับใหลกู คารับประทานในลักษณะบริการตนเอง และอกี สวนหน่งึ มพี นักงานบริการเชน รา ยขายพิซซา รา นขายสลดั เปนตน 2.1.3 ภัตตาคารทลี่ ูกคาบริการตนเอง (self-service restaurant) จําหนา ยอาหารท่ีมีการจัดเตรียมไวลวงหนา หรือสามารถบริการแกลูกคาไดรวดเร็วทันที ที่เรียกวาอาหารจานดว น เหมาะสําหรับลกู คา ท่ีเรงรีบ หรือมเี วลาในการบรโิ ภคนอ ย ไมมีบรกิ ารพนักงานเสิรฟ ลกู คาตองบรกิ ารตนเอง ภัตตาคารประเภทนม้ี หี ลายรูปแบบไดแ ก 1) คาเฟทีเรีย (cafeteria) เปนหองอาหารสําหรับผทู ี่เรงรีบ โดยมีอาหารปรุงสําเร็จแลวไวบริการ ซ่ึงมักใสถาดวางไวในตูกระจกใสท่ีลูกคาสามารถหยิบไดดวยตนเอง หรืออาจมีพนกั งานจะคอยตกั อาหารใสจ านให โดยลกู คานําอาหารไปจายเงินที่พนักงานเก็บเงนิ ปลายแถว และยกอาหารมารับประทานที่โตะดวยตนเอง อาหารสวนใหญเปน อาหารพ้นื ๆ เชน ซุป อาหารรอน อาหารเย็น ของหวานและเคร่ืองดื่ม ซึง่ ราคาคอ นขางถูก และมักตั้งอยูศูนยการคาหรือศูนยอาหารในยานชุมชน นอกจากนี่คาเฟทีเรียนพบเห็นไดในสถาบนั การศึกษาหรือหนว ยงาน เปนการใหบรกิ ารอาหารและเคร่ืองดมื่ เชงิ สวัสดกิ ารท่ไี มหากาํ ไร 58

ธุรกิจในอตุ สาหกรรมทอ งเทย่ี ว 2) เดลี ชอป (deil shop) เปนรายขายอาหารท่ขี ายอาหารสาํ เร็จรูปที่ทําจากเนื้อ เนยแขง็ ประกอบเปน แซนวสิ หรอื สลัดทล่ี กู คา มกั จะซื้อกลับบานหรือไปรับประทานท่ีอ่ืน รานเดลีชอปจึงมักมีท่ีน่ังจํานวนนอย และมีตนทุนในการดําเนินการไมสูงนัก รวมท้ังพนักงานจาํ นวนนอย เพราะลูกคา ตอ งบริการตนเอง รานเดลชี อปมีต้ังอยูในบรเิ วณศูนยก ารคาและอาหารสํานกั งาน โดยเปดบริการตั้งแต 9.00 น. ถงึ 17.00 น. หรือ 21.00 น. 3) ภัตตาคารจานดวนหรือฟาสตฟดู แบบบรกิ ารตนเอง (fast foodrestaurant) ภตั ตาคารฟาสตฟูด เปนการจัดสถานท่สี ําหรบั ลกู คานงั่ รับประทานอาหารในลกั ษณะของการบรกิ ารตนเอง อาหารทบี่ รกิ ารเปนอาหารทปี่ รงุ ไดอยางรวดเร็วและมกั เปน อาหารแบบตะวันตก มรี ายการอาหารจํากัดและราคาถูก อาหารฟาสตฟูด แบงเปน 2 ประเภท คือ อาหารอิม่ ทอ ง (full meal) เชน แฮมเบอรเ กอร ไกทอด พิซซา และอาหารวาง (snack) เชน โดนทัคุกก้ี โยเกิรต ไอศกรีม เปนตน ลูกคาจะตอ งบริการตนเองในการส่ังซื้ออาหารและจายเงินพนกั งานของรา นจะทําหนาที่เตรยี มอาหารเก็บเงินท่ีเคานเ ตอรบริการ และบรกิ ารทําความสะอาดโตะทน่ี งั่ ใหลูกคา สามารถน่ังรับประทานอาหารตามโตะ ท่ีจัดเตรยี มไว หรือสั่งกลับไปรับประทานท่ีบานหรอื นอกรานได (take away/to go) ภัตตาคารจานดว นกาํ ลังไดร ับความนิยมมากและคาดวาจะไดรบั ความนยิ มสงู ขนึ้ในอนาคต ในปจจบุ ันสว นใหญมักบรหิ ารโดยระบบแฟรนไชส (franchise) คือบริษัทแมหรือผูเปนเจาของสิทธ์ิใหสิทธ์ิแกตัวแทนในการประกอบธุรกิจในลักษณะท่ีบริษัทแมหรือผูใหสิทธิ์กาํ หนดไว เชน การใชชือ่ หรือเคร่ืองหมายการคาของบริษัทแม รวมทง้ั การนําสูตรและเทคนิคการปรุงอาหาร การตลาด หรือวิธกี ารดาํ เนินธุรกจิ ของบริษัทแมมาใชในกิจการของตน ตัวอยางภัตตาคารจานดวนแบบแฟรนไชส ทพ่ี บเหน็ จาํ นวนมาก ไดแ ก แมคโดนัล (McDenald) เคนตักกี้ ฟรายชิกเกนส (Kentuckey Fried Chicken) เบอรเกอรค งิ (Burger King) ดังก้ิน โดนัท(Dunkin Donut) เปน ตน 4) ศนู ยอาหาร (food center/court) เปน สถานท่ีบริการอาหารและเครื่องด่ืมที่รวมเอาอาหารหลายชนิดเขาไวในสถานที่เดียวกัน โดยเฉพาะอยางย่ิงตามหา งสรรพสินคาท่ีนยิ มจดั ศูนยอาหารไวบรกิ ารแกผูมาซอ้ื สนิ คา ในหางโดยลูกคาสามารถเลือกซ้ืออาหารตามชอบในราคาประหยัด การจา ยเงนิ ทกั จายเปนคปู อง 59

ธุรกจิ ในอตุ สาหกรรมทองเทย่ี ว 2.2 ธุรกิจอาหารและเครื่องด่ืมในโรงแรม ธุรกิจการบริการอาหารและเคร่ืองด่ืมในโรงแรมอาจครอบคลุมตั้งแต ตูอาหารอัตโนมัติ (vending machine) จนถึงภัตตาคารประเภทตา งๆ ที่ใหบริการภายในโรงแรม ภัตตาคารในโรงแรมใหบริการอาหารในรปู แบบและราคาท่ีแตกตางกัน โดยมกั ขนึ้ อยูกับระดบั ของโรงแรม กลาวคือ โรงแรมที่มีระดบัมาตรฐานสูง มักใหบริการอาหารและเคร่ืองดื่มที่พิเศษและราคาแพง รูปแบบการใหบริการอาหารและเคร่อื งดมื่ ภายในโรงแรมท่ีควรกลาวถึง คือ 2.2.1 หองอาหาร (dining room) ภายในโรงแรมอาจมลี ักษณะตั้งแตภตั ตาคารแบบครองครัวจนถงึ ภัตตาคารช้ันดหี รือภัตตาคารเกอรเมต โดยประเภทของภัตตาคารมักมีความสมั พันธก ับขนาดและระดบั ของโรงแรมโรงแรมรหู รามกั จะมหี อ งอาหารท่ีเปนภัตตาคารชั้นดี หองอาหารนานาชาติ หองอาหารแบบบุฟเฟต ตลอดจนหองภัตตาคารและรานอาหารเด่ียวทั่วไป เพราะโรงแรมมักลงทุนสูงในเรื่องการตกแตงอยางหรูหราโออา มีการบริการท่ีประทบั ใจ และมีการดําเนนิ งานทเ่ี ปน ระบบภาพท่ี 3 หอ งอาหารในโรงแรม 60

ธุรกจิ ในอตุ สาหกรรมทอ งเที่ยว 2.2.2 บริการอาหารในหองพกั (room service) โรงแรมขนาดใหญที่ใหบ ริการครบวงจรมักมีบริการอาหารสง ถึงหองพัก ตลอด 24 ช่ัวโมง โดยจัดวางรายการอาหารไวใ นหองพกั ซ่ึงประกอบดว ย อาหารเชา อาหารกลางวัน และอาหารคํ่า ราคาอาหารมกั จะสูงกวาปกติ เพราะคดิ รวมคา บริการสง ถึงท่ี โรงแรมขนาดกลางอาจใหบ ริการอาหารในหองพักเปนเพียงชวงเวลา เพื่อลดคาใชจาย 2.2.3 เลาจนและบาร (Longe / Bar) โรงแรมขนาดใหญนอกจากมีพนื้ ทบี่ รเิ วณลอบบ้ีเปน ท่นี งั่ พักสําหรับบคุ คลท่ัวไปแลว ยังมีพ้ืนที่เปน เลาจนไวใหบริการอาหารเบา ของหวาน เครื่องดื่ม ตลอดจนชาและกาแฟใหแ กแขกผมู าพกั และประชาชนทั่วไป หรือจัดบริเวณหนง่ึ ในโรงแรมเปนบารที่ใหบริการเคร่ืองดมื่ ทมี่ ีแอลกอฮอลห ลากชนิด ท้ังเลานจแ ละบารมกั จัดใหม ีดนตรีหรือเสยี งเพลงประกอบบรรยากาศดว ย 2.2.4 บริการจัดเล้ยี งหรอื จดั อาหาร (banuet and catering) โรงแรมท่วั ไปมกั มีฝายจัดต้ังเล้ียงดูแลรับผิดชอบการจัดงานหรือจัดเลยี้ งในหองโถงหรือหองจัดเลี้ยงทง้ัภายในและภายนอกโรงแรม การจดั เลีย้ งอาจเปนเพียงการจดั อาหารวา งสําหรบั ผูมารวมประชุมจนถึงการจัดเลยี้ งขนาดใหญแ บบมีพิธกี าร เชน การจัดงานแตง งาน การจดั ประชุม การจดั งานแนะนาํ สนิ คา เปนตน 2.3 ธุรกจิ อาหารและเคร่อื งด่มื ในสถานประกอบการเชงิ พาณิชยอ ่ืนๆ ธรุ กิจบรกิ ารอาหารและเครื่องด่มื จัดเปน ส่งิ อาํ นวยความสะดวกของธุรกจิ อ่นื ๆ ท่จี ําเปนตอ งจัดบรกิ ารอาหารและเครือ่ งด่มื ไวใหแ กลูกคา เชน อาหารและเครื่องดืม่ ในศูนยการคา หรอื หางสรรพสินคาเพือ่ ลกู คาระหวางการซอื้ สนิ คาโดยไมตองออกไปจากหองหรือศูนยก ารคา เพื่อรับประทานอาหารชวยอาํ นวยความสะดวกแกสถานีขนสง สถานรถไฟ สนามบิน และรวมท้ังบรกิ ารอาหารและเครอ่ื งดมื่ ตามสโมสรตางๆ ท่ีสมาชิกหรอื แขกเขาไปใชบรกิ ารทเี่ พ่อื สงั สรรคหรือออกกาํ ลงั กายเชน ราชกรีฑาสโมสร สโมสรเรือใบ เปน ตน 2.4 ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มในระหวางการเดินทาง เปนการใหบรกิ ารแกผูโดยสารบนเคร่อื งบิน รถไฟ รถทัวรและเรือ ทผี่ จู ดั เตรียมอาหาร (caterer) ตอ งใหบรกิ ารตรงเวลา และจัดสงอาหารไปทพ่ี าหนะที่ใชเดินทางอยา งเปนระบบ และมคี วามเชีย่ วชาญในการจัดเตรียมอาหารในภาชนะท่ีสามารถใหบริการเปนรายคนไดส ะดวก เน่ืองจากพาหนะในการเดนิ ทางมเี นอ้ื ท่แี ละเวลาทจ่ี าํ กดั ในการใหบ รกิ าร 61

ธุรกิจในอุตสาหกรรมทองเท่ยี ว4.3 ธุรกิจคมนาคมขนสง การพฒั นาและการเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยีการขนสงกอ ใหเกิดผลตอการเดนิ ทางอยา งกวางขวาง ปริมาณการเดินทางจึงมีความเจริญเติบโตควบคูไปกับเทคโนโลยีการขนสง การเดนิ ทางหรอื การขนสงเปนองคประกอบหลกั ของการทองเท่ยี ว เพราะหากปราศจากการเดนิ ทางแลวการทอ งเทยี่ วก็ยอมเกิดขึ้นไมได จึงอาจกลา วไดวา การคมนาคมขนสง เปน ธรุ กจิ ทมี่ ีผลประทบโดยตรงตอผลสําเร็จของอุตสาหกรรมทอ งเท่ยี ว 1.ความเปน มาของธุรกจิ คมนาคมขนสง 1. การขนสง ทางบก ประวัติการขนสง ทางบกอาจยอนกลับไปต้ังแตสมยั บาบิลอน (Babylone) หรอื 2000 ป กอนคริสตกาล ที่ใชค นลากรถสองลอไปบนถนน จนกระทงั่ มีการนําสัตว เชน ลา วัว มาชว ยลากรถสองลอในสมัยอียิปตแ ละกรีก และพฒั นามาเปนรถมาสี่ลอพรอมกับการสรางถนนท่ีเชื่อมตอ ระหวางเมืองและรัฐตางๆ ในสมัยโรมัน เพือ่ ใชในการเดนิ ทางของราชสาํ นกั ในการประกอบกจิ กรรมทางศาสนาและการคา ตัง้ แตยุคกลางจนถงึ ยคุ ฟน ฟสู ภาพของถนนหนทางไมไดรบั การพฒั นามากนักผคู นมกั นิยมเดนิ ทางโดยการขี่มา จนกระทั่งมีการประดิษฐร ถมา โดยสาร (stagecoach) ข้นึ ในปค.ศ. 1480 (พ.ศ. 2023) ในประเทศอังกฤษในชวง ค.ศ. 1600 มีบริการขนสงโดยรถมาโดยสารระหวางเมืองลอนดอนและออกซฟอรด เปนประจาํ ในฤดูรอน แมสภาพถนนยังขรุขระและมีฝนุ มาก ประชาชนสมัยนั้นยังคงเดินทางทางน้าํ มากกวา โดยเฉพาะอยางยง่ิ เมอื งที่ติดทะเลในสหรัฐอเมรกิ า ไดม ีการประดษิ ฐร ถมาโดยสารเทียมเกวียนขนาดใหญ (wagons) ในชวงกลางศตวรรษท่ี 17 รถมาโดยสารไดรับการพัฒนามาพรอมกับสภาพของถนนท้ังในอังกฤษและอเมรกิ าเหนอื ทาํ ใหส ามารถขนสง ผูโดยสารไดประมาณ 8 ถงึ 14 คน และเดนิ ทางไดไ กลถึง 50ไมลต อวันในฤดูรอ น ในชวงตนศตวรรษท่ี 18 มีการประดิษฐเ คร่ืองจักรไอน้าํ (steam engine) ที่ชวยปรับปรุงการขนสงทางเรอื งและรถไฟ ทําใหมีประชาชนเดินทางทองเที่ยวเปนจํานวนมากเนอื่ งจากรถไฟเปนพาหนะทสี่ ะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย และคอนขางราคาถกู เมอ่ื เทียบกับพาหนะอื่นๆ รถไฟไปนาํ้ ขบวนแรกในประเทศอังกฤษเปด ใหบ ริการเมือ่ ค.ศ. 1825 (พ.ศ. 2368) และมาแทนท่รี ถมาโดยสารทเ่ี ปนพาหนะทมี่ คี วามสําคญั มาเกอื บ 2 ศตวรรษ 62

ธุรกจิ ในอุตสาหกรรมทองเท่ียว อยางไรก็ตามในชวงป ค.ศ. 1920 รถยนตไดก ลายมาเปนพาหนะที่มีความสําคัญแทนที่รถไฟ เนื่องจากมีความสะดวกสบายมากกวา และยดื หยุนตอการใชงานเฉพาะบุคคลมากกวา โดยเฉพาะในการเดินทางระยะส้นั นอกจากน้รี ถประจําทางก็เปน พาหนะสาํ หรบั การขนสงทางบกที่ไดร ับความนิยม ในปจจัยน้ีอาจกลาวไดวา การขนสงโดยรถยนตยงั เปนการเดินทางทอ งเทีย่ วทางบกท่ีไดรับความนิยมสูงสุด โดยเฉพาะในสหรฐั อเมรกิ า 2. การขนสงทางนํ้า ยังคงไดรับความนิยมตอเนื่องมายาวนานในประวตั ศิ าสตรการเดนิ ทางของมนุษย มนษุ ยในสมยั โบราณเดนิ ทางขา มทวีปโดยเรือสาํ เภา รวมทั้งมกี ารขนสง ในแมนา้ํ ลําคลองในทวปี ยุโรปในชวงศตวรรษท่ี 17 ถึง 19 ท่ีสามารถเชื่อมตอลาํ คลองไดระยะทางไกลตง้ั แตป ระเทศอังกฤษ เบลเยี่ยม ฝรงั่ เศส เยอรมนี จนถงึ เนเธอรแลนด นอกจากรถไฟไอนํ้า ยงั มีการปรับปรุงเรือกลไฟใหสามารถเดนิ ทางรวดเร็วข้ึนและพฒั นามาเพอื่ ใชค มนาคมขนสงเพ่ือการทอ งเทยี่ วขามมหาสมุทร ในป ค.ศ. 1838 (พ.ศ. 2381)ไดเ ร่ิมมีเสนทางเดนิ เรือกลไฟประจาํ ขามมหาสมุทรแอตแลนติกขึ้น และแพรห ลายโดยมีหลายบริษัทเขามาดาํ เนินการ เรือกลไฟขามมหาสมุทรนี้นิยมเรียกวา “Liner” เพราะบริษทั เดินเรือมีการจดั ตารางการเดนิ เรอื ไวเปน เสน ตรงระหวา งเมืองทา 2 เมือง เรือกลไฟขยายเสนทางจากยโุ รปไปละตนิ อเมริกา อเมริกาใต และออสเตรเลีย นอกจากนี้ราวป ค.ศ. 1950 มกี ารพัฒนาเรือสําราญ (cruise ship) ข้ึนเพ่อื ใหบริการที่เนนความสะดวกสบายและการพักผอนตลอดการเดินทาง 3. การขนสงทางอากาศ โดยเครื่องบินเปนวิวัฒนาการท่ีพึงจดจําในประวตั ิศาสตรข องการขนสง และเปนปจจยั ทีช่ วยสนับสนุนการทอ งเท่ียวไดเปนอยางดี เนือ่ งจากเปน การเดนิ ทางที่มีความเรว็ สูงสุด ในอดีตเครือ่ งบินใชเฉพาะในกิจการทหารเทาน้ัน ในป ค.ศ.1919 (พ.ศ.2462) มีการบนิ เพ่ือการพาณิชยค ร้ังแรกเกิดขน้ึ โดยบินจากลอนดอนไปปารีส ในปตอมารัฐบาลหลายประเทศในยโุ รป เชน อังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอรมนี ไดใ หเงินสนับสนุนกิจการบิน ซึ่งกจิ การเหลา นต้ี อมากลายเปน สายการบนิ แหงชาติไปในที่สุด ในสหรฐั อเมริกาเรมิ่ มีเทีย่ วบนิ โดยสารประจําเพื่อการสงผโู ดยสารขน้ึ เปนคร้ังแรกในป ค.ศ. 1927 (พ.ศ. 2470) โดยบนิ รบั สงผูโดยสารจากบอสตันไปนิวยอรค และในปเดียวกนั บริษัทแพนอเมริกัน แอรเวย (PanAmerican Airways) ไดเรม่ิ ทําการบนิ คมนาคมขนสงไปกรงุ ฮาวานา (Havana) ในประเทศควิ บาเปนทน่ี าสังเกตวา รฐั บาลสหรัฐอเมริกาไมสนใจธรุ กิจการบิน และไมไดใหเ งินอุดหนนุ แตอยา งไรการกอตั้งธุรกิจการบินเปนของเอกชนท้ังส้ิน เชน สายการบิน United Airline สายการบินAmerican Airline สายการบนิ Eastern Airline และสายการบิน Transworld Airline 63

ธุรกิจในอตุ สาหกรรมทองเท่ียว กลาวโดยสรุป ประวัติความเปนมาของการคมนาคมขนสงไดสะทอนใหเห็นถึงวิวัฒนาการความพยายามของมนุษยในการพัฒนาระบบการขนสงและพาหนะทําใหสามารถการเดินทางทองเท่ียวไปไดไกลในระยะเวลาอันสั้นลง ดังนั้นสรุปไดดังภาพที่ 4 การขนสงจึงมีอิทธิพลตอความเจริญกาวหนาของอุตสาหกรรมทองเที่ยวเปนอยางมาก หรืออาจกลาวไดวาอุตสาหกรรมทองเท่ียวจะไมกาวหนา หากปราศจากการขนสงท่ีทันสมัย สะดวก รวดเร็วปลอดภัย ประหยัด และหลากหลาย ดังเชนท่ีเปนอยใู นปจจุบันซึ่งจะมีพัฒนาการตอไปในอนาคตอยา งตอเนอื่ งเรอื สาํ เภา รถมาโดยสาร รถมา เทียม เรอื กลไฟ รถไฟไอน้ํา รถยนต เครือ่ งบนิ เกวยี น1500 1600 1700 1800 1900 2000 ภาพท่ี 4 วิวฒั นาการของการคมนาคมขนสงเพื่อการทองเทยี่ ว 2. ความหมายและประเภทของธรุ กจิ คมนาคมขนสงเพอื่ การทองเท่ียว ธุรกิจขนสงผูโดยสารเพื่อการทองเที่ยว หมายถึง การประกอบธุรกิจการเคล่ือนยายโดยสารและสง่ิ ของจากที่หนึ่งไปยังอีกท่หี น่งึ ดวยพาหนะขนสง โดยมจี ุดมงุ หมายเพื่อการทองเท่ยี ว ธรุ กจิ คมนาคมขนสง อาจแบงออกไดเปน 3 รูปแบบใหญๆ คอื ธรุ กิจขนสงทางบก ธรุ กจิ ขนสง ทางน้าํ และธุรกจิ ขนสง ทางอากาศ ปจจบุ ันการคมนาคมขนสง เพื่อการทองเทีย่ วมักนิยมใชการขนสงในหลายรูปแบบประกอบกันเพื่อใหสามารถไดทองเที่ยวอยา งท่ัวถงึ เชนนกั ทอ งเที่ยวเดินทางโดยเคร่ืองบินจากลอนดอนถงึ กรุงเทพมหานคร แลวน่ังรถไฟไปสรุ าษฎรธานี และนั่งเรอื ตอ ไปเกาะสมยุ หรอื นกั ทองเที่ยวเดินทางโดยเครอื่ งบินจากนิวยอรคถึงประเทศไทยแลวน่ังเรอื ไปอยธุ ยา น่งั รถทวั รไปสุโขทยั และน่งั รถไฟตอไปเชียงใหม เปนตน ธุรกจิ ในอุตสาหกรรมทองเทย่ี ว 64

2.1. ธุรกจิ ขนสง ทางบก (Land transporation) ธุรกิจคมนาคมขนสงเพ่ือการทองเท่ียวทางบก อาจจําแนกประเภทไดตามลักษณะของพาหนะหรือวิธีการเดนิ ทาง ดงั น้ี - การเดินทางทองเที่ยวทางรถไฟ - การเดินทางทอ งเที่ยวทางถนนโดยรถยนตส วนบุคคล รถเชาและรถตูเพ่ือนนั ทนาการ - การเดินทางทอ งเท่ียวทางถนนโดยรถโดยสาร 1. การเดินทางทองเที่ยวทางรถไฟ เกิดข้ึนเปนครั้งแรกเมื่อ ค.ศ.1841 (พ.ศ. 2384) โดยโทมัส คุก (Thomas Cook) ซ่งึ จัดเสนทางทอ งเที่ยวขนึ้ ระหวางเมืองเลสเตอร (Leicester) และเมืองลัฟโบโร (Loughborough) ในประเทศอังกฤษ ตอมาการรถไฟเพ่ือการทองเที่ยวไดรับการพัฒนาอยางกวา งขวางในทวีปยุโรปและอเมริกา เน่ืองจากมีความสะดวก ปลอดภัย ขณะเดินทางสามารถเห็นภูมิประเทศสองขางทางอยางชัดเจน และสามารถเปลี่ยนอิริยาบถไดสะดวก รวมท้ังเดินทางถึงจุดหมายโดยไดรับการพักผอนอยางพอเพยี ง และมีการขยายเสน ทางการเดนิ ทางทอ งเที่ยวทางรถไฟท่ัวทวปี ยุโรปและในสหรฐั อเมริกา อยางไรก็ดีในปจจุบันการทองเที่ยวทางรถไฟในสหรัฐอเมริกาท่ีเรียกวาแอมแทรก (Amtrak) ลดนอยลง นักทองเท่ียวอเมริกนั นิยมเดินทางดวยรถยนตมากข้ึน เนื่องจากคาใชจ ายต่าํ กวา และมีความยืดหยุนสูงกวาในการเลือกใชเสนทางและการจัดทําโปรแกรมการเดินทาง แตก ารทองเท่ียวทางรถไฟระหวางเมืองตางๆ ในทวปี ยุโรป ตลอดจนในทวปี เอเชยียังคงไดรับความนิยม ซ่ึงเปนเพราะความหนาแนนของประชาชนในทวีปยุโรปและเอเชียขณะเดยี วกันเมืองใหญต างๆ ก็ต้ังอยไู มห างไกลกันมากประกอบกับไดม ีการพยายามปรบั ปรุงธรุ กิจรถไฟของประเทศตา งๆ ใหรวดเร็วและสะดวกมากข้ึน โดยสรา งเสน ทางเช่ือมเมืองสําคัญในยุโรปไดอ ยางท่ัวถงึภาพที่ 5 เสนทางรถไฟในยุโรป 65

ธรุ กิจในอุตสาหกรรมทองเทีย่ ว รถไฟในยุโรปไดรับการพัฒนาเปนอยางมากโดยเฉพาะดา นความเร็ว รถไฟความเร็วสูงท่ีควรรูจัก ไดแก รถไฟทีจีวี (TGV) ของการรถไฟฝรง่ั เศส (SNCF) รถไฟเลอชทั เทิล (Le Shuttle) ของการรถไฟองั กฤษ (British Rail) รถไฟเอก็ ซ 2000 เมโทรไลเนอร(X2000 Metroliner) ของการรถไฟสวีเดน รถไฟทกี่ ลาวถงึ น้ีมีความเร็วอยางนอย 200 ไมล ตอชว่ั โมง สําหรับรถไฟในเอเชียทมี่ ีความเร็วสงู ไดแ ก รถไฟของญ่ปี ุน และของเกาหลี ภาพท่ี 6 ภาพรถไฟที่มคี วามเรว็ สูง (TGV) กจิ การรถไฟในยุโรปไดขยายการบรกิ ารแกผูโ ดยสารเพ่ือการทองเท่ียวโดยการจาํ หนายต๋ัวยเู รลแพส (Eurailpass) ที่ผโู ดยสารสามารถเดนิ ทางทองเที่ยวไปในประเทศตางๆในทวีปยุโรปได โดยไมจํากดั ระยะทาง แตจํากัดชวงเวลาตามท่ีกาํ หนด ผูโดยสารสามารถใชตวั๋ รถไฟนี้เดินทางได 16 ประเทศในทวีปยุโรป เชน ออสเตรเลยี เบลเยียม เดนมารก ฝรงั่ เศสเยอรมนี อติ าลี เนเธอแลนด นอรเ วย โปรตุเกส สเปน สวีเดน สวติ เซอรแลนด ฟนแลนดกรซี และไอรแลนด ตั๋วยเู รลแพสนับไดวา เปน เครื่องมอื ทางการตลาดท่ีสําคญั ของประชาคมยุโรป ที่ใชดึงดูดนักทอ งเท่ียวระหวางประเทศ เนื่องจากใหสิทธซิ ื้อเฉพาะนกั ทองเท่ียวท่ีไมใชคนยุโรปเทา น้ัน นอกเหนือจากรถไฟทใ่ี หบริการตามตารางประจาํ แลว ยังมีรถไฟขบวนพิเศษที่ดงึ ดูดนกั ทอ งเทยี่ ว เชน รถดวน สายตะวันออก (Eastern Orient Express) ท่ีเปน ขบวนรถดว นโดยสารท่ีหรูหราโออาทวี่ ิง่ บริการระหวา งกรงุ เทพ-สงิ คโปร ตโู ดยสารไดร บั การตกแตง เปนอยางดีและมพี นกั งานบริการท่ีไดร บั การฝก อบรมมาเปนอยางดี หรอื รถไฟบลูเทรน (Blue Train) ทมี่ ีชอ่ื เสียงในบรรยากาศ ชวนฝน และลึกลับ ท่วี ่ิงบรกิ ารระหวา งเมืองเคปทาวน (Cape Town)และโจฮันเนสเบอรก (Johannesburg) ในประเทศอัฟริกาใต รถไฟคอปเปอรแคนยอน (CopperCanyon) ในประเทศเม็กซิโกและรถไฟพาเล๙ออนวีลส (Palace on Wheels) ของประเทศอนิ เดยีเปนตน 66

ธุรกิจในอตุ สาหกรรมทอ งเที่ยว 2. การเดินทางทองเที่ยวทางถนนโดยรถยนตสวนบุคคล รถเชาและรถตเู พอ่ื นนั ทนาการ 1.2.1 รถยนตส ว นบุคคล (private automobiles) ความกาวหนาของระบบการสรางถนนทําใหนักเดินทางหันมาสนใจการเดินทางทองเท่ียวดว ยรถยนตสวนบุคคลและรถโดยสาร (motor coaches) มากข้ึน การเดนิ ทางทองเทย่ี วทางถนนโดยรถยนตนับวา มีบทบาทสําคัญมากตอการทองเท่ียวในปจจุบัน โดยเฉพาะอยา งย่ิงในประเทศท่ีพัฒนาแลว ท่ีประมาณรอยละ 80 ของนักทองเทีย่ วทง้ั หมดนิยมเดนิ ทางโดยรถยนต เหตุผลสาํ คัญทที่ ําใหก ารเดินทางโดยรถยนตไ ดรับความนิยมมาก คือรถยนตเปน พาหนะทม่ี ีอิสระในการเดนิ ทางมากกวาพาหนะอ่ืนๆ ประหยัดคาใชจายมากกวา โดยเฉพาะเมื่อเดินทางมากกวา 1 คน สามารถขนสัมภาระไดม าก และมีการพฒั นาโครงขายถนนเชอื่ มติดตอกันในระหวางเมอื งและทองถ่นิ ตางๆไดม าก บริษทั เดมเลอร-เบนซ (Daimler-Benz) ในประเทศเยอรมันนไี ดส รางรถยนตค นั แรกข้นึ ในป ค.ศ. 1885 (พ.ศ. 2428) แตอ ุตสาหกรรมการผลิตรถยนตแหงแรกไดเกิดขึ้นทสี่ หรัฐอเมริกา โดยบริษัทฟอรด มอเตอร จาํ กดั (Ford Motors) ในระหวางป ค.ศ.1908 – 1923 ตอมารถยนตไ ดรับความนยิ มอยางกวา งขวาง และขยายไปทว่ั โลกอยา งรวดเร็วจนกระท่ังปจจุบัน เชนเดียวกับการกอสรางถนนสายตางๆ เพ่ือเชื่อมโยงเมืองตางๆ ในสหรัฐอเมริกา รวมทง้ั ประเทศตางๆ ในทวปี ยุโรป และทวปี เอเชยี จึงอาจกลาวไดว า ถนนหลวงและรถยนตเจริญเตบิ โตและพฒั นาควบคูก ันมาโดยตลอด นอกจากนถี้ นนหลวงยังมีสวนชวยใหเกดิ ธรุ กจิ ใหมต ามแนวถนน เชน โมเต็ล ภตั ตาคาร และแหลง ทอ งเทยี่ วใหมด วย 1.2.2 รถเชา (rental cars) การเดินทางทอ งเที่ยวทางถนนนอกจากจะเกี่ยวขอ งกับรถยนตสวนบุคคลแลวยังครอบคลมุ ถงึ การเดินทางทองเทยี่ วโดยรถเชาและรถตูเพือ่ นันทนาการ (recreation vehicles) ธรุ กิจรถเชาท่ีเกิดขึ้นเพื่อใหบ ริการแกนกั ทองเท่ียวที่ชอบเดินทางโดยรถยนต และนกั ธุรกิจ ทเ่ี ดินทางไปเจรจาธรุ กจิ ในประเทศองั กฤษรอ ยละ 30-40 ของรถเชานําไปใชเพ่ือการทองเท่ียวและการพักผอน ท่ีเหลือเปนการเชารถเดินทางเพ่ือธุรกิจ ในสหรัฐอเมริกานักธรุ กิจเชารถประมาณรอยละ 75 และคาดวา ตลาดรถเชาสําหรบั นักทองเที่ยวจะขยายข้ึนอีก ธุรกิจรถเชาเจริญเติบโตมากโดยเฉพาะอยางย่ิงในทวีปอเมริกาและยุโรปโดยเปนธรุ กจิ รถเชาขนาดใหญ เพียงไมก่ีบรษิ ัท ธุรกจิ รถเชาในปจจุบนั อาจแบง ไดเ ปน 2 ประเภทใหญๆคือ 67

ธรุ กิจในอุตสาหกรรมทองเท่ยี ว 1) บริษัทรถเชาระหวางประเทศขนาดใหญ ซ่ึงสวนใหญเปนบริษัทอเมริกัน เชน บริษทั เฮริ ทซ (Hertz) เอวิส (Avis) บัดจท (Budget) เนชั่นแนล (National)และบริษัทอังกฤษ เชน ยูโรดอลลาร (Eurodollar) ยุโรปคาร อินเตอรเรนท (EuropcarInterrent) เปน ตน บริษัทรถเชา ในสหรฐั อเมริกาสวนใหญถือหุนโดยผูผลติ รถยนต เชน รถยนตฟอรด ถือหุนรอยละ 49 ของบริษัทรถเชาเฮิรทซ บริษัทเจเนอรัล มอเตอรส (GeneralMotors) ถอื หุนในบรษิ ทั รถเชา เอวิสและเนชน่ั แนล เปน ตน วธิ ีการ เงือ่ นไข และราคาเชา รถของบริษัทขนาดใหญม คี วามคลายคลึงกัน เชน ผูเชา รถรับผดิ ชอบในการเติมน้ํามันเองและขบั รถเอง ซง่ึ ผูรับตอ งมอี ายมุ ากกวา 25 ปแตละบริษทั มีรถเชาใหเ ลอื กหลากหลายย่ีหอและขนาด ที่ตงั้ ของบริษัทที่มกั อยใู นเมอื งใหญๆและสนามบิน มีความยืดหยนุ ของการบริการมาก เชน ผูเชาสามารถรับรถเชาจากจุดหนึ่งและไปคนื ไดที่จดุ อน่ื หรือบรษิ ัทรถเชาจะนํารถไปสงใหลกู คาโดยตรง เพราะไมตอ งการเสียคาเชาสถานทที่ ่ีสนามบินท่ีราคาแพง การใหบ ริการที่เนนการอํานวยความสะดวกแกผูเ ชา รถเชาดึงดูดนักธุรกจิ ไดมาก เพราะนักธุรกิจไมส นใจราคาเน่ืองจากบริษทั เปนผูจายคาเชามักจะแตสนใจในความสะดวก รวดเรว็ ความเชอื่ ถือได และความหรูหราของรถเชา มากกวา 2) บริษทั รถเชาขนาดเลก็ อิสระ ท่ีเจาของมักเปน คนทองถ่ิน บรษิ ัทรถเชาขนาดเล็กที่มีจํานวนมากในประเทศตางๆ จะใหบริการรถเชาท่ีมีใหเลือกนอยกวารถเชาประเภทอ่ืน แตราคาถูกกวา และใหความสะดวกในการรับรถซึ่งเหมาะสําหรับนักทองเที่ยวธุรกิจของบรษิ ัทเล็กจึงมกั มียอดขายทเ่ี ปนไปตามฤดูกาลทอ งเท่ยี ว ธุรกิจรถเชาปจจุบันมีการแขงขันสูง บริษัทตางๆ จึงตองพยายามใหบรกิ ารท่ีแตกตาง และตอบสนองความตองการของลูกคามากขึ้น เพอื่ ความอยูรอด เชนเพิ่มอุปกรณในรถยนต การใหบริการสงและรับรถ และสามารถสงคนื รถไดท ุกเวลา เปนตนนอกจากนธ้ี รุ กิจรถเชายังสรางความสมั พนั ธใ กลชิดกับสนามบิน สถานรี ถไฟ โรงแรม บรษิ ทั ทัวรเพ่ือเพ่ิมโอกาสในการขายบริการรวมทั้งการพัฒนาระบบการของรถยนตโดยคอมพิวเตอร(Computer reservation System) 1.2.3 รถตเู พอ่ื นนั ทนาการ (recreational vehicles) ในปจ จบุ นั รถตูเพอื่ นันทนาการนับเปน พาหนะสาํ คัญอีกประเภทหนงึ่ ทนี่ กั ทองเท่ยี วนยิ มใชเ ดนิ ทาง โดยเฉพาะในทวีปอเมรกิ าและยโุ รป เนือ่ งจากตวั รถไดรับการออกแบบใหมลี กั ษณะเหมือนบา นเคลอื่ นที่ จงึ ทาํใหประหยดั คา ใชจา ยในระหวางการเดินทางทอ งเทีย่ วเพราะสามารถเตรียมอาหารรบั ประทานเองและพักคางคนื ไดในรถ และยังทาํ ใหเกิดความรูสกึ พกั ผอ นหรอื ผอ นคลายจากชีวิตประจําวันท่ีอาจรูสกึ จาํ เจในบางคร้งั 68

ธรุ กิจในอุตสาหกรรมทอ งเที่ยว การเตบิ โตของการเดินทางทอ งเทย่ี วโดยรถตูเพ่ือนันทนาการทําใหจ ําเปนตองมีสถานที่จอดรถ (campgrounds) ตามแหลงทองเทีย่ วตา งๆ มากข้ึน เพือ่ ใหน กั ทองเท่ียวเชาพน้ื ที่จอดรถโดยมีจุดตอ นา้ํ และตอ ไป รวมทง้ั บริการอํานวยความสะดวกอ่ืนๆ เชน รานขายของชําสนามเดก็ เลน นอกจากนี้ในปจจุบันยงั มีธุรกิจใหเชารถตูเพื่อนันทนาการ เพ่ือทองเที่ยวในเสน ทางประวตั ิศาสตร วฒั นธรรมหรือธรรมชาติในประเทศอืน่ เพิ่มขน้ึ ดว ย ซ่งึ มกั ใหบ รกิ ารในฤดูทองเทยี่ ว เชนเดียวกับสถานทพ่ี กั กลางแจงที่มักปดในชวงฤดูหนาว 3. รถโดยสารเพอื่ การเดนิ ทางทอ งเที่ยว (bus/coach/motorcoach)รถโดยสารมปี ระวตั ิความเปน มายาวนาน ตง้ั แตส มยั รถมา โดยสาร และปรบั ปรุงจนเปนรถโดยสารที่ใชเครื่องยนตห ลังจากไดมีการคิดคนประดิษฐเคร่ืองยนตข้ึนใช ในปจจุบันรถโดยสรรเปนพาหนะหลักในการเดนิ ทางไกลทางบกซึง่ สามารถเดินทางไปในทอ งที่ท่ีรถไฟไปไมถงึ และเปนพาหนะท่ีมีราคาถูกที่สดุ เมื่อเปรียบเทยี บกับการเดนิ ทางรถยนตแ ละรถไฟในระยะทางที่เทากันแตม ีขอจาํ กดั ในเร่อื งของความเรว็ ยกเวนรถโดยสารในยโุ รป ไดท ่ีเดนิ ทางไดเ ร็วกวาและมีราคาแพงกวารถไฟ เชน รถโดยสารของประเทศโปรตเุ กส กรซี สเปน และตรุ กี เปนตน รถโดยสารสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภทคือ 1.3.1 รถโดยสารประจําทาง (schedule) คือใหบรกิ ารจากจุดหนง่ึไปอีกจดุ หนึง่ ตามตารางเดนิ รถท่ีแนน อน 1.3.2 รถโดยสารไมประจําทางหรอื เชาเหมาะ (charter) เพ่ือการทอ งเทีย่ ว การเดินทางโดยรถโดยสารประจําทางไดลดปริมาณลงกวาในอดีต แตร ถโดยสารไมประจําทางกลับเจริญเติบโตมากข้ึน บริษัทนําเท่ียวหรือบริษัททัวรท่ีจัดทัวรแบบเบ็ดเสร็จ(Package tour) นิยมเชาเหมารถโดยสารเพือ่ พานักทอ งเท่ียวเดินทางเพราะความสะดวกสบายและประหยัดตนทุนคา ใชจาย นอกจากน้ีการเดินทางทองเท่ียวโดยรถโดยสารไมประจําทางมีโอกาสเติบโตในตลาดผูสูงอายุ โดยบริษัทจัดนําเท่ียวในปจจุบันนิยมจัดโปรแกรมทัวรเพ่ือตอบสนองตลาดผสู งู อายุ เชน ทัวรเพือ่ สขุ ภาพ ทวั รอาบน้ําแร ทัวรบ ันเทิง ทวั รกีฬา เปน ตน บริษัทผูผลิตรถโดยสารไดมีการปรับปรงุ ระบบความสะดวกสบายแกผ ูโดยสารเชน เพ่มิ ความกวางและความสะดวกสบายของเกาอ้ี ปรบั ปรุงหนา ตางใหม องเห็นวิวท่ชี ัดเจนข้ึนเพิ่มบริการเสียงดนตรีและวิดีโอใหเหมือนกับบริการบนเครื่องบิน บริการอุนอาหารโดยเตาไมโครเวฟ รวมทัง้ ขยายความยาวของตัวรถโดยสาร นอกจาน้ี รถโดยสารประจาํ ทางพยามแขง ขันกบั รถไฟโดยการจําหนา ยบัตรโดยสารไมกําหนดระยะทาง ซ่งึ สามารถเดินทางไดในระยะเวลา 2เดือน และมีการจดั ทําตารางการเดินทางในเมอื งที่มคี วามสําคญั ดานการทองเที่ยว เชน ปารีสอัมสเตอรด ัม โคโลญน ปราก มวิ นคิ เวนิช โรม และมิลาน เปน ตน 69

ธรุ กิจในอุตสาหกรรมทองเท่ียว 2.2 ธรุ กจิ ขนสง ทางน้ํา (Water transportation) ประวัติศาสตรไดแสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา เรือถูกใชเปนพาหนะเพ่ือการเดินทางสํารวจดินแดนและเพื่อการคาขายมานานกวาพันป นอกจากนี้เรือยังถูกใชเปนพาหนะคมนาคมขนสงระหวางเมืองทาตา งๆ ในป ค.ศ. 1838 (พ.ศ. 2381) แซมมวล คิวนารด(Samuel Cunard) เจาของบรษิ ัทเดนิ เรือไดรเิ รม่ิ เสนทางเดนิ เรอื กลไฟประจําทางขามมหาสมุทรแอตแลนติก ระหวางเมอื งลิเวอรพลู (Liverpool) กบั เมืองฮาลิแฟกซ (Halifax) ตอมามบี ริษัทเดินเรืออ่นื ๆ เกดิ ข้นึ เพื่อบริการเดินเรือขามมหาสมุทรมากมายหลายรูปแบบ เชน บริษทั พีแอนดโอ (Peninsular and Orient Company หรือ P^O) ซ่ึงมีชือ่ เสียงมานานจนถงึ ปจจุบันบริษัทแคนาเดยี นแปซิฟก (Canadian Pacific) และบริษทั ฮอลแลนด อเมริกัน (HollandAmerican) เปนตน การปรับปรงุ การเดนิ เรือทะเล พรอมเพิ่มสิ่งอาํ นวยความสะดวกตา งๆ ที่ดีขึ้นในชวงปลาย ค.ศ. 1950 (พ.ศ. 2493) ทําใหเกดิ แนวคดิ ของการดําเนินธุรกิจในรูปเรือสาํ ราญ (cruise ship) ซ่ึงเปนการทอ งเที่ยวแบบครบวงจร โดยเนน การพักผอ น และการบนั เทิงบนเรือ โดยในยุคแรกเริ่มตนเปนการนาํ เรอื เกามาปรับปรุงทําให การดําเนินการประสบปญ หาอปุ สรรคเนื่องจากเรือมขี นาดใหญแ ละมีสภาพเกาเกนิ ไปทําใหเสียคา ใชจายในการดาํ เนนิ การสูงนอกจากน้ีขนาดที่ใหญเกินไปทําใหไ มส ามารถเขา จอดไดใ นหลายเมอื งทา และเปนเรือที่สรา งขึ้นมาเพ่ือใหมีความเร็วเกนิ กวาท่ีจะลองเพื่อความสาํ ราญ ดังน้ันเรอื สําราญควรมีการออกแบบเพ่ือวัตถุประสงคโดยตรงจงึ จะมีประสิทธภิ าพ ความกาวหนาของเทคโนโลยีขนสงทางอากาศและคาใชจายที่สูงข้ึนทําใหการทองเทยี่ วโดยเรือเดนิ ทะเลขา มมหาสมุทรลดนอ ยลง แตธุรกิจเรอื สําราญเติบโตขึ้น ซง่ึ ความสําเร็จดงั กลาวอาจเปนผลมาจากการรวมมือกันระหวางบริษทั ขนสง ทางเรือกบั บริษัทการบิน โดยเกิดการเดินทางทอ งเท่ยี วแนวใหมคือ “บินไปลอ งเรอื ” (Fly - cruise package) การเดินทางทอ งเที่ยวทางน้ําแบง ออกเปน หลายประเภทดังนี้ 1. เรือเดนิ ทะเล (Ocean-liners) เปนเรอื คมนาคมขนสงจากเมอื งทาหน่ึงไปอีกเมืองหน่ึง ปจจุบนั ความนิยมในการคมนาคมขนสง โดยเรอื แบบนีล้ ดลงไปมาก ทําใหมีการบริหารเฉพาะเพยี งเมอื งทา ที่สาํ คญั และทกั เปนฤดกู าล สาเหตุเปนเพราะการขนสง ทางอากาศโดยเคร่ืองบินถูกกวาเรือเดินทะเล เรือเดินทะเลท่ียงั คงใหบริการในปจจุบัน เชน เรือควีนอลิซาเบธที่ 2 (Queen Eliazbegth 2) ของบรษิ ทั คิวนารดไลน(Cunard Line) ท่ใี หบ ริการระหวางเมืองเซาทแทมตัน (Southampton) ในอังกฤษกับนิวยอรค ในสหรัฐอเมริการะหวางเดือนพฤษภาคมถงึ เดอื นพฤศจกิ ายน 70

ธรุ กิจในอตุ สาหกรรมทอ งเทย่ี ว 2. เรือสําราญ (cruise ships/liners) ในยคุ แรกระหวางป ค.ศ.1960-1970 เรือสาํ ราญมีขนาดระวางระหวา ง 18,000 – 22,000 ตัน ทาํ การขนสง ผูเดินทางประมาณ 650 – 850 คน เทคโนโลยีทางทะเลชวยใหสามารถสรา งเรอื สําราญใหใหญข นึ้ กวา เดิมไดห ากมีความตอ งการ ในปจจบุ ันเรือสําราญจึงมีใหญถึง 70,000 ตัน และคมนาคมขนสงกวา5,000 คน สว นเรือสําราญขนาดเล็กมีระวางตั้งแต 5,000 ถึง 10,000 ตัน และทําการขนสง ผูเดนิ ทางไดประมาณ 100 คน เรือสําราญคลายกบั โรงแรมลอยน้ํา คอื มีสิ่งอํานวยความสะดวกครบถวน และมีบริการท่ีประทับใจ ไดแ ก หองพกั หลายประเภทตงั้ แตหองพกั ธรรมดาจนถึงหรหู รามหี องประชุมและหองจดั เลี้ยง จัดอาหารทุกม้ือและมีหลากหลายชนิด มีการบันเทิง เชน ดนตรี การแสดงกิจกรรม เชน เกมสต างๆ การสาธิต การฝก อบรม การฝกหดั และกฬี าประเภทตา งๆ ดว ย ภาพท่ี 7 เรอื สาํ ราญ เสนทางหลกั ในการเดนิ เรอื สาํ คญั ทว่ั โลก ไดแก - หมูเกาะคาริเบียน เบอมิวดา บาฮามา รวมทั้งชายฝงทะเลของอเมริกากลางและอเมรกิ าใต - ฝงตะวันตกของอเมรกิ าเหนือ รวมทั้งสหรัฐอเมริกา เมก็ ซโิ ก และแคนาดา - ทะเลเมดเิ ตอรเรเนยี น จากชายฝงตะวันตกไปตะวันออก - หมูเกาะแปซิฟก และตะวนั ออกไกล - ทะเลบอลติก นอรท เคป และเมอื งสําคญั ทางเหนอื ของโลก - อัฟรกิ าตะวนั ตก และหมเู กาะแอตแลนตกิ - รอบโลก 71

ภาพที่ 8 เสน ทางเดินเรือสําราญ 3. เรือขามฟาก (ferry) เปนเรือสําหรับการเดินทางระยะส้ันซึ่งสามารถบรรทุกท้ังผูโ ดยสาร รถยนต รถโดยสาร หรือบางคร้ังรถไฟ เรือขา มฟากมีบริการทง้ั ในนา้ํ จืดและนา้ํ เค็ม นกั ทองเที่ยวนิยมฝง เรอื ขา มฟาก เพราะสามารถนัง่ เรือชมววิ เมอื งได 4. เรือใบและเรอื ยอรช (Sail cruise and yacht) ในอดีตจะมีเพียงผูท่มี ีฐานะทางเศรษฐกจิ ท่รี ่ํารวยเทานั้นที่สามารถซื้อเรือยอรชหรอื เรอื ใบไวทองเท่ียว ปจจุบันผูที่มรี ายไดพ อสมควรสามารถเชา เหมาลําเรอื ยออรช หรอื เรือใบทองเที่ยวได เรือใบหรอื เรือยอรช จะเปนเรือขนาดเล็กถึงขนาดกลางท่ีเคลื่อนที่โดยดมปะทะกับใบเรือ และสามารถแลนโดยเครือ่ งยนตไดหากตอ งการ 5. เรือบรรทุกสนิ คา (cargo liners) นักทอ งเท่ียวบางกลุม ชอบท่จี ะเดินทางทองเท่ียวไปกับเรือบรรทุกสินคาที่ไมเรงรีบ และแวะจอดเรือตามทาตางๆ ท่ัวโลกโดยทวั่ ไปเรือบรรทกุ สินคาสามารถรบั ผูโดยสารไดประมาณ 12 คน โดยมีหอ งพักท่สี ะดวกสบายแตราคาถูกกวาหองพักเรือสําราญ เหตุผลที่เรือสินคารับผูโดยสารไปดวยเพราะเปนการเพ่ิมรายได และมีผรู ว มเดนิ ทางชวยทําใหเ พลดิ เพลินไดใ นขณะเดยี วกนั 6. เรอื ลอ งแมนาํ้ (river cruises) จัดบริการหองพัก รา นอาหารและบันเทิงสาํ หรับนกั ทอ งเท่ียวเพ่ือทองเที่ยวตามแมนํ้าลําคลองในประเทศตา งๆ 72

ธุรกจิ ในอุตสาหกรรมทอ งเท่ยี ว 2.3 ธุรกจิ ขนสงทางอากาศ (Air Transportation) สงครามโลกคร้งั ท่ี 2 กอใหเ กดิ ผลดใี นระยะยาวตอการเตบิ โตของธุรกิจการบนิพาณิชย เชน เทคโนโลยกี ารบินดานความเร็ว ประสิทธิภาพของเช้ือเพลิงท่ีคิดคนข้ึนในชวงสงคราม การพัฒนาลาํ ตัวเครอื่ งบินใหกวา งขวางขนึ้ ความรเู ร่ืองอากาศและการปรบั ปรุงแผนที่ทางอากาศ การฝกฝนนักบินโดยใชเคร่ืองบินทเ่ี หลอื ใชจากสงครามจาํ นวนมาก ตลอดจนการพัฒนาเครือ่ งบินไอพน (jet aircraft) ซึ่งสามารถนํามาประยุกตใชใ นการขนสง ผูโ ดยสารทางอากาศไดเ ปนอยา งดี ความเจริญเติบโตของธุรกิจการบินพาณิชยเกิดขึ้นในชวงทศวรรษท่ี 1950บริษัทเคร่ืองบินของสหรัฐอเมริกาไดแนะนําเคร่ืองบินโบอ้ิง 707 (B-707) ในฐานะเปนเครอื่ งบนิ โดยสารไอพนรุน แรก โดยบินขามมหาสมุทรแอตแลนติกเปนประจาํ ตอมาเมอื่ การบินมคี วามสะดวกสบาย ปลอดภยั รวดเร็วรวมทั้งราคาถูกกวาการเดินทางโดยพาหนะอ่นื ธุรกิจการบนิ ขนาดใหญไ ดข ยายตลาดการเดินทาง ทอ งเที่ยวทางอากาศกวางขวางข้ึน ทําใหก ารยุของการเดนิ ทางทอ งเทีย่ วทางอากาศขนาดใหญไดเ ร่มิ ขึ้น อตุ สาหกรรมการบินพาณิชยไดก า วหนาอีกครั้งในชวงทศวรรษท่ี 1970 เมื่อมีการผลิตเคร่อื งบินขนาดใหญรนุ ลาํ ตวั กวา ง เชน บรษิ ัทตักลาส (Douglas) ผลติ เครือ่ งบิน DC-10 บริษทั โบอิง้ (Boeing) ผลติ เคร่อื งบิน Boeing 747 และ Lock Heed Tristar 1011 โดยเนนความสะดวกสบายของผโู ดยสาร แตปจจยั ท่กี อใหเ กิดความสําเรจ็ ของเคร่อื งบินเหลาน้ี คือการเดนิ ทางระยะไกลท่ปี ระหยัดขน้ึ อยางไรกด็ วี กิ ฤตการณนํ้ามันทาํ ใหเครอ่ื งบินรุนใหมพยายามปรับปรงุ ประสิทธิภาพของเช้อื เพลิง โดยปรบั ปรุงเคร่ืองยนตแ ละลดนํ้าหนักของเครื่องบนิ เชนเครื่องบินแบบอิ้ง 757 หรือการพยายามสรางเครื่องบินท่ีเงียบเสียงกวาเดิม รวมท้ังความพยายามลดคาใชจา ยจากสภาพการแขงขันท่ีมีสายการบินจาํ นวนมากเชนในปจ จุบัน เครอ่ื งบินท่ีไดร ับความนิยมในปจจุบัน ไดแก เคร่ืองบินโบอ้ิง เครื่องบินแอรบัส และเครื่องบินดีซี 10เน่ืองจากสามารถบรรทุกผูโดยสารไดจํานวนมาก แตกินน้ํามันนอย นอกจากน้ีบริษัทผลิตเคร่ืองบินยงั ไดรวมกันพัฒนาเครื่องบินรุนใหมที่มีความเร็วกวาเสียง และประหยัดพลังงานเรียกวา เครอ่ื งบินคองคอรด (Concorde) ซึง่ ไดร บั ความนิยมมากในหมูนักธุรกจิ ทต่ี องการความรวดเรว็ อยางไรก็ดี เครอื่ งบินคองคอรด ยงั มีจดุ ออ นหลายประการ ไดแ ก จาํ นวนทน่ี ่งั นอย มีราคาแพง สามารถลงจอดไดเฉพาะสนามบินทม่ี ีทางวิง่ (runway) ยาว และมเี สียงดังควรลงจอดเฉพาะสนามบนิ ที่อยูตดิ ทะเล สายการบินที่ใชเคร่ืองบินคองคอรดในปจจบุ ัน เชน สายการบินBritish Airways ท่ีเท่ียวบนิ ระหวา งเมืองลอนดนิ กบั นิวยอรค และสายการบนิ Air France มี 73

ธรุ กจิ ในอุตสาหกรรมทองเทย่ี วเท่ียวบินระหวางปารีสกับนิวยอรค ปจจุบันบริษัทแอรบัส และบริษัทโบอ้ิงตางก็ไดพัฒนาเครือ่ งบนิ ขนาดใหญข ึ้น คอื เครือ่ งบนิ A3XX และเครอื่ งบิน B7X7 ขึ้นสามารถบรรจผุ ูโ ดยสารไดไมนอยกวา 500 คน และบินไดร ะยะทางยาวกวาเดมิ โดยไมแวะพัก และยังจัดใหม ีส่ิงอํานวยความสะดวกตา งๆ เชน หอ งออกกําลังกาย และเคานเ ตอรบ าร เปนตน การทอ งเที่ยวทางอากาศ แบง ออกเปน 3 ประเภทใหญ คอื 3.1 การบินลักษณะเที่ยวบินประจํา (scheduled air service) เปน การบินระหวางเมอื งตอเมอื งโดยมีตารางบนิ ท่แี นนอน การบนิ ประเภทนี้แบง ออกเปน 2 ประเภทยอยคือ 3.1.1 เทีย่ วบนิ ประจําภายในประเทศ (domestic fligth) 3.1.2 เทย่ี วบินประจาํ ระหวา งประเทศ (international flight) 3.2 การบินลักษณะเทีย่ วบนิ ไมป ระจํา (mon-scheduled air service) เปนการบินทจ่ี ัดเสริมขึน้ เสรมิ ในตารางเท่ียวบนิ และสามารถแวะรบั สงผูโ ดยสารทว่ั ไปโดยไมตองเปนกลมุ เดมิ ได จึงไดร ับความนยิ มมากในชวงฤดูกาลทองเที่ยว 3.3 การบนิ ลกั ษณะเท่ยี วบนิ เชา เหมาลาํ (charter air service) เปน การบินที่ใหบรกิ ารแกก ลมุ สมาชกิ สมาคมหรือองคก าร หรือกลุม นกั ทองเทยี่ วรับสงผโู ดยสารเฉพาะท่ีเปนกลุมเดิมไดเทา นัน้ ราคาคาโดยสารถูกกวาเทยี่ วบินของสายการบนิ ปกติ ทาํ ใหเ ปน ท่นี ิยมมากในหมนู กั ทอ งเทีย่ ว เปนผลใหธ ุรกจิ การบนิ แบบเชา เหมาลําเตบิ โตขึ้นอยางรวดเร็ว ประกอบกับการดําเนนิ งานของการบินแบบเชาเหมาลํายืดหยุนกวา การบินแบบปกติ คอื สามารถเปล่ยี นกําหนดการเดินทางหรอื แมแตย กเลิกเทย่ี วบนิ ก็ได หากมผี ูโดยสารไมเต็มลํา บรษิ ัทนาํ เทยี่ วทีจ่ ดัโปรแกรมนาํ เที่ยวแบบเหมารวมนิยมใชบ ริการเชาเหมาลําเพราะราคาถกู กวา แตค ณุ ภาพการใหบ ริการในเครื่องบินมักจะต่าํ กวาเที่ยวบนิ ปกติ ทน่ี ง่ั และพ้ืนทใี่ ชสอยในเคร่อื งบนิ มกั จะแคบหรือนอยกวาเครือ่ งบนิ ทีม่ ีเทย่ี วบินประจํา 74

ธรุ กิจในอตุ สาหกรรมทอ งเทยี่ ว4.4 ธรุ กิจนาํ เทย่ี ว นกั ทองเทย่ี วท่เี ดนิ ทางไปทองเทีย่ วยงั ตางประเทศ ตา งถิน่ หรือตา งเมอื งทอ่ี ยหู า งไกลอาจรูสึกกังวลใจ หรอื ประสบปญ หาในการทองเที่ยว เน่ืองจากความแตกตางของวัฒนธรรมและภาษาของแตละประเทศ หรอื แตละทอ งถ่ิน ธุรกจิ นําเทย่ี วจงึ เกดิ ข้ึนเพ่ือชวยอํานวยความสะดวกในการวางแผนหรอื จัดการทอ งเท่ยี วไปยังแหลงทอ งเทยี่ วท่นี า สนใจ 1. ความเปน มาของธุรกจิ นําเทีย่ ว 1.1 จุดเริ่มตน ของธรุ กิจนําเที่ยวในยุโรป ในป ค.ศ. 1841 (พ.ศ. 2384)โทมัส คกุ (Thomas Cook) ชาวอังกฤษไดเปนผรู ิเริ่มแนวคิดเกย่ี วกบั การจดั การเดินทางเปนกลุม (group tour) ขน้ึ เปนครัง้ แรก โดยการเชา เหมาขบวนรถไฟไอนา้ํ สําหรับผเู ดินทางกวา500 คน ไป-กลับระหวางเมืองเลสเตอรและลัฟโบโร เปนระยะทาง 22 ไมลเพื่อเขารวมประชุมโดยไดรับเงนิ คานายหนารอยละ 5 ของรายไดจากการรถไฟ ผลจากการจดั การเดินทางคร้ังแรก คกุ ไดกลายเปนผจู ดั นําเทย่ี วหรือทัศนาจรแบบขายปลกี และตอมาไดข ยายกิจการโดยเปน ตัวแทนจําหนา ยบริการนาํ เท่ยี วอกี ดวย ในป ค.ศ. 1846 คุกจดั นําเทีย่ วสกอตแลนดโดยเรือและรถไฟ โดยมมี ัคคเุ ทศกเ ปน ผูนําทาง และมีการออกคปู องเพื่อใหนกั ทองเทีย่ วใชแ ทนเงนิ สดในการเขา พักแรมในโรงแรม ธุรกิจของคุกไดขยายตัวไปยังทวีปยุโรป โดยมีการจัดนาํ เที่ยว 4ประเทศในยโุ รป และจัดนาํ เที่ยวรอบโลก คุกประสบความสําเร็จในการประกอบธุรกิจนาํ เท่ียวเนอ่ื งจากการจดั บรกิ ารทอ งเที่ยวเนน ความเรยี บงายนาสะดวกสบายแกนกั ทอ งเที่ยวท่วั ๆ ไป โดยนอกจากจัดบรกิ ารนาํ เทีย่ วแกกลุมลกู คาที่มีฐานะดี แลว ยังใหบริการแกกลุม ผมู ีฐานะปานกลางดว ย คกุ ตระหนักวาหากคา ใชจายในการทองเทย่ี วถูกลง ประชาชนจะเดินทางทองเที่ยวมากขึ้นและการจัดนําเที่ยวโยเชา เหมารถไฟทัง้ ขบวนหรอื จองหอ งพักเปนกลุม (booking blocks) จะทาํใหคาใชจายทั้งหมดถูกลง นอกจากน้ี คุกยังเปนผูใหกําเนิดเช็คเดินทางดวย (Traveler’scheque) ธุรกิจของคุกยังคงดําเนินการอยูจนถึงปจจุบันดวยการสืบทอดการบริหารงานโดยบตุ รชาย 3 คน 1.2 จุดเริ่มตนของธุรกิจทองเที่ยวในสหรัฐอเมริกา การประกอบกิจการทองเที่ยวในสหรัฐอเมริกาเร่ิมขึ้นในทศวรรษที่ 1880 ประกอบการทองเทยี่ วท่ีเกาแกท ่ีสดุ คือวอรด ฟอสเตอร (Ward Foster) ซ่ึงเปดสํานักงานทองเที่ยวข้ึนในเมืองเซนต ออกัสทีน (St.Augustine) ในมลรัฐฟลอรดิ า ใ หบริการวางแผนทอ งเที่ยวและสํารองทพี่ ักและท่นี งั่ ในพาหนะเดินทางท่ัวโลก โดยใชพนักงานผูหญิงเปนสวนใหญ เนื่องจากฟอสเตอรคิดวาผูหญิงมีบคุ ลกิ ภาพท่ีเหมาะสมสําหรับงานบริการ 75

ธุรกิจในอตุ สาหกรรมทอ งเทยี่ ว ธรุ กจิ นําเที่ยวที่มชี ื่อเสียงแหงหน่งึ คอื อเมริกนั เอ็กเพรส (American Express)ใน ค.ศ. 1891 (พ.ศ. 2434) มีการริเร่มิ ใชเช็คเดนิ ทางของอเมริกันเอก็ เพรสเปน ครัง้ แรก และตอมาบริษทั ขยายกจิ การไปสูธุรกิจการเงนิ ดวย ดงั นัน้ นอกเหนือจากการใหบ ริการดานการทอ งเทย่ี ว เชน สาํ รองท่พี กั ท่นี ่งั การจัดโปรแกรมนาํ เท่ยี วแลว อเมริกันเอ็กเพรส ยงั ใหบริการขายเชค็ เดินทาง จดั ทํานติ ยสารแทรเวิลแอนดเ ลเซอร (Travel & Leisure) บรกิ ารบัตรเครดติและสอนภาษาตางประเทศ ความเจริญกาวหนาของธุรกจิ การบินมีสวนชวยใหธุรกิจทองเท่ียวเจริญเติบโตเปนอยางมาก โดยเฉพาะชวงหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 ที่ธุรกิจนําเที่ยวเพิ่มบทบาทในดา นการใหขอมูลการเดนิ ทาง ที่พกั พาหนะและอ่นื ๆ และพัฒนามาเปนการทองเที่ยวแบบเหมาจายอยางเชนทุกวันน้ี 2. ความหมาย ลกั ษณะ และประเภทของธุรกจิ นาํ เท่ยี ว 2.1 ธุรกิจนาํ เทย่ี ว (tour operater) หรอื อาจเรียกวา การจัดนําเท่ียว หมายถึงการประกอบธรุ กจิ เก่ียวกับการจัดหรอื การใหบ ริการ หรอื การอาํ นวยความสะดวกเก่ยี วกับการเดินทาง ท่ีพัก อาหารและเครื่องด่ืม ทัศนาจร หรือการใหบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวของแกนักทอ งเที่ยว ซึ่งธุรกิจนําเที่ยวอาจขายบริการแกนักทองเท่ียวโดยตรงได หรือขายผานตัวแทนธรุ กจิ ทองเทย่ี ว (travel agent) ก็ไดและอาจดาํ เนินการโดยการนําเอาบริการอาํ นวยความสะดวกดานยานพาหนะ ท่ีพัก อาหาร และทศั นาจรมารวมกันและขายในลักษณะเหมารวมทเี่ รียกทวั รเหมารวม (package tour) ก็ได การนําเท่ยี วแบบเหมารวมเปนการทองเที่ยวแบบประหยดั เนื่องจากนําเอาบริการอาํ นวยความสะดวกตางๆ มารวมกนั แทนที่จะแยกขายบริการ จึงทาํ ใหราคาโดยรวมถูกลงชวยใหสามารถเดินทางทองเท่ียวไดระยะทางไกลมากข้ึนและขยายเวลาทองเท่ียวไดมากขึ้นตลอดจนเกิดความมน่ั ใจและปลอดภยั ระหวางการเดนิ ทาง เพราะมผี คู อยชว ยเหลือแกไขปญหาที่อาจเกิดข้นึ และพบปะแลกเปลยี่ นความคิดเห็นกับผรู วมเดนิ ทาง การนําเท่ียวแบบเหมารวมสามารถจัดไดหลากหลายตามความตองการไมวา จะเปน เร่ืองของระยะเวลา จดุ ประสงคของการทอ งเที่ยวตลอดจนราคา อ า จ ก ล า ว ไ ด ว า ธุ ร กิ จ นํ า เ ท่ี ย ว ดํ า เ นิ น บ ท บ า ท ที่ แ ต ก ต า ง จ า ก ธุ ร กิ จ อื่ น ใ นอตุ สาหกรรมทองเทยี่ ว เนือ่ งจากการซ้อื บรกิ ารอืน่ ๆ มาประกอบกันเปนการนําเที่ยวแบบเหมารวม ทาํ ใหธรุ กจิ นาํ เท่ียวเปรียบเสมอื นเปนตวั กลางระหวางผผู ลติ (suppliers) หรอื คสู ัญญา เชนโรงแรม บริษทั เดนิ รถ ภตั ตาคาร กับลกู คา หรอื นกั ทองเทย่ี วดงั ภาพที่ 9 76

ธุรกจิ ในอุตสาหกรรมทองเทย่ี วกิจการขนสง ธรุ กิจนาํ เทีย่ ว นักทอ งเทยี่ วทพี่ ักแรม ตัวแทนธุรกจิ ทองเทยี่ วแหลง ทองเท่ยี วผูผลติ บริการอื่นๆภาพที่ 9 ตําแหนง ของธุรกิจนําเทีย่ วในระบบการทองเที่ยว 2.2 ลักษณะการดําเนินงานธุรกิจนําเที่ยว นับวามีความสลับซับซอนเนื่องจากผูประกอบการตองมีความรอบรูในปริมาณและคุณภาพของแหลงทองเที่ยวที่มีอยูรวมท้ังประเภทของกิจการพกั ผอนหรอื ธุรกจิ ทส่ี ามารถจัดใหได โดยผูประกอบการธรุ กิจนาํ เที่ยวบางแหงอาจเปนเจาของบริการดานอื่นๆ เอง เพ่ือความสะดวกในการดําเนินการ เชน เปนเจา ของโรงแรม รีสอรท ภัตตาคาร รถโดยสาร เปนตน ดานการเดนิ ทางดว ยเครือ่ งบินมักนิยมเชา เหมาลําเพอ่ื ประหยดั คาใชจา ย นอกจากนี้การวางแผนการจดั นําเท่ียวเปนกระบวนการที่ตองดําเนินงานลวงหนา นานกอนทลี่ ูกคาหรือนักทองเท่ียวจะตกลงซ้ือ ไมวาจะเปนการสํารองท่ีพักหรือพาหนะเดินทางท่ีจําเปนตอ งจองและวางเงินมัดจําลวงหนาอยางนอ ย 12-18 เดือน การจดั ทําแผนพับโฆษณาตองกระทาํ อยางนอ ย 6 เดอื น กอนการเดินทาง ธุรกิจนําเที่ยวนอกจากจะมลี ักษณะเปนการจัดนําเที่ยวแกผ ูสนใจทัว่ ไปแลว ยังมีลกั ษณะการดําเนินทส่ี ําคญั ๆ อีกหลายประการ ดังนี้ 2.2.1 การจัดนําเท่ียวเฉพาะกลุมตามความประสงค เชน สมาคมชมรม สโมสร สถาบันตา งๆ เปน ตน 2.2.2 ธุรกิจนําเที่ยวขายสง (travel/tour wholesaler) เน่ืองจากผูประกอบการนําเที่ยวจะซื้อบรกิ ารดานตางๆ จากผูผลิตเปน จํานวนมาก (bulk) เชน หอ งพักต๋ัวเขาชมการแสดง หรอื เชา เหมารถโดยสารโดยนํามารวมกบั บรกิ ารดา นอ่ืนๆ แลวแยกจําหนายเปน ชดุ ที่เล็กลง โดยผานตัวแทนธุรกจิ คา ปลีก 77

ธรุ กิจในอุตสาหกรรมทอ งเท่ียว ธรุ กิจนําเที่ยวขายสงตองมกี ารวางแผนและผลิตสินคาทองเทีย่ ว (tour product)ทปี่ ระกอบดวย 2 สวนหลักคอื สวนของการเดินทางไป-กลับจากจุดหมายปลายทาง เชน ตั๋วเครื่องบิน และสวนของบรกิ ารทเี่ กิดขึ้นท่ีจุดหมายปลายทางหรือแหลงทองเท่ียว เชน อาหารทศั นาจร ท่ีพกั แรม เปนตน การจัดนาํ เทย่ี วขายสง มลี กั ษณะดังน้ี 1) ผูประกอบการทดี่ ําเนนิ การผลติ สนิ คาทองเทีย่ วท่ีเปนการนําเทีย่ วแบบเหมารวม ดาํ เนนิ การสว นของการเดนิ ทางเอง ตลอดจนดูแลสว นบรกิ ารที่แหลงทองเท่ียวเองดว ย 2) ผูประกอบการผลิตสินคาทองเท่ียวท้ังสวนของการเดินทางไปกลับและบริการที่แหลง ทองเท่ียวรวมกันเปนการนําเที่ยวแบบเหมารวม แตจางเหมาใหธุรกิจนําเที่ยวทองถ่นิ ดูแลสวนบริการทแ่ี หลงทองเที่ยวให เชน ท่ีพกั แรมการรับสงระหวางสนามบิน อาหารทัศนาจร เปน ตน 3) ผูประกอบการใหบริการเฉพาะส่ิงอํานวยความสะดวกที่แหลงทองเที่ยวไดแก ธุรกิจทองเที่ยวขายสงสายการบินหรือตัวแทนธุรกิจทองเที่ยว เรียกวา ผูประกอบการนําเท่ียวภาคพื้นดนิ (ground operator) โดยดําเนินงานในลักษณะเดยี วกับบรษิ ัทรับเหมาชวงนําเท่ยี ว (land arrangements) หรือบรษิ ทั รับนําเทยี่ ว (receiving/inbound agents) 3. ประเภทของธุรกิจนาํ เท่ียว การจําแนกประเภทของธรุ กิจนําเทย่ี ว อาจกระทําไดหลายวิธี ดงั นี้ 3.1 การจําแนกประเภทของธุรกิจนําเท่ียวตามลักษณะของการจัดบริการนําเทยี่ ว ไดแ ก 3.1.1 ธุรกิจนําเท่ียวภายในประเทศ (domestic tour operator)หมายถึง การจัดทํานักทองเท่ียวที่มีภูมิลําเนาอยูในประเทศ เดินทางไปยังแหลงทองเที่ยวภายในประเทศนัน้ ๆ เชน การจัดนํานักทองเทย่ี วไทยเทยี่ วเมอื งไทย 3.1.2 ธรุ กจิ จดั นํานกั ทอ งเที่ยวท่เี ดนิ ทางมาจากตางประเทศไปยังแหลงทองเท่ียวในประเทศ (inbound tour operator) เชน ชาวองั กฤษหรือชาวเยอรมันเดินทางมาทองเท่ยี วประเทศไทย 3.1.3 ธรุ กิจจดั นํานักทองเท่ยี วภายในประเทศเดินทางไปทองเทีย่ วในตา งประเทศ (outbound tour operator) เชน คนไทยเดินทางไปเทยี่ วฮองกงหรอื สหรฐั อเมริกาเปนตน 78

ธุรกจิ ในอุตสาหกรรมทองเทย่ี ว 3.2 การจําแนกประเภทธุรกจิ นาํ เที่ยวตามลกั ษณะ และขอบเขตของการบริการ ไดแ ก 3.2.1 ธุรกิจนําเท่ียวท่ีเสนอบริการแบบเหมารวม (package tour)เปนธุรกิจจัดนําเท่ียวโดยรวมคาบริการตางๆ ในราคาแบบเบ็ดเสร็จ การนําเท่ียวมีกําหนดสถานท่ที อ งเทยี่ วและระยะเวลาที่แนน อนและมกั เดนิ ทางเปน กลมุ แบงออกเปน 2 แบบคอื 1) บริการเหมารวมที่มผี ูนาํ เที่ยว (escorted tour) การนําเท่ยี วแบบนี้จะมีผูดูแลหรอื ที่เรยี กวาหวั หนาทัวร (tour escort) คอยอาํ นวยความสะดวกตลอดระยะเวลาการเดินทาง 2) บรกิ ารเหมารวมทไี่ มมีผูนาํ เทยี่ ว (unescorted tour) เปน การนําเทีย่ วท่ใี หบริการดา นตางๆ ในราคาแบบเบ็ดเสร็จโดยไมมีหัวหนารวมเดนิ ทางอาํ นวยความสะดวกดวยแตจะมีผปู ระกอบการภาคพนื้ ดินมารับ โดยนักทองเท่ียวจะถือต๋วั (voucher) ท่ีมีรายละเอียดการใหบริการตางๆ ไปยน่ื ใหกบั ผใู หบรกิ าร เชน โรงแรม บริษัทนําเท่ียว สวนสนกุ เปนตน 3.2.2 ธรุ กจิ นําเที่ยวที่เสนอบริการเฉพาะกลุม (Group Inclusive Tour: GIT) เปน การจัดบริการตามความตอ งการหรอื ความสนใจของกลมุ ทมี่ ักจะเปนสมาชิกของสโมสร สมาคม หรือองคการธุรกิจ ไดแก การนําเที่ยวชมดานศิลปวัฒนธรรม เชน วัดปราสาทราชวงั หรือดานธรรมชาติ เชน ดูนก เดินปา ไตเขา หรือดานกีฬา เชน กอลฟ ดําน้าํดปู ะการัง สมาชิกองคการตางๆ นิยมเดินทางเปนกลุม เชน 15 คนขึ้นไป เพราะประหยัดคาใชจา ย โดยเฉพาะในเรอ่ื งคาพาหนะ 3.2.3 ธุรกิจนําเที่ยวที่เสนอบริการอิสระ สําหรับนักทองเท่ียวตา งประเทศและในประเทศเฉพาะราย (Foreign Individual Tour : FIT and DomesticIndividual Tour : DIT) เปน การจดั นาํ เท่ียวตามความตองการของนักทองเทย่ี ว เชน การจัดท่พี กัแรม พาหนะ การรับ-สง ท่สี นามบินหรือสถานขี นสง อาหารบางม้ือ โดยอาจจัดใหมีการนาํ ชมสถานทท่ี อ งเที่ยวรวมอยูใ นโปรแกรมดว ยกไ็ ด 3.2.4 ธุรกิจนําเท่ียวท่ีเสนอบริการลักษณะพิเศษ ( specialtyintermediaries/ channelers) เปนธุรกิจท่ีเปนตัวกลางระหวางผูผลิตเชน โรงแรม ภัตตาคารแหลงทองเท่ยี ว ฯลฯ กบั ลูกคา ในการจัดนาํ เท่ียวเพื่อเปนรางวัล (incentive company) หรือการจดั ประชุม นิทรรศการ (meeting and convention planners) หรือเปน ผจู ดั เดินทางทอ งเทีย่ วท่ีไดร ับมอบอาํ นาจจากบรษิ ัท (corporate travel offices) หรอื เปน นายหนา ของบริษทั รถโดยสาร(motorcoach Broker) ความตอ งการบริการลกั ษณะพเิ ศษนี้นบั วันจะทวคี วามตอ งการมากขน้ึรายละเอยี ดเกี่ยวกบั ธุรกิจนี้ศึกษาไดจากเร่อื งธุรกิจจําหนายสินคาธรุ กิจของท่ีระลึก และธรุ กจินนั ทนาการ 79

ธรุ กิจในอุตสาหกรรมทองเทย่ี ว4.5 ธรุ กจิ สินคา ทรี่ ะลึก อาจกลาวไดวาการซื้อสินคาและของท่ีระลึกเปนองคประกอบสําคัญของการเดินทางทอ งเท่ียวในปจจบุ ัน เพราะนักทองเท่ียวสวนใหญชอบการซื้อสนิ คา และของท่ีระลกึ จากการสังเกตการณพ บวา กจิ กรรมแรกและกิจกรรมสดุ ทา ยที่นกั ทอ งเทยี่ วมักกระทําคือ “การซอ้ื สนิ คาและของที่ระลึก” แมแตนักธุรกิจท่ีเดินทางไปตางประเทศหรือตางทองถ่ินกอนกลับมักจะพยายามหาซอื้ ของทร่ี ะลกึ ไปฝากครอบครวั หรอื ผใู กลชดิ นอกจากนยี้ ังมีนักทองเที่ยวจาํ นวนมากเดินทางทองเที่ยวโดยมีจุดประสงคหลักเพื่อการซ้ือสินคา เชน คนไทยไปซื้อสินคาย่ีหอจากตางประเทศ เชน ฮอ งกง และสิงคโปร เปนตน ดงั นน้ั ธรุ กิจจําหนายสินคาและธุรกิจของทรี่ ะลกึจึงมีบทบาทสาํ คญั ตออตุ สาหกรรมทองเทีย่ วมากขึ้น 1. ธรุ กิจจาํ หนายสินคา 1.1 ความเปนมาของธุรกิจจําหนายสินคา ในที่น้ีจะกลาวถึงเฉพาะหางสรรพสนิ คาซ่ึงเปน ธรุ กิจขนาดใหญเ ทาน้นั ความเปน มาของหางสรรพสนิ คาไมปรากฏชัดเจนแตส ันนษิ ฐานวาเรม่ิ จากประเทศในยโุ รปกอนท่จี ะนําไปสปู ระเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีการจัดแบงสนิ คาออกเปนแผนกเพ่อื วัตถุประสงคใ นการจําหนายสินคา เปนหมวดหมู งายตอการคน หาของลูกคา การบริการลูกคา การสงเสริมการขาย ตลอดจนการบริหารและควบคุมสินคา สําหรับประเทศไทยมีหางสรรพสนิ คาแหง แรกในป พ.ศ. 2495 คือ “หางไนตงิ เกล” ท่เี ปน คลงั เสื้อผาเคร่ืองกีฬา และเคร่ืองสําอาง ไดรับความนิยมจากผูบริโภคจนมีการขยายกิจการเพิ่มข้ึนที่บริเวณส่แี ยกวังบรู พา ตลอดจนมีการนําบนั ไดเล่ือนมาใชอํานวยความสะดวกแกลูกคา ตอ มามีหางสรรพสินคาเกดิ ขน้ึ มากมายทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญในชมุ ชนตา งๆ ท้ังในเมืองและนอกเมือง ซึง่ อาจเปนผลมาจากพฤตกิ รรมการซอ้ื สินคาของผบู รโิ ภคทเ่ี ปล่ยี นแปลงไป หา งสรรพสินคามีสินคาจําหนายหลากหลายชนิดโดยเปน การขายปลีกในแผนกตา งๆ เทา ที่ปรากฏมักจะเร่ิมจากการขายเสื้อผาสําเร็จรูปกอน ตอมามกี ารจดั เปนแผนกอ่ืนๆเพ่ิมเตมิ เชน แผนกเคร่อื งสาํ อาง แผนกเครอื่ งประดับ แผนกรองเทาและกระเปา แผนกเครอ่ื งไฟฟา เปน ตน แตเ ดิมหางสรรพสนิ คามีเปาหมายหลกั เพ่ือขายสนิ คาแกประชาชนในประเทศในปจ จุบันหางสรรพสินคา ใหความสําคัญตอ ลูกคา ตา งทอ งถน่ิ หรอื ตางประเทศดวย เนอื่ งจากการซื้อสนิ คาของนกั ทองเที่ยวทาํ ใหป รมิ าณยอดขายสินคาเพิ่มมากข้ึน 80

ธุรกจิ ในอุตสาหกรรมทองเที่ยว 1.2 ความสาํ คัญและประเภทของธุรกิจจําหนายสินคา ในที่นี้จะกลาวถึงความสาํ คัญและประเภทเฉพาะธุรกิจที่จาํ หนายสนิ คาแกนักทองเที่ยวเปน สว นใหญ 1.2.1 ธุรกิจจําหนายสินคานับวามีความสําคัญตอการทองเท่ียวหลายประการ กลาวคอื 1) สนิ คาทจ่ี าํ หนา ยชวยประชาสัมพนั ธหรือโฆษณาแหลงทองเที่ยวสินคาบางประเภท เชน นาฬิกา อาหาร สุรา หัตถกรรม กลายเปนตวั แทนของแหลงทองเที่ยวแมประชาชนที่ไมเคยไปเยือนยังรูจัก เชน ผาไหมไทย นาฬิกาสวิส นํ้าหอมฝร่ังเศส ไสกรอกเยอรมนั เครื่องหนังอิตาลี 2) การซ้อื สินคาเปน กจิ กรรมกอ ใหเกดิ ความเพลิดเพลินทนี่ ักทองเที่ยวพึงกระทาํ ได เพมิ่ เตมิ จากการพกั ผอ นตามชายทะเลหรือภเู ขา 3) สนิ คา ที่จาํ หนายชวยใหธ ุรกิจรานคาปลีกมีรายไดและกอใหเ กดิ การจางงานของคนทอ งถ่ิน เชน พนักงานขาย 4) สินคาท่ีระลึกชวยสนับสนุนอุตสาหกรรมทองถิ่น เชน สินคาหัตถกรรมดัง กอ ใหเกิดรายไดแ กคนในทองถิ่น และรักษาไวซึ่งศิลปะและวัฒนธรรมของคนในชาตดิ ว ย 1.2.2 ประเภทของธุรกิจจําหนายสินคาและบริการแกนักทองเท่ียวท่ีจะกลา วถึงในท่ีนี้ ไดแ ก 1) หา งสรรพสินคา (Department Store) หมายถึง กิจการขายปลีกขนาดใหญที่รวมสนิ คา หลายอยางเขามาไวภายในบริเวณเดียวกัน เปน การสะดวกสําหรับผูบริโภคเพราะสามารถซ้ือสินคาที่ตองการไดหลายอยางในคราวเดียวกัน หางสรรพสินคา มักมีสินคามากมายหลายชนิดไวจําหนาย โดยแยกตามแผนกเปนการประหยัดเวลาของลูกคาดวย และสามารถมีการปรับเปลี่ยนสินคาใหทันสมัยและเหมาะสมตลอดเวลาสําหรับผบู ริโภคดวย เชนแผนกเสอื้ ผา แผนกเครอ่ื งสาํ อาง แผนกเครอ่ื งไฟฟา แผนกระเปา รองเทา แผนกเครื่องประดบัแผนกเคร่อื งใชสาํ นักงาน แผนกของเด็กเลน แผนกเคร่อื งเสยี ง แผนกอาหาร เปนตน บางครงั้หางสรรพสินคาอาจขายสินคาเฉพาะไมกช่ี นิด เพ่ือเปนการเนนความเชย่ี วชาญ เชน อาจมีเฉพาะเสื้อผาสําเร็จรูป เครอ่ื งตกแตง บาน อาหาร เปนตน หางสรรพสินคามักตั้งอยูในเขตชุมชนหรือชานเมือง โดยครอบคลมุ พ้นื ท่ีเปนเครือขาย เชน หางแฮรอด (Harrod) ในกรุงลอนดอน หางบลูมมงิ เดล (Bloomingdale) ในนวิ ยอรค หางเซน็ ทรลั ในประเทศไทย เปนตน 81

ธรุ กจิ ในอตุ สาหกรรมทอ งเทีย่ ว หางสรรพสินคามีบทบาทสําคัญในการดงึ ดดู นกั ทองเที่ยวระหวางประเทศเชน ชาวญ่ีปุนนิยมเดินทางไปฮาวายเพ่ือซื้อสินคามากกวาเพ่ือไปพักผอนชายทะเล ประเทศตางๆ ไดต ่ืนตัวท่ีจะพฒั นาภาพลักษณข องประเทศใหเ ปนดินแดนหรือสวรรคของการซ้ือสินคา(shopping paradise) อาทิ ในทวีปยุโรป ประเทศองั กฤษ ฝรั่งเศส และอติ าลี จัดไดวาเปนประเทศท่ีมีชื่อเสยี งในการผลิตสินคาท่ีมีความหรหู ราและหลากหลายแกน ักทองเที่ยวโดยเฉพาะเส้ือผา และเครื่องหนัง ในทวีปเอเชีย ฮองกง สิงคโปร และประเทศไทยจัดเปนแหลงทองเทีย่ วที่มีภาพลักษณเดนดานการจําหนายสินคาตา งๆ จะเห็นไดจากรายไดท ่ีประเทศไดรับจากนกั ทอ งเทีย่ วประมาณ รอยละ 35 มาจากการขายสินคา 2) ศูนยก ารคา (shopping centers/malls) ศนู ยการคา หมายถึงการขายปลกี ขนาดใหญท ่ีรวมกลุมรานขายปลีกรวมท้งั หางสรรพสินคา เขามาอยูดวยกันในอาคารเดียวกนัจงึ สามารถจําหนา ยสนิ คา ประเภทตางๆ ไดมากมาย ศนู ยการคา ไดพัฒนามาจนมบี ริการที่จอดรถ และส่ิงอํานวยความสะอาดอ่นื ๆ เชน โรงภาพยนตร ธนาคาร ภัตตาคาร ตลอดจนสวนสนุกโดยเฉพาะอยางยงิ่ ศูนยก ารคา ในสหรฐั อเมรกิ า และแคนาดา ท่ีมกี ารแขงขันทางดา นการตลาดเพื่อดึงดูดนักทองเท่ียว โดยเฉพาะอยางย่ิงในเมืองใหญ เชน เอ็ดมอนตันมอลล (EdmontonMall) ในประเทศแคนาดามีรา นคา ถงึ 828 แหง และศูนยการคาในเมอื งฮุสตนั ซานดิเอโกลอสแอนเจิลลิส และอื่นๆ ที่เปน ท่นี ยิ มของนักทอ งเท่ียวชาวเมก็ ซิกัน และชาตอิ นื่ ๆ 3) รานคา ปลอดอากร (duty-free stores) รานคา ปลอดอากรเปนสถานที่สุดทายที่นักทองเท่ียวจะจับจายซื้อสินคาไดในการเดินทางระหวางประเทศ เพราะมักต้งั อยูใ นบรเิ วณสนามบนิ บนเรือหรือเครื่องบิน ดานบริเวณชายแดน ศนู ยการคา รา นคา ปลอดอากร หมายถึง รานคาปลีกท่ีขายสินคาใหแกนักทองเที่ยวระหวางประเทศเทาน้ัน โดยนักทอ งเที่ยวมักจะซ้อื สนิ คา ขณะเดินทางกลับ สินคา ทขี่ ายเปนสินคา ปลอดอากรของประเทศนั้นๆจึงมักมีราคาถูกกวาสินคา ที่ขายตามหางสรรพสินคาในเมือง และสามารถถึงดูดนักทองเที่ยวไดมาก สินคาท่ีนิยมจําหนายมักเปนสินคาราคาสูง ไดแก สุรา บุหรี่/ยาสูบ น้ําหอมเคร่ืองสําอาง เคร่อื งหนัง เครื่องไฟฟา นาฬิกา กลองถายรูป เปนตน รานคาปลอดอากร เปนธุรกิจท่ีทํากําไรไดมหาศาล ดังนั้น ในบางประเทศหนวยงานภาครัฐจะเขาไปดําเนินการเปนเจาของเสยี เอง หากเปนภาคเอกชนการขออนุญาตดําเนินธุรกิจมักมีขอ จํากัด และรัฐบาลจะควบคมุ อยางใกลชิด ในบางประเทศรา นคาปลอดอากรอาจดาํ เนนิ การเพ่อื การกศุ ล เชน ประเทศกัวเตมาลา รา นจติ รลดาในทา อากาศยานดอนเมืองประเทศไทย รานคา ปลอดอากรไมวาจะมีใครเปนเจาของ รัฐบาลทุกประเทศมักใหความสําคญั เพราะผลประโยชนท่ีพงึ ไดร ับมมี ากมาย เชน 82

ธุรกจิ ในอตุ สาหกรรมทองเทีย่ ว - รานคาปลอดอากรเปน แหลง รายไดสดุ ทา ยของประเทศท่ีนกั ทองเทย่ี วจะใชจาย - รานคาปลอดอากรยังมีรายไดจากผูโดยสารผานชั่วคราว (Transitpassengers) เพื่อเปล่ยี นเครื่องบินท่ีสนามบินของประเทศตางๆ ผโู ดยสารเหลา นม้ี ักมีเวลาอยางนอยประมาณ 1 ช่ัวโมงเพ่ือรอการเปล่ียนเคร่ืองบินเพ่ือเดินทางไปยังจุดหมายปลายทางผูโดยสารเหลา นมี้ ักเดนิ ชมหรือซื้อสินคา ที่สนามบนิ ระหวางการรอเสมอ - รานคาปลอดอากรเปนแหลงจางงานทสี่ ําคญั เชน พนักงานขาย เสมียนหรือพนกั งานเก็บของที่โกดัง - รานคาปลอดอากรมักมีรายไดเปนเงินสกุลท่ีมีความแข็งแกรง (hardcurrency) เชน เงินปอนด อังกฤษ เงินเหรยี ญสหรฐั ฯ เงนิ มารคเยอรมนั เงินเยนญป่ี นุ ซึ่งเงนิ เหลา น้เี ปนทีต่ องการในการดําเนนิ การคาระหวา งประเทศเปนอยางมาก 2. ธุรกิจของทร่ี ะลึก นกั ทอ งเที่ยวสว นใหญเม่ือเดนิ ทางทอ งเที่ยวไปยังประเทศอ่นื หรอื ทอ งถ่ินอ่ืนๆมักตองการซือ้ สนิ คาที่ระลกึ กลบั ไปเพ่อื เปนเครอื่ งเตอื นใจวา ครง้ั หน่ึงเคยเดินทางไปที่น่ัน หรอื ซือ้สนิ คา เพ่อื เปน ของฝากแกครอบครัวและเพื่อนรว มงาน 2.1 ความหมายของธุรกิจสินคาที่ระลึก ธุรกิจสินคาท่ีระลึก (souvenirs)หมายถงึ การประกอบธุรกจิ ผลิตและจําหนา ยสินคาที่นกั ทองเที่ยวซอ้ื และนํากลับไปยังภมู ิลาํ เนาของตน เพอ่ื เปนท่ีระลึก ของฝาก หรือแมแตเพื่อใชสอยในชวี ิตประจาํ วัน สนิ คา ท่ีระลกึ มักถกูพัฒนาข้ึนมาจากศิลปหตั ถกรรมของแตละหองถิ่น ทแ่ี สดงเอกลกั ษณ ความเปน อยูของทอ งถน่ิโดยใชวสั ดทุ ี่หาไดภ ายในทองถิน่ เปนวตั ถุดิบในการผลิต และใชแรงงานฝมอื คนทอ งถิน่ เชน วัสดุทําจากไมหรือหนิ จากอฟั รกิ า ผา ปก ผา ไหมจากจีน เปน ตน 2.2 ความสําคัญของธรุ กจิ สนิ คา ทรี่ ะลึก ธุรกจิ สินคาทรี่ ะลึกมคี วามสาํ คญั ตอการทองเทย่ี วหลายประการ กลาวคอื 2.2.1 สนิ คาที่ระลกึ ชวยกอ ใหเกิดรายไดแกป ระชาชนในทองถนิ่ สินคาท่ีระลึกท่ีเปนหัตถกรรมพื้นบานท่ีมีรูปแบบสวยงามและมีคุณภาพยอมไดรับความนิยมจากนกั ทองเท่ียวทําใหเกิดรายได ซงึ่ เปนการสง เสริมเศรษฐกิจของประเทศ การจําหนายสินคา ที่ระลึกไดเปรียบการจําหนายสินคาชนิดอ่ืนที่สงไปขายตางประเทศ เพราะผูขายไมตองเสียคา ใชจา ยในการบรรจุหบี หอหรือคาขนสง แตน กั ทองเที่ยวจะตอ งเปนผูจ ายคาเดินทางมายังแหลงผลิตสนิ คา และเมอื่ ซ้ือสนิ คา แลว ตองรบั ผดิ ชอบคาขนสง และอากรนาํ เขา เอง 83

ธรุ กิจในอุตสาหกรรมทอ งเทย่ี ว 2.2.2 การผลิตสินคาที่ระลึกจําหนา ยแกนักทองเที่ยวยังกอ ใหเกิดการสรางงาน โดยเฉพาะอยางย่ิงแรงงานในชนบททว่ี างจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม และชวยใหแรงงานไมตอ งอพยพไปทาํ งานในเมืองซงึ่ กอ ใหเ กดิ ปญ หาของประเทศ 2.2.3 สินคาทร่ี ะลกึ เปรยี บเสมอื นตวั แทนของแหง ทองเทีย่ วทเี่ ผยแพรไปท่ัวโลก ทาํ ใหป ระชาชนในประเทศอ่ืนๆ รจู ักสินคา และประเทศผผู ลิต 2.2.4 การผลิตสินคาทรี่ ะลกึ ชวยอนรุ ักษและรักษาศิลปวัฒนธรรมของคนทอ งถ่ิน เน่อื งจากหัตถกรรมของท่ีระลึกแสดงเอกลักษณเ ฉพาะตวั ของทองถิน่ เชน เส้ือผาชาวเขาท่แี สดงถงึ วัฒนธรรมการแตง กายของชาวเขา 2.2.5 สนิ คา ทีร่ ะลึกหลายชนิดผลิตจากวัสดทุ ไ่ี รค าหรือเศษวัสดุ แตเม่ือนํามาแปรเปน สนิ คา ท่รี ะลึกทาํ ใหม มี ูลคาเพ่ิมข้ึน อันเปนประโยชนตอผูซอ้ื และผูผลติ เชนผักตบชวา ไมไผ เปนตน 2.3 ปญหาเกีย่ วกับธรุ กจิ สินคาท่ีระลึก จากการท่ีสินคาที่ระลึกเปรียบเสมือนตวั แทนของประเทศที่ไปเผยแพรการผลิตสินคาท่ีระลึกที่มคี ณุ ภาพต่ํา ลงทุนต่ําเพ่ือใหราคาถูกอาจกอ ใหเกดิ ปญหาภาพลกั ษณข องประเทศไดเ ชนกัน โดยนกั ทอ งเที่ยวอาจคดิ วา สนิ คาคณุ ภาพตาํ่ ดงั น้ัน แหลงทองเที่ยวนา จะมีคุณภาพต่ําเชนกนั ในบางประเทศรฐั บาลเขา มามีสวนในการใหความชวยเหลือผูผลิตใหผลิตสินคาท่ีระลึกที่มีคุณภาพ โดยการแนะนําการออกแบบสินคาการตลาด การจัดจําหนา ย ตลอดจนการปองกันการลอกเลียนแบบ เพ่อื ใหเกิดธุรกิจสินคาท่ีระลึกท่ีมีคุณภาพ นอกจากนี้ธรุ กจิ การผลิตและจาํ หนายของท่ีระลึกอาจประสบปญหาอ่นื ๆ อีกอาทิ - การจําหนายสนิ คา ทร่ี ะลกึ ท่ีทําขึ้นเพื่อลอกเลียนแบบวัตถุมีคาทางศาสนาหรือสงิ่ ศักดสิ์ ทิ ธิ์ แตน ักทองเท่ียวไมร ูค ุณคา หรอื คิดวาเปนเพยี งของทร่ี ะลกึ - สนิ คาทร่ี ะลึกท่ไี ดรบั ความนยิ มมกั ประสบปญหาการลอกเลียนแบบจากคูแ ขง ขนัซึ่งอาจใชว ัสดทุ ดี่ อยกวา เชน สินคาท่ีทําจากไม คแู ขงขันอาจใชไมที่มรี าคาถูกกวาหรือคแู ขงขันทผ่ี ลิตสนิ คาโดยเพิ่มปรมิ าณไดค ร้ังละจาํ นวนมาก ทาํ ใหค ณุ ภาพของสนิ คา ดอ ยลงเชนกนั - ผูผ ลิตสินคาหัตถกรรมท่ีเปนชาวบานสว นใหญขาดความรูและทักษะทางดานการตลาด และการเงิน 2.3.1 แนวทางของรฐั บาลในการพจิ ารณาชวยเหลอื ผูผลติ สินคาทร่ี ะลึก 1) จดั ต้งั ศูนยหัตถกรรมเพอ่ื รวบรวมสินคาที่ระลึกมาไวจาํ หนายดวยกัน 2) ใหการศึกษาฝกอบรมผูผลิตและผจู าํ หนา ย เชน ความรดู านการดาํ เนนิธรุ กจิ การตลาด 3) ซอ้ื สนิ คา ทมี่ ีคุณภาพจากผูผลติ ตา งๆ นาํ มารวบรวมและจัดแสดงไวใ นพพิ ธิ ภัณฑห รือสถานทรี่ าชการ 84

ธรุ กจิ ในอตุ สาหกรรมทองเทย่ี ว 2.4 ปจจัยสาํ คญั ทคี่ วรนาํ มาพจิ ารณาในการดําเนินธุรกิจผลติ และจาํ หนายสนิ คา ทรี่ ะลกึ อาจกลาวไดว า สนิ คา ท่ีระลึกทุกชนดิ ทผ่ี ลิตและจัดจําหนายโดยทว่ั ไปเหมาะสมกับนักทองเทยี่ วทุกคน ดังนนั้ ธุรกิจผลิตและจําหนายสินคา ที่ระลึกควรวิเคราะหว านักทอ งเท่ยี วกลุมใดตองการสนิ คาชนดิ ใด และควรพิจารณาปจจัยตอไปนี้เพื่อใหการดําเนินธุรกิจสินคาท่ีระลึกประสบผลสาํ เร็จไดดี 2.4.1 ตวั สนิ คาควรพิจารณาผลิตสินคาจากผลิตภัณฑพื้นฐาน เพ่ือสะทอ นถึงแหลงทองเทยี่ วทซี่ ื้อมา เชน พรมจากเปอรเ ซยี ผาไหมหรอื อญั มณีจากประเทศไทยซึ่งมีคุณภาพดีเปนที่พอใจของนกั ทองเท่ียว 2.4.2 แหลงทต่ี ัง้ ของรา นจาํ หนา ยสนิ คา ท่ีระลกึ เนือ่ งจากนักทองเที่ยวมกั มขี อจํากัดเร่ืองเวลาและไมคุน เคยกับสถานที่ท่ไี ปเยอื น จึงไมส ะดวกในการเดินทาง ดังนั้นรานจําหนายสินคา ที่ระลึกจึงควรต้ังอยเู ปนสวนหน่ึงของที่พักแรมหรือบริเวณใกลเคียง หรือบรเิ วณศูนยการคา ทา อากาศยาน สถานีขนสง หรอื บริเวณแหงทองเท่ียว อยางไรกด็ ี คาเชาพน้ื ทใ่ี นบริเวณดงั กลา วอาจมรี าคาสงู มผี ลทําใหราคาขายปลีกของสนิ คาสูงตามดวย รา นคาควรพจิ ารณาตง้ั รา นอยรู วมกันเปน กลุม เพอื่ ใหสามารถดงึ ดูดใหน ักทองเท่ยี วเดินทางไปซื้อ 2.4.3 การจัดวางสินคา ภายในรานก็เปนปจจัยที่สาํ คญั อีกปจจัยหน่ึงเน่ืองจากพื้นทีภ่ ายในรานมักมจี ํากัด ควรมีการจดั วางใหผูซ ือ้ สามารถเขา ถึงสนิ คาทุกชนิดไดง ายและไมควรใหส ินคา ขาดหรือควรวางสินคา ใหเตม็ 2.4.4 ขนาดของสนิ คา และการบรรจหุ ีบหอ สนิ คา ที่นักทอ งเท่ียวซอ้ืควรออกแบบใหสะดวกในการนําตดิ ตวั เดนิ ทาง รวมทั้งการบรรจหุ บี หอ เพราะนักทอ งเท่ยี วจะมีขอจาํ กดั เรอื่ งนํ้าหนักและขนาดของสง่ิ ของทนี่ ําติดตวั ไป 2.4.5 ราคาสนิ คาทีร่ ะลกึ ที่จําหนา ยแกน กั ทอ งเท่ยี ว ควรเปนสนิ คาท่ีมีราคาที่เหมาะสมไมตํ่าเกินไปจนไมกอใหเกิดรายไดหรือไมสูงเกินไป ทําใหไมดึงดูดใจนกั ทอ งเทย่ี ว 85

ธุรกิจในอุตสาหกรรมทองเท่ียว4.6 ธรุ กจิ จัดประชุมนิทรรศการและการทองเทย่ี วเพ่ือเปน รางวัล 1. ความเปน มาของธรุ กจิ จดั ประชุมและนทิ รรศการและการทอ งเท่ียวเพอื่เปน รางวัล ธุรกิจจัดประชมุ นิทรรศการ และการทองเทีย่ วเพ่ือเปนรางวัล มีพฒั นาการมาจากธุรกิจนําเที่ยวทีเ่ สนอบรกิ ารลักษณะพิเศษ ในการเปนตวั กลางจัดการประชมุ นิทรรศการหรือการทองเท่ียวเพ่อื เปน รางวัล ซึ่งนับวนั จะทวีความสาํ คญั มากขนึ้ ในอตุ สาหกรรมทองเท่ียวของโลก หลายประเทศโดยเฉพาะอยางยิ่งในทวปี เอเชีย กําลังใชการจัดประชุมนิทรรศการ และการทองเทีย่ วเพอ่ื เปน รางวลั เปน กลยุทธก ารตลาดท่ีสาํ คัญ เพือ่ สรา งรายไดใหแ กป ระเทศ เน่ืองจากธรุ กจิ เหลานก้ี อ ใหเ กิดรายไดตอ หวั จากนกั ทอ งเทยี่ วคลา ยคลึงกบั การเดินทางเพ่ือธุรกจิ ซ่ึงสงู กวารายไดท่ีไดจากการทองเท่ียวแบบพักผอนของนักทองเที่ยวท่ัวไป ซึ่งสาเหตุหลักเปนเพราะผูเดนิ ทางไมไ ดจ า ยเงินคา ใชจ ายดว ยตนเอง บรษิ ทั หรือองคก ารเปนผจู า ยให มนุษยม ีการรวมกลุมกันเพือ่ ประชมุ ปรกึ ษาหารือในเร่ืองตางๆ เชน การเมืองการกฬี า ศาสนา ตง้ั แตยุคโบราณ เมอ่ื สังคมขยายข้ึนเปนเมืองหรือประเทศ ขนาดและความถี่ของการรวมกลุมเพิ่มมากข้ึน กลุมหรือสมาคมตางๆ ซ่ึงเกิดข้ึนเพื่อพบปะกันเปนประจําตัวอยางของการรวมกลมุ ในยุคกลาง ไดแ กก ารจัดต้ังสมาคมชา งฝมือ (guilds) ในทวปี ยุโรปเพอื่ ดแู ลเรอ่ื งคาจางและมาตรฐานการทาํ งาน ในทวีปอเมริกา การรวมตัวกันเปนสมาคม (Associations) เริ่มขึ้นในราวศตวรรษท่ี 18 โดยผูผลติ เทียนไขโรดไอแลนด (Rhode Island) การเตบิ โตของอตุ สาหกรรมตางๆ ทําใหตองขยายโรงงายอออกไปนอกเมือง จึงมีความจําเปนท่ีจะตองเดินทางประชุมรวมกันเพือ่ ปรึกษาหารือดานการบรหิ ารหรือเทคโนโลยหี รอื ที่ประชุมในเมืองใหญใ นเวลาเดยี วกันสมาคมวิชาชีพและสมาคมการคาเกิดข้ึนมากมาย และมีความจําเปนที่จะตองประชุมสม่ําเสมอโรงแรมในสหรัฐอเมรกิ าในชว งทศวรรษท่ี 1950 มีการจัดบริการประชมุ ตา งๆ ถึงรอ ยละ 40 ปจจุบัน ทว่ั โลกมีสมาคมตางๆ เปนจาํ นวนมาก ต้ังแตร ะดับระหวา งประเทศระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และระดบั ทองถน่ิ ซึ่งแตละสมาคมมีการจดั ประชุมเปนประจําในสหรฐั อเมรกิ า สมาคมวิชาชีพและสมาคมการคา จัดประชมุ ประมาณรอยละ 70 ของการจัดประชุมทั้งหมด คดิ เปน มลู คาถึงปละ 75,000 ลา นเหรยี ญสหรัฐ นอกจากนี้ยงั มีการจัดประชุมของกลุมหรอื ชมรมตางๆ รวมทั้งการจดั สมั มนาระดบั ตา งๆ อกี ดวย 86


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook