Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์

บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์

Published by wara.boon.ell, 2019-12-15 12:53:58

Description: บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

เทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่ื อสารAdd Your Company Slogan อาจารย์ ดร. วราภรณ์ บุญยรัตน์ Logo 1

2

หัวข้อ •ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ •ประเภทของเทคโนโลยสี ารสนเทศทสี่ ําคญั •การรักษาความปลอดภยั ของข้อมูลสารสนเทศ •ความหมายของการสื่อสาร •รูปแบบการส่ือสารทใ่ี ช้เทคโนโลยใี นปัจจุบัน 3

หัวข้อ •ระบบเครือข่ายเพื่อการส่ือสาร •การรักษาความปลอดภยั ของระบบเครือข่าย •ความสัมพนั ธ์ระหว่างเทคโนโลยสี ารสนเทศกบั เทคโนโลยกี ารส่ือสาร •ความสําคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ส่ือสารต่อการพฒั นาประเทศ •บทสรุป 4

ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ • พจนานุกรมคอมพวิ เตอร์ [1] ได้ให้คาํ จํากดั ความไว้ว่า •“ข้อมูลสารสนเทศ หมายถงึ ข้อมูลทน่ี ํามาประมวลผล แล้วเสนอ ออกมาในรูปทผ่ี ้ใู ช้รู้หรือเข้าใจความหมาย” ข้นั ตอนในการผลติ เทคโนโลยสี ารสนเทศ 5

ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศ คือ ฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์ การสื่อสาร โทรคมนาคม การจัดการฐานข้อมูล และเทคโนโลยที ใ่ี ช้ในการ ประมวลผลสารสนเทศทใี่ ช้คอมพวิ เตอร์ (O’Brien, 2001) 6

ประเภทของเทคโนโลยสี ารสนเทศทส่ี ําคญั • ข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการประมวลผลรายวนั • ข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการจดั การระบบเอกสาร • ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจดั การองค์กร • ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตดั สินใจ • ข้อมูลสารสนเทศภูมศิ าสตร์ 7

ข้อมูลสารสนเทศภูมศิ าสตร์ • แสดงให้ผู้ใช้งานเห็นความ เชื่อมต่อหรือความสัมพนั ธ์ ระหว่างส่ิงต่างๆ ในระบบการ ทาํ งานได้อย่างเด่นชัด เน่ืองจาก ระดบั การนําเสนอจะนําเสนอเป็ น ระดบั ของข้อมูลทเี่ กดิ ขนึ้ 8

การรักษาความปลอดภยั ของข้อมูลสารสนเทศ • การรักษาความปลอดภยั ของข้อมูลสารสนเทศด้วยวธิ ีการเชิง กายภาพ •การกาํ หนดสิทธิในการเขา้ ใชห้ อ้ งเกบ็ ขอ้ มูล •การติดต้งั ระบบรักษาความปลอดภยั ของหอ้ งเกบ็ ขอ้ มูล • การรักษาความปลอดภยั ของข้อมูลสารสนเทศด้วยวธิ ีการเชิง ตรรกะ •การเขา้ รหสั ขอ้ มูล •การกาํ หนดใหผ้ ใู้ ชข้ อ้ มูลมีรหสั ผา่ นเพือ่ การเขา้ ถึงขอ้ มูลได้ •การกาํ หนดสิทธิในการเขา้ ใชข้ อ้ มูลสารสนเทศท่ีแตกต่างกนั 9

ความหมายของการส่ือสาร • พจนานุกรมศัพท์คอมพวิ เตอร์ [1] ได้ให้นิยามคาํ ว่า “การสื่อสาร” หรือ “การสื่อสารข้อมูล” (data communication) ไว้ดงั นี้ คือ • “การสื่อสารข้อมูล หมายถงึ การแลกเปลยี่ นข้อมูลระหว่าง คอมพวิ เตอร์เคร่ืองหนึ่ง ไปยงั คอมพวิ เตอร์อีกเคร่ืองหน่ึงโดยผ่านทาง โมเดม็ หรือข่ายงาน (network) เช่น การเรียกแฟ้มข้อมลู จากเคร่ือง คอมพวิ เตอร์เคร่ืองอื่นมาใช้ได้” 10

รูปแบบการส่ือสารทใ่ี ช้เทคโนโลยใี นปัจจุบัน •รูปแบบการส่ือสารซ่ึงมกี ารส่งข้อมูลระหว่างเครื่อง คอมพวิ เตอร์น้ันสามารถทาํ ได้ 2 วธิ ี คือ •การเรียกขอ้ มูลผา่ นระบบโมเดม็ •การเรียกขอ้ มูลผา่ นขา่ ยงาน 11

การเรียกข้อมูลผ่านระบบโมเดม็ 12

การเรียกข้อมูลผ่านข่ายงาน • การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายน้ันนิยมทจ่ี ะเป็ นการ เชื่อมต่อกนั ระหว่างเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ในองค์กร เดยี วกนั • การเชื่อมต่ออาจเป็นการเช่ือมต่อแบบใชส้ าย (wireline) • การเชื่อมต่อแบบไร้สาย (wireless) 13

การเชื่อมต่ออาจเป็ นการเช่ือมต่อแบบใช้สาย 14

การเช่ือมต่อแบบไร้สาย 15

ระบบเครือข่ายเพื่อการส่ือสาร •เทคโนโลยกี ารสื่อสารได้มกี ารพฒั นาจากการเช่ือมต่อด้วย สายสื่อสารมาเป็ นการเชื่อมต่อแบบไร้สาย •มคี วามสามารถในการเช่ือมระยะทางไกลได้มากกว่าการ เช่ือมต่อแบบไร้สาย •การเชื่อมต่อสามารถตดิ ต้งั ได้โดยง่าย 16

การเช่ือมต่อแบบใช้สาย • การเชื่อมต่อแบบใช้สายนีน้ ิยมใช้ในการเช่ือมต่อในอาคาร หรือ ระหว่างอาคารทไี่ ม่มรี ะยะทางทไี่ กลมากๆ • สายสื่อสารทน่ี ิยมใช้จะแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภทตาม ประสิทธิภาพของการส่ งข้ อมูล • สายใยแกว้ • สายทองแดง • สายคู่ไขว้ สายโทรทศั น์ (Cable Modem) สายโทรศพั ท์ (DSL) 17

การรักษาความปลอดภยั ของระบบเครือข่าย • การรักษาความปลอดภยั ของระบบเครือข่าย หมายถงึ • การรักษาความปลอดภยั ของการเขา้ ใชข้ อ้ มูลต่างๆ ที่มีอยบู่ น ระบบเครือข่ายน้นั ๆ • การรักษาไวซ้ ่ึงประสิทธิภาพการส่งขอ้ มูลใหม้ ีอตั ราส่งคงท่ี รวดเร็วและมีความถูกตอ้ ง • การป้องกนั การแพร่กระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ และสิ่ง แปลกปลอมต่างๆ เช่น สแปมเมล์ (spam mail) โฆษณา เป็นตน้ 18

การรักษาความปลอดภยั ของระบบเครือข่าย • การรักษาความปลอดภยั ของระบบเครือข่าย มี 2 ประเภท •การรักษาความปลอดภยั เชิงกายภาพ •การรักษาความปลอดภยั เชิงตรรกะ 19

การรักษาความปลอดภยั เชิงกายภาพ • ตวั อย่าง • การใชเ้ คร่ืองมือตรวจวดั สภาพการส่ือสาร ณ อุปกรณ์ เชื่อมต่อระบบเครือข่ายเพื่อบ่งบอกถึงสิทธิการเขา้ สู่ ระบบเครือข่ายของบุคลากรแต่ละคน • อุปกรณ์ • อุปกรณ์เราวเ์ ตอร์ 20

การรักษาความปลอดภยั เชิงตรรกะ • ซอฟต์แวร์เพื่อการบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network Management Software) • ไฟล์วอลล์ (firewall) • การกาํ หนดเลือกว่าวธิ ีใดเป็ นวธิ ีทเี่ หมาะสม จะต้องคาํ นึงถงึ ปัจจยั • ระดบั ความวกิ ฤติหรือความเสียหายที่จะเกิดข้ึนหากมีการบุกรุก เครือข่าย • งบประมาณการดาํ เนินการจดั หา ติดต้งั และบาํ รุงรักษา • ความพร้อมดา้ นบุคลากรในองคก์ ร 21

ความสัมพนั ธ์ระหว่างเทคโนโลยสี ารสนเทศกบั เทคโนโลยกี ารสื่อสาร • เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communication Technologies –ICT) เกดิ จาก การ ทาํ งานส่วนหน่ึงของเทคโนโลยสี ารสนเทศทม่ี กี ารใช้ เทคโนโลยกี ารส่ือสารเพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่ สมบูรณ์ ถูกต้อง รวดเร็ว ตามความต้องการของผู้ใช้งาน 22

ความสัมพนั ธ์ระหว่างเทคโนโลยสี ารสนเทศกบั เทคโนโลยกี ารสื่อสาร • แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 ไดก้ ําหนดความหมายของ ICT ดังนี้ • “เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร หมายถึง เทคโนโลยที ่เี กี่ยวขอ้ งกบั ขา่ วสาร ข้อมูล และการส่อื สาร นบั ตัง้ แตก่ ารสร้าง การนาํ มาวิเคราะห์หรอื ประมวลผลการรบั และสง่ ข้อมูล การจัดเก็บ และการนําไปใชง้ านใหม่ เทคโนโลยเี หล่านี้ มักจะหมายถึงคอมพิวเตอร์ ซึง่ ประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์ (hardware) สว่ นคาํ ส่ัง (software) และสว่ นขอ้ มูล (data) และระบบ การส่ือสารต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นโทรศพั ท์ ระบบสอื่ สารข้อมลู ดาวเทียม หรอื เครอื่ งมือสือ่ สารใดๆ ท้งั มีสายและไร้สาย” 23

ความสําคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารต่อการพฒั นาประเทศ • แผนแมบ่ ทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 [2] • นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2544-2553 ได้กาํ หนด ประเดน็ สําคัญไว้ 3 ประเด็นคอื (1) ความท้าทายในยุคโลกาภวิ ฒั น์ (2) สังคมแหง่ ภูมิปญั ญาและการเรียนรู้ (3) ประเทศไทยในทศวรรษแรกของครสิ ต์ศตวรรษท่ี 21 24

ความสําคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารต่อการพฒั นาประเทศ •จุดเด่นของนโยบายเทคโนโลยสี ารสนเทศ • การบริหารงานของรัฐบาล (e-Government) • พาณิชยกรรม (e-Commerce) • อุตสาหกรรม (e-Industry) • การศึกษา (e-Education) • สงั คม (e-Society) 25

การบริหารงานของรัฐบาล (e-Government) • เปา้ หมายในการนาํ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาพฒั นา และปรับปรุงระบบงานบริหารที่สําคัญทุกประเภทของส่วนงานของ รัฐใหม้ ีประสิทธภิ าพสูงสดุ ภายในพ.ศ. 2547 • พัฒนาบรกิ ารที่ใหแ้ กส่ าธารณชนใหไ้ ด้ครบทกุ ข้ันตอนในพ.ศ. 2553 26

การบริหารงานของรัฐบาล (e-Government) • ยุทธศาสตร์ที่ใช้ในการพฒั นามงุ่ ใหเ้ กิดความกระทัดรัด ความ ประหยดั ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล โดยใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศและการส่อื สารควบคู่กับการปรับขั้นตอนและ กระบวนการทํางาน • การปฏิรูปงานวางแผนและงบประมาณ • การจัดองค์กร • การพัฒนาบุคลากรของรัฐ • การพัฒนาการบริหารและการให้บรกิ ารโดยรวม 27

การบริหารงานของรัฐบาล (e-Government) •ตวั อย่าง •การจดั เกบ็ ภาษีรายไดข้ องรัฐ •การจดั ทาํ บตั รประชาชน •การรับคาํ ร้องเรียนผา่ นเครือข่ายอินเตอร์เน็ต •การใหข้ อ้ มูลการท่องเที่ยวผา่ นเครือขา่ ยอินเตอร์เน็ต •ฯลฯ 28

พาณชิ ยกรรม (e-Commerce) • มีเป้าหมายในการมงุ่ สร้างประโยชน์โดยรวมในกิจการพาณิชย์ ของประเทศ • ความสามารถในการแขง่ ขันของคนไทย • การพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนิกส์สาํ หรับธุรกิจส่งออก • การคา้ และบรกิ าร • การบรโิ ภคของประชาชน 29

พาณชิ ยกรรม (e-Commerce) • ยุทธศาสตรท์ ใ่ี ช้เป็นการปฏริ ูปการพาณชิ ยข์ องประเทศใหม้ ีโอกาสใน ตลาดตา่ งประเทศดขี ้ึน • การปรับปรงุ กฎหมายทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการดาํ เนนิ ธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละ งานเก่ียวเน่ือง • การจัดให้มกี ารชาํ ระเงนิ ผ่านระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ทมี่ คี วามปลอดภัยสงู • การสร้างระบบฐานข้อมลู และการจัดการข้อมลู ทที่ นั สมัย เพอ่ื ส่งเสริมผู้ ประกอบการขนาดกลางและย่อมให้เปน็ กาํ ลงั สาํ คญั ของระบบเศรษฐกจิ ใหม่ • การพฒั นาบุคลากรทกุ ประเภทและระดับ • การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานทเี่ จรญิ เตบิ โตเป็นธุรกจิ เสรรี องรับการพฒั นาการ พาณิชย์ใหเ้ จริญมนั่ คงต่อไป 30

พาณชิ ยกรรม (e-Commerce) • ตวั อย่าง • การใหข้ อ้ มูลข่าวสาร การสร้างเครือข่าย และการสงั่ ซ้ือ ผลิตภณั ฑ์ OTOP (หน่ึงตาํ บลหน่ึงผลิตภณั ฑ)์ • การจองหอ้ งพกั ผา่ นระบบเครือข่าย • การจองตวั๋ เคร่ืองบินผา่ นระบบเครือข่าย 31

อตุ สาหกรรม (e-Industry) • มเี ป้าหมายในการส่งเสริมและพฒั นาการใช้และการผลิตอปุ กรณเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศของภาคเอกชน เพื่อใหเ้ กดิ อตุ สาหกรรมการผลติ ที่ใชค้ วามรู้เปน็ ทรพั ยากรสาํ คญั ใน พ.ศ. 2553 32

อตุ สาหกรรม (e-Industry) • ยุทธศาสตรท์ ่ีใช้ • นาํ เทคโนโลยสี ารสนเทศโดยเฉพาะระบบอินเทอรเ์ นต็ มาใช้ประ โยชนใ์ นการพฒั นาขอ้ มลู ของศูนยก์ ารตลาด และตลาดกลางสิ นคา้ อตุ สาหกรรม • สนบั สนนุ การพฒั นาอุตสาหกรรมทัว่ ไป รวมถึงการพัฒนา อุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร โดยเฉพาะซอฟตแ์ วรแ์ ละอิเลก็ ทรอนิกส์ 33

อตุ สาหกรรม (e-Industry) • ยุทธศาสตร์ที่ใช้ • พฒั นาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม รวมถงึ ภาคเกษตร และอตุ สาหกรรมการเกษตร • สนับสนุนใหม้ กี ารสร้างเสรมิ การประสานความรดู้ า้ นการวจิ ัยและ พฒั นาในดา้ นการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศให้เกิดประโยชนใ์ น ภาคอตุ สาหกรรม • การสรา้ งสรรใหบ้ คุ ลากรในภาคอุตสาหกรรมมีทกั ษะดา้ น เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพ่มิ ขนึ้ ดว้ ย 34

การศึกษา (e-Education) • มีเปา้ หมายในการสรา้ งความพรอ้ มของทรพั ยากรมนุษย์ ท้ังหมดของประเทศ เพ่อื ช่วยกันพฒั นาให้เกิดสงั คมแห่ง ภูมิปญั ญาและการเรียนรูท้ มี่ คี ุณภาพ 35

การศึกษา (e-Education) • ยุทธศาสตรท์ ี่ใช้ • เน้นหนักในการจัดหา จัดสร้าง ส่งเสริม สนบั สนุน โครงสรา้ งพื้นฐานสารสนเทศและอปุ กรณ์เก่ยี วเนอื่ ง กับการศึกษาและการเรยี นรรู้ วมถงึ วิชาการ ความรู้ สารสนเทศต่างๆ และผูส้ อน การจัดการ และการบรหิ ารการศึกษาและการฝกึ อ บรมทง้ั วิชาการและทักษะ เพ่อื พฒั นาและยกระดับ คณุ ภาพความร้ขู องทรพั ยากรมนษุ ยข์ องไทย 36

การศึกษา (e-Education) • ตวั อย่าง • การเปิ ดเครือข่าย school-net ใหแ้ ก่โรงเรียน ต่างๆ ทวั่ ประเทศใหม้ ีโอกาสหาความรู้จาก ระบบอิเทอร์เน็ตไดเ้ ท่าเทียมกนั 37

สังคม (e-Society) • เป้าหมายท่จี ะลดความเหล่อื มลาํ้ ของสงั คมอันเป็นผลเนื่องมาจาก ความเหลือ่ มลํา้ ในการเขา้ ถึงสารสนเทศและความรู้ • ยุทธศาสตร์ • การพฒั นาองคป์ ระกอบทีส่ ําคญั และจําเป็นทจ่ี ะสรา้ งใหส้ ังคมไทยใน ศตวรรษท่ี 21 เปน็ สังคมทดี่ งี าม มคี วามสมบูรณ์และเพียงพอ มีคณุ ธรรม อนั ดงี ามของศาสนาแทรกซมึ อยูใ่ นใจของประชากรทกุ หมู่คณะ • ม่งุ เน้นการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตตามหลกั การและแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง 38

บทสรุป • การใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการศึกษาและการดาํ เนินการต่างๆใน องค์กรมคี วามสําคญั มากต่อการดาํ รงชีวติ ของมนุษย์ • เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารมสี ่วนช่วยให้การดาํ เนินชีวติ ของมนุษย์ในแต่ละวนั มคี วามสะดวกสบายมากยงิ่ ขนึ้ • การได้รับข้อมูลข่าวสารยงั เป็ นการเปิ ดโอกาสให้มนุษย์ได้พฒั นา ความรู้ความสามารถของตนเอง เป็ นการสร้างช่องทางเลือกในการ ดาํ เนินชีวติ ของตนเองมากยงิ่ ขนึ้ 39

บทสรุป •การแลกเปลยี่ นข้อมูลข่าวสารซึ่งกนั และกนั หรือการ กระจายข้อมูลข่าวสารต่างๆ จะประสบผลสําเร็จได้น้ัน ขนึ้ อยู่กบั •ประเภทของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารที่มีอยู่ •วธิ ีการเลือกใชเ้ ทคโนโลยเี หล่าน้นั ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด 40

บทสรุป •วธิ ีการเลือกใช้เทคโนโลยเี หล่าน้ันให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด •วตั ถุประสงค์ •ความจาํ เป็นในการใชง้ าน •ความพร้อมของบุคลากร •งบประมาณในการดาํ เนินการและการดูแลรักษา 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook