Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บัญชี-5-หมวด

บัญชี-5-หมวด

Published by Nattapong Oryuken, 2019-09-12 10:41:39

Description: บัญชี-5-หมวด

Search

Read the Text Version

เรื่อง บัญชี 5 หมวด

คานา หนังสอื เรื่องบญั ชี 5 หมวด เล่มนี้ได้เรียบเรยี งเน้อื หา ท่ปี ระกอบดว้ ย 1. ความรเู้ บื้องตน้ 2. บญั ชี 5 หมวด ความหมายของแต่ละหมวด 3. หลกั การบันทึกบญั ชี 4. การบันทึกบญั ชตี ามระบบบญั ชีคขู่ องแตล่ ะหมวดบญั ชี เพอ่ื จัดทาตามวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการการพฒั นาการเรียนรู้ เรอ่ื งบัญชี 5 หมวดของนอ้ งปี 1 หอ้ ง 1 แผนกการบัญชี ผ่าน หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ ผเู้ รียบเรียงหวังวา่ หนงั สอื เร่ืองบัญชี 5 หมวด เลม่ นี้ จะเป็นประโยชนต์ ่อผทู้ กี่ าลังศึกษา เร่ืองบัญชี 5 หมวด และ อาจารยผ์ ูส้ อนไดใ้ ช้เปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นการสอนใน รายวชิ าบัญชีเบือ้ งต้น หากมีข้อผดิ พลาดประการใดขออภัยไว้ ณ ทน่ี ี้ดว้ ย คณะผู้จัดทา

สารบัญ หนา้ บทที่ 2 1. ความรู้เบ้ืองต้น 2 ความหมายของการบัญชี 4 แนวความคิด 5 วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดทาบัญชี สมการบัญชี 7 2. บัญชี 5 หมวด 7 ความหมายของหมวดบญั ชี 11 สินทรพั ย์ 13 หนีส้ ิน 16 ส่วนของเจ้าของ 17 รายได้ ค่าใช้จ่าย

สารบัญต่อ หน้า 19 บทที่ 21 3. หลกั การบันทกึ บัญชี ระบบบญั ชีเดี่ยว และระบบบญั ชีคู่ 4. การบันทึกบญั ชตี ามระบบบญั ชคี ูข่ องแต่ละหมวดบญั ชี หลักการบนั ทกึ บญั ชตี ามระบบบญั ชีคู่ 5. บรรณานกุ รม

บทที่ 1 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น

ความหมายของบัญชี สมาคมนักบญั ชี และผตู้ รวจสอบบญั ชรี ับอนญุ าตของประเทศสหรฐั อเมรกิ า(The American Instilute of Centified Public Accountants หรือ AICPA) ได้ให้คาจากัดความของคาว่า การบญั ชี ไว้ดังนี้ “Accounting is the art of recording ,classifying, and summarizing in a significant manner and in terms of money , transactions and events which are, in part at least, of a financial character and interpreting the results thereof “ จากคานิยามดงั กลา่ ว การบญั ชี หมายถงึ “ศิลปะของการจดบันทึก การจาแนกให้เปน็ หมวดหมูแ่ ละการสรปุ ผลสงิ่ สาคญั ในรูปตวั เงิน รายการ และเหตุการณ์ตา่ งๆ ซง่ึ เกยี่ วข้องกับ ทางดา้ นการเงินรวมทงั้ การแปลความหมายของผลการปฏบิ ตั ดิ งั กลา่ วดว้ ย” สภาวิชาชพี บัญชี (The Federation of Accounting ProFessions หรือ FAP) ของประเทศ ไทย ได้ใหค้ าจากัดความของคาวา่ การบัญชี ไว้ดงั นี้ การบญั ชี(Accounting) หมายถึง ศิลปะของการเกบ็ รวบรวม บันทึก จาแนก และทา สรปุ ขอ้ มลู เก่ียวกับเหตุการณท์ างเศรษฐกิจในรปู ตวั เงิน ผลขนั้ สดุ ทา้ ยของการบญั ชี คอื การให้ ขอ้ มูลทางการเงนิ ซ่งึ เป็นประโยชน์แก่บคุ คลหลายฝา่ ย และผู้สนใจในกจิ กรรมของกจิ การ” 2

แนวความคิดของสถาบนั ทง้ั 2 แห่ง สรุปได้วา่ การบญั ชีมคี วามหมายท่ีสาคัญ 2 ประการคอื 1.การทาบญั ชี (Bookkeeping) เป็นหนา้ ทข่ี องผู้ทาบัญชี (Bookkeeper) ซึ่งมีขั้นตอน การปฏบิ ตั ิดังนี้ 1.1 การรวบรวม (Collecting) หมายถงึ การเก็บข้อมูลหรอื รายการคา้ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในกจิ การ จากเอกสารหลักฐานตา่ งๆ เช่น ใบเสร็จรับเงนิ ใบกากบั สนิ คา้ เป็นตน้ 1.2 การบันทกึ (Recording) หมายถึง การจดบันทึกรายการคา้ ทเี่ กดิ ในสมุด บัญชใี ห้ถกู ตอ้ งตามหลกั การบญั ชที ี่ ยอมรับท่ัวไป 1.3 การจาแนก (Classifying) หมายถงึ การนาขอ้ มูลท่จี ดบันทึกไวแ้ ล้ว โดย การแยกประเภท และจดั หมวดหมู่ เช่น สนิ ทรัพย์ หนีส้ ิน ส่วนของเจา้ ของ รายได้ และ คา่ ใชจ้ ่าย 1.4 การสรปุ ขอ้ มูล (Summarizing) หมายถึง การนาขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ าแนกเปน็ หมวดหมูม่ าจัดทารายการทางการเงิน ซึ่งเรียกว่า “งบการเงนิ ” 3

2. การใชข้ อ้ มูลทางการเงนิ เพื่อเป็นประโยชนต์ ่อบคุ คลทเ่ี ก่ียวข้อง เชน่ เจ้าของกิจการ ผ้บู ริหาร เจ้าหน้ี ผูล้ งทนุ ลกู ค้า เปน็ ตน้ นอกจากนี้ขอ้ มูลทางการเงินสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ในการวเิ คราะห์ทางด้านการเงนิ การจดั ทางบประมาณ เปน็ ตน้ วัตถปุ ระสงค์ของการจัดทาบัญชี 1.เพอื่ เปน็ การจดบันทกึ รายการคา้ ตา่ งๆ ของกจิ การทเี่ กดิ ข้นึ โดยเรยี งลาดับ กอ่ นหลังของการเกดิ รายการคา้ นน้ั 2. เพื่อแสดงให้เห็นฐานะทางการเงินของกิจการ ณ วนั ใด วันหนงึ่ ว่า มีสนิ ทรพั ย์ หนส้ี ินและส่วนของเจ้าของ อยู่เปน็ จานวนเท่าใด 3. เพอ่ื ใช้เป็นแหล่งข้อมลู ทางการเงนิ ทผ่ี ู้บรหิ ารหรือบคุ คลอน่ื สามารถนาไปใชเ้ พ่อื การตัดสินใจในด้านตา่ งๆได้ เชน่ เพอื่ การวางแผน การควบคมุ การวดั ผลการดาเนนิ งาน เป็นต้น 4. เพอ่ื เปน็ การป้องกนั การทุจริต ของพนักงาน และการสญู หายของสินทรพั ย์ 5.เพือ่ ใหเ้ ปน็ ขอ้ บังคับของกฎหมาย 6.เพ่อื นามาเปน็ เคร่อื งมือในการคานวณภาษี ทต่ี อ้ งจา่ ยให้แกร่ ฐั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 4

สมการบญั ชี(Accounting Equation) หมายถงึ ความสมั พันธ์ระหว่างสนิ ทรพั ย์ หน้ีสนิ และส่วนของเจ้าของ ซึ่งจะมีลักษณะสมดุลกัน ตามหลกั การจัดหาเงินทุนและการ ใชเ้ งินทุน กลา่ วคือ ยอดรวมของสนิ ทรพั ย์ จะต้องเทา่ กบั ยอดรวมของหนส้ี นิ และสว่ น ของเจ้าของ หมายความวา่ สนิ ทรัพยจ์ ะไดม้ าจาก 2 ทาง คือ เจา้ หนแ้ี ละส่วนของเจา้ ของ ซง่ึ สามารถเขยี นในรูปสมการได้ดังน้ี สินทรัพย์ = หน้ีสิน + สว่ นของเจ้าของ 5

บทที่ 2 บัญชี 5 หมวด

หมวดบญั ชี คอื การรวบรวมสิง่ ทเี่ หมอื นกนั เขา้ ไวใ้ นหมวดเดยี วกัน และมีความหมายเหมือนกัน เชน่ รถยนต์ เงนิ สด เป็นส่ิงท่กี ิจการครอบครอง กจ็ ะถอื เปน็ สนิ ทรัพยข์ องกจิ การ แตถ่ า้ เป็นเจา้ หนี้ เงนิ กู้ ก็จะถอื ว่าเปน็ หน้ีสนิ ของกจิ การ เพราะมีภาระผูกพนั ในอนาคต เปน็ ตน้ หมวดบญั ชจี ะมี 5 หมวดไดแ้ ก่ 1. หมวดบัญชีสินทรพั ย์ 2. หมวดบัญชหี น้ีสิน 3. หมวดบัญชีทุนหรอื สว่ นของเจ้าของ 4. หมวดบัญชีรายได้ 5. หมวดบญั ชีค่าใชจ้ า่ ย ความหมายของแตล่ ะหมวด สินทรัพย์ (Assets) หมายถึงส่งิ ที่มีตวั ตน หรอื ไม่มีตัวตนอนั มีมลู คา่ ซึ่งบคุ คลหรือกิจการเป็นเจา้ ของ หรือสามารถถอื เอาประโยชน์ได้จาก กรรมสทิ ธ์ใิ นอสงั หาริมทรัพย์ สังหารมิ ทรัพย์ สทิ ธเิ รยี กร้องมูลค่าทีไ่ ด้มา รายจ่ายทเ่ี กดิ สทิ ธิ และรายจ่ายของงวดบัญชถี ดั ไป 1. สินทรพั ยท์ เี่ ป็นตวั เงินหรอื เทยี บเทา่ เงิน เชน่ เงินสด และต๋ัวเงนิ รบั ตา่ ง ๆ 2. สนิ ทรัพย์ที่เป็นสทิ ธเิ รียกรอ้ ง เชน่ ลกู หน้ี 3. สนิ ทรัพย์ทีม่ ตี วั ตน เช่น ที่ดนิ อาคาร รถยนต์ 4. สินทรัพย์ทไี่ ม่มีตัวตน เชน่ สทิ ธบิ ัตร ลิขสิทธิ์ สมั ปทาน 5. รายจ่ายทีจ่ ่ายไปแล้วจะใหป้ ระโยชน์ต่องวดบัญชีถดั ไป ได้แก่ คา่ ใช้จ่ายลว่ งหนา้ ประเภทต่าง ๆ เช่น คา่ โฆษณาจ่ายล่วงหนา้ 7

สนิ ทรัพย์สามารถแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ 1.สนิ ทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) หมายถงึ สนิ ทรพั ยท์ ม่ี สี ภาพคล่อง สามารถจะเปล่ยี นเป็นเงนิ สด เชน่ เงินสด เงนิ ฝากธนาคาร เปน็ ตน้ หรือสินทรพั ย์อนื่ ท่ีเปล่ียนเปน็ เงนิ สดไดเ้ รว็ โดยปกตจิ ะไมเ่ กนิ 1 ปี ดงั นี้ 1.1 เงนิ สดอาจเปน็ เงินสดในมือหรอื เงนิ ฝากธนาคาร 1.2 เงินลงทนุ ช่ัวคราวประกอบดว้ ยหลกั ทรพั ยใ์ นความต้องการของตลาดเปน็ หลกั ทรัพยท์ ซี่ ้อื มาเพอื่ หาดอกผล จากเงินลงทนุ น้ัน และฝา่ ยจัดการจะขาย เม่อื ต้องการใชเ้ งินสด 1.3 ลูกหนี้การค้าจานวนเงนิ ทล่ี ูกคา้ คา้ งชาระค่าสินค้าหรือค่าบริการทก่ี ิจการได้ขายไปหรือให้บรกิ ารตามปกติ ธรุ ะของกิจการ 1.4 ตว๋ั เงินรบั สญั ญาเปน็ ลายลักษณอ์ ักษรโดยปราศจากเงื่อนไขทบ่ี คุ คลอน่ื รับชาระ เงนิ จานวนหนง่ึ ใหแ้ ก่ กิจการภายในเวลาท่กี าหนด 1.5 เงนิ ให้กูย้ มื ระยะส้ันเงนิ ทก่ี ิจการให้แกผ่ ู้อ่ืนกยู้ ืมโดยมขี อ้ ตกลงท่ีจะเรยี กชาระคนื ภายใน 12 เดือนนับจาก วนั ท่ีในงบดุล 1.6 สนิ คา้ คงเหลือสนิ ค้าสาเร็จรปู สินคา้ ระหว่างผลติ วตั ถุดบิ และวัสดุชิน้ สว่ นทใี่ ชใ้ นการผลติ เพ่ือขายตามปกติ ของกจิ การ 1.7 วัสดุสิ้นเปลืองวัสดุทใ่ี ช้ในสานกั งานหรือในรา้ นคา้ ซง่ึ จะใชห้ มดไปในระยะเวลาส้นั และเมือ่ ใชห้ มด จะถอื เป็น คา่ ใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุนเชน่ เคร่ืองเขียน แบบพมิ พ์ตา่ งๆ 1.8รายได้ค้างรับรายไดอ้ ื่นๆของกิจการทเี่ กดิ ขนึ้ แลว้ แต่กิจการยงั ไม่ได้รบั ชาระเงินในวนั สิน้ งวดจดั การตอ้ งมี รายไดค้ ้างรบั ทเี่ กดิ ข้ึนเช่นดอกเบย้ี คา้ งรับ 1.9ค่าใช้จ่ายจา่ ยลว่ งหนา้ ค่าใชจ้ ่ายทก่ี จิ การจ่ายไปกอ่ นสาหรับสินทรัพย์หรอื บริการที่ กจิ การจะไดร้ บั ประโยชน์ ในอนาคตอนั สน้ั ในการดาเนนิ งานตามปกตขิ องกิจการเชน่ ค่าเช่าจ่ายลว่ งหน้าคา่ เบยี้ ประกนั จา่ ยลว่ งหนา้ 8

2. สินทรัพยไ์ มห่ มนุ เวยี น (Non – Current Assets) หมายถงึ สนิ ทรพั ยท์ ่ีไม่สามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดไดโ้ ดยเร็วซึง่ มี ระยะเวลามากกวา่ 1 ปี เชน่ เงนิ ลงทนุ ระยะยาว เงินใหก้ ูย้ ืมระยะยาวและการลงทุนในหุ้นสามัญของบรษิ ทั ต่าง ๆ เป็นตน้ สินทรัพย์ถาวร (Fixed Assets) หรอื เป็นสนิ ทรพั ย์ท่มี ตี วั ตน มีลกั ษณะการใชง้ านท่คี งทน และมอี ายุการใชง้ านนานเกิน กว่า 1 ปี เชน่ ทด่ี ิน อาคาร อปุ กรณ์ รถยนต์ เปน็ ตน้ สินทรัพยไ์ มม่ ตี วั ตน (Intangible Assets) หมายถึง สนิ ทรัพย์ ท่ีไมม่ รี ปู ร่างไม่สามารถจับต้องได้ทางกายภาพ แต่สามารถตีราคาให้มมี ลู ค่าเป็นเงนิ ตรา และถอื กรรมสิทธิ์ได้ เช่น เคร่อื งหมายการคา้ สทิ ธบิ ตั ร ลขิ สิทธิ์ คา่ ความนยิ ม เปน็ ต้น 2.1 เงนิ ลงทุนระยะยาว กล็ งทุนซื้อหนุ้ ทนุ หรอื หลักทรพั ย์ประกนั ประเภทหน้ี หรือพนั ธบตั รของกิจการอืน่ เพอื่ กิจการตอ้ งการลงทนุ ในเวลาที่นานเกนิ 1 ปีโดยมิได้มวี ตั ถปุ ระสงค์ในการจาหนา่ ยไปในระยะเวลาอนั ใกล้ ตวั อยา่ งเงินลงทนุ ระยะยาวได้แก่ เงนิ ลงทุนในบรษิ ัทย่อยการลงทนุ โดยการซอ้ื หนุ้ สามัญของบรษิ ทั อ่ืนโดยมีวัตถุประสงค์ ท่ีจะควบคมุ บริษัทนนั้ ในระยะยาว 2.2 ทดี่ ินอาคารและอปุ กรณ์ สินทรพั ยป์ ระเภทนเี้ ป็นสนิ ทรพั ยถ์ าวรทม่ี ตี วั ตน ซึ่งกิจการมีไว้เพอื่ ใช้ ประโยชน์ในการดาเนินงาน การผลติ สินค้าการจาหน่ายสนิ ค้า การให้บริการ การบริหารงานรวมถึงสนิ คา้ ท่ีมไี ว้เพ่อื ใช้ในการบารงุ รักษาหรอื ซอ่ มแซมทรพั ย์สนิ ดังกล่าวดว้ ย สนิ ทรัพย์ ประเภทน้ีเปน็ ส่ิงท่กี ิจการไดม้ าหรอื สรา้ งขน้ึ เองโดยตง้ั ใจวา่ จะใช้ประโยชน์ จากสนิ ทรัพยน์ น้ั ตอ่ เน่อื งตลอดไป ทาไมต้องไปจะขายในการดาเนินงานตามปกติในงบดุลจดั แสดงสนิ ค้าประเภทนต้ี ามราคาทนุ หกั ดว้ ยคา่ เส่อื มราคาสะสมแต่ บางกรณกี จิ การอาจเลือกท่จี ะแสดงสนิ ค้าประเภทนตี้ ามราคาทตี่ ใี หมห่ กั ด้วยคา่ เสื่อมราคาสะสมแต่ทัง้ นีย้ กเวน้ ที่ดนิ และ แสดงตามราคาทนุ หรอื ราคาท่ตี ใี หมโ่ ดยไมค่ ดิ ค่าเสือ่ มราคาตวั อยา่ งของสินทรัพยป์ ระเภทน้ไี ด้แก่ ท่ีดนิ ท่ดี ินทใ่ี ช้ประโยชน์ในการดาเนนิ งานเปน็ ทตี่ ั้งสานกั งานโรงงานคลังเกบ็ สินค้าและส่ิงปลกู สรา้ งอ่ืนๆ 9

อาคาร อาคารสง่ิ กอ่ สร้างอาคารสานักงานโรงงานทใี่ ชใ้ นการดาเนินงาน อปุ กรณ์ อปุ กรณ์เคร่อื งมือเครอ่ื งใช้สินทรพั ยถ์ าวรทใ่ี ช้ประดับรา้ นหรอื ตกแตง่ สานักงานอปุ กรณ์ อาจอยากเป็นอปุ กรณ์สานกั งานอุปกรณ์รา้ นคา้ อุปกรณใ์ นการขนส่งเครอื่ งจักรเครอื่ ง ตกแต่ง 2.3 สนิ ทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตนเป็นสนิ ทรพั ย์ท่ไี มม่ ีรูปร่างอยตู่ วั ตนแตก่ ิจการมีอย่แู ละวัดมูลคา่ เป็นเงินไดโ้ ดยมหี ลักฐานชดั เจน ตดั สนิ ทรัพยน์ จ้ี ะให้ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจแกก่ จิ การ ในอนาคต ตัวอย่างของสินทรพั ยป์ ระเภทนไ้ี ดแ้ ก่ ลิขสิทธ์ิ สทิ ธิตามกฎหมายท่ีรัฐมอบให้แก่ผู้ทาวรรณกรรมหรอื ศิลปกรรมรวมทงั้ สทิ ธิ ในการเผยแพรต่ อ่ สาธารณชนดว้ ย สิทธบิ ัตร สทิ ธิตามกฎหมายทร่ี ัฐใหแ้ กบ่ ุคคลท่ีประดษิ ฐ์คิดค้นสิง่ หน่งึ สง่ิ ใดขึน้ ใหม่ อันดับได้ว่ามปี ระโยชน์ สมั ปทาน สิทธทิ ีร่ ฐั หรอื บริษทั ใดใหแ้ กบ่ คุ คลหรอื กิจการเพอ่ื ประกอบกจิ การเฉพาะอยา่ ง หรือเปน็ ตัวแทนขายผลติ ภัณฑห์ รอื บรกิ าร ในพื้นทใ่ี ดพืน้ ทห่ี น่ึง เครือ่ งหมายการค้า เครื่องหมายหรือตาช่ือที่กิจการใชก้ ับสนิ คา้ ของตนเพอ่ื ผ้บู รโิ ภค สามารถตดั สินใจเลือกซื้อสินค้าได้ง่ายตามความประสงค์ 10

หนส้ี นิ (Liability) หมายถงึ ภาระผกู พนั ในปัจจุบันของกิจการทต่ี อ้ งจา่ ยชาระคนื แกบ่ ุคคลภายนอกในอนาคต ภาระผกู พัน ดงั กล่าวเปน็ ผลของเหตุการณ์ในอดตี ซ่ึงการชาระภาระผูกพันน้ันคาดว่าจะสง่ ผลใหก้ ิจการสูญเสยี ทรพั ยากรที่มปี ระโยชนเ์ ชงิ เศรษฐกิจ เช่น เจ้าหน้กี ารค้า เงินกู้ เงนิ เบิกเกินบัญชี เจา้ หนจ้ี านอง เปน็ ตน้ หนสี้ นิ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1.หน้สี ินหมนุ เวยี น หน้ีสนิ หมุนเวยี นหมายถงึ หนสี้ นิ ท่ีมีระยะเวลาการชาระคนื ภายใน 1 ปหี รือภายในรอบระยะเวลาการดาเนนิ งาน ตามปกตขิ องกจิ การหน้สี ินหมนุ เวียนจะชาระดว้ ยสนิ ทรพั ย์หมุนเวียน การใหบ้ รกิ ารหรือการก่อหนสี้ ินหมนุ เวยี นอ่ืนข้ึนใหม่นอกจากนยี้ งั รวมถึงสว่ นของภาระผกู พันระยะยาว ทค่ี าดวา่ จะตอ้ งชาระภายใน 1 ปนี บั จากวนั ทใ่ี นงบดลุ รายการทีจ่ ัด เป็นหนีส้ นิ หมนุ เวยี นได้แก่ 1.1 เงนิ เบกิ เกินบญั ชีและเงนิ กูย้ มื จากธนาคาร เงินเบกิ เกนิ บญั ชธี นาคาร และเงนิ กูย้ มื จากธนาคารไมว่ ่าโดยวธิ ีใดเงินกยู้ มื ทีม่ ีกาหนดชาระหน้ีทีแ่ น่นอนใหจ้ ัดประเภท เปน็ หมนุ เวียน และระยะยาวตามท่ีกาหนดชาระหนแี้ ม้ว่าเจา้ หน้จี ะมสี ิทธทิ วงถามให้ชาระหนี้ ก่อนกาหนดการกต็ าม 1.2 เจ้าหนก้ี ารคา้ จานวนเงินทคี่ ้างชาระค่าสินคา้ หรือบริการทีก่ ิจการมตี อ่ บคุ คลอ่นื ตามปกตธิ รุ ะของกจิ การ 1.3 ต๋วั เงนิ จา่ ยสัญญาทเี่ ปน็ ลายลกั ษณ์อักษรโดยปราศจากเงอื่ นไข ท่กี ิจการได้รับรองให้ไว้ต่อบุคคลอื่นวา่ กิจการจะชาระเงินจานวนหน่ึงให้แก่บคุ คลภายในระยะเวลาท่ีกาหนด ซ่ึงอาจเป็นตั๋วแลกเงินหรือต๋ัวสัญญาใช้เงิน 1.4 รายได้รับลว่ งหน้า หนี้สนิ ท่เี กดิ จากกจิ การรับเงนิ ไวล้ ่วงหน้าสาหรบั ค่าสินค้าหรือบริการท่ียงั มไิ ดใ้ ห้ลกู ค้า จงึ เกิดเป็นพันธะทกี่ จิ การต้องสง่ มอบสนิ คา้ หรือบริการให้แก่ลูกค้าต่อไป 1.5 ค่าใชจ้ ่ายคา้ งจา่ ย คา่ ใชจ้ ่ายทใ่ี ห้ประโยชน์แกก่ ิจการแลว้ แตก่ ิจการยังไมไ่ ดช้ าระเงินในวันทางบดลุ เช่นค่า สาธารณปู โภคคา้ งจ่าย ค่าแรงคา้ งจา่ ย จานวนใดจะตอ้ งชาระภายในหนง่ึ ปีใหแ้ สดงเปน็ หนสี้ นิ หมุนเวียนเฉพาะจานวนนัน้ 1.6 เงนิ กู้ยมื ระยะส้ันทีก่ ิจการผหู้ ญงิ จบั ผู้อ่ืนและกาหนดชาระภายในหน่งึ ปี 11

2.หน้ีสินไม่หมนุ เวยี น หน้ีสนิ ไมห่ มุนเวยี นหมายถึง หน้ีสนิ ทีม่ รี ะยะเวลาการชาระเงินนานกว่า 1 ปีหรอื เกนิ กวา่ รอบระยะเวลาการ ดาเนนิ งานตามปกตขิ องกิจการมสี นิ ไม่หมนุ เวยี นอาจเกดิ จากกูย้ ืมเงนิ มาใชใ้ นกจิ การเพ่อื ซอ้ื สินทรัพยท์ ่มี ีราคาสงู การแสดงหนี้สนิ ไมห่ มุนเวยี นในงบดลุ จะเปดิ เผยข้อมลู เกย่ี วกับภาระผูกพันและขอ้ ตกลงตา่ งๆเชน่ อัตราดอกเบีย้ วนั ครบกาหนดชาระ ลกั ษณะของภาระผกู พันตัวอย่างหน้สี นิ ไมห่ มนุ เวียนได้แก่ 2.1 เงนิ กยู้ ืมระยะยาว การกูเ้ งิน จากธนาคารหรือสถาบันการเงนิ โดยมสี ัญญาการชาระเงนิ นานกว่า 1 ปกี ารกูย้ มื ระยะยาวนีอ้ าจมีหลักทรัพยค์ า้ ประกันหรือไม่มกี ็ได้ในกรณีท่ีมีการนาสนิ ทรัพยบ์ างอย่างของกจิ การ ไปจานองเพอื่ เปน็ หลักประกนั แก่ผใู้ หก้ ้ผู า้ กจิ การไม่จา่ ยเงินตามกาหนดผ้ใู ห้กู้มสี ิทธ์บิ งั คบั เอาสนิ ทรพั ยท์ จี่ านอง ไปขายเอาเงินมาชาระหนหี้ รอื ยดึ สนิ ทรัพย์ทจ่ี านองได้ 2.2 หุ้นกกู้ ารจัดหาเงินทุนอยา่ งหนงึ่ ของกจิ การโดยการแบง่ จานวนเงนิ ท่ีต้องการกอู้ อกเปน็ หุ้นราคา แต่ละหุ้นเท่ากัน ราคาหุ้นแต่ละหนุ้ กิจการเปน็ ผ้กู าหนดขึ้นเอง การออกหุ้นกู้จะตอ้ งกาหนดอตั ราดอกเบ้ยี กาหนด ระยะเวลาการจา่ ยดอกเบีย้ กาหนดเวลาแน่นอนในการไถถ่ อนหุ้นคนื กว่า 1 ปหี ุ้นกจู้ ะจาหนา่ ยใหแ้ กบ่ คุ คลท่ีสนใจ จะลงทนุ โดยอาจจาหน่ายในราคาสงู กว่าหรือต่ากวา่ ราคาที่กาหนดไวใ้ นใบหุ้นก็ได้ในระหวา่ งทหี่ ้นุ ก็ยังไมค่ รบ กาหนดไถถ่ อน ผูถ้ ือหุน้ กมู้ ฐี านะเปน็ เจ้าหน้ีของกจิ การ และกจิ การจะต้องจา่ ยดอกเบ้ียให้ตามท่ีกาหนดไว้ 12

ส่วนของเจ้าของ (Owner’s equity) หมายถงึ สว่ นไดเ้ สียคงเหลือในสินทรัพย์ของกิจการหลังจาก หักหนีส้ ิน ทง้ั สนิ ออกแลว้ กรรมสทิ ธิ์ที่เจา้ ของกิจการมีในสนิ ทรัพย์ เรยี กว่า สินทรัพยส์ ทุ ธิ (สินทรัพย์ – หนี้สิน) ส่วนของเจ้าของกจิ การแบง่ ได้ 3 ประเภท 1.กิจการเจา้ ของคนเดยี ว เปน็ กจิ การค้าของเจ้าของคนเดียวสว่ นของเจ้าของกิจการประกอบดว้ ยผลรวมของเงนิ ท่เี จ้าของนามา ลงทนุ กบั ผลกาไรท่เี กิดขึ้นและหกั ด้วยสว่ นที่เจา้ ของ ถอนทุนและผลขาดทนุ ท่ีเกิดขึ้น การแสดงผลของเจา้ ของ แสดงเปน็ ยอดเดยี วดังน้ี สว่ นของเจ้าของ ทนุ ก. XXX 2.ห้างหุ้นส่วน เป็นกจิ การของหา้ งหุ้นสว่ นส่วนของเจา้ ของเรยี กวา่ สว่ นของผเู้ ป็นหุน้ ส่วนซึ่งแสดงสว่ นทุนของผ้เู ปน็ หุ้นสว่ นของแต่ละคนและกาไรขาดทนุ ส่วนที่ยงั ไมแ่ บ่งสรร สาหรับสว่ นทุนของผเู้ ป็นหุ้นส่วนแตล่ ะคนนน้ั ประกอบดว้ ยเงนิ ทนุ ของผูเ้ ป็นหุ้นส่วนแต่ละคนทีจ่ ดทะเบยี นและนามาลงทุนไว้ ถ้ามกี ารเพ่ิมทนุ กน็ ามารวมดว้ ย เชน่ กันในการดาเนินงานของหา้ งซ่ึงอาจจะได้รบั ค่าตอบแทนเช่นเงินเดอื นคา่ เบ้ียประชมุ เปน็ ตน้ ซ่งึ หากผู้เปน็ หนุ้ สว่ น ยังไมม่ าเบกิ เงินไปห้างหุ้นสว่ นจะนารายการเหล่านบ้ี ันทึกไว้ในเงนิ เดนิ สะพัดของผู้เป็นห้นุ สว่ นแตล่ ะคนการแสดงส่วน ของผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นแสดงดงั นี้ สว่ นของผูถ้ อื หนุ้ ทนุ ก. XXX ทนุ ข. XXX ทนุ ค. XXX XXX กาไรขาดทนุ สะสมที่ยงั ไม่ไดแ้ บ่ง XXX รวมส่วนของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ น XXX 13

3.บรษิ ทั จากัด เป็นกิจการบรษิ ัทจากัด ส่วนของเจ้าของเรียกว่าส่วนของผู้ถอื หุ้นซงึ่ ประกอบดว้ ย ทุนเรือนหุน้ สว่ นเกินมูลคา่ หนุ้ และ กาไร สะสมการแสดงสว่ นของผถู้ อื หุน้ ในงบดลุ แสดงดงั นี้ สว่ นของผ้ถู ือห้นุ ทุนเรอื นหนุ้ ทุนจดทะเบียน XXX ทนุ ทีอ่ อกและชาระแลว้ XXX สว่ นเกนิ มลู คา่ ห้นุ XXX กาไรขาดทุนสะสม จดั สรรแลว้ สารองตามกฎหมาย XX สารองอ่นื XX XX ยงั ไม่ไดจ้ ดั สรร XX XXX รวมส่วนของผ้ถู ือหุ้น XXX เน่อื งจากกิจการส่วนใหญจ่ ดั ตงั้ ขนึ้ ในรปู บรษิ ทั จึงขอกล่าวถงึ ส่วนของผูถ้ อื หนุ้ เพมิ่ เติมดงั น้ี ทุนเรือนหนุ้ ทุนจดทะเบยี นซ่ึงหมายถงึ พน้ื ทจ่ี ดทะเบยี นตามกฎหมายเป็นการแสดงรายละเอียดชนิดของหุ้นหนุ้ สามัญหุ้น บุริมสทิ ธิจานวนหนุ้ มลู คา่ หุน้ ท่ีจดทะเบยี นแตล่ ะชนดิ รายการ นี้จึงเป็นการใหร้ ายละเอยี ดเท่านนั้ แต่ไม่ไดแ้ สดงถึงฐานะทมี่ ีอย่จู ริง ของบริษทั เพราะบริษัทอาจจะออกขายหุ้นและเรียกชาระไมค่ รบตามท่จี ดทะเบยี นไว้ก็ได้ ทุนทอี่ อกและชาระแล้ว หนุ้ และมลู หุ้นทนี่ าออกจาหน่ายและเรยี กใหช้ าระมลู ค่าหนุ้ แลว้ ในงบดลุ จะแสดงหุ้นแตล่ ะชนดิ และสิทธพิ ิเศษใดท่มี ี ของหุ้นบรุ ิมสิทธิด้วย 14

ส่วนเกินมูลค่าหุ้น เงินค่าหนุ้ ท่ขี ายหุน้ ได้สูงกวา่ มลู ค่าท่ีตราไว้ท้ังของห้นุ สามญั และหุน้ บรุ มิ สิทธิ กาไรสะสมกาไรทยี่ งั ไม่แบ่งปนั และยงั สะสมไวใ้ นกจิ การบางครง้ั ถา้ กจิ การมีขาดทนุ สะสมสว่ นของผถู้ อื หนุ้ ส่วนนจี้ ะเป็นค่าติดลบการแสดงกาไรสะสมในงบดลุ แบง่ เป็น 2 สว่ นคอื จัดสรรแลว้ คอื สารองตามกฎหมายเงนิ สารองท่จี ดั สรรไว้จากกาไรสทุ ธิก่อนจา่ ยเงนิ ปนั ผลตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ สารองอ่นื เงินสารองทก่ี นั ไว้จากกาไรสทุ ธิเพอื่ การใดๆตามมติ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นการเสนอข้อมูลให้แยก แสดงเป็นแต่ละประเภทเชน่ สารองเพ่อื รักษาระดับเงินปนั ผลสารองเพอื่ การขยายงานกิจการสารองเพ่อื สง่ ใชห้ นุ้ กู้ ยังไม่ได้จดั สรรคอื กาไรสะสมและก็มาสุทธิของระยะเวลาบัญชปี ัจจุบนั ซ่ึงคงเหลือหลังการจัดสรรกาไร สะสมช่วงนอ้ี าจมียอดคงเหลือเปน็ ขาดทุนสะสมดงั ไดก้ ลา่ วแลว้ 15

รายไดห้ มายถงึ จานวนเงนิ สดลกู หนห้ี รือผลตอบแทนท่กี ิจการได้รับมาจาก ประกอบการโดยปกติของกจิ การก่อนหัก คา่ ใช้จ่ายใดๆจากการขายสนิ คา้ หรือบรกิ ารให้แกล่ ูกคา้ ซ่ึงคานวณไดเ้ ปน็ จานวนเงินทแ่ี น่นอนกับลูกค้าคนอ่นื แทนท่เี กดิ จาก การ ใหใ้ ช้สนิ ทรพั ยแ์ ละรวมถงึ กาไรที่ได้รับจากการขายหรือแลกเปลี่ยนสนิ ทรพั ย์ดอกเบี้ยท่ีได้รบั จากการให้กยู้ ืมเงินปนั ผล รบั ทไ่ี ด้จากการลงทนุ ซอ้ื หนุ้ ในกิจการอ่ืน รายไดแ้ บ่งออกเปน็ 2 ชนดิ คือ 1.รายได้ตรง รายได้ตรงหมายถึงรายได้ท่เี กดิ ขน้ึ ตามวธิ ที างการค้าโดยปกติของกจิ การถ้าเปน็ กิจการซ้ือขายสนิ ค้ารายได้ โดยตรงคือรายได้จากการขายซ่ึงเปน็ รายได้ทีเ่ กดิ จากการส่งมอบสินคา้ สิทธิ หรือบริการเพอื่ แลกเปลยี่ นกับเงนิ สด สิทธิ เรียกรอ้ งใหช้ าระเงนิ หรือส่งิ อน่ื ทมี่ ีมูลคา่ คิดเป็นเงินไดถ้ ้าเป็นกจิ การธนาคารรายได้โดยตรงคือรายได้ดอกเบ้ียตา่ ถ้าเป็นกิจการ ให้บรกิ ารรายไดโ้ ดยตรงคอื รายไดจ้ ากการให้บริการ 2.รายไดอ้ นื่ รายไดอ้ ่นื หมายถึง รายได้ท่ีไมไ่ ด้เกดิ ขนึ้ ตามวถิ ที างการคา้ และประเภทของกจิ การเช่น ถ้าเป็นกิจการซื้อขายสินค้า รายได้อ่ืนอาจหมายถึงกาไรจากการขายสินทรพั ย์ถาวรดอกเบย้ี รบั จากเงินใหก้ หู้ รอื เงินฝากธนาคารเงินปนั ผลรบั จากการ ลงทนุ ในห้นุ ของกิจการอืน่ 16

คา่ ใชจ้ า่ ย หมายถึง ตน้ ทุนของสนิ ค้าหรอื บริการท่ีกิจการต้องจา่ ยไปเพอ่ื ก่อให้เกดิ รายได้ คา่ ใชจ้ ่ายเปน็ ประเภทใหญๆ่ ได้ดังนี้ 1. ต้นทนุ ขาย ต้นทนุ ขายหมายถงึ ตน้ ทนุ ของสนิ ค้าหรอื บรกิ ารทข่ี ายรวมราคาซอื้ ต้นทุนการผลติ สินคา้ และคา่ ใชจ้ า่ ยอน่ื ๆท่ีจาเปน็ ต้องใช้ เพื่อใหส้ นิ คา้ อยใู่ นสภาพพรอ้ มที่จะขายถ้าเป็นกจิ การให้บรกิ ารเรียกว่าต้นทุนการให้บรกิ าร 2. ค่าใชจ้ ่ายในการขายและบริหาร คา่ ใชจ้ า่ ยในการขายและการบรหิ าร ในบางครั้งอาจเรยี กรวมกนั วา่ ค่าใชจ้ ่ายในการดาเนนิ งาน คา่ ใชจ้ า่ ยในการขายหมายถึงคา่ ใชจ้ ่ายทเ่ี กิดขึน้ อนั เนื่องมาจากการขายสินคา้ ของกิจการ เชน่ คา่ โฆษณา เงนิ เดอื นพนกั งานขาย ค่านายหนา้ ค่าขนส่งเม่อื ขาย ค่าใช้จ่ายในการบรหิ ารงานหมายถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยท่วั ไปท่ีเกดิ ขน้ึ ในการบริหารกจิ การเป็นส่วนรวม เชน่ เงินเดอื นพนักงานชนั้ บรหิ ารค่าเช่าอาคารทท่ี าการ คา่ เสื่อมราคาอปุ กรณ์สานกั งานค่าน้าค่าไฟ 3. ดอกเบ้ียจา่ ย ดอกเบยี้ จ่าย เป็นค่าใช้จา่ ยอื่น หมายถงึ บอกแล้วหรือคะตอบแทนที่คิดให้เน่ืองจากการใชป้ ระโยชนจ์ ากเงินหรอื เงินทนุ 4. ภาษเี งนิ ได้ ภาษีเงินไดเ้ ปน็ คา่ บริการรายปีที่เรียกเก็บจากรายได้ ค่าจา้ ง เงนิ เดอื น ค่าคอมมิชช่ัน และรายไดร้ บั ลว่ งหนา้ (เงนิ ปันผล ดอกเบย้ี คา่ เชา่ กาไรจากการซือ้ ขาย) มีภาษีเงินไดพ้ ืน้ ฐานสองประเภท ประเภทแรกคอื ภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดาท่ีเรยี กเกบ็ จากรายได้ ของบคุ คล ครัวเรอื น ห้างหนุ้ ส่วน และเจา้ ของแตเ่ พยี งผูเ้ ดยี ว ประเภททีส่ องคือภาษเี งนิ ไดน้ ิตบิ คุ คลซึง่ เรยี กเกบ็ จากกาไรสุทธขิ องบริษทั ท่จี ดทะเบียน 5. คา่ ใชจ้ า่ ยอน่ื ๆ คา่ ใช้จา่ ยอนื่ หมายถึง คา่ ใชจ้ ่ายที่มิได้เกดิ ขึน้ ตามวิถีทางการคา้ โดยปกตขิ องกิจการแตเ่ กดิ ข้ึนจากกิจกรรมประกอบของ กจิ การ ค่าใช้จา่ ยอน่ื นี้อาจจะไม่ไดเ้ กิดขึน้ ทกุ งวดบญั ชีคา่ ใช้จา่ ยบางชนิดมไิ ด้เกดิ ข้ึนบ่อยครงั้ ตวั อยา่ งของค่าใชจ้ า่ ยอื่นเชน่ ขาดทุนจาก การขายสินทรัพย์ถาวรขาดทนุ จากราคาตลาดของหลกั ทรพั ย์ลดลง 17

บทที่ 3 ห ลั ก ก า ร บั น ทึ ก บั ญ ชี

หลกั การบันทึกรายการทางบัญชี (Recording transaction) แบ่งเป็น 2 ระบบ ดังนี้ ระบบบญั ชเี ดย่ี ว (Single - entry bookkeeping or single - entry system) เป็นวธิ กี ารบันทึกบญั ชี เพียงดา้ นเดยี วเท่านั้นคือ ด้านเดบติ หรอื ดา้ นเครดติ ระบบบัญชเี ด่ยี วน้ีจะบันทกึ เฉพาะรายการในบญั ชเี งินสด หรือ บัญชที ส่ี าคญั บางบัญชี เชน่ บญั ชลี กู หนีห้ รือบัญชีเจ้าหนีเ้ ทา่ นน้ั โดยไม่ได้ใช้การบนั ทึกรายการตามระบบบัญชคี ทู่ ี่ ตอ้ งบนั ทกึ รายการบัญชที งั้ ดา้ นเดบติ และเครดติ การบันทกึ บัญชีตามระบบบัญชเี ด่ยี วนนี้ ิยมใช้ในกจิ การขนาดเลก็ ท่ี เจา้ ของเปน็ ผู้ควบคมุ และจดบนั ทึกเอง สาหรบั ธรุ กจิ ขนาดย่อมข้ึนไปไมค่ วรนาระบบบญั ชเี ดย่ี วมาใช้ เน่ืองจากจะมี ปญั หาในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู การตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มูลทางการบญั ชี และการจัดทางบการเงิน ระบบบัญชีคู่ (Double - entry bookkeeping or double - entry system) เป็นวธิ ีการที่ใช้ปฏบิ ตั ใิ น การบนั ทกึ รายการบัญชีตา่ ง ๆ ประกอบด้วยรายการในสมุดรายวันท่วั ไป รายการในสมุดบญั ชีแยกประเภท ตลอดจน เอกสารหลกั ฐาน การบันทึกเหลา่ นมี้ ีระบบการและประเพณีปฏิบตั ติ า่ ง ๆ ซึ่งอาจใชไ้ ด้กบั ทง้ั กิจการขนาดเล็กและขนาด ใหญ่ ท้ังน้เี พือ่ วตั ถปุ ระสงค์ที่จะทาให้สามารถเสนอรายงานทางการเงนิ ไดถ้ ูกตอ้ ง ตามที่ควรและทนั ต่อเหตกุ ารณ์การ บันทกึ บัญชีตามระบบบญั ชคี ู่แต่ละรายการจะ เกี่ยวขอ้ งกับบญั ชีสองดา้ น คอื บันทกึ ด้านเดบติ บัญชีหนงึ่ และบันทกึ ด้านเครดติ ในอีกบัญชหี นง่ึ ด้วยจานวนเงินทเ่ี ทา่ กนั และจะมผี ลทาให้เกิดดุลข้ึนในตัวเอง และในขณะเดียวกันกจ็ ะทาให้ ผลรวมของยอดบญั ชีท่ีเกิดจากทกุ รายการรวมกันแลว้ ได้ค่าเปน็ ศูนย์ นน่ั กค็ อื ผลรวมของยอดดุลเดบติ เท่ากบั ผลรวมยอดดลุ เครดิต การจัดทารายละเอยี ดของยอดบญั ชีต่าง ๆ ประกอบกนั เป็นยอดรวมท้ังสนิ้ เรียกวา่ \"งบ ทดลอง “ 19

บทท่ี 4 ก า ร บั น ทึ ก บั ญ ชี ต า ม ร ะ บ บ บั ญ ชี คู่ ข อ ง แ ต่ ล ะ ห ม ว ด บั ญ ชี

การบันทึกบัญชีจะใช้หลักระบบบัญชคี ู่ ดังนนั้ รายการค้าทุกรายการตอ้ งบันทกึ โดยเดบิตบัญชหี นงึ่ และเครดติ อกี บญั ชีหนงึ่ ด้วยจานวนเงนิ ทเี่ ทา่ กนั เสมอ เรียกวา่ บัญชีน้ันได้ดลุ กนั แตใ่ นบางคร้ังรายการคา้ ที่เกดิ ขึ้นในเวลาเดยี วกนั มหี ลายบัญชี อาจบัญชี อาจบนั ทึกบัญชโี ดยเดบิตหรอื เครดติ บญั ชหี ลายบญั ชีรวมกนั ได้ เรียกวา่ การรวมรายการ (Compound entry) แตจ่ านวนเงนิ รวม ของเดบิตและเครดติ จะต้องเท่ากนั เสมอ นอกจากน้นั เมอื่ บนั ทกึ รายการค้าเรยี บรอ้ ยแล้วยอดคงเหลอื ของแตล่ ะบัญชที ม่ี ี ยอด ดลุ เดบติ เมอ่ื นามารวมกนั จะเทา่ กับยอดคงเหลอื ของแตล่ ะบัญชีทีม่ ียอดดุลเครดติ ซึง่ เป็นไปตามหลักสมการบัญชีที่วา่ สินทรัพย์ เท่ากับ หนีส้ ิน และทุนรวมกนั หลกั การบันทกึ บัญชตี ามระบบบญั ชีคู่ การบันทึกบญั ชตี ามระบบบัญชีค่ขู องแตล่ ะหมวดบญั ชี มีหลกั ดังนี้ 1. หมวดบญั ชสี นิ ทรัพย์ รายการคา้ ใดทว่ี เิ คราะห์แล้วมีผลทาให้สินทรัพยเ์ พิ่มขึ้นจะบนั ทกึ ไว้ทางดา้ นเดบติ ส่วน รายการค้าใดทว่ี ิเคราะห์แลว้ มผี ลทาให้สนิ ทรัพย์ลดลงจะบันทกึ ไวท้ างดา้ น เครดิต 2. หมวดบัญชีหนีส้ นิ รายการค้าใดทวี่ เิ คราะห์แล้วมผี ลทาให้หนส้ี นิ เพมิ่ ข้ึนจะบนั ทึกไว้ทางดา้ นเครดิตส่วน รายการคา้ ใดท่ีวเิ คราะหแ์ ลว้ มีผลทาใหห้ น้ีสนิ ลดลงจะบันทกึ ไวท้ างดา้ นเดบิต 3. หมวดบัญชที ุนหรอื สว่ นของเจ้าของ รายการคา้ ใดที่วิเคราะหแ์ ลว้ มีผลทาให้ทุนเพม่ิ ข้ึนจะบันทึกบญั ชีไว้ ทางด้านเครดติ สว่ นรายการค้าใดทวี่ เิ คราะหแ์ ลว้ มีผลทาใหท้ ุนลดลงจะบันทึกไว้ทางด้าน เดบติ 4. หมวดบัญชีรายได้ จากการวเิ คราะห์สมการบัญชี ถ้าบญั ชีรายได้เพม่ิ ขน้ึ มีผลทาใหบ้ ญั ชที นุ เพ่มิ ดังนน้ั การ วิเคราะหย์ ึดตามหลักหมวดบญั ชีทุน กล่าวคือ ถ้ารายได้เพ่มิ ขึน้ จะบันทึกบญั ชีด้านเครดติ ถา้ รายได้ลดลงจะบันทกึ บญั ชี ทางดา้ นเดบิต 5. หมวดบัญชคี ่าใชจ้ ่าย จากการวิเคราะห์สมการบัญชี ถา้ บัญชีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นมผี ลทาใหบ้ ญั ชีทุนลดลงดังนั้น หลักการวิเคราะห์ ยึดตามหลักหมวดบัญชที นุ เช่นกัน กลา่ วคอื ถ้าคา่ ใชจ้ ่ายเพมิ่ ขนึ้ จะบันทึกทางด้านเดบิตถา้ คา่ ใชจ้ ่ายลดลง จะบันทึกทาง ดา้ นเครดติ 21

บรรณานกุ รม “ความหมายของการบญั ชี,” https://wanwisalailon.blogspot.com/2007/03/blog-post.html (สบื ค้นข้อมลู วนั ที่ 7 มถิ นุ ายน 2562) นติ ย์รดี สุขปานประดิษฐ์. “ความร้ทู ่วั ไปเก่ยี วกับการบัญชี,” การบญั ชีเบอ้ื งตน้ 1. กรุงเทพฯ: ศนู ยส์ ง่ เสริมวชิ าการ, 2556. หน้า 2 – 6 นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศลิ ปะพร ศรีจันเพชร. “ทฤษฏกี ารบญั ช,ี ” http://www.elfms.ssru.ac.th/http://www.elfms.ssru.ac.th/apinya_wi/file.php/ 1/acc/accounting_theory222.pdf (สบื คน้ ขอ้ มูลวนั ที่ 12 มิถนุ ายน 2562) วัฒนา ศิวะเก้ือ. “ความหมายและรปู แบบของขอ้ มลู ทางการบญั ชี,” การบญั ชขี น้ั ตน้ . กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณืมหาวทิ ยาลัย, ม.ป.ป. หนา้ 19 – 27

ค ณ ะ ผู้ จั ด ทำ 1 . น ำ ง ส ำ ว สุ กั ญ ญ ำ นุ่ ม ฤ ท ธ์ ก บ . 2 . 2 เ ล ข ท่ี 2 4 ก บ . 2 . 2 เ ล ข ท่ี 2 7 2 . น ำ ง ส ำ ว เ ส ำ ว ลั ก ษ ณ์ เ ขี ย ว ส ลั บ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook