Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice อาหารไทย

Best Practice อาหารไทย

Published by noon nfe, 2021-11-13 06:02:28

Description: Best Practice อาหารไทย

Search

Read the Text Version

ผลการปฏบิ ัติงานที่ดี (Best Practice) โครงการ 1 อำเภอ 1 อาชพี หลักสูตร อาหารไทย จำนวน 35 ช่ัวโมง โดย นางสาวทัตตยิ า นอ้ ยพทิ กั ษ์ ครกู ศน.ตำบลบางเตย ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอสามพราน สำนกั งาน กศน.จังหวัดนครปฐม สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) เป็นวิธีปฏิบัติ หรือขั้นตอนการปฏิบัติที่ทำให้องค์การประสบ ความสำเร็จหรือนำไปสู่ความเปน็ เลศิ ตามเป้าหมาย เป็นทย่ี อมรบั ในวงวชิ าการหรอื วิชาชพี นน้ั ๆ และมหี ลกั ฐานของ ความสำเรจ็ ปรากฏชัดเจน โดยมีการสรปุ วธิ ีปฏิบตั ิ หรือข้ันตอนการปฏิบัติ ตลอดจนความรูแ้ ละประสบการณ์ ท่ีได้ บันทึกเป็นเอกสาร และเผยแพร่ให้หน่วยงานภายในหรือภายนอกสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) สามารถเกิดจากตัวบุคคล เนื่องมาจากในการทำงาน ทุกคนจะเกิดการเรียนรู้ไปสู่เป้าหมายของ หนว่ ยงาน เกดิ จากอปุ สรรค ปญั หาตา่ งๆ ที่เกิดขึ้นระหวา่ งทำงาน และเกิดจากแรงบันดาลใจทอี่ ยากจะพัฒนา หรือ คน้ หาวธิ ีการใหม่ๆ เพื่อความพงึ พอใจของหนว่ ยงาน หรือของตนเอง เพอ่ื สร้างประสิทธิภาพทีด่ ีกว่าเดิม ดงั นน้ั น่ีจงึ เป็นสิ่งสำคัญทีผ่ ูบ้ รหิ ารระดบั สูง ในองค์กรต่างๆ ได้ให้ความสำคัญกบั Best Practice ในด้านของการจัดการสอน งานหรือวธิ ีในการทำงานใหด้ กี วา่ เดมิ ยิง่ ๆ ขน้ึ ไป กลายเป็นวงจรในการพัฒนาองคก์ รให้ก้าวหน้าอยา่ งไม่มีทสี่ ้นิ สดุ กศน.ตำบลบางเตย ขอขอบคณุ ภาคเครือข่ายและผู้มสี ว่ นเก่ยี วข้องทุกท่าน ท่ีให้ความรู้ คำแนะนำและให้ คำปรึกษาเปน็ แนวทาง ผูจ้ ดั ทำหวงั เป็นอย่างยิ่งวา่ เอกสารเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์สำหรบั ผนู้ ำไปใช้จัดกิจกรรมการ เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากพบข้อผิดพลาดหรือมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้แก้ไข ปรับปรุงดว้ ยความขอบคุณย่ิง จดั ทำโดย นางสาวทตั ติยา น้อยพิทกั ษ์ กศน.ตำบลบางเตย กนั ยายน 2564

สารบญั หนา้ เร่อื ง 1 1 ชื่อเรื่อง อาหารไทย 1 เจา้ ของผลงาน 1 สงั กดั 2 1.ความเป็นมา/ความสำคัญ 2 2.วตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายของการดำเนนิ งาน 2 3.เป้าหมาย 4 4. กระบวนการ/ข้ันตอนการดำเนนิ การ วธิ กี ารเลิศ Best Practice 5 5.กระบวนการ/ข้ันตอนการดำเนนิ งาน 5 6. ผลการดำเนนิ การ/ผลสมั ฤทธิ/์ ประโยชน์ท่ไี ด้รับ 6 7.ปัจจยั ความสำเรจ็ 6 8.บทเรยี นที่ได้รับ 6 9.การเผยแพร่ 7 10. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ 8 11. การอา้ งองิ (ระบแุ หล่งอ้างองิ เอกสารอ้างอิง ฯลฯ) 9 ภาคผนวก ภาพประกอบ

1 ➢ ระบุชอ่ื ผลงาน ชอื่ เรือ่ ง อาหารไทย ช่ือเจา้ ของผลงาน นางสาวทัตติยา น้อยพิทักษ์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล สงั กัด กศน.ตำบลบางเตย กศน.อำเภอสามพราน 1.ความเป็นมา / ความสำคญั พื้นท่ีตำบลบางเตย มีเนื้อท่ี มีพนื้ ที่ 10.725 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 6,703.125 ไร่ แบง่ เป็น 7 หมู่บ้าน ประกอบไปดว้ ย หมูบ่ า้ นทีม่ ีลักษณะเป็นชมุ ชนชนเมืองได้แก่ หม่ทู ี่ 1 และหมู่ที่ 2 และอีกส่วนเปน็ หมบู่ ้าน ทม่ี ีลกั ษณะเปน็ พื้นท่ีเกษตรกรรม ประชาชนอาศยั และดำเนนิ ชวี ติ ติดแม่น้ำ ได้แก่ หมู่ 3 – 7 ประชาชนส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพในสถานประกอบการ รองลงมาเปน็ ผทู้ ปี่ ระกอบอาชพี ด้านเกษตรกรรมและรับจ้าง ยงั มปี ระชากร สว่ นหน่ึงเป็นผสู้ งู อายทุ อ่ี ยูต่ ิดบ้านและมีเวลาวา่ ง ต้องการพฒั นาตนเอง และมีคุณค่าทางสังคม ต้องการหารายได้ เสริม ใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ ตลอดจนประชาชนท่ีสนใจช่องทางเพิ่มรายได้ และสร้างอาชพี ใหม่อีกด้วย จงึ เป็นทม่ี าทส่ี รา้ งโอกาสให้ กศน.ตำบลบางเตยรว่ มหารือในเวทปี ระชาคมและสอบถามความตอ้ งการของ ประชาชน และหน่วยงานที่เกีย่ วข้องในพน้ื ที่ เพ่ือรว่ มมือกันสรา้ งกจิ กรรมท่ีดีมีประโยชนใ์ ห้แก่ประชากรวัยสูงอายุ ในชมุ ชน รวมท้งั ผู้ท่ีวา่ งงานและมเี วลาวา่ งในการสรา้ งรายไดเ้ สริมจากการรวมกลุ่มกนั ฝึกอาชพี สรา้ งผลิตภณั ฑ์ของ ตนเองในชมุ ชน และสร้างรายได้ที่มนั่ คงต่อไป กศน. ตำบลบางเตย ไดใ้ หค้ วามสำคัญในการจดั การศึกษาอาชพี เพอ่ื การมงี านทำอย่างยั่งยืน โดยเน้น ใหบ้ รกิ ารกบั ประชาชนทกุ กลมุ่ เป้าหมายและความต้องการของชมุ ชนให้มีความรสู้ ามารถนำไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ ใน การดำเนินชีวิตได้ จงึ เปิดสอนวิชาชพี ผลิตภณั ฑจ์ ากเส้นพลาสตกิ ขน้ึ เพื่อให้ประชาชนในชมุ ชนมีโอกาสเรยี นรู้ ฝกึ ทักษะ รวมกลุ่มอยา่ งเขม้ แขง็ และสร้างรายไดใ้ นชมุ ชนอยา่ งมั่นคงต่อไป

2 2.วตั ถุประสงค์และเปา้ หมายของการดำเนนิ งาน - จดั กระบวนการเรียนรู้ เพื่อแสวงหาแนวทางเพื่อรวมกลุ่มกันสร้างผลติ ภณั ฑ์ในชุมชน - ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นร้จู ักการรว่ มคดิ ร่วมทำ และร่วมแกป้ ัญหาในอาชพี เดยี วกัน - เพอื่ สร้างกระบวนการคดิ เป็นให้ผเู้ รียน เรยี นรูเ้ พ่ือการพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และปรัชญาคดิ เปน็ 3. เป้าหมาย ประชากร ตำบลบางเตย จำนวน 11 คน เชิงปริมาณ ประชาชนท่วั ไป ผสู้ ูงอายุ ผูว้ า่ งงาน ผูต้ ้องการมีรายได้เสรมิ จำนวน 11 คน เชิงคณุ ภาพ ประชาชนผู้จบหลกั สตู รรวมกลมุ่ กนั สร้างผลิตภัณฑใ์ นชมุ ชน สร้างรายได้เพ่ิม 4. กระบวนการ/ขั้นตอนการดำเนนิ การ วธิ ีการเลศิ Best Practice ขน้ั ตอนดำเนินงาน แบ่งเปน็ 3 ข้ันตอน ดงั น้ี 4.1 ข้นั ตอนสำรวจข้อมลู และการทำเวทปี ระชาคม โดยทำการสำรวจข้อมลู ความตอ้ งการของประชาชน และลงพ้นื ที่พดู คุยกับกล่มุ ผสู้ ูงอายแุ ละหนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบในพื้นทีด่ ้านความตอ้ งการและการรวมกลมุ่ เพ่ือทำ กิจกรรมสรา้ งรายได้และใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ของคนในชมุ ชน

3 4.2 ขัน้ ตอนวางแผนและเตรยี มงาน 2 สว่ น คอื 4.2.1 งานวิชาการ ได้จดั ทำหลกั สูตร อาหารไทย 35 ช่ัวโมง แบง่ เน้ือหาเป็น 2 สว่ น คือ ภาคทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ ทฤษฎี การเลอื กวตั ถุดบิ เครื่องมือเครื่องใช้ วัสดุอปุ กรณ์ในการปรุงอาหาร คุณสมบัติของวสั ดทุ ่ีนำมาใช้ เทคนคิ วธิ ีการ ขั้นตอนการปรุงอาหาร การจัดเรยี ง ภาชนะ การคำนวณราคาตน้ ทุนและกำหนดราคาขาย ปฏิบัติ ออกแบบเตรียมวัตดุ ิบ วสั ดแุ ละอุปกรณก์ ารปรุงอาหาร 4.2.2 งานผูส้ อน โดยติดตอ่ และประสานงานวทิ ยาทม่ี ีความร้คู วามสามารถ เชยี วชาญ ดา้ นงานปรงุ อาหารคาว - หวาน คอื นางแสงอุษา วฒุ ิวาทนิ 4.3 ข้ันตอนการกำหนดกจิ กรรมการเรียนรูแ้ ละฝึกวชิ าชีพ วิชาชีพหลักสูตรพัฒนาอาชีพ (1 อำเภอ 1 อาชีพ) วิชา อาหารไทย หลักสูตร 35 ชั่วโมง เปิด สอน ระหว่างวันท่ี 26 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 2 เดือน กรกฎาคม พ.ศ.2564 สถานที่สอน ณ ซอย เจรญิ ธรรม หมู่ 1 ตำบลบางเตย อำเภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม โดยมี นางแสงอุษา วุฒวิ าทนิ เป็นวทิ ยากรสอน

4 5.กระบวนการ/ขนั้ ตอนการดำเนินงาน สำรวจควำมตอ้ งกำรของ ประชำชนในชมุ ชน วำงแผนงำนและเตรยี มกำร ประชำสมั พนั ธ/์ รบั สมคั รผสู้ นใจ เรยี นวชิ ำชีพ เปิดสอนวชิ ำชีพขนมไทย เผยแพรผ่ ลงำน ประเมินควำมพงึ พอใจและ ปรบั ปรุงโครงกำร

5 กระบวนการ/ข้นั ตอนการดำเนนิ การวธิ ีการเลศิ Best Practice วางแผนและเตรยี มการศึกษาสภาพปัจจบุ นั ปัญหาและความต้องการ กำหนดปญั หาและหาแนวทางแก้ไข ปญั หา ประชุม ปรกึ ษา หารอื ดำเนนิ การศึกษารปู แบบ และแนวทางการจัดกจิ กรรม หลงั จากนั้น เตรียมการวาง รปู แบบและแนวทางการดำเนินการ พร้อมตดิ ต่อประสานงานวิทยาทม่ี ีความรู้ ความสามารถ ทักษะเฉพาะด้านเพื่อ ถา่ ยทอดความรใู้ ห้ผเู้ ขา้ ฝกึ อบรม 6. ผลการดำเนินการ/ผลสมั ฤทธ์ิ/ประโยชน์ท่ไี ด้รับ ผลทีเ่ กดิ ตามวัตถุประสงค์ การจัดกระบวนการเรียนร้มู ีความครบถว้ น ถูกต้องตามหลักสตู ร ผูเ้ รยี นฝกึ วิชาชีพมีความพงึ พอใจในการเรยี นวชิ าชพี พบวา่ ผู้เรยี นมคี วามพงึ พอใจในการเรียนวิชาชพี อาหารไทย ตามลำดับ ดงั นี้ 1.วิทยากรผ้สู อนมีความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ไดเ้ ปน็ อย่างดี 2. วทิ ยากรตอบคำถามและแกป้ ญั หาในการฝึกวิชาชีพได้อยา่ งชัดเจนและถูกตอ้ ง 3. สถานทเ่ี รยี นมคี วามพร้อมในการจดั การเรยี นรู้ 4. มีวัสดุอปุ กรณเ์ พียงพอต่อการฝึกวิชาชีพ 5.สถานทีจ่ ัดฝึกอบรมตั้งอยใู่ นเสน้ ทางท่เี ดนิ ทางสะดวก ผลสมั ฤทธิ์ของงาน จากการวิเคราะห์ข้อมลู เกี่ยวกบั ผลงานของผูเ้ รยี นท่จี บหลกั สูตรวชิ าชพี อาหารไทย พบว่า ผูเ้ รียนมีความคิดเห็นด้านประสทิ ธิภาพในการปรุงอาหารไทย และสรา้ งผลงาน ตามลำดับดงั นี้ 1. อาหารไทยสร้างรายได้ในชุมชนได้ 2. ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนรจู้ ักการร่วมคดิ รว่ มทำ และรว่ มแกป้ ัญหาในอาชีพเดยี วกัน 3. เพ่ือสรา้ งกระบวนการคดิ เป็นใหผ้ เู้ รยี น เรยี นรเู้ พื่อการพงึ่ พาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และปรชั ญาคดิ เป็น ประโยชน์ที่ได้รับ ผลงานของวิชาชีพ อาหารไทย รสชาติอรอ่ ย สีสนั สวยงาม วสั ดุบรรจภุ ณั ฑม์ ี ความสวยงาม แขง็ แรง และเปน็ ช้นิ งานท่ีนา่ สนใจสามารถสรา้ งแรงจงู ใจในการรว่ มกลุ่มของคนในชุมชนและสร้าง รายได้อยา่ งมน่ั คงและต่อเน่ือง 7.ปจั จยั ความสำเร็จ 1.ผู้บริหารใหค้ วามสำคัญและสนับสนนุ การจดั วิชาชพี 2.การมีส่วนรว่ มของบุคลากรทมี่ ีส่วนเกีย่ วขอ้ ง 3.มคี วามพร้อมด้านงบประมาณในการจดั ซื้อวสั ดุอปุ กรณ์ 4.มีวิทยากรทีม่ ีความสามารถและเช่ียวชาญในเรอื่ งงานฝีมือ 5.มีการประสานและรว่ มมือกันของกลุ่มประชาชนท่ีต้องการมผี ลติ ภณั ฑส์ รา้ งรายได้

6 8.บทเรียนท่ีได้รบั 1. การดำเนนิ งานกจิ กรรมจะต้องมีความพร้อมท้ังแผนงาน งบประมาณ วธิ กี ารดำเนินงาน และได้รับการ สนับสนนุ จากบคุ ลากรท้ังในและนอกองค์กร 2. การดำเนนิ กจิ กรรมในพื้นท่ีจะตอ้ งมีการสำรวจความต้องการของประชาชนและประชุมหารอื กบั ประชาชนในพน้ื ทีเ่ พ่ือใหไ้ ด้รับความร่วมมือในการจดั กจิ กรรม 3. การพัฒนางานรว่ มกนั ความจริงจงั ในการปฏิบตั ิงาน การมีส่วนรว่ มและรบั ผดิ ชอบร่วมกนั ในการทำงาน การเอาใจใส่ เสยี สละ การอุทิศตนของบคุ ลากร ส่งผลในงานประสบผลสำเรจ็ ได้ผลงานที่มีคุณภาพ 4. ในการปฏบิ ตั งิ านทุกคร้งั จะตอ้ งมีผลการปฏบิ ัติงานและการประเมินผลโครงการ เพ่ือการพฒั นาที่ดขี ้นึ จำเป็นจะต้องนำผลการประเมินโครงการใช้เปน็ แนวทางในการปรบั ปรงุ และพฒั นางานต่อไป 5. เมื่อความสำเร็จสเู่ ปา้ หมายความภาคภมู ิใจก็คือการไดท้ ำหน้าทีท่ ่ีรบั ผิดชอบอยา่ งสมบูรณส์ ามารถ พัฒนางานได้ตามเป้าหมายและเป็นทีย่ อมรบั ของบุคลากรในหน่วยงาน และหน่วยงานภายนอก 9.การเผยแพร่ การเผยแพร่ 1.เผยแพร่ผา่ นเว็บไซต์ กศน.ตำบลบางเตย https://www.facebook.com/media/set/?vanity=bangtoeinfe&set=a.29266952542 37166 2.เผยแพร่ผ่านเว็บไซด์ องค์การบริหารส่วนตำบลบางเตย https://www.facebook.com/profile.php?id=100009954153839 3.เผยแพรผ่ ลงานให้กับ กศน.อำเภอสามพราน ได้รับการยอมรบั การศกึ ษาดูงานของกลมุ่ ผสู้ ูงอายุ กลุม่ แมบ่ ้าน มหาวิทยาลัยภาครฐั และหนว่ ยงานตา่ งๆจากตา่ ง อำเภอ ต่างจงั หวดั 10. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ปญั หาอุปสรรค 1. ผเู้ รยี นบางสว่ นติดภารกิจจึงไมส่ ามารถมาเรียนได้ครบชั่วโมงในแต่ละวัน 2. ผเู้ รยี นมคี วามรพู้ นื้ ฐานไม่เทา่ กนั ทำใหเ้ ปน็ อุปสรรคในการจัดการเรยี นการสอน 3. ผจู้ บหลกั สูตรบางสว่ นยงั ไมส่ ามารถนำไปประกอบอาชีพได้

7 ข้อเสนอแนะ 1. ควรเพมิ่ ชอ่ งทางการตลาดให้กบั ผเู้ รียนเพื่อจำหนา่ ยผลติ ภัณฑไ์ ด้อย่างแพร่หลาย 2. ควรจัดให้มีระบบการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลอย่างตอ่ เนื่อง เพื่อใหว้ ทิ ยากรการศกึ ษาต่อเน่อื ง ดำเนนิ การจดั การเรียนร้ไู ด้อย่างมีประสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธิผลมากข้นึ 11. การอา้ งอิง (ระบุแหล่งอ้างองิ เอกสารอา้ งองิ ฯลฯ) เอกสารประกอบการอบรม แนวทางการนำเสนอแนวปฏิบัตทิ ด่ี ี (Best Practice) สถาบันพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยภาคกลาง สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ

8 ภาคผนวก

9 อาหารไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook