Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Book ความรู้เบื้องต้นเรื่องการสื่อสาร

E-Book ความรู้เบื้องต้นเรื่องการสื่อสาร

Description: E-Book ความรู้เบื้องต้นเรื่องการสื่อสาร

Search

Read the Text Version

(Basic Thai) รหัสวิชา ๒๐๐๐๐-๑๑๐๑ หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง กลมุ่ วิชาภาษาไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (สอศ.) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรยี บเรยี งโดย ธนาพร  ปาลกะวงศ์ ณ อยธุ ยา ศศ.บ., ศศ.ม. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ

(Basic Thai) ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๔๙๕-๐๑๙-๑ จัดพมิ พแ์ ละจ�ำหนา่ ยโดย... บริษทั วังอักษร จำ� กัด ๖๙/๓ ถนนอรณุ อมรนิ ทร์ แขวงวดั อรณุ เขตบางกอกใหญ่ กรงุ เทพฯ ๑๐๖๐๐ โทร. ๐-๒๔๗๒-๓๒๙๓-๕ โทรสาร ๐-๒๘๙๑-๐๗๔๒ Mobile ๐๘-๘๕๘๕-๑๕๒๑ Facebook : สำ� นกั พมิ พ์ วงั อกั ษร e-Mail : [email protected] http://www.wangaksorn.com ID Line : @wangaksorn พิมพ์ครั้งท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ จำ� นวนทพี่ มิ พ์ ๕,๐๐๐ เลม่ สงวนลขิ สิทธ์ติ ามพระราชบัญญตั ลิ ขิ สทิ ธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ โดยบรษิ ทั วังอักษร จำ� กัด หา้ มนำ� สว่ นใดสว่ นหนง่ึ ของหนังสือเลม่ นไ้ี ปทำ� ซ�้ำ ดดั แปลง หรอื เผยแพร่ตอ่ สาธารณชน ไม่ว่ารูปแบบใดๆ นอกจากได้รบั อนุญาต เป็นลายลักษณอ์ กั ษรลว่ งหนา้ จากทางบรษิ ัทวงั อกั ษร จ�ำกัดเท่านน้ั ชื่อและเครอื่ งหมายการค้าอื่นๆ ท่ีอา้ งอิงในหนังสือฉบับนี้ เปน็ สทิ ธิโดยชอบดว้ ยกฎหมายของเจา้ ของแต่ละราย โดยบรษิ ัทวังอกั ษร จำ� กัด มิได้อา้ งความเปน็ เจา้ ของแต่อย่างใด

ภาษาไทยพน้ื ฐาน รหัสวชิ า ๒๐๐๐๐-๑๑๐๑ (Basic Thai) จุดประสงค์รายวิชา เพ่อื ให้ ๑. รแู้ ละเขา้ ใจเกยี่ วกับหลักการใชภ้ าษาไทยในการสอ่ื สาร ๒. สามารถเลือกใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษา เหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ โอกาส และสถานการณ์ ๓. สามารถน�ำความรู้และทักษะการฟัง การดู การพูด การอ่าน และการเขียนไปใช้ส่ือสารในชีวิต ประจำ� วนั ไดถ้ ูกต้องตามหลักการ ๔. เห็นคุณค่าและความสำ� คญั ของการใช้ภาษาไทยในชวี ิตประจ�ำวัน สมรรถนะรายวชิ า ๑. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การใชภ้ าษาไทยในการฟงั การดู การพดู การอา่ น และการเขยี น ๒. วิเคราะห์ ประเมินคา่ สารจากการฟงั การดแู ละการอา่ นตามหลักการ ๓. พูดติดต่อกจิ ธรุ ะและในโอกาสตา่ ง ๆ ตามหลกั การและมารยาทของสงั คม ๔. เขียนขอ้ ความเพื่อติดตอ่ กจิ ธุระ สรปุ อธบิ าย บรรยายและกรอกข้อมลู ตามหลักการ ๕. เขยี นรายงานเชงิ วชิ าการ และโครงการตามหลักการ คำ�อธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาเกย่ี วกบั การรบั สารและสง่ สารดว้ ยภาษาไทย เขยี นสะกดคำ� การใชถ้ อ้ ยคำ� สำ�นวน ระดบั ภาษา การฟัง การดูและการอ่านข่าว บทความ สารคดี โฆษณา บันเทิงคดี วรรณกรรมหรือภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ด้านภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การกล่าวทักทาย แนะนำ�ตนเองและผูุ้อื่น การพูด ในโอกาสตา่ ง ๆ ตามมารยาทของสังคม การตอบรบั และปฏิเสธ การแสดงความยินดี แสดงความเสยี ใจ การพดู ตดิ ตอ่ กิจธุระ พดู สรุปความ พดู แสดงความคิดเห็น การเขียนข้อความติดต่อกิจธุระ สรปุ ความ อธิบาย บรรยาย การกรอกแบบฟอรม์ การเขียนประวัติย่อ การเขียนรายงานเชิงวชิ าการและการเขียน โครงการ

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะรายวชิ า วิชา ภาษาไทยพ้นื ฐาน รหัสวิชา ๒๐๐๐๐ - ๑๑๐๑ ท-ป-น ๒ - ๐ - ๒ จำ�นวน ๒ คาบ/สปั ดาห์ รวม ๓๖ คาบ สมรรถนะรายวิชา แสดงความ ู้รเกี่ยวกับหลักการใ ้ชภาษาไทยใน หน่วยที่ การ ัฟง การดู การพูด การ ่อานและการเขียน ิวเคราะ ์ห ประเ ิมน ่คาสารจากการ ัฟง การ ูดและ การอ่านตามหลักการ พูดติดต่อกิจธุระและในโอกาสต่าง ๆ ตาม หลักการและมารยาทสังคม เขียนข้อความเ ืพ่อ ิตดต่อกิจธุระ สรุป อ ิธบาย บรรยายและกรอก ้ขอ ูมลตามห ัลกการ เขียนรายงานเชิงวิชาการ และโครงการตาม ห ัลกการ ๑. ความรู้เบอ้ื งต้นเรื่องการส่อื สาร  ๒. การใชถ้ อ้ ยค�ำ ส�ำ นวนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ  ๓. การฟังและการดู  ๔. การอา่ น  ๕. การพูด  ๖. การเขียนสะกดคำ�   ๗. การเขียนข้อความตดิ ต่อกิจธรุ ะ   ๘. การเขียนสรุปความ   ๙. การอธิบายและการบรรยาย   ๑๐. การเขียนรายงานเชงิ วชิ าการ   ๑๑. การเขียนโครงการ  

ค�ำนำ� วิชาภาษาไทยพ้ืนฐาน รหัสวิชา ๒๐๐๐๐ - ๑๑๐๑ จัดอยู่ในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง กลมุ่ วชิ าภาษาไทย ตามหลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ส�ำนกั งานคณะกรรมการ การอาชวี ศกึ ษา (สอศ.) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ผเู้ ขยี นไดบ้ รหิ ารสาระการเรยี นรแู้ บง่ เปน็ ๑๑ หนว่ ยการเรยี น ไดจ้ ดั แผนการจดั การเรยี นร/ู้ แผนการสอนทมี่ งุ่ เนน้ ฐานสมรรถนะ (Competency Based) และการบรู ณาการ (Integrated) ตรงตามจุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา ค�ำอธบิ ายรายวชิ า ในแตล่ ะบทเรยี นมงุ่ ให้ ความส�ำคญั สว่ นทเี่ ปน็ ความรู้ ทฤษฎี หลกั การกระบวนการ และสว่ นทเี่ ปน็ ทกั ษะประสบการณ์ เรง่ พฒั นา บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้จัดการแสวงหาความรู้ (Explorer) เป็นผู้สอนตนเองได้ สร้างองค์ความรู้ใหม่ และบทบาทของผู้สอนเปลี่ยนจากผู้ให้ความรู้มาเป็นผู้จัดการช้ีแนะ (Teacher Roles) จัดสิ่งแวดล้อม เออื้ อ�ำนวยตอ่ ความสนใจเรยี นรู้ และเปน็ ผรู้ ว่ มเรยี นรู้ (Co–investigator) จดั หอ้ งเรยี นเปน็ สถานทท่ี �ำงาน รว่ มกนั (Learning Context) จดั กลมุ่ เรยี นรใู้ หร้ จู้ กั ท�ำงานรว่ มกนั (Grouping) ฝกึ ความใจกวา้ ง มงุ่ สรา้ งสรรค์ คนรนุ่ ใหม่ สอนความสามารถทน่ี �ำไปท�ำงานได้ (Competency) สอนความรกั ความเมตตา (Compassion) ความเช่ือมัน่ ความซอื่ สัตย์ (Trust) เปา้ หมายอาชพี อันยังประโยชน์ (Productive Career) และชวี ติ ที่มีศักดิศ์ รี (Noble Life) เหนอื ส่ิงอื่นใด เปน็ คนดที ัง้ กาย วาจา ใจ มคี ุณธรรม จรรยาบรรณทางธรุ กจิ และวชิ าชีพ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบคณุ วฒุ วิ ชิ าชพี (Vocational Qualification System) สอดคล้องตามมาตรฐานอาชีพ (Occupational Standard) สร้างภูมิคุ้มกัน เพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ก�ำลังแรงงาน การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานระดับชาติ (National Benchmarking) และการวิเคราะห์หน้าที่การงาน (Functional Analysis) เพ่ือให้เกิดผลส�ำเร็จใน ภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม ทุกสาขาอาชีพ เป็นการเตรียมความพร้อมของผู้เรียนเข้าสู่สนามการแข่งขันใน ประชาคมอาเซยี น ธนาพร ปาลกะวงศ์ ณ อยธุ ยา

สารบญั บทที่ ๑ ความร้เู บ้ืองตน้ เร่ืองการสอื่ สาร ๑ บทที่ ๔ การอ่าน ๔๓ ประเภทของการสอ่ื สาร ๒ ความหมายของการอา่ น ๔๔ องค์ประกอบการสือ่ สาร ๓ จดุ มงุ่ หมายในการอา่ น ๔๔ อุปสรรคของการสอ่ื สาร ๕ การอ่านเพอ่ื พัฒนาตนเอง ๔๕ แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ ๗ การอา่ นงานเขยี นประเภทตา่ ง ๆ ๔๘ บทท่ี ๒ การใชถ้ ้อยค�ำ ส�ำนวนให้มี - การอ่านสารคดี ๔๘ ประสทิ ธิภาพ ๙ - การอา่ นบทความ ๕๔ การใชถ้ ้อยคำ� ๑๐ - การอา่ นข่าว ๕๙ วิธกี ารใช้ถ้อยค�ำ ๑๒ - การอ่านโฆษณา ๖๒ การสรา้ งประโยค ๑๕ - การอา่ นบันเทิงคดี ๖๔ ระดบั ภาษา ๑๙ - การอา่ นวรรณกรรมร้อยกรอง ๗๓ การใช้ส�ำนวน ๒๑ - การอา่ นวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ๗๕ แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ ๒๕ แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทกั ษะ ๘๑ บทที่ ๓ การฟังและการด ู ๒๘ บทท่ี ๕ การพูด ๘๕ ความหมายของการฟงั และการดู ๒๙ จุดมุ่งหมายของการพดู ๘๖ การวิเคราะหผ์ ้ฟู ัง ๘๗ จดุ มุ่งหมายในการฟังและการดู ๒๙ วธิ กี ารพดู ๘๘ มารยาทในการพดู ๘๘ หลักการฟงั และการดทู ่ีดี ๓๐ การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ ๘๙ - การทกั ทาย ๙๐ มารยาทในการฟงั และการดู ๓๐ - การพดู แนะน�ำตนเองและผู้อืน่ ๙๐ - การตอบรับ-ปฏิเสธ ๙๑ การใช้วจิ ารณญาณในการฟังและการดู ๓๑ การพัฒนาวจิ ารณญาณในการฟงั และการดูสารประเภทต่าง ๆ ๓๑ แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ ๓๙

- การกล่าวแสดงความยินด ี ๙๒ - วิธกี ารกรอกแบบฟอรม์ ๑๒๙ - การกล่าวแสดงความเสยี ใจ ๙๔ การเขียนประวัตยิ ่อ ๑๓๔ - การพูดตดิ ตอ่ กจิ ธรุ ะ ๙๕ - ลกั ษณะของการเขยี นประวตั ยิ อ่ ทด่ี ี ๑๓๔ การพูดสรุปความ ๙๖ - สว่ นประกอบทสี่ ำ� คญั ของการเขยี น การพดู แสดงความคดิ เหน็ ๑๐๐ ประวตั ิยอ่ ๑๓๕ แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ ๑๐๕ แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ ๑๓๘ บทท่ี ๖ การเขยี นสะกดค�ำ ๑๐๘ บทท่ี ๘ การเขยี นสรุปความ ๑๔๔ สาเหตุการเขยี นสะกดค�ำผดิ ๑๐๙ วธิ กี ารเขียนสรปุ ความ ๑๔๕ หลกั การเขยี นการสะกดค�ำ ๑๑๑ การสรปุ ความในชีวติ ประจำ� วนั ๑๔๖ - หลกั การประวสิ รรชนีย์ ( ะ ) ๑๑๑ แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ ๑๕๑ - หลกั การใชไ้ มไ้ ตค่ ู้ ( ็ ) ๑๑๒ บทที่ ๙ การอธบิ ายและการบรรยาย ๑๕๓ - หลักการใช้ รร (รอหัน) ๑๑๒ - หลกั การใช้ ใอ ไอ ไอย อยั ๑๑๓ ความหมายของการอธิบาย ๑๕๔ - หลกั การใช้ ณ–น ๑๑๔ แนวทางในการเขยี นอธิบาย ๑๕๔ - หลักการใช้ ซ กับ ทร ๑๑๔ กลวธิ กี ารอธิบาย ๑๕๕ - หลักการใช้ ส ศ ษ ๑๑๕ ความหมายของการบรรยาย ๑๕๗ - หลักการใชท้ ณั ฑฆาต ( ์ ) ๑๑๕ แนวทางในการเขยี นบรรยาย ๑๕๗ แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ ๑๒๑ แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ ๑๖๐ บทที่ ๗ การเขยี นขอ้ ความตดิ ตอ่ กจิ ธรุ ะ ๑๒๓ บทที่ ๑๐ การเขยี นรายงานเชงิ วชิ าการ ๑๖๒ การเขียนขอ้ ความตดิ ต่อกิจธุระ ๑๒๔ ความหมายของรายงานเชงิ วชิ าการ ๑๖๓ การเขยี นบันทกึ ๑๒๕ ข้นั ตอนการเขียนรายงานเชิงวชิ าการ ๑๖๓ การเขียนประกาศ ๑๒๗ ส่วนประกอบของรายงานเชงิ วิชาการ ๑๖๘ การกรอกแบบฟอร์ม ๑๒๘ รูปแบบการพมิ พ์ ๑๗๕ - ความหมายของแบบฟอร์ม ๑๒๘ แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ ๑๗๗ - ประเภทของแบบฟอรม์ ๑๒๘

บทที่ ๑๑ การเขียนโครงการ ๑๗๘ ความหมายของโครงการ ๑๗๙ ลักษณะของโครงการที่ด ี ๑๗๙ เทคนคิ การเขยี นโครงการ ๑๘๐ การเขยี นโครงการแบบดง้ั เดมิ หรอื แบบ ประเพณีนยิ ม ๑๘๐ แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ ๑๙๐ บรรณานุกรม ๑๙๑

บทที่ ความรู้เบื้องต้นเรอื่ ง ๑ การส่ือสาร แนวคดิ การสื่อสาร เป็นกระบวนการที่ต้องเกี่ยวกับบุคคล ๒ ฝ่าย ประกอบด้วย ผู้ส่งสารและผู้รับสาร แบ่งเป็น ๕ ประเภท ดังนี้ ๑. การสื่อสารภายในบุคคล ๒. การสื่อสารระหว่างบุคคล ๓. การสื่อสารเป็นกลุ่มใหญ่ ๔. การสื่อสารในองค์การ ๕. การสือ่ สารมวลชน การสื่อสารมอี งคป์ ระกอบ ๔ สว่ น คอื ผสู้ ่งสาร สาร สอื่ และผู้รบั สาร อปุ สรรคทเี่ กดิ จากการสอื่ สารอาจเกิดขึน้ จากผู้สง่ สาร สาร สือ่ ผรู้ ับสาร สาระการเรียนรู้ สมรรถนะ ๑. ประเภทของการส่ือสาร ๑. ระบุประเภทและองคป์ ระกอบของการสอื่ สาร ๒. องคป์ ระกอบการสอื่ สาร ๒. ปฏิบัตกิ ารลดอุปสรรคของการสือ่ สารลงได้ ๓. อุปสรรคของการส่ือสาร จุดประสงค์การเรียนรู้ (Behavioral Objectives) หลงั จากศึกษาจบบทเรยี นนแ้ี ล้ว นกั ศกึ ษาจะมคี วามสามารถดังนี้ ๑. บอกความหมายของการสื่อสารได้ ๒. อธิบายองค์ประกอบของการสื่อสารได้ ๓. สามารถบอกอุปสรรคและแก้ไขปัญหาของการส่ือสารได้

๑ ความรูเ้ บื้องต้นเรือ่ ง การส่อื สาร การส่ือสาร เปน็ กระบวนการท่ีตอ้ งเกีย่ วกับบคุ คล ๒ ฝา่ ย ประกอบด้วย ผู้สง่ สาร (ผ้พู ูดและ ผเู้ ขียน) ผรู้ บั สาร (ผฟู้ งั และผู้อา่ น) สาร สื่อ และปฏิกริ ยิ าตอบสนอง เม่ือผ้สู ง่ สารและผู้รบั สารเขา้ ใจสาร ตรงกนั การสอื่ สารจงึ จะบรรลตุ ามเปา้ หมาย  แตถ่ า้ เกดิ อปุ สรรคในการสอ่ื สารอนั เนอื่ งมาจากองคป์ ระกอบ ข้างต้น จะท�ำให้การสอ่ื สารนัน้ ไม่บรรลผุ ลอาจก่อให้เกดิ ความเสียหายได้ ประเภทของการสอื่ สาร การสอ่ื สารสามารถเกดิ ขนึ้ ไดต้ ลอดเวลา จำ� แนกการสอื่ สารตามจำ� นวนผสู้ ง่ สารได้ ๕ ประเภท ดงั นี้ ๑ การสื่อสารภายในบุคคล เป็นการส่ือสารคนเดียว เป็นการพูดกับตนเอง ร้องเพลง การใช้ความคิด ๒ การสอื่ สารระหวา่ งบคุ คล เปน็ การสอ่ื สารทสี่ ามารถเกดิ ขนึ้ กบั คน ๒ คน ทม่ี าสอื่ สารกนั แบบตัวตอ่ ตัว และเป็นกลมุ่ ยอ่ ยซึ่งมีมากกว่า ๒ คน มารวมกนั แลกเปลย่ี นความคดิ เห็น เช่น การประชุม กลมุ่ ยอ่ ย ๓ การสื่อสารเป็นกลุ่มใหญ่  เป็นการสื่อสารระหว่างคนจ�ำนวนมากที่อยู่ในที่เดียวกัน หรือใกล้เคยี งกนั โอกาสในการแลกเปลย่ี นความคิดเห็นมีนอ้ ย เชน่ การอภปิ รายในห้องประชมุ ใหญ่ ๔ การสื่อสารในองค์การ  เป็นการส่ือสารระหว่างผู้เป็นสมาชิกขององค์การหรือ หนว่ ยงาน เพือ่ ปฏิบตั ติ ามภารกิจของหนว่ ยงานใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย เชน่ การสือ่ สารของผบู้ งั คบั บญั ชากับ ผู้ใต้บังคับบญั ชา การส่ือสารระหวา่ งการท�ำงานในระดบั เดยี วกนั

บทท่ี ๑ ความร้เู บื้องตน้ เรอ่ื งการสอ่ื สาร 3 ๕ การส่อื สารมวลชน เป็นการสอ่ื สาร กับคนจ�ำนวนมากในเวลาเดียวกัน  โดยแต่ละคนอยู่ใน ที่ต่างกัน  ต้องอาศัยสื่อจึงจะสามารถเข้าถึงมวลชนได้ เช่น การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ทางอินเทอร์เน็ต วิทยุ โทรทศั น์ หนังสอื พิมพ์ องค์ประกอบการสื่อสาร การส่อื สารมอี งคป์ ระกอบ ๔ สว่ น คือ ผสู้ ง่ สาร สาร สอ่ื และผรู้ บั สาร ๑ ผู้ส่งสาร นับเป็นจุดเร่ิมแรกของการส่ือสาร เน่ืองจากเป็นผู้ก�ำหนดวัตถุประสงค์ ในการสอ่ื สาร และการทจ่ี ะบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคไ์ ด้ ผสู้ ง่ สารตอ้ งเขา้ ใจลกั ษณะของผรู้ บั สารทม่ี คี วามแตกตา่ งกนั ในด้านภาษา วัฒนธรรม ความรู้สึก ทัศนคติ ความเช่ือ และระดับความรู้ และเลือกโอกาส วิธีการท่ี เหมาะสมเพอ่ื สามารถใหผ้ ู้รบั สารเขา้ ใจ และตอบสนองได้ ๒ สาร คอื เรอื่ งราวอนั มคี วามหมาย และแสดงออกโดยอาศยั ภาษาซง่ึ สามารถทำ� ใหเ้ กดิ การรบั รู้ รว่ มกนั สารทม่ี นุษย์รบั -ส่งกนั แยกไดเ้ ปน็ ๒ ประเภท คือ ข้อเทจ็ จรงิ และข้อคิดเห็น สารประเภทข้อเท็จจริง คือ การที่บุคคลได้รายงานให้ทราบถึงความจริงต่าง ๆ ที่มีอยู่ ในโลกทางกายภาพ สามารถพิสูจน์ตรวจสอบได้ เชน่ ประเทศไทยตั้งอยู่ในคาบสมทุ รอินโดจีน สารประเภทข้อคิดเห็น เป็นการแสดงความรู้สึก ความเชื่อ หรือแนวคิดท่ีผู้ส่งสารมีต่อ สง่ิ หนงึ่ สง่ิ ใด ไมว่ า่ จะเปน็ บคุ คล วตั ถุ เหตกุ ารณ์ หรอื พฤตกิ รรม ขอ้ คดิ เหน็ ทแี่ สดงออกมานนั้ ไมส่ ามารถ ตรวจสอบได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่  อาจกล่าวได้เพียงแต่ว่าข้อคิดเห็นน้ันน่ารับฟังและยอมรับได้ หรอื ไม่ มีความสมเหตุสมผลเพียงใดเทา่ นั้น เชน่ มีผกู้ ลา่ ววา่ “ข้าวหลามทีอ่ ร่อยท่สี ุด ในประเทศไทยคอื ขา้ วหลามหนองมน” คำ� กลา่ วนเ้ี ปน็ การแสดงความคดิ เหน็ ในลกั ษณะ ประเมินค่า อาจมีคนเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ได้ ท้ังน้ีเพราะคนแต่ละคนชอบ รสอาหารแตกต่างกัน บางคนชอบหวาน ชอบความมนั ของกะทิ แต่บางคนอาจจะ ชอบข้าวหลามของจังหวัดอื่นเพราะเป็นคนไม่ชอบหวาน ชอบข้าวเหนียวแห้ง ๆ ไมต่ อ้ งมนั มากนกั การกลา่ ววา่ ชอบขา้ วหลามหนองมนจงึ เปน็ การแสดงความคดิ เหน็ ของคนเพียงคนเดียวหรอื คนกล่มุ หนง่ึ เทา่ น้ัน แตถ่ ้ากล่าวว่า “ขา้ วหลามหนองมน เป็นของข้ึนชอื่ อย่างหน่ึงของจังหวัดชลบุร”ี จะทำ� ให้น่าฟังขึ้น

44 บทที่ ๑ ความรู้เบอ้ื งตน้ เรื่องการสอื่ สาร ข้อคิดเห็นจ�ำแนกได้ ๕ ประเภท ได้แก่ ๑) ขอ้ คดิ เหน็ เชงิ ประเมนิ คา่ เปน็ การชบี้ ง่ ลงไปวา่ อะไรดหี รอื ไมด่ ี เปน็ ประโยชนห์ รอื เปน็ โทษ เปน็ ต้น ๒) ขอ้ คดิ เหน็ เชงิ แนะนำ� เปน็ การบอกกลา่ ววา่ สง่ิ ใดควรทำ� หรอื ควรปฏบิ ตั ิ ใหเ้ ปน็ ขน้ั เปน็ ตอน อยา่ งไร อาจบอกเหตดุ ้วยวา่ เพราะเหตใุ ดจึงตอ้ งปฏบิ ตั ิเช่นนั้น ๓) ข้อคิดเห็นเชิงตั้งข้อสังเกต เป็นการช้ีให้เห็นลักษณะท่ีแฝงอยู่ ซ่ึงมีความน่าสนใจ น่าพิจารณา นา่ นำ� ไปศึกษาให้ถ่องแท้ เปน็ ต้น ๔) ข้อคดิ เหน็ เชงิ ตัดสินใจ เป็นขั้นสุดทา้ ยกอ่ นท่ีจะยตุ ิการพจิ ารณาข้อเสนอ ทางเลอื ก หรอื ขอ้ ท่ีเคลอื บแคลงสงสยั วา่ จะเห็นชอบดว้ ย ยอมรบั ในสารนนั้ ๆ หรือไม่ ๕) ข้อคิดเห็นเชิงแสดงอารมณ์ อาจมีสารที่เป็นข้อเท็จจริง ข้อเสนอแนะปะปนอยู่ด้วย แต่สารทสี่ ำ� คญั จะเป็นสารทีแ่ สดงอารมณ์ การทีม่ นุษย์จะถา่ ยทอดความคิดไปยังผูร้ บั สารนั้นจะตอ้ งใช้ “ภาษา” ซ่ึงหมายถงึ เสียงพูด กริ ิยาอาการทมี่ นษุ ยใ์ ช้เป็นเคร่ืองมอื ในการสอ่ื สาร เรียนรู้ สือ่ ความคดิ ความรสู้ ึก ความต้องการของกัน และกัน และใชป้ ระกอบกิจกรรมอันกอ่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจรว่ มกันได้ ภาษาแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คอื วจั นภาษา หรือภาษาถ้อยค�ำ และอวจั นภาษาหรอื ภาษาทา่ ทาง วัจนภาษา หรือภาษาถ้อยค�ำ เป็นภาษาท่ีแสดงออกในรูปของภาษาพูด และภาษาเขียน สำ� หรับอวัจนภาษา หรือภาษาทา่ ทางเปน็ ภาษาท่ีไม่ไดแ้ สดงออกโดยใชถ้ อ้ ยคำ� แตใ่ ช้การแสดงลักษณะ กริ ิยาอาการ เวลา สถานที่ ระยะห่างใกล-้ ไกล การใชส้ ายตา การสัมผสั การใชน้ ้ำ� เสียง การใชว้ ตั ถุสิ่งของ เช่น การแต่งกาย เคร่อื งใช้ เปน็ ต้น ๓ สอ่ื เป็นตวั กลางนำ� สารจากผูส้ ง่ สารไปยงั ผู้รบั หากขาดส่อื ย่อมไมม่ ที างทผี่ ู้รบั จะไดร้ ับสาร ได้เลย ส่ือที่มนุษย์ใช้ในการตดิ ต่อส่อื สารพอจะแยกออกไดเ้ ป็น ๕ ประเภท ดังนี้ ๑) ส่ือธรรมชาติ ได้แก่ บรรยากาศท่อี ยรู่ อบตัวมนษุ ยท์ ่มี อี ยโู่ ดยธรรมชาติ เชน่ คลนื่ แสง คล่นื เสียง เปน็ ต้น ๒) สอื่ มนุษย์ ไดแ้ ก่ คนน�ำสาร เชน่ โฆษก ทตู บรุ ษุ ไปรษณีย์ เป็นต้น ๓) สอื่ สิง่ พมิ พ์ ได้แก่ หนงั สือ หนงั สอื พิมพ์ นติ ยสาร แผน่ ปลิว แผน่ พบั ใบประกาศ หรือแจง้ ความ เปน็ ต้น ๔) สือ่ อิเลก็ ทรอนิกส ์ ได้แก่ วิทยุ โทรทศั น์ โทรศัพท์ คอมพวิ เตอร์ เปน็ ต้น ๕) สื่อระคนหรือส่ืออื่น ๆ ได้แก่ สื่อที่ท�ำหน้าที่น�ำสารได้แต่ไม่อาจจัดเข้าประเภททั้ง ๔ ขา้ งต้นได้ เชน่ แผน่ ป้ายโฆษณาตามด้านขา้ ง หรอื ท้ายรถประจ�ำทาง ป้ายโฆษณาตามทส่ี าธารณะทงั้ ใน ร่มและกลางแจง้ วตั ถจุ ารกึ รวมท้งั สอื่ พ้ืนบ้านนานาชนดิ

บทท่ี ๑ ความร้เู บอื้ งต้นเรอ่ื งการสื่อสาร 5 ๔ ผรู้ บั สาร คอื บคุ คล หรอื กลมุ่ บคุ คลทเี่ ปน็ จดุ หมายปลายทางของสารทผ่ี สู้ ง่ สารสง่ มา ผรู้ บั สาร ที่ดีจะตอ้ งพยายามรับรเู้ รื่องราวขา่ วสารต่าง ๆ อยูเ่ สมอ เป็นผู้ที่มีความรู้สึกรวดเร็ว สามารถตคี วามสารที่ ได้รบั วา่ มคี วามหมายอยา่ งไร และตอบสนองกลับไปอย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสม และตอ้ งเปน็ ผู้สามารถบงั คับ ความสนใจของตนให้อย่ทู ่ีเรือ่ งราวท่ีผู้ส่งสารกำ� ลังนำ� เสนอได้ การสอ่ื สารของมนษุ ย ์ เปน็ การรบั รเู้ รอ่ื งราวรว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งครบถว้ นตรงกนั ตามวตั ถปุ ระสงค์ ตลอดจนเกิดการตอบสนองตรงตามท่ีต้องการ  แต่การท่ีจะสื่อสารให้ตรงตามความต้องการของผู้ส่งสาร ก็ไม่ใช่เร่ืองง่าย และไม่ใช่เร่ืองที่ยากจนเกินความสามารถ เพียงแต่จะต้องขจัดส่ิงท่ีจะเป็นอุปสรรค ในการส่ือสารออกไปเสีย อุปสรรคของการสอื่ สาร อปุ สรรคทีเ่ กิดจากการส่อื สารอาจเกดิ ขึน้ จากผู้สง่ สาร สาร ส่ือ ผรู้ ับสาร ดงั มีรายละเอยี ดดังน้ี ๑ อปุ สรรคทเ่ี กดิ จากผสู้ ง่ สาร ๑) ผู้ส่งสารขาดความรู้ในเรื่องที่จะสื่อสารอย่างดีพอ  ท�ำให้สารท่ีจะส่งไปยังผู้รับขาด ความสมบูรณ์ ทำ� ใหผ้ รู้ ับสารขาดความเขา้ ใจ และน�ำไปสู่การขาดความเชอ่ื ถอื ในตวั ผูส้ ่งสารได้ ๒) ผสู้ ่งสารมีทัศนคตใิ นแงล่ บกบั ผู้รบั สาร ๓) ผูส้ ่งสารไมม่ คี วามพรอ้ มทางร่างกายและจิตใจ เช่น เจบ็ ป่วย วติ กกงั วล ๔) ผสู้ ่งสารวเิ คราะหผ์ ้รู บั สารผิด เชน่ อาจเขา้ ใจไปเองวา่ ผู้รบั สารมีความเขา้ ใจในเร่ืองนแี้ ล้ว จงึ สง่ สารอยา่ งรวบรัดหรอื ข้ามเน้ือหาไป ๒ อปุ สรรคทเ่ี กดิ จากสาร ๑) ผู้รับสารขาดทักษะในการรับสาร ๒) เนอื้ หาของสารไมเ่ หมาะสมกบั ผรู้ ับสาร เช่น ยาก หรืองา่ ยเกินไป หรือรเู้ ร่ืองอยแู่ ล้ว ๓) สารใช้ภาษาไม่ชดั เจน คลมุ เครือ ๔) วิธกี ารน�ำเสนอไม่นา่ สนใจ หรือซ�ำ้ ซากจำ� เจ นา่ เบ่อื หนา่ ย ๕) สารขาดความพอเหมาะพอดกี ับก�ำลังความสามารถในการรบั สาร ๖) สารขัดกบั คา่ นยิ ม ความเชอื่ ของผู้รับสาร ๓ อปุ สรรคทเ่ี กดิ จากสอื่ ๑) เลอื กใชส้ ่อื ไม่เหมาะสมกับรปู แบบของสาร ๒) ใช้สื่อทีไ่ มม่ ีประสิทธภิ าพ ๓) ใชภ้ าษาในการถ่ายทอดสารไม่ชดั เจน ถกู ตอ้ งตามระดบั ของภาษา ๔) ขาดทักษะความชำ� นาญในการใชส้ อื่

66 บทท่ี ๑ ความรู้เบอ้ื งต้นเร่อื งการสื่อสาร ๔ อปุ สรรคทเ่ี กดิ จากผรู้ บั สาร ๑) ผรู้ บั สารขาดความร้คู วามเขา้ ใจในสารทีร่ บั ๒) ผู้รับสารมที ัศนคตทิ ีไ่ ม่ดตี ่อผสู้ ่งสาร เชน่ ไมช่ อบเปน็ การสว่ นตวั อยู่แลว้ ๓) ผรู้ บั สารมีทศั นคตทิ ่ีไม่ดตี อ่ สาร เชน่ ไมช่ อบวชิ าคณติ ศาสตร์ กจ็ ะไม่ตง้ั ใจรับสาร ๔) ผู้รับสารมีความคาดหวังในการส่ือสารมากเกินไป  เม่ือไม่เป็นไปตามที่คาดหวังท�ำให้ เกดิ ความคับขอ้ งใจ การตระหนกั ถงึ อปุ สรรคของการสอื่ สารจะชว่ ยใหผ้ สู้ ง่ สารเกดิ ความระมดั ระวงั และหาทางปอ้ งกนั แก้ไข ในการเลอื กใช้สาร ส่ือ ใหเ้ หมาะสมถกู กาลเทศะ สำ� หรับผรู้ ับสารไมว่ ่าในสถานการณใ์ ดจะตอ้ ง เตรียมตัวรับสาร เปิดใจใหก้ วา้ งขจดั อคติทจ่ี ะมตี อ่ ผู้สง่ สาร และสถานการณใ์ นการส่อื สาร เม่อื ปฏิบัตไิ ด้ การสื่อสารก็จะสัมฤทธผิ ลทงั้ ๒ ฝ่าย การส่ือสารให้บรรลุผลตามเป้าหมายจะต้องค�ำนึงถึงเรื่องการใช้ภาษาเป็นส�ำคัญ  เพราะใน การด�ำเนินชีวิตในสังคม เราต้องใช้ภาษาในการส่ือสารเกือบตลอดเวลา ผู้ท่ีจะใช้ภาษาได้ดีต้องมีความรู้ ความเข้าใจในภาษาอย่างถกู ต้องเหมาะสมตามกาลเทศะ บคุ คล และโอกาส ภาษาสามารถฝกึ ฝนให้เกิด ความชำ� นาญจนเกดิ เปน็ ทกั ษะได้ ผใู้ ชต้ อ้ งพฒั นาทกั ษะการใชภ้ าษาใหส้ อดคลอ้ งกบั ทกั ษะการฟงั การพดู การอา่ น และการเขียน เพือ่ จะได้สอื่ สารอย่างมปี ระสิทธภิ าพตรงตามความปรารถนาของตนเอง

บทที่ ๑ ความรู้เบ้ืองต้นเรือ่ งการส่อื สาร 7 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทกั ษะ คะแนน บทท่ี ๑ ความรเู้ บอ้ื งตน้ เรอ่ื งการสือ่ สาร ชอื่ สกลุ ห้อง เลขที่ อาจารยผ์ ูส้ อน___________________ __________________ ______ ________ ___________________ ตอนที่ ๑ จงเลอื กคำ� ตอบท่ถี กู ต้องทส่ี ุดเพียงข้อเดียว ๑. กระบวนการสอ่ื สารประกอบด้วยอะไรบา้ ง ก. ผสู้ ง่ สาร ผรู้ ับสาร ข. ผู้สง่ สาร ผรู้ ับสาร สาร ค. ผสู้ ง่ สาร ผรู้ ับสาร สาร ส่ือ ง. ผสู้ ง่ สาร ผู้รบั สาร สาร ส่อื ปฏิกริ ิยาตอบสนอง ๒. ขณะท่ีแก้วก�ำลังดูละครโทรทัศน์อยู่เกิดท้องเสียต้องรีบเข้าห้องน�้ำ  จากสถานการณ์น้ีอุปสรรค ของการสอื่ สารคอื ข้อใด ก. ผสู้ ่งสาร ข ผรู้ ับสาร ค. สาร ง. สื่อ ๓. สำ� นวน “ร�ำไมด่ โี ทษปีโ่ ทษกลอง” แสดงให้เห็นวา่ การสอ่ื สารบกพรอ่ งในดา้ นใด ก. ผูส้ ่งสาร ข. ผรู้ ับสาร ค. สาร ง. สอ่ื ๔. ข้อใดไมจ่ ัดเป็นสอื่ สงิ่ พิมพ์ ก. วารสาร ข. หนงั สือพิมพ์ ค. ป้ายบอกทาง ง. นติ ยสาร ๕. การส่ือสารกบั คนจ�ำนวนมากในเวลาเดียวกนั โดยแตล่ ะคนอยใู่ นท่ตี า่ งกัน ต้องอาศัยสอ่ื เช่น การใชเ้ ทคโนโลยสี มยั ใหมท่ างอนิ เทอรเ์ นต็ วทิ ยุ โทรทศั น์ หนงั สอื พมิ พ์ เปน็ การสอื่ สารประเภทใด ก. การส่ือสารภายในบุคคล ข. การสือ่ สารเปน็ กลุ่มใหญ่ ค. การสือ่ สารในองคก์ าร ง. การสื่อสารมวลชน ๖. “แมใ่ หไ้ ปซอื้ หวั หอมแตล่ กู ไปซอื้ หวั กระทียมมา” การสอ่ื สารน้ี สัมฤทธิผ์ ลหรอื ไม่ อย่างไร ก. สัมฤทธ์ผิ ล เพราะมอี งคป์ ระกอบการสอื่ สารครบ ข. สัมฤทธิผ์ ล เพราะมีการสนทนาโตต้ อบระหวา่ งผู้ส่งสารและรบั สาร ค. ไม่สัมฤทธ์ผิ ล เพราะมอี งคป์ ระกอบการสอื่ สารไม่ครบ ง. ไม่สัมฤทธิ์ผล เพราะผรู้ บั สารไม่สามารถเขา้ ใจความหมายของสารได้ถกู ตอ้ งครบถว้ น

88 บทที่ ๑ ความรเู้ บ้ืองตน้ เรอื่ งการส่อื สาร ๗. สารข้อใดเป็นขอ้ เทจ็ จริง ก. เกาะชา้ งเป็นเกาะทสี่ วยท่ีสดุ ในประเทศไทย ข. พระอาทติ ย์ขึน้ ทางทิศตะวันออก ค. เขาชอบเรียนวชิ าคณติ ศาสตร์มาก ง. คนทีเ่ รยี นเก่งจะไม่ค่อยพูด ๘. “การออกก�ำลังกายจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง อย่างน้อยควรออกก�ำลังกาย ๓ ครั้งต่อสัปดาห์ ครั้งละประมาณ ๓๐ นาที ถา้ ท�ำได้โรคภยั ไขเ้ จ็บทวั่ ไป ก็จะไมเ่ ขา้ ใกลค้ ุณ และรูปรา่ งก็จะดดี ว้ ย ไมเ่ ชอ่ื ก็ลองดู” ขอ้ ความนีเ้ ปน็ การแสดงความคดิ เหน็ ในลักษณะใด ก. เชิงประเมนิ คา่ ข. เชิงแนะน�ำ ค. เชงิ ตงั้ ขอ้ สังเกต ง. เชงิ ตัดสินใจ ๙. ข้อใดไม่ใช่อวจั นภาษา ก. เขารอ้ งไห้สะอกึ สะอ้นื ข. เขาเขียนอีเมล์ถงึ เพ่ือน ค. เขาชว่ ยอาจารย์ถือเอกสาร ง. เขานง่ั สมาธใิ นห้องพระ ๑๐. ขอ้ ใดเป็นอุปสรรคท่ีเกิดจากผู้รับสาร ก. ผู้สง่ สารวิเคราะหผ์ ูร้ ับสารผดิ ข. มที ัศนคติท่ีไม่ดีต่อผูส้ ง่ สาร ค. ใช้ภาษาในการถา่ ยทอดสารไมช่ ดั เจน ง. เน้ือหาของสารไม่เหมาะสมกบั ผู้รบั สาร ตอนท ี่ ๒ จงเขียนแสดงสถานการณ์การสื่อสารของผู้เรียนท่ีก่อให้เกิดอุปสรรค ในการท�ำให้การส่ือสารไม่สัมฤทธิ์ผล ๑ สถานการณ์ และจงวิเคราะห์ สถานการณน์ ้ันว่า อปุ สรรคเกิดจากผูส้ ่งสาร ผู้รับสาร สาร สื่อ หรือ สภาพแวดล้อม  ทที่ �ำใหก้ ารส่ือสารไมบ่ รรลผุ ลพรอ้ มบอกวธิ ีการแกไ้ ข ปอ้ งกันไมใ่ หเ้ กดิ อปุ สรรคขน้ึ อกี

บทท่ี การใชถ้ อ้ ยค�ำ ส�ำนวน ๒ ให้มปี ระสทิ ธิภาพ แนวคิด ถอ้ ยค�ำ หมายถงึ ค�ำ พดู ทม่ี นษุ ยใ์ ชส้ อ่ื สารทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจตรงกนั ในดา้ นกจิ ธรุ ะและใน ดา้ นกจิ การอน่ื ๆ โดยจะตอ้ งรู้จกั ใช้และเข้าใจความหมายของค�ำ และถ้อยคำ� ประโยคเปน็ การรวมค�ำ เขา้ เปน็ กลมุ่ และไดค้ วามหมาย ตามปรกตปิ ระโยคมใี จความสมบรู ณ์ คอื ภาคประธาน และภาคแสดง ประโยคแบง่ ตามลักษณะเนอ้ื ความในประโยคได้ ๓ ประเภท ไดแ้ ก่ ประโยคความเดยี ว ประโยค ความรวม และประโยคความซอ้ น ส�ำ นวน หมายถงึ ถอ้ ยค�ำ ทเ่ี รยี บเรยี งเปน็ ขอ้ ความ หรอื ค�ำ พดู ทเ่ี ปน็ ชน้ั เชงิ ไมต่ รงตามรปู แบบภาษา เปน็ ถอ้ ยค�ำ หรอื ค�ำ พดู ท่ีมีลักษณะเฉพาะตัว มีความหมายเป็นนัยกนิ ความกวา้ งหรือลึกซงึ้ ส�ำ นวนมคี วามหมายครอบคลุม ไปถึงค�ำ พังเพย ภาษิต หรอื สุภาษิตด้วย สาระการเรยี นรู้ ๑. การใช้ถ้อยค�ำ ๔. ระดับภาษา ๒. วธิ กี ารใช้ถ้อยคำ� ๕. การใชส้ �ำ นวน ๓. การสร้างประโยค สมรรถนะ ๑. ใชถ้ ้อยคำ�และส�ำ นวนได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและถกู ต้อง ๒. สรา้ งประโยคท่สี ามารถน�ำ ไปใชใ้ นการตดิ ตอ่ สอื่ สารเพ่ือให้ประสบผลตามจดุ ประสงคท์ ่ีตอ้ งการได้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (Behavioral Objectives) หลงั จากศกึ ษาจบบทเรยี นนีแ้ ล้ว นกั ศกึ ษาจะมีความสามารถดงั นี้ ๑. บอกความหมายของถ้อยค�ำและของคำ� ได้ ๒. เลอื กใชค้ ำ� ตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องตามกาลเทศะ บุคคลและโอกาสได้ ๓. เลือกใช้คำ� ไดเ้ หมาะสมกับระดบั ภาษาได้ ๔. บอกความหมายของประโยคได้ ๕. บอกลกั ษณะท่ดี ขี องประโยคได้ ๖. แกไ้ ขประโยคทบี่ กพรอ่ งให้เป็นประโยคทสี่ อ่ื ความไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ๗. บอกความหมายของส�ำนวนได้ ๘. เลือกใชส้ ำ� นวนได้ถูกตอ้ งตามความหมายและสถานการณไ์ ด้

๒ การใชถ้ ้อยคำ� สำ� นวน ให้มปี ระสทิ ธภิ าพ การใชถ้ อ้ ยคำ� ถอ้ ยคำ� หมายถึง คำ� พดู ทม่ี นุษยใ์ ชส้ ่ือสารท่ที ำ� ให้เกดิ ความเข้าใจตรงกนั ในด้านกจิ ธรุ ะและใน ด้านกิจการอ่นื  ๆ โดยจะตอ้ งรจู้ ักใชแ้ ละเข้าใจความหมายของคำ� และถ้อยค�ำ เพือ่ จะได้มีโอกาสเลือกใชไ้ ด้ อ ยา่ ง เหมาะสม ความหมายของค�ำอาจพิจารณาได้ ๒ ประการ คือ ๑ ความหมายเฉพาะของคำ� หมายถงึ คำ� ท่มี คี วามหมายไดห้ ลายอยา่ งเชน่ ตาอาจหมายถึง พ่อของแม่ หรอื อาจหมายถึง สว่ นหนง่ึ ของรา่ งกายคนและสตั ว์ ทําหน้าทีเ่ ปน็ เครือ่ งดูรปู หรือส่วนหนงึ่ ของต้นไมต้ รงทแ่ี ตกกิ่ง หรอื ชอ่ งทีเ่ กดิ จากการถกั สาน หรอื ลากเส้นผา่ นกัน เชน่ ตาร่างแห หรอื หมายถึง เรยี กลายที่เปน็ ตาตามรูปต่าง ๆ ตามลกั ษณะของสิ่งของ เชน่ ตาหมากรกุ ความหมายเฉพาะคำ� พจิ ารณาแบง่ ได้ ๒ ประการ คอื ๑.๑ ความหมายตามตวั กบั ความหมายเชิงอปุ มา ความหมายตามตัว คอื ค�ำท่ีมีความหมายตามเนื้อหา เช่น ความหมายเชิงอุปมา คือ คำ� ท่มี คี วามหมายซอ่ นเรน้ อยใู่ นค�ำ บางครั้งตอ้ งตคี วาม เปน็ ความหมายทีผ่ ิดจากความหมายเดิม ตวั อยา่ ง ดาว ความหมายตามตวั คอื ดวงดาวบนท้องฟา้ แตถ่ ้าใช้วา่ เธอเป็นดาวของงานคนื น้ี ดาว ความหมายเชิงอุปมา หมายถึง เปน็ ผู้ท่โี ดดเด่นที่สุด เพชร ความหมายตามตวั คอื เครื่องประดับท่มี คี ่าราคาแพงและแขง็ ท่สี ดุ แต่ถา้ ใชว้ ่า หัวใจเขาท�ำด้วยเพชร หมายถงึ เขาใจแข็ง

บทท่ี ๒ การใชถ้ ้อยค�ำ สำ� นวนใหม้ ีประสิทธภิ าพ 11 ๑.๒ ความหมายนยั ตรงกบั ความหมายนยั ประหวดั ความหมายนัยตรง คอื ความหมายท่ปี รากฏในพจนานกุ รม เปน็ คำ� ทีใ่ ช้ทว่ั ไป ความหมายนยั ประหวดั คอื ความหมายของคำ� นน้ั มคี วามเกย่ี วโยงไปถงึ สงิ่ อน่ื การเขา้ ใจ ความหมายโดยนัยขน้ึ อยูก่ ับประสบการณ์ ความรู้ และทัศนคตขิ องผู้ใช้ที่มีตอ่ ค�ำน้ัน ๆ ตวั อยา่ ง ลงิ ความหมายนยั ตรงตามพจนานุกรม คือ ชื่อสตั วเ์ ล้ียงลกู ด้วยนมหลายชนดิ ในอันดับ Primates ลักษณะคล้ายคน แขนขายาว ตนี หน้าและตีนหลังใช้จับเกาะได้ มีทัง้ ชนิดทม่ี ีหาง เชน่ วอก (Macaca mulatta) และชนิดทีไ่ ม่มีหาง เช่น กอริลลา (Gorilla gorilla). ความหมายนยั ประหวดั ลงิ หมายถึง กริ ิยาซุกซนอยู่ไมส่ ุข เช่น เด็กพวกนซ้ี นเป็นลงิ เกา้ อี้ ความหมายนัยตรง คอื ทีส่ ําหรับนั่ง มีขาและพนกั พิง แตค่ วามหมายนยั ประหวดั เก้าอี้ หมายถึง ตำ� แหนง่ เช่น เขาถูกเลือ่ ยขาเก้าอี้ ค�ำที่มีความหมายนัยประหวัดมักใช้เป็นค�ำที่ให้อารมณ์ความรู้สึก  แก่ผู้รับสาร มากกวา่ ความหมายนยั ตรง ๒ ความหมายเทยี บเคยี งกบั คำ� อน่ื คำ� ในภาษาไทยมคี ำ� ทมี่ คี วามหมายเหมอื นกนั คลา้ ยกนั ตรงขา้ มกัน เป็นจ�ำนวนมาก พอจะจ�ำแนกไดด้ งั นี้ ๒.๑ คำ� ทม่ี คี วามหมายเหมอื นกนั   คำ� ทค่ี วามหมายเหมอื นกนั แตอ่ าจใชใ้ นบรบิ ทแตกตา่ งกนั ขึ้นอยู่กบั ระดบั ภาษา บคุ คล โอกาส ส�ำนวนภาษา เช่น กิน คำ� ภาษาปาก รบั ประทาน คำ� ภาษาสภุ าพ เสวย คำ� ราชาศัพท์ ใช้กบั บคุ คลระดับหม่อมเจา้ ขึ้นไป ฉนั คำ� ราชาศพั ท์ ใช้กบั พระสงฆ์ หม่ำ� ส่วนใหญ่ใชก้ ับเด็ก ๒.๒ คำ� ทม่ี คี วามหมายตรงข้ามกัน เช่น ขน้ึ -ลง ยาว-สัน้ อ้วน-ผอม ขยนั -ข้ีเกยี จ นางฟ้า-ซาตาน ต้ืน-ลกึ แคบ-กว้าง คณุ -โทษ ก้ม-เงย คว่�ำ-หงาย ๒.๓ ค�ำท่ีมีความหมายรว่ มกนั กะ-เดา-คาด-คาดคะเน กลวั -ขลาด-ขยาด-หวาด โกรธ-เคอื ง ขอทาน-ยาจก-วณพิ ก ค่อย-เบา เคย-คนุ้ -ชนิ ชว่ั -เลว-ทราม แตะ-ตอ้ ง-ถูก-สัมผัส เพือ่ น-มิตร-สหาย

12 บทท่ี ๒ การใชถ้ ้อยค�ำ สำ� นวนใหม้ ีประสิทธภิ าพ ๒.๔ คำ� ทมี่ ีความหมายแคบกวา้ งตา่ งกัน เครือ่ งประดับ - สร้อยคอ แหวน ก�ำไล เข็มกลัด ตมุ้ หู พาหนะ - รถยนต์ รถไฟ เคร่อื งบนิ เรอื จักรยาน ... ส ี - ขาว ชมพู ฟ้า เหลอื ง เขยี ว ม่วง ... สตั ว ์ - ไก่ กวาง นก ช้าง ม้า ววั หมู ... ผัก - ผักบุ้ง ผกั คะนา้ ผกั กาด ผักชี ผักกวางตุ้ง ... วธิ กี ารใช้ถอ้ ยคำ� การใช้ถ้อยคำ� ให้มปี ระสทิ ธภิ าพจะตอ้ งพจิ ารณารายละเอียดของการใชถ้ ้อยคำ� ดงั ต่อไปนี้ ๑ การใชค้ ำ� ใหต้ รงความหมาย มีลกั ษณะการใช้ค�ำดงั น้ี ๑.๑ ใชค้ ำ� ใหค้ วามหมายกระชบั หรอื ใชบ้ รบิ ทชว่ ยใหช้ ดั เจนไมเ่ กดิ ความหมายนยั ประหวดั ตวั อยา่ ง เราตอ้ งทำ� งานอย่างมี แผน แผน อาจมีความหมายวา่ การตระเตรยี มอยา่ งรอบคอบ หรือการใชอ้ ุบายเล่หเ์ หล่ยี ม ควรเขียนระบใุ ห้ชัดเจนว่า เราตอ้ งท�ำงานโดยวางแผนล่วงหนา้ ให้เรยี บรอ้ ย เขา เหน่ือย กับการท�ำงาน เหน่ือย อาจมีความหมายว่า เหน็ดเหน่ือยจากการท�ำงานหนัก หรือเหนื่อยใจ เบอ่ื หนา่ ย ไมอ่ ยากทำ� งาน ผสู้ ง่ สารตอ้ งระบคุ ำ� ใหช้ ดั เจนวา่ ตอ้ งการสอ่ื ความวา่ อยา่ งไร ๑.๒ ใช้ค�ำที่ไมก่ อ่ ให้เกดิ ความหมายกำ� กวมหรือมีความเข้าใจมากกวา่ ๑ ความหมาย ตวั อยา่ ง ผมไม่ชอบกนิ ข้าวเยน็ ควรเขยี นว่า เขาไม่ชอบกนิ ข้าวมอื้ เยน็ (อาหารมอ้ื เยน็ ) หรือ เขาไม่ชอบกินข้าวทีเ่ ย็นแล้ว (ขา้ วที่ไมร่ ้อน ไมอ่ ุ่น) พอ่ เล้ียงเธอดีมาก ควรเขียนว่า พอ่ เล้ยี งเธอมาดมี าก (พอ่ หมายถงึ ชายผ้ใู ห้กาํ เนิดแกล่ ูก) พอ่ เล้ียงของเธอดมี าก (พอ่ เล้ียง เป็นคำ� นาม หมายถึง สามีของแม่ แตไ่ ม่ใชพ่ อ่ ของตัว หรือชายที่มีฐานะดี)