Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Book_1

Book_1

Published by bangphaelibrary01, 2019-12-19 02:14:05

Description: Book_1

Search

Read the Text Version

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แห่งดิน พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร เป�้ หม�ยอย�่ งหนง่ึ ทีจ่ ะใหป้ ลูกสงิ่ ทป่ี อ้ งกันไมใ่ ห้ทล�ยลงม� แลว้ ปร�กฏว่�ดินข้�ง ถนนก็ไม่ทล�ย อย่�งเช่น ท�งที่ข้ึนไปดอยตุงก็เป็นดินที่ปลอดภัย และทำ�ให้ถนน น้นั ๆ แข็งแรง ซึ่งเป็นผลท่มี หศั จรรย์ เป็นผลของก�รปลูกหญ้�แฝก นอกจ�กน้นั ก็ทำ�ให้ก�รปลูกต้นไม้ข้�งถนนส�ม�รถปลูกได้อย่�งปลอดภัย ซึ่งก็เป็นผลแรกท่ีได้ นอกจ�กนัน้ กไ็ ดป้ อ้ งกันท่ีทมี่ นั ทล�ยลงม�แล้วทำ�ให้เสยี ห�ยตอ่ ก�รเพ�ะปลกู ฉะนั้น เรียกได้ว่�ภ�ยในไม่ก่ีวัน ผู้ที่รับหน้�ท่ีไปถว�ยคำ�แนะนำ�ก็ดีใจ ที่เห็น ว่�ก�รเพ�ะปลูกหญ้�แฝกในท�งท่ีถูกต้อง ได้เกิดบรรลุผลข้ึนม� ข้อสำ�คัญจะต้อง ศึกษ�ว่�ใช้หญ้�แฝกชนิดใดท่ีจะข้ึนได้ บริเวณใดท่ีจะข้ึนได้ดี และไม่ทำ�ให้เสียห�ย ตอ่ ดนิ เพร�ะว�่ บ�งแหง่ จะขน้ึ ไดอ้ ย�่ งดตี อ้ งมคี ว�มกว�้ งของดนิ ทไ่ี ดช้ ว่ ย ซงึ่ กแ็ ปลก ทบี่ �งแหง่ จะตอ้ งปลกู ใหห้ �่ ง ห�่ งกนั เปน็ แนว เมตรเดยี วกม็ ี แลว้ แตค่ ว�มชนั ของดนิ ภ�ยในไมก่ ว่ี นั ท�่ นไดส้ ง่ แบบ แลว้ กข็ น�ดของก�รปลกู เวล�นนั้ เร�กไ็ ปเชยี งใหมแ่ ลว้ ก็เห็นว่�เป็นบริเวณที่ห่�งกันไม่กี่เมตร บ�งแห่งก็ห่�งกันหล�ยเมตร สำ�หรับปลูก หญ้�แฝก ฉะน้นั กไ็ ด้ผลภ�ยในไมก่ ่เี ดือน ไดผ้ ลของก�รปลกู พืช ซ่งึ กย็ �ก ตอนนัน้ ย�กทจ่ี ะไดผ้ ลขน้ึ ม�ไดใ้ นระยะเวล�อนั สน้ั อย�่ งนน้ั ท�ำ ใหท้ ดี่ นิ เหล�่ นน้ั เปน็ ประโยชน์ เร�ก็เห็นได้ว่�ดินท่ีได้รับก�รป้องกันจ�กพืชง่�ย ๆ อย่�งเดียว ทำ�ให้ดินเหล่�นั้นมี ประโยชนข์ นึ้ ม� ก�รทดลองและผลของก�รเพ�ะปลกู โดยม�กกจ็ ะไดผ้ ลภ�ยในหล�ย เดอื น แต่น่ภี �ยในไม่กเ่ี ดือน ได้ประโยชน์ของก�รปลูกและทดลอง ฉะนั้น เร่ืองทไี่ ดท้ ดลองหญ้�แฝกนัน้ ได้ประโยชนอ์ ย�่ งย่งิ แลว้ ก็ผู้ท่ีไดท้ ำ�ก็เกดิ ตน่ื เตน้ เหมอื นกนั แมจ้ ะรวู้ �่ หญ�้ แฝกนจ่ี ะเปน็ ประโยชน์ แตไ่ มไ่ ดน้ กึ ว�่ จะไดป้ ระโยชน์ ม�กม�ยอย�่ งนี้ ภ�ยในไมก่ เ่ี ดอื น ไดท้ �ำ ทด่ี นิ กว�้ งขว�งไดเ้ กดิ ประโยชนข์ นึ้ ม� ฉะนน้ั กเ็ ปน็ สง่ิ ทที่ �ำ ใหเ้ จ�้ หน�้ ทที่ งั้ หล�ยไดค้ ว�มตนื่ เตน้ และดใี จทไ่ี ดท้ �ำ ผทู้ ที่ �ำ นนั้ กเ็ ปน็ ผทู้ ี่ มคี ว�มรทู้ �งก�รพฒั น�ดนิ แตไ่ มใ่ ชอ่ ย�่ งนนั้ เท�่ นนั้ เปน็ ผทู้ ส่ี �ม�รถจะปลกู พชื อย�่ ง หนึ่ง และทดลองพชื อย่�งหนึง่ ไดอ้ ย�่ งมีประสิทธภิ �พ ต่อไปท่สี �ำ คญั กค็ ือ จะต้องดู ว่�หญ�้ แฝกทม่ี ีในเมืองไทยมีหล�ยชนดิ ทง้ั บนภเู ข� ทัง้ บนท่รี �บ ทั้งใกล้ทะเลกม็ ี ก็ หม�ยคว�มว�่ มที จี่ ะต้องศกึ ษ�ม�กม�ย และภ�ยในสบิ เจด็ ปที ่ีไดท้ �ำ ก�รทดสอบน้ี ถึงต้องขอขอบใจที่ท่�นท้ังหล�ยได้ทำ�ประโยชน์อย่�งยิ่งต่อก�รเกษตรและ ก�รเพ�ะปลูก โดยเฉพ�ะในเมืองไทยก็ได้ช่วยให้ประเทศมีคว�มเจริญขึ้นอย่�งม�ก อย�่ งแปลกประหล�ด ฉะน้นั ตอ้ งขอบใจท�่ นทไี่ ดช้ ว่ ยกนั ท�ำ มีคนหล�ยคนไม่เชอื่ ว่� หญ�้ ธรรมด�นอี้ ย�่ งเดยี วจะชว่ ยประเทศใหร้ อดพน้ จ�กอนั ตร�ยหล�ยอย�่ ง คนบ�งคน กบ็ อกว�่ หญ�้ นม้ี นั เปน็ วชั พชื แตค่ นทไ่ี ดศ้ กึ ษ�ออกม�ยนื ยนั ว�่ หญ�้ แฝกนไ้ี มใ่ ชว่ ชั พชื แตเ่ ปน็ หญ�้ ทม่ี หศั จรรย์ เปน็ หญ�้ ทชี่ ว่ ยประเทศช�ติ ฉะนนั้ ทท่ี �่ นไดท้ �ำ ม�เปน็ เวล� แรมปี เป็นประโยชนอ์ ย�่ งยง่ิ และเปน็ ส่ิงท่ชี ่วยประเทศช�ตใิ ห้รอดพน้ จ�กอันตร�ย หล�ยอย่�ง ก็ต้องขอบใจท�่ น ท่ไี ด้ตัง้ ใจทำ�ง�น แม้จะเปน็ ง�นท่ีเหน็ดเหนือ่ ย เพร�ะ ต้องไปทุกแห่ง แล้วต้องไปห�หญ้�ม� หญ้�นี่มีน�น�ชนิดนะ แล้วก็ต้องห�วิธีท่ีจะ ปลกู ให้ดที สี่ ุด ไดไ้ ปเห็นบ�งแห่ง เจ�้ หน้�ท่ไี ดต้ ้ังใจปลูกให้ดที ี่สดุ ให้ได้ม�กที่สุด แล้ว ได้ผลจริง ๆ 94

ฉะนน้ั กต็ อ้ งบอกท�่ น ง�นท่�นเปน็ ง�นทยี่ �กอย�่ งหนึ่ง แตใ่ นทีส่ ดุ กเ็ ป็นง�นที่ ไดป้ ระโยชน์อย่�งย่ิง และไดเ้ กดิ ประโยชนอ์ ย่�งม�ก เหนด็ เหนอ่ื ยท่ใี นก�รทำ�ต้องไป ทกุ แหง่ และจะตอ้ งพย�ย�มตอ่ สเู้ พอื่ ดวู �่ ทไ่ี หนเหม�ะสมในก�รท�ำ ก�รเพ�ะปลกู หญ�้ แฝก และทำ�ก�รศกึ ษ�ใหด้ ที ่ีสุด แต่ในท่ีสุดกไ็ ดผ้ ลในก�รท�ำ ง�นน้ี ได้ประโยชนข์ ึ้นม� อย่�งยิ่ง น่�ตื่นเต้น อย่�งเช่นที่สมเด็จพระบรมร�ชชนนีท่�นมีคว�มต่ืนเต้นในก�ร ปลูกหญ�้ แฝก ปลูกหญ้�นน่ี ะหญ�้ ธรรมด� ปลกู หญ�้ เพ่อื ช่วยก�รเกษตรกรรม สร�้ ง คว�มเจริญแก่ก�รเกษตรและก�รศึกษ�ของก�รสร้�ง แม้จะสร้�งถนน สร้�งไร่น� ใหไ้ ด้ผลดที ีส่ ุด ก็ต้องขอขอบใจท่�นท่ีได้ช่วยกันทำ� ต้องบอกว่�ด้วยคว�มเหน็ดเหน่ือย แล้ว วนั นท้ี �่ นกไ็ ดป้ ระโยชน์ ตอนนไ้ี ดผ้ ลดแี ละยงั มผี ลตอ่ ไปอกี ม�กม�ย กต็ อ้ งขอบใจท�่ น ทัง้ หล�ยทม่ี ีคว�มเพยี รอย่�งน้ี…” ๓๐) วนั ท่ี ๒๕ กรกฎ�คม ๒๕๕๔ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทาน พระราชดำาริกับนายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา และคณะกรรมการกิจการกระจาย เสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) พรอ้ มด้วยเจ้าหนา้ ท่ีและผู้ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ณ หอ้ งประชุมสมเดจ็ พระเจ้าพน่ี างเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์ ชนั้ ๑๔ อาคารเฉลิมพระเกยี รติ โรงพยาบาลศิรริ าช มีใจความสาำ คัญดงั น้ี เดิมเคยมีดินถล่มคร้ังใหญ่ท่ีตำาบลกระทูน อำาเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช เมือ่ วันที่ ๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๑ เนื่องจากมพี ายุดเี ปรสชั่นเขา้ กอ่ นหน้านั้น ๓ – ๔ วัน ครนั้ ถงึ วนั ท่ี ๒๒ มฝี นตกใหญบ่ รเิ วณพนื้ ทเี่ ชงิ เขาทชี่ าวบา้ นทาำ สวนยางพารา ดนิ อมุ้ นา้ำ ไว้ ไม่ไหว ก็พังทลายทำาความเสียหายท้ังพ้ืนที่เชิงเขาและบริเวณชายเขาด้านล่างท่ีดินถล่ม ไปทับถม ในกรณีท่ัว ๆ ไป ให้ใช้ความระมัดระวังในการดำาเนินงาน เพราะแม้กระท่ัง หญา้ แฝกซง่ึ ตามหลกั จะปอ้ งกนั ดนิ พงั ทลาย กอ็ าจจะเปน็ ตวั การใหด้ นิ ถลม่ ได้ เพราะราก เจาะลึกทำาให้ดินแตกแยก และนำาน้ำาลงไปอาจจะเป็นเหตุให้ดินพังทลายเสียเอง ตลอดจนการปลูกต้นไม้มักจะใช้ต้นไม้โตเร็วซึ่งส่วนมากไม่มีรากแก้ว ก็จะไม่ยึดดินไว้ได้ ฉะน้ัน ควรศึกษาอย่างรอบคอบว่าโครงสร้างดินลักษณะใด ควรจะดำาเนินการอย่างไร ปลูกพืชชนิดไหน จะได้แก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพได้ หรือแม้กระท่ังการทดลองใช้ กระสอบพลาสติกแบบมีปีกก็ต้องระมัดระวัง ศึกษาสภาพพ้ืนท่ีให้ดีเพราะอาจจะ เหมาะสมกบั บางพนื้ ทีเ่ ทา่ นัน้ ไมส่ ามารถใช้แบบเดียวกนั ได้ทั้งหมด ทรงกังวลเร่ืองการใช้พ้ืนท่ีเพาะปลูกในปัจจุบันที่รุกข้ึนไปบนเขา เข้าไปในป่า การเพมิ่ ข้ึนของประชากรซึ่งเมื่อเสดจ็ นิวัติประเทศไทยในปี ๒๕๐๔ นน้ั ประเทศไทยมี ประชากร ๑๘ ล้านคน ขณะน้มี เี กือบ ๗๐ ล้านคนแล้ว จึงมีความต้องการพน้ื ทเ่ี พาะปลกู เพิม่ เติม แต่ที่ดินในพืน้ ท่ีราบกม็ ีเจ้าของหมดหากเข้าไปเพาะปลูกใชป้ ระโยชน์กเ็ ป็นการ บุกรุกผิดกฎหมาย ยิ่งขับไล่ ก็ย่ิงรุกข้ึนไปบนเขาเข้าในป่ามากขึ้น จึงเห็นพื้นที่ปลูกยาง 95

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แห่งดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ปลูกปาล์ม ปลูกไม้โตเรว็ ต่าง ๆ เพิม่ ข้ึนมาก ทั้งภาคอีสาน ภาคเหนอื พื้นท่ีดนิ ถลม่ ก็ เพมิ่ ขนึ้ ตามมา ดนิ ถลม่ สร้างความเสยี หายอยา่ งมาก กว่าจะฟนื้ หน้าดนิ มาใช้เพาะปลูกอีก กใ็ ชเ้ วลาหลายปี เมอื่ เปดิ พนื้ ทใี่ หมข่ นึ้ ไปบนเขากส็ รา้ งถนน ถนนทส่ี รา้ งผดิ ไปขวางทางนา้ำ ก่อความเสียหายทงั้ นา้ำ ท่วมและดินถลม่ เห็นท้ังที่จังหวัดระยอง จงั หวดั จันทบุรี จงั หวัด ชมุ พร ภาคเหนอื และทเี่ พง่ิ เกดิ เมอื่ เดอื นมนี าคมนท้ี อี่ าำ เภอเขาพนม จงั หวดั กระบี่ อาำ เภอ นบพติ าำ จงั หวดั นครศรธี รรมราช เหน็ ภาพสะพานพงั ถนนเสยี หาย ตอ้ งใชส้ ะพานเชอื กกนั การจดั การทอ่ี ยอู่ าศยั ทที่ าำ มาหากนิ จะตอ้ งใชเ้ วลาแกไ้ ขอกี นาน ระหวา่ งนกี้ ต็ อ้ งหาวธิ กี าร ท่ีเหมาะให้อยู่ได้ไม่ให้เกิดเสียหายอันตรายให้ชาวบ้านป้องกันตนเองได้ จัดการปัญหา ดนิ ถล่มจากการบกุ รุกน้ีไดอ้ ยา่ งถาวร ทรงเล่าถึงประสบการณ์ปัญหานำ้าท่วมท่ีเกิดจากการสร้างถนนและวิธีการที่ทรง แกไ้ ขปญั หานา้ำ ทว่ มวา่ เมอ่ื กอ่ สรา้ งถนนสช่ี อ่ งทางหนา้ วงั ไกลกงั วล อาำ เภอหวั หนิ จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ เสร็จใหม่ ๆ มีฝนตกหนัก น้ำาไหลตามแนวถนนมาท่วม บริเวณหน้า วังไกลกังวลฝั่งตะวันตกเพราะเป็นพ้ืนท่ีต่ำา เกาะกลางถนนขวางน้ำาไว้ไม่ให้ไหล จึงมี พระราชกระแสรบั สง่ั ใหท้ บุ เกาะกลางถนนใหน้ า้ำ ไหลผา่ นวงั ไกลกงั วลไปลงทะเลแกป้ ญั หา นำ้าท่วมได้ ต่อมาวางท่อระบายนำ้า แต่นำ้าก็ยังท่วม และขังอยู่บริเวณสถานีจ่ายกระแส ไฟฟา้ เจา้ หนา้ ทนี่ าำ กระสอบมากน้ั รอบสถานแี ลว้ สบู ออก นาำ้ ไหลวนอยอู่ ยา่ งนนั้ ตอ้ งรบั สง่ั ใหห้ ยดุ สบู แลว้ ทาำ ทางระบายนำ้าลงทะเล จะเหน็ ไดว้ า่ การสบู นาำ้ ไม่ใช่ทางแกไ้ ขเสมอไป การจัดการนาำ้ ไปเกบ็ หรอื ระบายให้ถูกตอ้ งจะดกี วา่ พระราชทานพระราชดาำ ริวา่ หากจะแกป้ ญั หาเหล่านีท้ ่ีตน้ เหตุ คอื การปรับทด่ี ิน ทาำ กนิ ทอ่ี ยูอ่ าศัย อย่างเหมาะสม ถกู ตอ้ ง กจ็ ะต้องใชเ้ วลา ๑๐-๒๐ ปี ไมท่ ันกบั ความ เสยี หายทรี่ นุ แรงและขยายตวั ไปทวั่ ทกุ ภาคจงึ จาำ เปน็ ตอ้ งศกึ ษา วจิ ยั ทดลองใหไ้ ดค้ าำ ตอบ วา่ จะปลกู พชื อยา่ งไร ใหม้ รี ากแกว้ ลกึ สลบั กบั หญา้ แฝก หรอื พชื อน่ื ทเ่ี หมาะสมตามสภาพ เชน่ ที่รม่ ไม่มีแดดก็อาจใชต้ ้นไครน้ า้ำ จดั การร่องนำา้ ไมใ่ ห้นาำ้ มากดั เซาะ เพราะหากนาำ้ ซมึ ลงไปไดท้ ง้ั ดนิ ถนน สะพาน กท็ ลายลง การกระทาำ อยา่ งนจี้ ะเหมาะสมกบั ความลาดเอยี ง อยา่ งไร ตอ้ งปรบั ความลาดเอยี งชว่ ยหรอื ไม่ และหากพนื้ ทชี่ นั มากจะตอ้ งเสรมิ โครงสรา้ ง เข้าไปอย่างไร หากจะสร้างถนนในพื้นท่ีเสี่ยงภัยเหล่านี้จะต้องสร้างอย่างไรไม่ให้นำ้า กดั เซาะและพงั ทลายเปน็ อันตรายกบั คน เหลา่ นล้ี ว้ นแต่เป็นปัญหาโจทย์ คอื มูลนิธนิ ้าำ ควรสนับสนุนส่งเสริมหรือทำาวิจัยให้ได้แนวทางการจัดการปัญหาให้ได้ แล้วเผยแพร่ ให้เป็นประโยชน์ ถึงแม้คนเหล่าน้ีจะทำาผิดและละเมิดกฎหมาย และหากจะแก้ปัญหา เหล่านี้ทั้งประเทศเงินเท่าไหร่ก็ไม่พอ จึงต้องทำาตัวอย่างให้ชัดเจนแล้วค่อยขยายผล ใหช้ ุมชนอน่ื ทำา 96

๖.๒.๒ สรุปคณุ สมบัตขิ องหญ�้ แฝกที่มผี ลต่อก�รปอ้ งกนั ก�รชะล�้ งพงั ทล�ยของดนิ หญา้ แฝกเป็นพชื ทีข่ ึ้นอยู่โดยทัว่ ไปในประเทศไทย การที่ทรงเลอื กหญ้าแฝกมาปลกู เป็น แนวขวางความลาดเท เพ่ือไม่ให้หน้าดินถูกชะล้างพังทลายเมื่อมีการปลูกพืชบนพื้นที่ท่ีมีความลาดชัน เน่อื งจากหญา้ แฝกมคี ณุ สมบัติ ดงั น้ี (๑) มีรากยาวและมปี รมิ าณมากสามารถยดึ ดินได้เปน็ อย่างดี (๒) ขึ้นได้ทั่วไปในประเทศไทย และขยายพนั ธ์ุงา่ ย (๓) ไม่กลายเป็นวชั พืช เนือ่ งจากขึน้ เป็นกอ รากไม่อาจแตกเป็นต้นใหมไ่ ด้ และส่วนใหญ่ เมล็ดไม่สมบูรณ์งอกได้ยาก ไม่แพร่กระจายเหมือนหญ้าชนิดอื่นท่ีเป็นวัชพืช เช่น หญ้าคา และ หญ้าขจรจบ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การปลูกหญา้ แฝกต้องรวู้ ธิ กี ารปลูก โดยจะตอ้ งปลกู กลางแจ้ง และปลูกใน ตน้ ฤดูฝน โดยท่วั ๆ ไปใช้หญา้ แฝกทีช่ ำาไวใ้ นถุงใช้ปลกู ได้ดกี วา่ การปลูกโดยใช้การแยกต้นมาปลูกหลมุ ละต้น การปลูกหญ้าแฝกต้องพยายามปลูกให้ชิดกันหรือให้มีระยะห่างประมาณ ๕-๑๐ เซนติเมตร เพ่ือใหห้ ญา้ แฝกเม่อื แตกกอจะได้ชดิ กนั เป็นแนว ซ่งึ แนวหญา้ แฝกดังกล่าว พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเรยี กวา่ “เปน็ ก�ำ แพงท่ีมชี วี ิต” แนวหญ้าแฝกดงั กลา่ วจะทำา หน้าท่ีชะลอความรุนแรงของนำ้าท่ีไหลบ่าผ่านหน้าดิน สามารถป้องกันไม่ให้หน้าดินถูกชะล้างพังทลาย ได้โดยงา่ ย แตแ่ นวหญา้ แฝกดงั กลา่ วเม่ือปลูกไปแลว้ จาำ เปน็ ตอ้ งมีการดูแลบำารงุ รกั ษา และป้องกนั ไมใ่ ห้ วัชพืชต่าง ๆ เช่น หญ้าคา หรือต้นสาบเสือข้ึน โดยเฉพาะอย่างย่ิงหญ้าคา ถ้าข้ึนมาก ๆ หญ้าแฝก จะตาย ย่งิ มตี ้นสาบเสอื และไม้พุม่ ต่าง ๆ ข้ึนมาปกคลุม หญา้ แฝกจะตายเพิ่มขน้ึ เป็นทวคี ูณ เนือ่ งจาก หญ้าแฝกไม่ชอบข้ึนในท่ีร่มหรือในท่ีที่มีพืชอื่นขึ้นปกคลุม แนวหญ้าแฝกท่ีปราศจากการดูแลรักษาท่ีดี มักตายเป็นหย่อม ๆ ทำาให้การป้องกันการชะล้างพังทลายของดินโดยหญ้าแฝกไม่ค่อยได้ผล แนว หญา้ แฝกทีต่ ายเป็นหย่อม ๆ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงเรียกว่า “แฝกฟันหลอ” ซึ่งเป็นลักษณะการปลูกหญ้าแฝกท่ีไม่พึงประสงค์ การปลูกหญ้าแฝกเป็นแนวขวาง ความลาดชัน (slope) และปลูกเป็นแนวขนานกันไป ระยะห่างระหว่างแนวหญ้าแฝกขึ้นอยู่กับ ความยาวของความลาดชันและองศาหรือเปอร์เซ็นต์ของความลาดชัน หญ้าแฝกจะมีประโยชน์ใน การใชป้ อ้ งกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ถา้ พนื้ ทน่ี น้ั มคี วามลาดชนั ไมเ่ กนิ ๕๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ (๒๕ องศา) แต่ถา้ จะให้เหมาะสมแลว้ ควรปลกู บนพนื้ ท่ีความลาดชนั น้อยกว่า ๓๕ เปอร์เซน็ ต์ สำาหรับ สภาพพนื้ ทท่ี ค่ี วามลาดชนั สงู มาก ๆ นอกจากจะปลกู หญา้ แฝกแลว้ อาจตอ้ งมวี ธิ กี ารอน่ื ๆ ชว่ ยดว้ ย เชน่ การปลูกพืชคุลมดิน ทำาข้ันบันไดดินหรือทำาร่องระบายนำ้าระหว่างแถวหญ้าแฝกทุก ๒-๓ แนว ในลกั ษณะคนั ครู บั น้าำ ขอบเขา (hillside ditch) หญ้าแฝกนอกจากจะมีประโยชน์ในการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินแล้ว ยังมี ประโยชน์อีกหลายอย่าง เช่น นำามาใชท้ ำาเปน็ ตับเพ่ือมุงหลังคา ชาวบ้านเรียกว่า แฝกมงุ หลังคา ซึ่งโดย ปกติการปลูกหญ้าแฝกจำาเป็นต้องมีการตัดใบออกไปในช่วงปลายฤดูฝน โดยจะตัดเหนือพื้นดินขึ้นมา ประมาณ ๒ คืบ หรือประมาณ ๓๐ เซนติเมตร การตัดใบออกจะช่วยทำาให้หญ้าแฝกทนได้ดีในช่วง ฤดูแล้ง ในช่วงน้ีถึงแม้จะมีไฟเข้ามาและหญ้าแฝกถูกเผาไหม้ รากยังคงไม่ตายและจะผลิใบออกมาอีก เมือ่ มีฝน ถ้าไมน่ ำาใบหญ้าแฝกมาทาำ เปน็ ตับสาำ หรับมุงหลงั คา สามารถนาำ มาใชค้ ลมุ ดินเพื่อทาำ ให้ดนิ ชื้น ยิ่งไปกว่านน้ั การปลกู หญา้ แฝกยังชว่ ยทาำ ให้สภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ดขี ้ึน 97

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แหง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร รูปแบบก�รปลกู แฝกดว้ ยวธิ ีต�่ ง ๆ เพ่อื แกไ้ ขปัญห�ก�รชะล�้ งพังทล�ยของดนิ 98

ก�รใชป้ ระโยชน์อืน่ ๆ ของหญ�้ แฝก ส่วนตา่ ง ๆ ของหญา้ แฝกใช้เป็นส่วนประกอบในการทาำ ปุย๋ หมกั ใบหญา้ แฝกใชค้ ลมุ ดนิ เพื่อรกั ษาความชมุ่ ชื้น ใบหญา้ แฝก ท่ตี ดั ออกมา ใชท้ ำาประโยชน์ ไดห้ ลาย ๆ อย่าง ใชห้ ญ้าแฝกทำาเป็นตบั สำาหรบั มุงหลงั คา ใช้สานทาำ ผลติ ภณั ฑห์ ตั ถกรรม 99

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดนิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ๖.๒.๓ ก�รศึกษ�วิจัยและถ่�ยทอดเทคโนโลยีเรอ่ื งก�รปลกู หญ้�แฝก ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดำาริ เป็นสถานท่ีที่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานพระราชดำาริให้ตั้งข้ึนตามภูมิภาค ต่าง ๆ ไว้ ๖ ศูนย์ เพอ่ื เป็นต้นแบบความสำาเรจ็ ของการพฒั นาแบบผสมผสานท่เี กษตรกรและผู้สนใจ ท่วั ไปเข้าไปศึกษา เพื่อนำาไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ วศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาฯ จงึ เปน็ สถานทที่ สี่ าำ คญั ในการศกึ ษาทดลองและ ดาำ เนินการสนองพระราชดำาริเก่ียวกบั หญ้าแฝกอย่างมากมาย โดยมีกิจกรรมตา่ ง ๆ เช่น การรวบรวม และเปรียบเทียบสายพันธุ์หญ้าแฝกแหล่งต่าง ๆ มีการเพาะในแปลงขยายพันธุ์ มีการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง เพอื่ นาำ ไปใชป้ ระโยชนใ์ นลกั ษณะตา่ ง ๆ ตลอดจนการขยายผลไปสเู่ กษตรกร ทง้ั นย้ี งั มกี ารอบรม ใหค้ วามรแู้ ละจดั ทาำ สาธติ การปลกู หญา้ แฝกในลกั ษณะตา่ ง ๆ ไวใ้ นศนู ยฯ์ เพอื่ ใหป้ ระชาชนผสู้ นใจทวั่ ไป ได้ศกึ ษา และมีการแจกจ่ายพนั ธ์ุหญ้าแฝกให้กับผ้ทู ี่สนใจด้วย ในขณะเดยี วกนั ทางกรมพัฒนาท่ดี ินกม็ ี สว่ นสาำ คญั ในการปฏบิ ตั งิ านสนองพระราชดาำ รเิ กยี่ วกบั เรอื่ งหญา้ แฝกดว้ ย อาทิ การศกึ ษาทดลองตา่ ง ๆ การผลิตเพ่อื แจกจา่ ย และขยายพันธใ์ุ หแ้ ก่เกษตรกร หน่วยงานราชการ และประชาชนท่ีต้องการ 100

๖.๓ ก�รแก้ไขปัญห�ดินทร�ย ดนิ ทรายในทน่ี หี้ มายถงึ ดนิ ทรายทเ่ี กดิ ตามธรรมชาตพิ บอยทู่ วั่ ๆ ไปในประเทศไทย และมเี นอ้ื ที่ ประมาณ ๙ ล้านไร่ ดินทรายดังกล่าวมีลักษณะคล้าย ๆ กับดินทรายที่นำามาใช้ในการผสมซีเมนต์ เพื่อใช้ในการก่อสร้างทั่วไป การนำาดินทรายมาใช้ปลูกพืชเศรษฐกิจจะมีปัญหาเรื่องดินมีความ อดุ มสมบรู ณต์ าำ่ หรอื ดนิ มธี าตอุ าหารนอ้ ย และดนิ มคี วามสามารถในการอมุ้ นาำ้ ตา่ำ ดงั นนั้ ในชว่ งทฝี่ นแลง้ พชื ทป่ี ลกู จะเหยี่ วเฉาและตายไดง้ า่ ยถา้ ขาดนาำ้ ยง่ิ ไปกวา่ นนั้ ถา้ เปน็ พนื้ ทลี่ าดเอยี ง เมอื่ ฝนตกจะเกดิ การ ชะลา้ งพังทลายได้งา่ ย ถ้าใชด้ นิ ในบรเิ วณนน้ั ปลูกพชื ตอ่ เน่ืองกันโดยไมม่ ีการใช้ปยุ๋ บาำ รงุ ดิน พืชที่ปลกู จะให้ผลผลติ นอ้ ยหรอื ไมไ่ ดผ้ ลผลิต ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ อำาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นตัวอย่าง ความสาำ เรจ็ ทส่ี ามารถแกไ้ ขปญั หาดนิ ทราย อนั มสี าเหตมุ าจากคนทาำ ลายปา่ แลว้ ปลกู พชื ไร่ เชน่ ขา้ วโพด และมนั สาำ ปะหลงั ซง่ึ ทาำ ใหด้ นิ จดื ลงอยา่ งรวดเรว็ มหิ นาำ ซา้ำ ในฤดฝู นหนา้ ดนิ จะถกู ชะลา้ งไปกบั กระแสนา้ำ ทำาให้ต้องปล่อยท้ิงรา้ งมีสภาพเหมอื นทะเลทราย พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ไดพ้ ระราชทานพระราชดาำ ริ ใหจ้ ัดต้ังศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซอ้ นฯ เมอ่ื วนั ที่ ๘ สงิ หาคม ๒๕๒๒ ในคราวเสดจ็ พระราชดาำ เนนิ ไปทรงเปิดศาลพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ อำาเภอพนมสารคาม จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ระหวา่ งนน้ั มรี าษฎร ๗ ราย ไดน้ ้อมเกลา้ น้อมกระหม่อมถวายท่ีดิน บรเิ วณหมู่ ๒ ตาำ บลเขาหนิ ซ้อน อาำ เภอพนมสารคาม จังหวดั ฉะเชิงเทรา เพ่อื สร้างพระตาำ หนกั ประทบั พกั แรม กอ่ นท่พี ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร จะทรงรบั เอาทีด่ ินมา เข้าไวใ้ นโครงการ พระองค์ตรสั ถามราษฎรทน่ี อ้ มเกล้าฯ ถวายท่ดี นิ วา่ ถ้าหากไม่สรา้ งตำาหนัก แตส่ ร้าง เป็นสถานศึกษาเกย่ี วกับการเกษตรจะเอาไหม เมือ่ ราษฎรตอบว่ายนิ ดจี ึงมพี ระราชดำารัสวา่ “…ถ�้ ห�กบอกว�่ ดนิ ไมด่ ี ไมช่ ว่ ย ไมท่ �ำ ลงท�้ ยประเทศไทยทงั้ ประเทศจะกล�ย เปน็ ทะเลทร�ยหมด...” ดว้ ยเหตุดงั กลา่ วศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาเขาหนิ ซอ้ นฯ จงึ ได้จัดตั้งข้ึนโดยมวี ตั ถปุ ระสงค์หลกั เพอื่ ปรบั ปรงุ และฟน้ื ฟพู น้ื ทดี่ นิ เสอ่ื มโทรมซง่ึ สว่ นใหญเ่ ปน็ ดนิ ทรายใหก้ ลบั ฟน้ื คนื ชวี ติ ขนึ้ มาเปน็ พน้ื ทส่ี เี ขยี ว ท่ีอุดมสมบรู ณ์ และใช้ประโยชน์ตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม ในโทรสารท่ีพระราชทานแกส่ าำ นักงาน กปร. นั้น ทรงบันทกึ และวเิ คราะห์อยา่ งแยบยลเปรียบ ประดจุ นักวชิ าการ เพ่อื ใหเ้ ปน็ แนวทางในการพฒั นาพ้ืนท่ีศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ ว่า “…เป็นดินทร�ย มีแร่ธ�ตุนอ้ ย...” “…ทด่ี นิ ทอ่ี ยรู่ อ่ งหว้ ยมคี ณุ ภ�พพอใชไ้ ด้ ไมม่ ปี ญั ห�ม�ก ใชป้ ยุ๋ ต�มปกตทิ บ่ี นเนนิ ปร�กฏว่�เป็นทร�ย ดินด�นและหิน ต้องปลูกหญ้�ต�มแนวระดับ เพื่อยึดดินและ ใหเ้ กดิ ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ ดนิ (ทร�ย) ทไ่ี มป่ ลกู หญ�้ ถกู ชะล�้ งเมอ่ื ฝนตก ปลกู ตน้ ไมน้ �น�ชนดิ เพื่อรกั ษ�คว�มช่มุ ช้นื …” 101

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ ห่งดิน พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ลกั ษณะดนิ และลักษณะพืน้ ท่ขี องเขาหนิ ซอ้ นกอ่ นปี ๒๕๒๒ ซึง่ เสื่อมโทรมเหมอื นทะเลทราย และหนา้ ดนิ ถกู ชะลา้ งพังทลาย ก่อนท่ีจะดำาเนินการด้านการปรับปรุงบำารุงดินทรงให้เริ่มต้นด้วยการสร้างแหล่งนำ้า เพ่ือให้ สามารถนำานำ้ามาใชพ้ ัฒนาพืน้ ทดี่ ังกลา่ ว โดยพระราชทานพระราชดำารสั วา่ “…กอ่ นอนื่ ได้สร�้ งเข่ือนกั้นหว้ ยเจ็ก ซ่งึ มีน้ำ�ซับ (พกิ ดั QR 715208) เม่ือไป ท�ำ พธิ ีเปิดพระบรมรูปสมเด็จพระปิน่ เกล�้ ฯ ท่วี ัดเข�หนิ ซอ้ น ได้ไปสำ�รวจพนื้ ทแ่ี ละ กำ�หนดที่ทำ�เขื่อน (๘ สิงห�คม ๒๕๒๒) ต่อจ�กนั้นได้สร้�งอ่�งเก็บน้ำ�เพิ่มเติม (นอกเขต) คือ อ่�งห้วยส�ำ โรงเหนือและหว้ ยสำ�โรงใต้…” เม่ือมีแหล่งน้ำาบ้างแล้วการพัฒนาพ้ืนที่ดินจึงได้เริ่มต้น โดยพระราชทานพระราชดำารัสให้เป็น แนวทางในการดาำ เนินงานว่า “...เม่ือพัฒน�นำ้�ขึ้นม�บ้�งแล้ว ก็เร่ิมปลูกพืชไร่ และเล้ียงปล�ในท่ีลุ่ม ส่วน ทอ่ี ยบู่ นเนนิ กเ็ ลยี้ งปศสุ ตั ว์ ปลกู หญ�้ และตน้ ไมผ้ ลและป�่ ก�รเลยี้ งปศสุ ตั ว์ ปลกู หญ�้ และตน้ ไม้นี้ จะท�ำ ใหด้ นิ มคี ณุ ภ�พดีข้ึน ในท่ีสดุ จะใช้ทด่ี ินไดท้ ง้ั หมด กรรมวิธนี ้อี �จ ตอ้ งใชเ้ วล�น�น จะส�ม�รถเปลย่ี นจ�กกระบวนก�รทไี่ ปท�งเสอ่ื ม ม�เปน็ ท�งพฒั น� ใหเ้ ป็นพ้นื ที่สมบรู ณ์…” จากแนวพระราชดำาริดังท่ีได้ยกตัวอย่างมากล่าวข้างต้น พื้นท่ีโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนา เขาหนิ ซอ้ นฯ จำานวนไม่นอ้ ยกว่า ๑,๕๐๐ ไร่ ไดร้ บั การปรบั ปรุง ฟื้นฟู และพฒั นาจนกลับกลายเป็น พ้ืนทีส่ เี ขยี ว ประกอบไปด้วยพ้นื ท่ีปา่ ปลูกทดแทน พ้ืนทีป่ ลูกพชื ไร่ ไม้ผล พชื ผัก และแปลงสาธิตการ ทำาการเกษตรทฤษฎีใหม่ ตลอดจนมีอ่างเก็บนำ้าเพ่ิมขึ้นอีกเป็นจำานวน ๙ อ่าง ย่ิงไปกว่านั้นยังมีการ 102

ก�รเสด็จพระร�ชด�ำ เนินไปศนู ย์ศึกษ�ก�รพัฒน�เข�หินซอ้ นฯ ต�ำ บลเข�หนิ ซ้อน อ�ำ เภอพนมส�รค�ม จังหวัดฉะเชิงเทร� เสดจ็ ฯ ไปศูนย์ศึกษาพัฒนาเขาหินซ้อนฯ อาำ เภอพนมสารคาม จังหวดั ฉะเชงิ เทรา เม่ือวนั ที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๐ เสดจ็ ฯ ไปศนู ยศ์ ึกษาพัฒนาเขาหินซอ้ นฯ อำาเภอพนมสารคาม จังหวดั ฉะเชงิ เทรา เมอ่ื วันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๐ แปลงสาธติ การทำาเกษตรทฤษฎีใหม่ ศนู ยศ์ ึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ อาำ เภอพนมสารคาม จังหวดั ฉะเชงิ เทรา 103

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ปลกู หญา้ แฝกบรเิ วณขอบอา่ งและพน้ื ทล่ี าดชนั เพอื่ ปอ้ งกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ควบคกู่ นั ไปดว้ ย จากการดาำ เนนิ งานดงั กลา่ ว พอสรปุ ไดว้ า่ การจดั การแกไ้ ขปญั หาดนิ ทรายตามแนวพระราชดาำ ริ ควรมวี ธิ กี ารดังตอ่ ไปนี้ ๖.๓.๑) หาแหล่งนำ้า ดังเช่น การจัดสร้างอ่างเก็บน้ำาในพื้นท่ีโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนา เขาหนิ ซอ้ นฯ และในพ้นื ทที่ ่เี ปน็ พ้ืนท่ีลมุ่ น้ำาหลกั ของโครงการ คือ ล่มุ นำา้ โจน โดยมีการสร้างอา่ งเก็บนำ้า ถงึ ๑๘ แหง่ เพอ่ื นาำ นา้ำ ไปใชใ้ นการพฒั นาการเกษตร และขณะเดยี วกนั กเ็ ปน็ ประโยชนด์ า้ นการชะลอนา้ำ ทำาใหเ้ พม่ิ ความชุม่ ชื้นแก่ดนิ และชว่ ยฟนื้ ฟสู ภาพป่าไมใ้ ห้คนื ส่คู วามอุดมสมบูรณ์ ๖.๓.๒) ทดี่ นิ บรเิ วณทมี่ คี วามลาดชนั และเปน็ ทด่ี อน ใหป้ ลกู หญา้ แฝกตามแนวระดบั เพอ่ื ปอ้ งกนั การชะลา้ งพังทลายของดนิ พรอ้ มแบ่งพืน้ ทเ่ี ป็นสว่ น ๆ เพ่อื ปลูกหญ้าแฝกสาำ หรบั เพิม่ ความชมุ่ ชนื้ ให้ แกพ่ ืน้ ท่ี ๖.๓.๓) ปลูกพืชผสมผสานกันหลาย ๆ อย่าง เช่น ปลูกสมุนไพร ทำาทุ่งหญ้าเล้ียงสัตว์ ปลกู ไม้ผลและพชื ล้มลกุ ปลอดสารพษิ การปลกู ไม้ผลและพืชลม้ ลุกจำาเปน็ ต้องมีการใชป้ ุ๋ยอินทรียห์ รอื ปยุ๋ หมกั เพอ่ื เพมิ่ อนิ ทรยี วตั ถใุ หแ้ กด่ นิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สาำ หรบั นา้ำ ทใี่ ชร้ ดพชื จะใชน้ า้ำ จากอา่ งซง่ึ สง่ มาตาม คลองชลประทานขนาดเลก็ ๖.๓.๔) ปลูกปา่ ทดแทนป่าซงึ่ เสอื่ มโทรมหรือหมดสภาพไปแลว้ หลงั จากการดาำ เนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเปน็ ระยะเวลากวา่ ๒๐ ปี พน้ื ทดี่ นิ ของศนู ยศ์ กึ ษา การพฒั นาเขาหินซอ้ นฯ ได้รับการพัฒนาเป็นพ้นื ทส่ี เี ขียวสามารถปลกู พืชต่าง ๆ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ปญั หา การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ หมดไป สามารถใชพ้ น้ื ทส่ี าธติ หรอื เปน็ พนื้ ทตี่ วั อยา่ งของการพฒั นาดนิ ทราย ทเี่ คยเส่อื มโทรมได้ จากผลของการดำาเนินการพัฒนาพ้ืนที่ของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อสนองพระราชดำาริ เจ้าหน้าท่ีท่ีได้ปฏิบัติงานรู้สึกดีใจและปล้ืมใจเป็นล้นพ้นที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ไดพ้ ระราชทานพระราชดาำ รสั ดว้ ยความพอพระราชหฤทยั ในคราว เสดจ็ พระราชดาำ เนิน พรอ้ มด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไปทอดพระเนตร ผลการดาำ เนินงานของศนู ยศ์ ึกษาการพัฒนาเขาหนิ ซอ้ นฯ เมอื่ วนั พุธท่ี ๒๓ เมษายน ๒๕๔๐ ความว่า “…ที่เข�หินซ้อน หล�ยฝ่�ยช่วยกันใช้เวล� ๑๕ ปี ท่ีน่ีจึงเป็นแม่แบบช่วย ช�วบ้�นได้ ที่อื่นเลยทำ�ง่�ยข้ึน ต้องอดทน แล้วเป็นไง ก็ได้ประโยชน์ ช�วบ้�นมี คว�มสุข เร�ก็สุข ท่ีนี่เม่ือก่อนปลูกมันสำ�ปะหลังยังไม่ข้ึนเลย เด๋ียวนี้ดีข้ึน แต่กเ็ ยน็ สบ�ยดี เปล่ียนแปลงไปม�ก…” 104

พนื้ ท่ศี นู ยศ์ กึ ษ�ก�รพฒั น�เข�หินซอ้ นฯ หลงั จ�กก�รพฒั น� 105

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ๖.๔ ก�รแกไ้ ขปญั ห�ดินตน้ื ดนิ ต้นื ในที่นี้ หมายถงึ ดนิ ที่พบชนั้ ดินทีม่ เี ศษหิน กรวด หรอื ลกู รงั ปะปน เป็นปริมาณมากกว่า รอ้ ยละ ๓๕ โดยปรมิ าตร หรอื พบชน้ั หนิ หรอื ชน้ั ทเี่ ปน็ ศลิ าแลงในระดบั ความลกึ ภายใน ๕๐ เซนตเิ มตร จากผิวดิน การท่ีดินมเี ศษหนิ กรวด หรือลกู รงั ปะปนอยู่เปน็ ปรมิ าณมากทำาให้มีผลต่อการชอนไชของ รากพืช ดนิ มีความสามารถในการดูดซับธาตอุ าหารน้อย นำ้าซึมผ่านไดง้ า่ ยหรอื ทำาใหด้ นิ ไมอ่ ้มุ น้ำา เสี่ยง ตอ่ การขาดแคลนนาำ้ ในช่วงไม่มีฝน ซงึ่ โดยภาพรวมสภาพปญั หาดังกล่าวมีผลต่อการเจริญเติบโต หรอื การใหผ้ ลผลิตของพืชเศรษฐกิจท้งั หลายทป่ี ลกู ถ้าชัน้ ดงั กล่าวเป็นชนั้ หินแข็ง หรอื ช้นั ศลิ าแลง ทาำ ให้ เป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากไปหาธาตุอาหารสำาหรับพืชเศรษฐกิจอย่างรุนแรง และทำาให้การ ไถพรวนยากลำาบากเปน็ ทวีคูณหรือไถไมล่ ง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงบรรยายลักษณะ โดยสรุปของดินดังกล่าวในโทรสารพระราชทานว่า เป็นดินแข็ง ดิน-หินลูกรัง และดินลูกรัง และทรงบรรยายว่าพบที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ โครงการศึกษาวิธีการฟื้นฟูท่ีดิน เส่ือมโทรมเขาชะงุ้มฯ โครงการตามพระราชประสงค์หนองพลับ-กลัดหลวง และโครงการสหกรณ์ หมบู่ ้านสันกำาแพง เปน็ ต้น แนวทางตามพระราชดาำ ริในการแก้ไขปัญหาดนิ ต้ืนและดนิ ลูกรงั มีดงั นี้ ๖.๔.๑ ก�รแกไ้ ขปัญห�ดินต้นื ทีเ่ ปน็ หินกรวดและชั้นหินแขง็ รูปแบบการแก้ปัญหาดังกล่าวเป็นผลมาจากการดำาเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนา ห้วยฮอ่ งไคร้ฯ อำาเภอดอยสะเกด็ จงั หวดั เชยี งใหม่ ซ่ึงอยู่บริเวณปา่ ขนุ แม่กวง เป็นตัวอย่างท่ดี ีตัวอยา่ ง หนึ่งในการพฒั นาพ้นื ทดี่ นิ ต้ืนและอยใู่ นเขตตน้ นำา้ ลำาธาร ให้ฟ้ืนฟู และมีการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ ได้อย่าง เหมาะสม ซง่ึ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยฮอ่ งไครฯ้ ดงั กลา่ วมพี ระราชดาำ รใิ หจ้ ดั ตง้ั เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ ธนั วาคม ๒๕๒๕ มเี นอ้ื ทปี่ ระมาณ ๘,๕๐๐ ไร่ กอ่ นการตงั้ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยฮอ่ งไครฯ้ พน้ื ทดี่ งั กลา่ วเปน็ พื้นท่ีป่าเสื่อมโทรม และเป็นไร่เล่ือนลอย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงวิเคราะห์สภาพดนิ ดงั ปรากฏในโทรสารพระราชทาน บางตอนดังน้ี “…ศูนยศ์ ึกษ�ก�รพฒั น�ห้วยฮอ่ งไคร้ : หิน กรวด แห้งแล้ง…” สาำ หรับตน้ เหตขุ องปัญหานนั้ ทรงอธิบายวา่ “…มีก�รตัดป่� ในฤดูฝนจะมีก�รชะล้�ง เน่ืองจ�กน้ำ�เซ�ะจนเหลือแต่หิน กรวด…” ในการพัฒนาระยะแรกของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ นั้น ได้พระราชทาน พระราชดาำ ริ ดังน้ี ๑) ส่วนล่างของพ้นื ทมี่ อี ่างเก็บนำ้าหว้ ยฮ่องไคร้ นอกจากนนั้ รอ่ งหว้ ยต่าง ๆ แห้งหมด ต้องสร้างอ่างเก็บนำา้ และฝายเพ่อื กลบั คนื ความชุ่มช้ืนให้แก่พ้นื ที่ และพฒั นาคุณภาพของดิน ๒) เริ่มด้วยการผันนำ้าจากห้วยน้ำาแม่ลาย และปล่อยนำ้าลงมาเก็บไว้ในอ่างนำ้าเล็ก ๆ ทไี่ ดส้ รา้ งลดหลน่ั ลงมาจากยอดของพนื้ ทจี่ นถงึ อา่ งเกบ็ นา้ำ หว้ ยฮอ่ งไคร้ นอกจากนไ้ี ดส้ รา้ งฝายชะลอนา้ำ ในร่องห้วยเลก็ ๆ และไดผ้ ันจากอ่างเก็บนำา้ เลก็ ๆ ลงไปในร่องหว้ ยนำ้าเลก็ นัน้ เมอื่ ระบบนา้ำ เริ่มทำางาน 106

พ้ืนที่โครงการศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาห้วยฮ่องไครฯ้ อำาเภอดอยสะเก็ด จงั หวัดเชยี งใหม่ ที่มรี บั ส่ังว่าเป็น “หนิ กรวด แห้งแลง้ ” 107

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ภ�พเสด็จพระร�ชดำ�เนนิ ไปทีโ่ ครงก�รศูนยศ์ กึ ษ�ก�รพฒั น�หว้ ยฮอ่ งไครฯ้ เสด็จ ฯ ไปศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาห้วยฮอ่ งไครฯ้ เมื่อวนั ท่ี ๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๐ เสดจ็ ฯ ไปศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยฮอ่ งไครฯ้ เมื่อวันท่ี ๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๒๗ 108

ต้นไม้ท่ถี กู ทำาลายก็คอ่ ย ๆ ฟื้นตัวขน้ึ จนเปน็ ป่าสมบรู ณ์ โดยไม่ต้องปลกู ขนึ้ ใหม่มากนัก สว่ นที่มีความ ลาดชันน้อยและใกล้อ่างเก็บน้ำาห้วยฮ่องไคร้ก็สามารถปลูกพืชไร่ ในอ่างเก็บน้ำาห้วยฮ่องไคร้ก็สามารถ เล้ียงปลา การสรา้ งระบบนา้ำ กระทำาระหว่าง ปี ๒๕๒๗ กบั ปี ๒๕๓๒ ๓) เมอ่ื มรี ะบบแลว้ จงึ แบ่งพืน้ ท่ที งั้ หมดเป็นเขต ๆ ก. ในทีส่ งู และที่ทเี่ คยเปน็ ปา่ สมบรู ณ์ โดยสง่ เสรมิ ให้เปน็ ป่าไม้ โดยแบง่ เป็นเขต ๆ - สว่ นทมี่ นี า้ำ เลย้ี งจากระบบตลอดเวลา (ฝายชะลอนา้ำ และเหมอื งทม่ี นี าำ้ หลอ่ เลย้ี ง) - ส่วนที่มีห้วยแห้ง แต่รับน้ำาเป็นคร้ังคราว (ฝายชะลอนำ้าท่ีรับนำ้าฝน หรือจาก ระบบเป็นครั้งคราว) - สว่ นที่มหี ว้ ยแหง้ ท่ีรบั นำ้าตามธรรมชาติ (มีฝายชะลอน้ำาทีร่ ับแต่น้ำาฝน) - ส่วนทีม่ ีหว้ ยแห้งที่รับนาำ้ ตามธรรมชาติ (ไมม่ ีฝายชะลอนา้ำ ทร่ี ับน้าำ ฝน) ใน ๔ กรณีนี้ ใหม้ กี ารปลกู ต้นไม้เสริมบ้าง ไม่ปลกู เสริมบ้าง ข. นอกจากนี้ ให้ทำาการฟื้นฟูดินซ่ึงส่วนมากเป็นหิน กรวดทราย และดินลูกรัง ให้สามารถทำาเปน็ ทงุ่ หญา้ สาำ หรบั ปศุสตั วบ์ ้าง ปลูกพชื ไร่บ้าง พืชสวนบ้าง ค. ทใ่ี กลอ้ ่างเก็บนา้ำ หว้ ยฮอ่ งไคร้ ให้ทาำ นาขา้ ว ง. ทใี่ กลอ้ า่ งเกบ็ นา้ำ หว้ ยฮอ่ งไคร้ ใหเ้ ลยี้ งปลา โดยตง้ั เปน็ กลมุ่ หรอื สหกรณก์ ารประมง หลังจากดำาเนินการมาประมาณห้าปี ก็เริ่มเห็นผลของการปฏิบัติ หลังจากดำาเนินการมา ประมาณ ๑๐ ปี ก็ได้เห็นผลของการปฏิบัติชัดเจนยิ่งข้ึน การอนุรักษ์ดินโดยใช้น้ำาและหญ้าแฝก ควบคู่กันจะสามารถทำาใหพ้ ืน้ ท่นี ม้ี ีความสมบูรณเ์ ต็มที่ จากพระราชดาำ รทิ พี่ ระราชทานใหก้ บั เจา้ หนา้ ทจ่ี ากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทป่ี ฏบิ ตั งิ านในโครงการ ได้น้อมนำาเอาไปปฏิบัติจนสามารถพัฒนาพื้นที่โครงการท้ังหมด เป็นพื้นท่ีป่าเขียวชอุ่ม มีแหล่งนำ้า อุดมสมบูรณ์ พื้นท่ีในหุบเขาซึ่งเป็นพ้ืนท่ีท่ีมีความลาดชันไม่มาก (น้อยกว่า ๑๐ องศา หรือน้อยกว่า ๒๐ เปอรเ์ ซ็นต)์ ก็ไดร้ ับการพฒั นาเพอื่ ใชเ้ ป็นท่ีปลกู พชื เกษตรในรูปแบบตา่ ง ๆ โดยแบง่ เป็นวนเกษตร พชื ผกั สวนครวั พชื อาหารสตั ว์ และพชื สมนุ ไพร ทง้ั เปน็ แบบเกษตรประณตี และแบบชาวบา้ นทป่ี ฏบิ ตั ิ กนั อยู่ แตเ่ นอื่ งจากพน้ื ทด่ี นิ ดงั กลา่ วสว่ นใหญเ่ ปน็ ดนิ คอ่ นขา้ งตน้ื และมปี ญั หาเรอื่ งการชะลา้ งพงั ทลาย ของดิน จึงได้ทำาการปรับปรุงดินโดยใช้อินทรียวัตถุในรูปแบบต่าง ๆ หรือใช้พืชตระกูลถั่วปลูกสลับ ระหว่างแถวพืชหลัก หรือปลูกเป็นพืชหมุนเวียน ตลอดจนมีการปลูกหญ้าแฝกเป็นแนวขวาง ความลาดชนั ในพน้ื ท่ที ีใ่ ช้ทำาการเกษตรท้ังหมด เป็นตน้ กล่าวโดยสรุป จะเห็นว่าแนวทางในการแก้ไขปัญหาดินต้ืน ซึ่งพบทั่วไปในเขตพ้ืนที่ภูเขา หรอื พน้ื ทที่ มี่ คี วามลาดชัน ซึ่งเป็นเขตตน้ นา้ำ ลำาธาร พระราชทานพระราชดาำ ริใหเ้ นน้ ในเร่ืองการพัฒนา แหล่งน้าำ รปู แบบต่าง ๆ ตามสภาพพื้นที่ การรกั ษาปา่ หรือการปลูกป่า เพิ่มเติมในพืน้ ท่ปี ่าเสื่อมโทรม เพ่ือใหป้ ่ารกั ษาหนา้ ดิน และสภาพแวดล้อม สำาหรับพนื้ ทที่ ่มี ีความลาดชันน้อย ทรงแนะนาำ ให้ปลูกพชื ที่เหมาะสม เช่น การปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพ่ือปรับปรุงดิน ปลูกหญ้าแฝกเป็นแนวขวาง ความลาดชนั เปน็ ต้น 109

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แหง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ผลส�ำ เร็จของก�รพัฒน�พื้นทศี่ ูนยศ์ กึ ษ�ก�รพัฒน�ห้วยฮ่องไครฯ้ ซึง่ พืน้ ทด่ี ินเป็น “หนิ กรวด แห้งแลง้ ” (ดินตื้น) 110

ผลของการพัฒนาในช่วง ๓๕ ปีท่ีผ่านมา ป่าในพื้นที่โครงการได้แปรสภาพเป็นป่าเกือบ สมบูรณ์ แหลง่ ต้นน้ำาของห้วยฮ่องไคร้ ได้กลบั ฟ้ืนคนื สภาพดังเดิม การชะล้างพงั ทลายของดนิ หมดไป ดินในพื้นท่ีหุบเขาท่ีมีความลาดชันน้อย ได้รับการฟื้นฟูทำาการเกษตรควบคู่ไปกับการรักษาป่าและ สภาพแวดล้อม ซึ่งรูปแบบของการพัฒนาเช่นนี้ ราษฎรและหน่วยงานด้านป่าไม้สามารถนำาเอาไปใช้ ปฏบิ ตั ิไดใ้ นพน้ื ที่อนื่ ๆ ได้ ๖.๔.๒ ก�รแกไ้ ขปญั ห�ดนิ ลกู รงั ดนิ ลูกรัง เปน็ ดินตนื้ ประเภทหน่ึง ทมี่ ีทัง้ ประเภททเี่ ปน็ ลกู รงั เล็ก ๆ ปนกับดนิ หรือแขง็ จนเปน็ ศิลาแลง ซง่ึ มีรบั ส่งั วา่ เป็น “ดนิ แม่รัง” ซง่ึ ช้นั “ทีเ่ ป็นลูกรังหรือแม่รัง” จะต้องพบภายใน ๕๐ เซนตเิ มตรจากผิวดิน ดินพวกน้เี ปน็ ปญั หามาก เน่ืองจากแทบไม่มหี นา้ ดินเลย มิหนำาซ้ำายังจบั ตัวเปน็ ดานแข็ง รากพืชหรือรากไม้ชอนไชไปหาอาหารได้ยาก ทำาให้พืชไม่ค่อยเจริญเติบโต ยิ่งไปกว่านั้น ดินลูกรังยังมีความสามารถในการอุ้มนำ้าต่ำา ถ้าพื้นท่ีมีความลาดชัน หน้าดินมักถูกชะล้างพังทลายได้ โดยงา่ ย โครงการทเ่ี กย่ี วข้องกบั การแก้ไขปัญหาดนิ ตื้นทีเ่ ปน็ ดนิ ลกู รัง ซ่งึ เปน็ โครงการอันเนอื่ ง มาจากพระราชดาำ ริ คอื โครงการศกึ ษาวิธกี ารฟ้นื ฟทู ด่ี ินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้มฯ ตาำ บลเขาชะงุ้ม อาำ เภอ โพธาราม จังหวัดราชบุรี เปน็ โครงการทส่ี ืบเนื่องมาจากการนอ้ มเกลา้ ฯ ถวายที่ดนิ ในบริเวณดังกลา่ ว โดย พลตาำ รวจตรีศรีทกั ษ์ ปทั มสิงห์ ณ อยธุ ยา ซึ่งมีพระราชกระแสรบั สงั่ กับพระเจ้าวรวงศเ์ ธอพระองค์ เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ เมื่อวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๒๘ ให้จัดตั้งเป็นโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำาริ และได้พระราชทานพระราชดำารสั เปน็ ระยะ ๆ ดงั นี้ วันท่ี ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๒๙ ความตอนหนึง่ ว่า “…ดำ�เนินก�รศึกษ�ห�วิธีก�รปรับปรุงดินเสื่อม ให้ส�ม�รถใช้ประโยชน์ ในก�รเพ�ะปลูก ให้ทดสอบว�งแผนและจัดระบบก�รปลูกพืชท่ีเหม�ะสมกับ สภ�พพื้นท่ี…” วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๗ ความตอนหนึ่งว่า “…เรื่องต้นไมข้ ึน้ เอง มอี ีกแห่งหนงึ่ ที่ท่�นท้งั หล�ยกค็ วรจะไปได้ เพร�ะไปง�่ ย คือโครงก�รเข�ชะงุ้ม ที่จังหวัดร�ชบุรี ที่ตรงนั้นอยู่ใกล้ภูเข� เป็นที่ที่ป่�เสียไป เป็นป่�เส่ือมโทรม ที่เรียกว่�ป่�เส่ือมโทรมเพร�ะมันไม่มีต้นไม้ ไม่มีชิ้นดี เริ่มทำ� โครงก�รนน้ั ม�ประม�ณ ๗ ปเี หมือนกนั ไปดเู มอื่ สกั ๒ ปี หลงั จ�กทิ้งป่�น้ันไว้ ๕ ปี ตรงนนั้ ไมไ่ ดท้ �ำ อะไรเลย แตป่ �่ เจรญิ เตบิ โตขน้ึ ม�เปน็ ป�่ อดุ มสมบรู ณ์ ไมต่ อ้ งไปปลกู สกั ตน้ เดียว คือว่�ก�รปลูกป่�น้สี �ำ คัญอย่ทู ี่ปลอ่ ยใหเ้ ข�ข้นึ ได้ คอื อย่�ไปตอแยต้นไม้ อย�่ ไปรงั แกตน้ ไม้ เพียงแต่ว�่ คมุ้ ครองเข�หนอ่ ย เข�ขน้ึ เอง…” 111

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แหง่ ดนิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และเม่ือวนั ที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๓๙ ความวา่ “...ให้ช่วยดูแลป่� อย่�ไปรังแก ถ้�ปล่อยทิ้งไว้ไม่ให้ใครรบกวนระยะเวล� ๓๐-๔๐ ปี ป่�แห่งน้ีจะฟ้นื คนื สภ�พจ�กป�่ เต็งรังเปน็ ป�่ เบญจพรรณ...” ยิ่งไปกว่าน้ัน ได้ทรงวิเคราะห์ถึงสภาพปัญหาของโครงการศึกษาวิธีการฟื้นฟูที่ดิน เสื่อมโทรมเขาชะงุ้มฯ ให้เห็นภาพพจนอ์ ยา่ งชดั แจ้ง ดงั ที่ปรากฏในโทรสารพระราชทานดงั นี้ โครงก�รเข�ชะงมุ้ อ�ำ เภอโพธ�ร�ม จงั หวัดร�ชบุรี : มีก�รทำ�ล�ยป่�ไมแ้ ละก�รขุด ดินลูกรัง นำ�ไปใช้สำ�หรับก�รสร้�งถนน ส่วนที่มีหญ้�มีก�รต้อนปศุสัตว์ม�กินหญ้�ม�กเกินไป จนหมด (over-grazing) สว่ นที่ยังมีตน้ ไม้ต้นไมถ้ กู ตดั ไปท�ำ ฟนื ต้นไม้เติบโตข้นึ ไมท่ ัน ทง้ั สองอย�่ ง ทำ�ให้เกดิ ก�รชะล�้ งดินผวิ ไปหมด (soil erosion) เหลือแต่ดนิ ลกู รัง ซงึ่ แมจ้ ะมีแร่ธ�ตทุ ่ีเหม�ะสม อยู่บ้�งแต่ไมส่ �ม�รถรองรับก�รเจริญเติบโตของพชื เพร�ะข�ดจลุ ินทรยี ์ สำาหรับแนวทางในการจัดการพื้นท่ีที่เป็นดินลูกรังและเป็นดินปนหินในพื้นที่โครงการ ศึกษาวธิ ีการฟ้ืนฟทู ี่ดนิ เส่อื มโทรมเขาชะงุ้มฯ พอสรปุ ไดด้ ังน้ี (๑) สร้างอ่างเก็บน้ำาตามลำาน้ำาหลัก เพ่ือเก็บกักน้ำารักษาความชุ่มชื้น และนำาน้ำาไปใช้ อย่างประหยัดตามความจาำ เป็น (๒) ปรบั ปรุงดนิ โดยใช้ปุ๋ยหมัก ป๋ยุ พชื สด ปลกู พชื ตระกลู ถัว่ แลว้ ไถกลบ และปลกู หญ้า แฝกขวางแนวลาดเทขนานกนั หลาย ๆ แนว เพอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ หด้ นิ ถกู ชะลา้ งพงั ทลาย ลดปรมิ าณนาำ้ ไหลบา่ ผา่ นหน้าดินและรกั ษาความชุม่ ช้นื (๓) ปลูกไม้โตเร็วเพื่อเป็นไม้ใช้สอย เช่น สะเดา สำาหรับบริเวณท่ีพอมีหน้าดินอยู่บ้าง ปลกู ไมผ้ ลทท่ี นแล้ง เช่น มะม่วง และมะขาม (๔) พน้ื ทที่ เ่ี ปน็ ปา่ เสอื่ มโทรมบรเิ วณภเู ขาซง่ึ เปน็ ดนิ ปนหนิ ปลอ่ ยใหเ้ ปน็ ปา่ ธรรมชาติ ไม่ ไปบุกรุกทำาลายหรือเผาปา่ เร่ืองที่กล่าวมาแล้วข้างต้นท้ังหมด เป็นเพียงตัวอย่างท่ีเป็นเพียงเส้ียวหนึ่งของ พระราชกรณยี กจิ ทางดา้ นการจดั การทรพั ยากรดนิ เพอื่ นาำ มาใชใ้ นการเกษตร ควบคไู่ ปกบั การรกั ษาสมดลุ ของสิ่งแวดล้อม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้ทรงปฏิบัติ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดระยะเวลาอนั ยาวนานไมน่ อ้ ยกวา่ ครง่ึ ศตวรรษ แนวพระราชดาำ รติ า่ ง ๆ ไดร้ บั การทดสอบ เชงิ วชิ าการวา่ สามารถนาำ ไปปรับใช้ได้อย่างเหมาะสมในทุกภูมภิ าค ซ่ึงยังประโยชน์อยา่ งใหญ่หลวงตอ่ การพฒั นาดนิ การอนรุ กั ษด์ นิ การปรบั ปรงุ คณุ ภาพดนิ และการจดั การทรพั ยากรดนิ ทเี่ ปน็ ปจั จยั สาำ คญั ในการผลติ ทางการเกษตรของประเทศ และเปน็ องคป์ ระกอบสาำ คัญของส่งิ แวดล้อม ท่ีจะตอ้ งรกั ษาไว้ ซ่ึงความสมดลุ ของทรัพยากรธรรมชาติ 112

เสด็จ ฯ ไปโครงการศกึ ษาวธิ กี ารฟน้ื ฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงมุ้ ฯ เมอ่ื วนั ที่ ๘ มถิ ุนายน ๒๕๓๕ ดินในพนื้ ทโ่ี ครงการฯ ดนิ แม่รัง สภาพดนิ ในโครงการฯ ซงึ่ ทรงบนั ทกึ วา่ เปน็ “ดินแขง็ ดิน – หินลกู รงั ” ซึ่งเป็นดนิ ต้นื โครงการศึกษาวธิ ีการฟื้นฟู ทด่ี ินเส่อื มโทรมเขาชะงุ้มฯ จังหวัดราชบุรี สวนปา่ ดนิ ปนหนิ ปลูกพืชลม้ ลกุ ป่าข้ึนตามธรรมชาติ (ปลูกปา่ โดยไม่ตอ้ งปลูก) 113

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แหง่ ดนิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ภาพถ่าย ปี ๒๕๒๙ (ก่อนการพฒั นา) ภาพถา่ ย ปี ๒๕๖๐ (หลังการพฒั นา) พื้นทีโ่ ครงก�รศึกษ�วธิ กี �รฟนื้ ฟูทดี่ นิ เส่อื มโทรมเข�ชะง้มุ ฯ (หลงั จ�กก�รพัฒน�) 114

บทท่ี ๗ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร มหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงสอนเร่ืองดิน แกน่ ักเรยี น 115

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร 116

บทท่ี ๗ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทร มหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ทรงสอนเรอ่ื งดินแก่นกั เรียน เพ่อื แสดงถึงพระปรีชาสามารถในการท่ีทรงรอบรู้เรอ่ื งทรพั ยากรดินเปน็ อย่างดี จงึ ได้นาำ เรื่อง ทที่ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม ใหน้ กั เรยี นโรงเรยี นวงั ไกลกงั วลตามเสดจ็ พระราชดาำ เนนิ และทรงอธบิ ายเรือ่ งดินให้แก่นกั เรยี นดงั กลา่ วโดยมรี ายละเอียด ดังน้ี เมื่อวันเสาร์ที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๔๔ เวลา ๑๖.๔๙ น. พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พร้อมดว้ ยสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชดาำ เนนิ ไปโครงการอา่ งเกบ็ นาำ้ เขาเตา่ บา้ นเขาเตา่ อาำ เภอหวั หนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงอธบิ ายเรอ่ื งดนิ ใหแ้ กน่ กั เรยี น และข้าราชการทเี่ ฝ้าทลู ละอองธุลีพระบาทรบั เสดจ็ ซงึ่ พอสรุปความโดยสงั เขปได้ดงั นี้ 117

ดพวรงะใบจาขทอสงรมาเดษ็จฎพรร์ ะปปรรามชนิญทแ์ รหมง่ หดานิ ภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ๗.๑ ดินบรเิ วณหน้�โรงเรยี นเทศบ�ลเข�เต่� โรงเรียนเทศบาลเขาเต่าเมอ่ื ๓๐ ปที ่ีแลว้ เปน็ ท่ีลุ่มตา่ำ ท่ีเรียกวา่ ตะกาด หรือ ลากนู (lagoon) ซ่ึงเป็นคำาศัพท์ท่ีใช้เรียกบริเวณที่ลุ่มต่ำาชายฝั่งทะเลท่ีมีช่องเปิดให้น้ำาทะเลเข้าถึง ซึ่งในช่วงเวลานั้น มีพระราชดำาริให้สร้างอ่างเก็บน้ำาโดยใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เป็นเงินเพียง ๖๐,๐๐๐ บาท อธิบดกี รมชลประทานสมยั น้ัน (หม่อมหลวงชชู าติ กาำ ภ)ู กราบบังคมทลู วา่ บริเวณนีน้ ่าจะใชท้ าำ นาได้ ถา้ มกี ารสรา้ งอา่ งเกบ็ นาำ้ ในทสี่ งู ถดั ขนึ้ ไป แลว้ นาำ นาำ้ มาใชใ้ นการทาำ นา ซง่ึ ในเวลานนั้ ดร. เอฟ อาร์ มอรแ์ มน ผู้เช่ียวชาญด้านดินของสำานักงานองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ ได้เจาะดินถวายให้ 118

ทอดพระเนตร ทำาให้ทรงทราบวา่ ดนิ บรเิ วณนเี้ ปน็ ดนิ ไม่ดี เป็นดินที่ทง้ั เปรย้ี วและเคม็ จงึ มรี บั ส่งั ให้ ใชบ้ ริเวณน้ีเปน็ ท่ีสรา้ งอ่างเกบ็ นาำ้ แทนที่จะใชท้ าำ นา หลังจากทำาเข่ือนกักเกบ็ นาำ้ คุณภาพของน้าำ ดีขน้ึ ตามลำาดับ ชาวบ้านบริเวณบ้านเขาเต่าสามารถใช้ประโยชน์ได้เป็นอย่างดี จึงกล่าวได้ว่าโครงการ อ่างเก็บนำา้ เขาเต่าเปน็ โครงการแรกท่พี ระราชทานพระราชดาำ ริใหส้ รา้ งอา่ งเกบ็ น้าำ ข้นึ เพ่ือประกอบคำาอธิบายเรื่องดิน ได้รับส่ังให้ ดร.พิสุทธิ์ วิจารสรณ์ ผู้เชี่ยวชาญจาก กรมพัฒนาที่ดิน และคณะ เจาะดินข้ึนถวายให้ทอดพระเนตร จนถึงระดับความลึกประมาณ ๓ เมตร ระหว่างการเจาะดนิ ทรงอธบิ ายแก่นักเรยี นว่า ดินช่วงตอนบนท่เี จ�ะข้นึ ม�เป็นดินถม ซึ่ง ดนิ ชนั้ บนสดุ เปน็ ดนิ ลกู รงั ดนิ ชนั้ ถดั ลงไปเปน็ ดนิ ทร�ย สว่ นชนั้ ดนิ ในระดบั คว�มลกึ ประม�ณ ๑๕๐ เซนตเิ มตรลงไป เปน็ ดนิ เดมิ กอ่ นถมซงึ่ เปน็ ดนิ เลวทสี่ ดุ ในโลก เพร�ะดนิ ทง้ั เปรย้ี วและเคม็ เหมอื น กับดินท่ี ดร. เอฟ อาร์ มอร์แมน ผู้เช่ียวชาญด้านดินของสำานักงานองค์การอาหารและเกษตรแห่ง สหประชาชาติ เคยเจาะขึน้ มาถวายให้ทอดพระเนตรเม่อื ๓๐ ปลี ว่ งมาแลว้ จากนนั้ ทรงอธบิ ายตอ่ วา่ ถงึ แมว้ า่ เปน็ ดนิ ไมด่ ี แตก่ ส็ ามารถแกไ้ ขไดโ้ ดยวธิ กี ารงา่ ย ๆ ถา้ ตอ้ งการ นาำ มาใชป้ ระโยชน์ ด้วยเหตุดงั กลา่ ว จงึ ไดพ้ ระราชทานพระราชดำาริใหน้ ำาดนิ ทรายจากหาดทรายมา ถมบนดนิ เดิม แลว้ ทบั หน้าดว้ ยดินลกู รงั ทน่ี าำ มาจากรมิ ถนนบรเิ วณขอบอ่างเกบ็ นาำ้ ทอี่ ย่ตู ิดกบั เขาเต่า หลงั จากปลกู หญา้ หนา้ ดนิ กจ็ ะเรมิ่ ดขี นึ้ เพราะมจี ลุ นิ ทรยี ช์ ว่ ยทาำ งาน และชว่ ยสรา้ งอนิ ทรยี วตั ถใุ หแ้ ก่ ดนิ นาน ๆ เข้าดนิ กม็ คี ณุ ภาพดีข้ึนจนใชป้ ลกู พืชต่าง ๆ ได้อยา่ งท่ีเหน็ อยู่ในปจั จบุ นั เรอ่ื งน้ีเป็นไปใน ทาำ นองเดยี วกนั กบั โครงการศกึ ษาวธิ กี ารฟน้ื ฟทู ด่ี นิ เสอ่ื มโทรมเขาชะงมุ้ ฯ จงั หวดั ราชบรุ ี ซงึ่ พนื้ ดนิ เปน็ ดนิ ลูกรังใชป้ ระโยชนอ์ ะไรไม่ได้ จงึ มีรับสง่ั ให้สร้างอา่ งเก็บนา้ำ ปลูกหญา้ แฝกและพชื บาำ รุงดนิ ต่าง ๆ เม่ือมีนำ้าและมีการปลูกพืชดังกล่าว นาน ๆ เข้า หน้าดินก็จะมีอินทรียวัตถุและมีธาตุอาหารต่าง ๆ มากพอที่จะทำาใหพ้ ืชตา่ ง ๆ ท่ีปลูกไวเ้ จริญงอกงาม ไมเ่ ปน็ ท่รี กรา้ งว่างเปลา่ อีกตอ่ ไป 119

พดวรงะใบจาขทอสงรมาเดษ็จฎพรร์ ะปปรรามชินญท์แรหมง่ หดาินภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงอธบิ ายถงึ เรอ่ื งการเกดิ ดนิ เปรย้ี ววา่ ดนิ เปรยี้ วเปน็ ดนิ กรดจดั สงั เกตดจู ะพบจดุ ประสเี หลอื ง ฟางขา้ ว ทเี่ รยี กวา่ จาโรไซตม์ อตเทิลส์ (jarosite mottles) ดนิ พวกน้มี กี ำามะถนั สะสมอยู่มาก ถ้าดิน นกคกาำวลี้ไมมาาม่แยะจหถเปรนัง้ งิ็นปแ(HฏลS2ว้กิOSดิรO3นิิย4(าใ)ซนเทคัลบาำ มเรใฟีกหเิ วอ็จด้ ณระนิ ์ไไทมตมเ่ี สีร่เปกอภน็ ิดอาทขพกต่ี้ึนไเซง้ัปโแดน็รต์)งกถ่เรรตา้ ดยี่อดรนมนิ นุ เาแทแเหศมรง้งบื่อมากาลSำากเOมขใะ3าชถเป้ทตนั ลา่ำาน(ปกู Sตี้พฏ)าชืิกใมนไิรมธดิยรไ่นิาดรกจม้ ถับะชา้ทนาไำาตำ้ามปเิไ่ ป(ดฏHน็ร้ิก2บัดOิรนิกยิ )กาาจรกรปะดับเรจอกบัดัาิดปกแเปารตศงุ ็นต่ แก(อ่ กOรมไ้ 2ดขา) มีนำ้าทะเลเข้าถึง พอนำ้าทะเลลดเกลือจะถูกสะสมอยู่บนหน้าดิน ทำาให้ดินนี้เป็นท้ังดินเปรี้ยวและ ดินเค็ม ซง่ึ จดั เป็นดินทีม่ คี ุณภาพเลวใช้ปลกู อะไรไม่ได้ เรอ่ื งการแกไ้ ขปญั หาดนิ เปรยี้ ว ไดม้ พี ระราชดาำ รสั ถงึ โครงการแกลง้ ดนิ ทศ่ี นู ยศ์ กึ ษาการพฒั นา พกิ ลุ ทองฯ จังหวดั นราธิวาส ซง่ึ ไดพ้ ระราชทานพระราชดาำ รใิ หจ้ ดั ทำาขน้ึ และไดร้ บั ผลสาำ เร็จมาแลว้ โดยใช้น้ำาชลประทานล้างความเป็นกรดออกไปจากดิน ควบคู่ไปกับการใส่หินปูนฝุ่น เพื่อให้ปูนช่วย สะเทินความเปน็ กรด โดยสรปุ ณ จดุ น้ี ทรงอธิบายถงึ ความเปน็ มาของการสรา้ งอ่างเกบ็ นำา้ เขาเต่า และลักษณะดิน บริเวณพ้ืนที่ก่อสร้างอ่างเก็บนำ้า ซ่ึงเป็นดินที่เกิดในพื้นท่ีตะกาด มีลักษณะเป็นทั้งดินเปร้ียวและ ดนิ เคม็ ที่ใช้ประโยชนอ์ นั ใดมไิ ด้ แตถ่ ้าจะคิดนาำ มาใช้กส็ ามารถกระทำาได้ หากฉลาดคดิ และฉลาดทาำ 120

๗.๒ ดนิ บริเวณขอบอ�่ งเกบ็ นำ�้ เข�เต�่ ท�งด�้ นทศิ เหนอื จุดทส่ี องซ่งึ ห่างจากจุดแรกประมาณ ๑ กโิ ลเมตร เมือ่ เสด็จพระราชดาำ เนนิ มาถงึ พระบาท สมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ไดท้ รงอธบิ ายวา่ เมอ่ื นานมาแลว้ ไดเ้ สดจ็ พระราชดำาเนินผ่านบริเวณน้ี ซ่ึงเป็นที่ลาดเชิงเขา เกษตรกรบริเวณนี้ปลูกสับปะรดกันมาก แต่มี ปัญหาเร่ืองหน้าดินถูกชะล้างพังทลายไปทับถมบริเวณขอบอ่างเก็บน้ำา จนกระท่ังหน้าดินหายไป เกอื บหมด ทาำ ใหป้ ลกู สบั ปะรดไมไ่ ดผ้ ล จงึ อยากพานกั เรยี นมาดวู า่ จะพบรอ่ งรอยการทบั ถมของดนิ ที่ถกู ชะล้างพังทลายมาจากพื้นท่ลี าดชันตอนบนหรอื ไม่ เร่ืองนี้มีรับส่ังถึงการแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน ด้วยการปลูกหญ้าแฝกขวาง แนวลาดเทของพืน้ ที่ ซงึ่ ในหลาย ๆ พ้นื ท่ไี ดพ้ สิ ูจนแ์ ลว้ ว่าหญา้ แฝกมคี ุณสมบัติในการยึดดินไดเ้ ป็น อยา่ งดี ชว่ ยลดปญั หาเรอ่ื งการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ไดเ้ ปน็ อยา่ งมาก แตเ่ นอื่ งจากปจั จบุ นั บรเิ วณ นี้แปรสภาพเปน็ ทีอ่ ยู่อาศัย และใช้ปลูกไมย้ นื ต้น จึงไม่คอ่ ยสะดวกในการปลูกหญ้าแฝก จากการตรวจสอบดนิ ในระดบั ความลกึ ประมาณ ๒ เมตร เจา้ หนา้ ทก่ี รมพฒั นาทดี่ นิ ไดแ้ สดง วิธีตรวจวัดคา่ ความเป็นกรดเปน็ ด่างของดิน (pH) และคา่ การนำาไฟฟ้าของดินให้ทอดพระเนตร พบว่า ดินเป็นด่างจัดและมีก้อนปูนปะปน จึงทรงอธิบายว่าค่าการนำาไฟฟ้าของดินเกี่ยวข้องกับปริมาณ เกลือในดิน ถ้าดินมีเกลือมาก ค่าการนำาไฟฟ้าของดินก็จะมีมาก ทำาให้ทราบปริมาณเกลือในดิน โดยประมาณไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ทตี่ รงนแี้ ตกตา่ งไปจากดนิ ทห่ี นา้ โรงเรยี นเทศบาลเขาเตา่ ถงึ แมว้ า่ จะอยู่ ไมห่ า่ งกนั นกั จงึ เปน็ เรอ่ื งทนี่ า่ สนใจ ถา้ พบกอ้ นปนู มาก กอ็ าจนาำ ไปใชแ้ กไ้ ขปญั หาดนิ เปรยี้ วในพน้ื ที่ หน้าโรงเรียนเทศบาลเขาเตา่ ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งหาวสั ดุปนู จากทไี่ กล ๆ 121

ดพวรงะใบจาขทอสงรมาเดษ็จฎพรร์ ะปปรรามชินญทแ์ รหมง่ หดาินภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร กอ่ นเสดจ็ พระราชดาำ เนนิ กลบั ไดพ้ ระราชทานพระราชดาำ รถิ งึ หลกั การสรา้ งอา่ งเกบ็ นาำ้ เพม่ิ เติมว่า ความจริงแล้วควรสร้างจากท่ีสูงแล้วปล่อยน้ำาลงมาใช้ข้างล่าง แต่ท่ีอ่างเก็บน้ำาเขาเต่า ทาำ กลบั กัน เพราะดนิ ข้างล่างใช้ทำานาไม่ไดจ้ งึ ใชท้ าำ เป็นอ่างเกบ็ นำ้าแทน แตก่ ็สามารถแก้ปญั หาได้ โดยสบู นาำ้ ไปเกบ็ ไวบ้ นทสี่ งู แลว้ ปลอ่ ยนาำ้ ลงมาใชข้ า้ งลา่ ง ซงึ่ เปน็ การแกไ้ ขปญั หาโดยใชห้ ลกั วชิ าการ เขา้ ชว่ ย เหมอื นกบั การทาำ ฝนเทยี มทตี่ อ้ งเรยี นรวู้ ชิ าฟสิ กิ ส์ แตถ่ งึ กระนน้ั กต็ าม การทาำ ฝนเทยี มไมใ่ ช่ ทาำ ไดง้ า่ ย ๆ ตอ้ งมวี ธิ ยี งุ่ ยากพอสมควร แลว้ คราวหลงั จะพานกั เรยี นไปดู ในการศกึ ษาทางปฐพวี ทิ ยา กเ็ ชน่ กนั ตอ้ งมคี วามรทู้ ง้ั ทางเคมแี ละฟสิ กิ ส์ มฉิ ะนน้ั จะเขา้ ใจไดย้ าก รบั สง่ั ตอ่ ไปวา่ การทพี่ านกั เรยี น มาดูที่นี่ใช้คนมาก ซ่ึงก็ได้รับความช่วยเหลือและได้รับความร่วมมืออย่างดีจากกรม กองต่าง ๆ รวมท้ังองค์การบริหารส่วนตำาบล ดังนั้นการเรียนรู้คราวนี้เป็นการเรียนรู้จากของจริงท่ีต้องจดจำา เอาไว้ จดแลว้ ไมจ่ าำ ใชไ้ ม่ได้ จากนัน้ เสดจ็ พระราชดำาเนนิ กลบั เมื่อเวลาประมาณ ๑๙.๓๐ น. 122

บทที่ ๘ การพัฒนาพ้ืนทสี่ ูง ตามพระราชดำาริ : โครงการหลวง 123

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร 124

บทท่ี ๘ การพฒั นาพืน้ ที่สงู ตามพระราชดำาริ : โครงการหลวงñ/ ในระยะแรก ๆ ของการพัฒนาพ้ืนท่ีสูงตามพระราชดาำ ริ คอื ประมาณปี ๒๕๑๐-๒๕๑๒ พืน้ ที่ ท้ังหมดเป็นป่าเขาอย่างแท้จริง ไม่มีถนนมีแต่หนทางเดินลัดเลาะไปตามไหล่เขา กองกำาลัง ติดอาวุธมักจะเป็นกองคาราวานฝิ่น หรือมิฉะน้ันก็เป็นกองกำาลังของกองพล ๙๓ ซึ่งถูกกองทัพ เมาเซตุงโจมตีถอยรน่ เขา้ มาในประเทศไทย หรอื ไมก่ ็อาจเป็นกองกำาลังกระเหรย่ี งและวา้ แดง เป็นตน้ กองกำาลังพวกน้ีมักจะมีประวัติต่อสู้กับกองกำาลังของพม่าส่วนกลางซึ่งส่งกำาลังมาโจมตีเป็นคร้ังคราว แต่ไม่สามารถยุติกองกำาลังเสรีเหล่าน้ีได้ กองกำาลังเหล่านี้มีเจตนาที่จะทรงไว้ซึ่งอำานาจทำาให้ชาวเขา อยอู่ ยา่ งเสรแี ละปลกู ฝน่ิ เปน็ อาชพี และมกี ารทาำ ลายปา่ คอ่ นขา้ งชดั เจน เมอื่ เกดิ การกดั กรอ่ นดงั กลา่ ว จะทาำ ใหเ้ กดิ การพงั ทลาย ดนิ ถลม่ เปน็ ธรรมดาทวั่ ไป และมกั จะพบในบรเิ วณทมี่ สี ภาพเขาหวั โลน้ แทบ ทง้ั นั้น ๑/คดั ลอกจากหนงั สือ แม่อยากใหเ้ ธออยกู่ บั ดิน 125

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แห่งดิน พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร จงึ มพี ระราชดาำ รติ ง้ั โครงการ หลวงข้นึ เพ่ือยุติการปลกู ฝนิ่ โดยชาวเขา ในตอนแรกใชช้ อ่ื วา่ โครงการพระบรมราชานเุ คราะห์ชาวเขา และได้เปลี่ยนอีกหลายช่ือ จนเป็นโครงการหลวงและเป็นมูลนิธิโครงการหลวงในท่ีสุดเมื่อปี ๒๕๓๕ ในระยะนั้น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ รวมทั้งพระราชวงศ์โดยเฉพาะสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี และสมเด็จพระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟ้าจุฬาภรณวลยั ลักษณ์ อัครราชกมุ ารี ได้เคยเสดจ็ ดว้ ยเป็นประจำา สง่ิ ท่ีทรงทำาเปน็ กิจวัตร ก็คอื ทรงติดตามผลการดาำ เนินงาน ต่าง ๆ ว่ากา้ วหน้าไปเพยี งใด โครงการหลวงสร้างความแปลกใหมข่ น้ึ ในพืน้ ทที่ ่ีสูงโดยสง่ คนไปประจาำ ตามศนู ยพ์ ฒั นาโครงการหลวงตา่ ง ๆ การทเ่ี สดจ็ ไป ทรงเยี่ยมเป็นประจำาสร้างขวัญและกำาลังใจ เป็นอย่างสูงกับผู้ปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีโครงการหลวง รวมทั้งชาวเขาทุกหมู่เหล่าก็จะออกมารับเสด็จ อยา่ งพร้อมเพรยี งกัน พื้นท่ีสูง ที่มีการตดั ไม้ทาำ ลายป่าเพอื่ ทาำ เป็นไร่ฝิน่ ในอดีต โดยชาวไทยภูเขา กอ่ นปี ๒๔๙๙ 126

เสด็จ ฯ ไปหน่วยพฒั นาและสงเคราะหช์ าวเขาขุนวาง อำาเภอสนั ปา่ ตอง จังหวดั เชียงใหม่ เมื่อวนั ท่ี ๑๖ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๒๘ สงิ่ ทเ่ี ปน็ ผลชดั เจนในมลู นธิ โิ ครงการหลวง กค็ อื พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ใช้ “คน” เป็นศูนย์กลางของการพัฒนาและมองเป็นองค์รวมมากข้ึน หรือพูดได้ว่า มองเปน็ ระบบนเิ วศ ชาวเขาจะตอ้ งดขี น้ึ มอี าชพี เราชว่ ยขายผลผลติ ไดน้ าำ เงนิ คนื ใหแ้ กช่ าวเขา ซงึ่ ทาำ ให้ ชาวเขายอมรบั วา่ ทเี่ ราใหเ้ ขาทาำ นน้ั ถกู ตอ้ ง สง่ิ ทเี่ ราขอตอ่ ไปกค็ อื ขอใหเ้ ขาชว่ ยดแู ลทรพั ยากรธรรมชาติ ปา่ ไมแ้ ละดนิ ใหค้ งอยแู่ ละชว่ ย อนุรักษ์อย่างถกู วธิ ี เพราะคน เหล่าน้ีอยู่ในพ้ืนที่ต้นน้ำาจึง ต้องปฏิบัติตน ที่จะไม่ทำาให้ คนทอ่ี ยขู่ า้ งลา่ งเดอื ดรอ้ น เมื่อเกี่ยวกับคน จึง ตอ้ งดาำ เนนิ การแบบบรู ณาการ แ ต ่ ล ะ ส ่ ว น ทำ า ห น ้ า ท่ี ข อ ง ตนเอง เริ่มงาน เริ่มอาชีพ ยตุ กิ ารปลกู พชื เสพตดิ ยตุ กิ าร ตัดไม้ทำาลายป่า และการ เคลอื่ นยา้ ยทอี่ ยเู่ รอื่ ย ๆ มถี นน หนทาง มไี ฟฟา้ มคี วามเปน็ อยู่ 127

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แหง่ ดนิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร เสด็จ ฯ ไปบา้ นหนองหอยเกา่ -ใหม่ ของศูนยพ์ ฒั นาโครงการหลวงหนองหอย อาำ เภอแมร่ มิ จงั หวดั เชยี งใหม่ เม่ือวันท่ี ๑๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๒๘ ดขี น้ึ กิจกรรมนี้ใช้เวลาและจำาเป็นต้องมกี ารวเิ คราะหอ์ ย่างถ่ีถว้ น มตี วั แทนที่เป็นตวั แบบ (model) มีการทดสอบตัวแบบเหล่าน้ันอย่างถี่ถ้วน ด้วยการจำาลองสถานการณ์ (simulation) ต้นแบบ ทเี่ ราพบประกอบดว้ ยปจั จยั ใหญ่ ๆ อยู่ ๓ ปจั จยั ไดแ้ ก่ อาชพี ของชาวเขา การดแู ลทรพั ยากรธรรมชาติ และปัจจัยที่เกยี่ วข้องกับความเข้มแขง็ ของชุมชน ซึ่งในแต่ละชมุ ชนปจั จยั ต่าง ๆ เหลา่ น้ีจะไมเ่ หมอื นกนั จึงตอ้ งดเู ป็นที่ ๆ ไป ส่ิ ง สำ า คั ญ ใ น ก า ร แ ก ้ ไ ข ป ั ญ ห า ก า ร ป ลู ก ฝ ิ ่ น ใ น พื้ น ท่ี ป ่ า ส ง ว น ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร คือ ทรงเข้าพระทัยถึงหัวใจของชาวบ้านไม่ว่า จะเป็นชาวเราหรือชาวเขาเป็นอย่างดี และไม่ได้ทรงมองว่าชาวบ้านเหล่านั้นบุกรุกพื้นท่ีป่า ซ่ึงต้อง พร้อมท่ีจะช่วยเขาและตอ้ งรว่ มมอื กนั ในการแกไ้ ขปญั หา ดงั พระราชดาำ รัส เมอ่ื วันท่ี ๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๑๖ ณ พระตำาหนกั จติ รลดารโหฐาน ความว่า 128

เสด็จ ฯ ไปพนื้ ทีโ่ ครงการหลวงดอยอา่ งขาง อำาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เมอ่ื วันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๓๒ “…ในป�่ สงวนฯ ซง่ึ ท�งร�ชก�รไดข้ ดี เสน้ ว�่ เปน็ ป�่ สงวนหรอื ป�่ จ�ำ แนก แตว่ �่ เร�ขีดเส้นไว้ประช�ชนก็มีอยู่ในนั้น แล้วเร�จะเอ�กฎหม�ยป่�สงวนไปบังคับคน ทีอ่ ยูใ่ นป่�ที่ยงั ไมไ่ ดส้ งวนแล้วพึง่ ไปสงวนทีหลัง โดยขดี เสน้ บนกระด�ษก็ชอบกล อยู่ แต่มีปัญห�เกิดข้ึนเมื่อขีดเส้นแล้ว ประช�ชนท่ีอยู่ในน้ันกล�ยเป็นผู้ฝ่�ฝืน กฎหม�ยไป ถ�้ ดใู นท�งกฎหม�ยเข�กฝ็ �่ ฝนื เพร�ะว�่ ตร�ม�เปน็ กฎหม�ยโดยชอบ ธรรม แตว่ �่ ถ้�ต�มธรรมช�ตใิ ครเป็นผู้ทำ�ผิดกฎหม�ย ก็ผู้ทข่ี ดี เส้นนนั่ เอง เพร�ะ ว�่ บุคคลทีอ่ ยใู่ นป่�นน้ั เข�อย่กู ่อน เข�มสี ิทธิในก�รเปน็ มนษุ ย์ หม�ยคว�มว่�ท�ง ร�ชก�รบุกรกุ บุคคล ไม่ใช่บุคคลบกุ รุกกฎหม�ยบ�้ นเมือง…” การทรงงานบนทสี่ ูงซง่ึ เป็นต้นกำาเนิดของโครงการหลวง เริม่ ต้นดว้ ยกจิ กรรมเลก็ ๆ จากการ เสด็จพระราชดำาเนินไปทรงเย่ียมชาวเขาในบริเวณต่าง ๆ ทรงเก็บข้อมูลด้วยพระองค์เองซึ่ง เปรยี บเสมอื นการประพาสตน้ บนดอย ตามทห่ี มอ่ มเจา้ ภศี เดช รชั นี ทรงนพิ นธเ์ อาไว้ การทรงงานของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร บนพน้ื ทส่ี งู พอสรปุ โดยสงั เขปได้ ดังนี้ ๘.๑ แนวท�งในก�รบรู ณ�ก�รขอ้ มูล เมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงบรู ณาการข้อมูล ทั้งหมดเข้าด้วยกันทำาให้เกิดโครงการท่ีไม่เคยมีใครทำามาก่อนเลยและมีความสำาคัญมาก ข้อมูล ๔ ประการ ทท่ี รงใชใ้ นการตัดสินพระราชหฤทัย คือ 129

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แหง่ ดนิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ๘.๑.๑ ทรงทราบวา่ ชาวเขาไดร้ บั เงนิ จากการขาย ฝิ่น ไม่ได้มากกว่าการขายท้อพื้นเมืองดิบท่ีนำาไปใช้ดอง เทา่ ไรนัก ๘.๑.๒ ทรงทราบว่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทดลองใชท้ อ้ พนั ธด์ุ เี สยี บบนทอ้ พน้ื เมอื งไดผ้ ลผลติ ทดี่ ี ซง่ึ น่าจะนำาลงไปขายขา้ งลา่ งไดร้ าคา ๘.๑.๓ หากใหช้ าวเขาปลูกทอ้ ซง่ึ เสมอื นปา่ กินได้ ก็จะทำาให้ชาวเขาไม่เคล่ือนย้ายหักล้างถางพงเพราะมี ผลผลิตเป็นประจำาทุกปี ซ่ึงจะไม่เป็นการทำาลายดินและ ทาำ ลายปา่ และยงั มอี าชพี ทถ่ี าวรอกี ด้วย ปัญหาของการ พงั ทลายของดนิ บนทสี่ งู มอี ยมู่ ากและทว่ั ไป หากปลอ่ ยให้ ชาวเขาทาำ ไรเ่ ลือ่ นลอยอยู่ ๘.๑.๔ การตั้งศูนย์พัฒนาโครงการหลวงพ้ืนที่ ทุรกันดารและมีเจ้าหน้าที่อยู่เป็นประจำาเพ่ือช่วยเหลือ และแนะนำาชาวเขา เป็นนวัตกรรมท่ีสำาคัญโดยเฉพาะ อย่างย่ิงในเม่ือขณะน้ันท่ีสูงภาคเหนือยังมีปัญหาความ ม่ันคงอยู่มาก จนถงึ ปัจจบุ ัน ๔๘ ปี หลงั จากการก่อตงั้ โครงการ หลวงขึ้นเม่ือปี ๒๕๑๒ ถือว่าเป็นโครงการส่วนพระองค์ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ หม่อมเจา้ ภศี เดช รชั นี ทรงเป็นผ้นู ำาในการปฏบิ ัติ ต่อมา 130

ได้เปลี่ยนเป็นมูลนิธิโครงการหลวงในปี ๒๕๓๕ ปัจจุบันมีศูนย์พัฒนาโครงการหลวงอยู่ ๓๙ แห่ง ในบรเิ วณจงั หวัดเชยี งใหม่ เชียงราย พะเยา ลาำ พูน แม่ฮ่องสอน และตาก ๘.๒ พระร�ชดำ�ริด้�นก�รพฒั น�ท่ดี ินในพนื้ ทีโ่ ครงก�รหลวง ในสว่ นทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั งานพัฒนาทดี่ นิ นั้นไดพ้ ระราชทานพระราชดำารัสความตอนหนึ่งว่า “…พนื้ ทส่ี มควรทจี่ ะเข�้ ท�ำ ก�รพฒั น�และจดั ทดี่ นิ ใหร้ �ษฎรและช�วเข�เข�้ ท�ำ กินเปน็ หลกั แหลง่ ถ�วร…” โดยทรงขอให้หน่วยงานต่าง ๆ เช่น กรมป่าไม้ กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตร กรมชลประทาน และกรมวชิ าการเกษตรเขา้ รว่ มดาำ เนินงาน จะเห็นได้ว่าพระราชดำารัสข้างต้นทรงให้มีการกำาหนดเขตการใช้ที่ดินให้สอดคล้องกับ สมรรถนะ ให้ใช้ประโยชน์ท่ีดินอย่างถูกต้อง พ้ืนท่ีไหนควรให้เป็นท่ีอยู่อาศัย เป็นพื้นท่ีการเกษตร และเป็นพ้ืนที่ป่า อีกท้ังในพื้นท่ีการเกษตร ทรงให้มีมาตรการอนุรักษ์ดินและนำ้าในพ้ืนที่ท่ีมี ความลาดชนั สงู อีกดว้ ย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงสนพระราชหฤทัย ที่จะใช้ประโยชน์จากการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำา ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมท่ี เส่ือมโทรมอันเน่ืองมาจากการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่สูงท่ีมีความลาดชัน ดังน้ัน 131

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แหง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร เมื่อวันท่ี ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๕ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรราชนิ นี าถ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จ ฯ ไปเป็นการ ส่วนพระองค์ ณ แปลงขยายพันธุ์ หญา้ แฝก สำานักงานโครงการหลวง และ มพี ระราชดาำ รใิ หน้ าำ พนั ธห์ุ ญา้ แฝกมาปลกู ให้เป็นเสมือนพุ่มหญ้า เพื่อทดสอบ การตงั้ ตวั และเป็นแหล่งสาธิตแก่เกษตรกรและผู้สนใจท่ัวไป และเม่ือวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๓๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จพระราชดาำ เนนิ ไปทรงเยี่ยมราษฎรและทอดพระเนตรแปลงปลูกหญ้าแฝก เพอื่ การอนรุ กั ษด์ นิ และนา้ำ ณ ศนู ยพ์ ฒั นาโครงการหลวงแมล่ านอ้ ย (บา้ นดง) อาำ เภอแมล่ านอ้ ย จงั หวดั แม่ฮ่องสอน และทรงปลูกหญ้าแฝก ใหเ้ จ้าหนา้ ทน่ี ำาไปขยายพันธแ์ุ ละส่งใหพ้ ้นื ทีเ่ กษตรต่อไป 132

๘.๓ ก�รสนองพระร�ชด�ำ รดิ ้�นก�รพัฒน�ทีด่ ิน กรมพัฒนาท่ีดินได้เข้ามาสนับสนุนงานพัฒนาที่ดินบนพื้นท่ีสูงอย่างจริงจังเม่ือปี ๒๕๑๙ โดย รบั ผิดชอบงานดา้ นการพัฒนาท่ีดนิ มีเจา้ หนา้ ที่จากกองบริรักษท์ ีด่ นิ กองสาำ รวจดิน และกองจาำ แนกดนิ เข้าสำารวจบุกเบิกพัฒนาพ้ืนท่ี จัดท่ีดินทำากิน ก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและนำ้า และปรับปรุงบำารุงดิน โดยใชง้ บประมาณจากกองบริรกั ษ์ทด่ี ินบางส่วน และไดเ้ งนิ สมทบจากโครงการหลวงอีกจำานวนหนึง่ ปี ๒๕๒๒ หมอ่ มเจา้ ภศี เดช รชั นี องคอ์ าำ นวยการโครงการหลวงไดท้ าำ หนงั สอื ถงึ สาำ นกั งบประมาณ ขอให้สนับสนุนโครงการหลวง โดยจัดงบประมาณให้แก่โครงการหลวงพัฒนาท่ีดินเป็นการเฉพาะ กรมพัฒนาท่ดี นิ จงึ ไดร้ ับงบประมาณเพื่อดาำ เนินการโครงการหลวงพัฒนาที่ดิน หรือเรยี กอีกชอ่ื หนงึ่ ว่า โครงการพัฒนาชาวเขา โดยเริ่มได้รับงบประมาณและเครื่องจักรกลจากรัฐบาล เพ่ือปฏิบัติงานสนอง พระราชดาำ ริให้ลลุ ว่ งไปดว้ ยดี ปี ๒๕๒๗ โครงการหลวงพัฒนาที่ดินได้เปลี่ยนช่ือเป็น “ฝ่ายปฏิบัติการโครงการหลวง ภาคเหนอื ” สงั กดั สาำ นกั งานพฒั นาทด่ี นิ เขต ๖ โดยมลี กั ษณะการดาำ เนนิ งานเรยี กวา่ “ขอจดั พฒั นาทดี่ นิ ” ในเขตพนื้ ทปี่ า่ เสอื่ มโทรมหรอื ปา่ ทถี่ กู ทาำ ลาย โดยเขา้ ไปดาำ เนนิ การจดั ทดี่ นิ เพอ่ื การเกษตร และจดั ทอ่ี ยู่ อาศยั ใหแ้ ก่ชาวไทยภูเขาและชาวไทยพืน้ ราบ และก่อนการเขา้ ดาำ เนนิ การทกุ ครง้ั ตอ้ งมกี ารขออนญุ าต จากกรมปา่ ไม้ ปี ๒๕๓๖ กรมพฒั นาทดี่ นิ ไดม้ คี าำ สง่ั ยกฐานะฝา่ ยปฏบิ ตั กิ ารโครงการหลวง สาำ นกั งานพฒั นาทด่ี นิ เขต ๖ ข้นึ เปน็ “สาำ นกั งานพัฒนาทีด่ ินทสี่ ูง” ปี ๒๕๔๖ สาำ นกั งานพฒั นาทดี่ นิ ทสี่ งู ไดเ้ ปลย่ี นชอื่ เปน็ “ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารโครงการหลวงภาคเหนอื ” มุ่งเน้นการปฏิบัติงานพัฒนาพ้ืนท่ีสูงในเขตพื้นท่ีศูนย์พัฒนาโครงการหลวงของมูลนิธิโครงการหลวง เป็นต้นมา และในวนั ที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๔๗ ผรู้ ่วมปฏบิ ตั ิงานโครงการหลวงหลายหน่วยงานมีความเหน็ วา่ ชอ่ื “ศูนยป์ ฏบิ ัติการโครงการหลวงภาคเหนือ” ไม่ไดส้ ่อื ภารกิจทช่ี ัดเจนและง่ายต่อการเขา้ ใจ จงึ ได้ ขออนมุ ตั กิ รมพฒั นาทด่ี นิ เปลยี่ นชอ่ื ใหมเ่ ปน็ การภายในเปน็ “ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารพฒั นาทดี่ นิ โครงการหลวง” โดยใช้ตวั ย่อวา่ “ศพล.” ปจั จบุ นั ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารพฒั นาทดี่ นิ โครงการหลวงทาำ หนา้ ทเ่ี ปน็ ผแู้ ทนกรมพฒั นาทด่ี นิ สนบั สนนุ การดาำ เนนิ งานของมูลนิธิโครงการหลวงในด้านการวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดา้ นการอนรุ ักษ์ดนิ และนำ้า ได้แก่ การก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน้ำา การปลูกหญ้าแฝกเพ่ือการอนุรักษ์ดินและน้ำา ด้านการพัฒนาพน้ื ฐาน ได้แก่ การกอ่ สร้างระบบส่งนาำ้ ชลประทาน การกอ่ สรา้ งเส้นทางลำาเลยี งภเู ขา ด้านการปรับปรุงและฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน ได้แก่ ส่งเสริมการปลูกพืชปุ๋ยสด ส่งเสริม การปรับปรุงพ้ืนที่ดินกรด ส่งเสริมการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีการพัฒนาท่ีดิน และด้านวิจัยปัญหา สาธติ ทดลอง ดา้ นการพฒั นาทด่ี นิ เพอื่ เพม่ิ คณุ ภาพผลผลติ ลดตน้ ทนุ การผลติ เปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ๘.๔ ผลสมั ฤทธ์ิของโครงก�รหลวงบนพ้นื ท่ีสูง พระราชวินิจฉัยท่ีเกิดขึ้นในโครงการหลวงล้วนเป็นแนวคิดใหม่ ๆ ท่ีไม่เคยมีมาก่อน เปลย่ี นคณุ ภาพชวี ติ ของคนบนดอยอย่างสนิ้ เชงิ ทำาใหเ้ กดิ สิ่งใหม่ ๆ ดังนี้ 133

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แห่งดิน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร (๑) มกี ารปลูกพืชแบบใหม่ท่ีมตี ลาดหลายรอ้ ยชนดิ ท้งั ไมผ้ ล ไม้ดอก และผักสมนุ ไพร มกี าร เลย้ี งสตั ว์ รวมท้ังการเล้ียงปลาเทราท์ กุ้งก้ามแดง และปลาสตอรเ์ จยี น (๒) เลิกปลูกพืชเสพติดโดยหันมาปลูกพืชทดแทนฝิ่นตามคำาแนะนำาของนักวิชาการของ โครงการหลวง โดยชว่ ยในการขายและคนื เงนิ ใหก้ บั เกษตรกรชาวเขาซง่ึ เปน็ ผลดกี บั โครงการหลวงมาก (๓) ส่ิงที่เกิดใหม่และสำาคัญอย่างย่ิงก็คือ “การมีจิตสำานึกท่ีมาจากความเช่ือถือ” โดยชุมชน ชาวเขาตอ่ โครงการหลวง ทาำ ใหเ้ ขาสามารถดแู ลตนเองไดใ้ นระดบั หนงึ่ และทาำ ใหค้ ณุ ภาพชวี ติ ดขี น้ึ กวา่ เดมิ (๔) สบื เน่ืองจากพระราชดำารสั ท่วี า่ “...เร�ต้องข�ยผลติ ผลใหไ้ ด้ และน�ำ เงินม�คนื ช�วเข�...” โครงการหลวงจึงต้องสร้างงานท่ีครบวงจรจากการสอนให้ปลูก โดยมีมาตรการอนุรักษ์ดิน ต่อจากนั้น ยังต้องมีมาตรการหลังเก็บเกี่ยว การขนส่ง และการขายซ่ึงสร้างความลำาบากให้กับ โครงการหลวงเป็นอยา่ งมากในตอนแรก ๆ โดยมีงานของฝา่ ยวิจยั เพ่ือทดสอบทดลอง ฝ่ายโลจิสติกส์ และฝา่ ยตลาด รวมทั้งการดแู ลให้มมี าตรฐานเป็นทย่ี อมรบั (๕) โครงการหลวงทาำ ใหส้ ามารถอยอู่ าศยั และใชพ้ น้ื ทบ่ี นดอยได้ ชาวเขาจงึ มคี วามรสู้ กึ หวงแหน พืน้ ท่ีทำากิน และช่วยดูแลอนุรกั ษ์ดนิ น้ำา ปา่ ไม้ เปน็ อยา่ งดตี ามจิตสำานกึ ท่ีเกดิ ขนึ้ (๖) ชาวเขาในเขตโครงการหลวงไมย่ า้ ยพนื้ ทท่ี าำ กนิ เลกิ ทาำ ไรเ่ ลอื่ นลอยซงึ่ เปน็ ผลดตี อ่ การอนรุ กั ษ์ และดูแลทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ มเปน็ อย่างมาก (๗) สรา้ งความมน่ั คงใหเ้ กดิ ขนึ้ ในพนื้ ทสี่ งู ของประเทศไทยโดยสนั ตวิ ธิ มี คี วามเปน็ อยทู่ ดี่ ขี น้ึ ทาำ ให้ ลดความหวาดระแวงในแง่ต่าง ๆ ลง เผา่ ตา่ ง ๆ อยู่รว่ มกนั โดยสันติสุข (๘) นบั วา่ เปน็ งานพฒั นาชนบทพน้ื ที่สูงทีไ่ ดผ้ ล และมีความย่ังยืนสามารถนาำ เอาไปถา่ ยทอดใน ทีส่ งู อืน่ ๆ ทง้ั ในและนอกประเทศได้ (๙) พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงใช้ “คน” เป็น ศูนย์กลาง ดังน้ันงานทุกกิจกรรมจึงมองที่ “องค์รวม” และมอง “ระบบนิเวศ” เป็นหลักถือว่าเป็น บูรณาการอย่างเต็มรูปแบบ ต้องได้รับความร่วมมือจากหลายฝ่าย ไม่ว่ารัฐหรือเอกชนหรือองค์กร ตา่ งประเทศ และไม่วา่ จะเปน็ ดนิ นาำ้ ปา่ ไม้ คมนาคม สาธารณสขุ การศึกษา และวัฒนธรรมชนเผ่า (๑๐) ในรูปของตน้ แบบ (model) มีกจิ กรรมหลกั ทเี่ ป็นโซม่ ลู คา่ อยู่ ๓ เรอื่ ง ไดแ้ ก่ (๑๐.๑) ความสามารถในการผลติ ทแ่ี ขง่ ขนั ไดม้ ีคณุ ภาพ (๑๐.๒) การดูแลและฟื้นฟทู รพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมท่มี าจากจิตสำานึก (๑๐.๓) ชมุ ชนเขม้ แข็งทีพ่ ่งึ ตนเองได้ โดยยึด “คน” เปน็ หลกั เม่ือทบทวนพระราชดำาริท่ีพระราชทานเม่ือปี ๒๕๑๗ ซึ่งถือว่าเร่ิมโครงการหลวงได้ใหม่ ๆ พบว่า โครงการหลวงไดท้ ำางานสนองเบ้อื งพระยคุ ลบาทไปมากทเี ดยี ว และมีความชดั เจนในหลาย ๆ เรอื่ ง จนถงึ ข้นั ท่จี ะนำาไปถ่ายทอดในบริเวณอืน่ ๆ ได้ จรงิ ๆ แลว้ ขอบเขตของโครงการหลวงมเี พียงแค่ ๑๐-๑๕ เปอร์เซ็นต์ของพ้ืนท่ีสูงท้ังหมดของประเทศ ดังน้ันคงเป็นเหมือนการเร่ิมต้นกิจกรรมอีกคร้ัง หนงึ่ ทสี่ าำ คัญมาก นัน่ คอื ถ่ายทอดวิทยายทุ ธของโครงการหลวงไปท่วั บรเิ วณที่สงู ภาคเหนือ และอาจ รวมไปถึงที่สงู ของประเทศในเขตอนุภูมิภาคลมุ่ น้ำาโขง (GMS) ซ่งึ ยงั มพี น้ื ที่สงู อีกมากที่ต้องพัฒนา และ คงหวงั วา่ ตน้ แบบของโครงการหลวง คอื Royal Project Foundation Sustainable Development หรือ ROFSUD model คงจะได้มีการเผยแพร่ออกไปในพื้นที่อื่น ๆ ซึ่งนับเป็นการเผยแพร่ พระราชกรณยี กจิ ท่ีสำาคัญย่งิ ไปสู่พสกนิกรอน่ื ๆ ตามเบ้อื งพระยคุ ลบาท 134

บทท่ี ๙ พระอจั ฉริยภาพ เกรกิ ไกรไปท่วั หล้า 135

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร 136

บทท่ี 9 137 พระอจั ฉริยภาพเกริกไกรไปท่ัวหล้า การพัฒนาทรัพยากรท่ีดินตามแนวพระราชดำาริท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้น ถือว่าเป็นเพียงเส้ียวหนึ่งของ พระราชกรณียกิจท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงดำาเนินงาน ต่อเน่อื งกันเปน็ เวลานานกว่าคร่ึงศตวรรษ แนวพระราชดาำ ริต่าง ๆ ทางด้านการพัฒนาทรัพยากรทีด่ ินไดร้ ับ การทดสอบทางวิทยาการวา่ เป็นวิธีการท่ีเหมาะสม สามารถนาำ ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หาและจัดการ ทรัพยากรที่ดินได้เป็นอย่างดีในทุกภูมิภาคของประเทศ ยังประโยชน์อย่างใหญ่หลวงในการแก้ไขดินปัญหา การอนุรักษ์ดินและน้ำา และการปรับปรุงบำารุงดิน เพื่อให้เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างยั่งยืน พชื ท่ปี ลกู ให้ผลเป็นท่ีนา่ พงึ พอใจ ค้มุ กบั การลงทนุ และชว่ ยยกระดบั ฐานะความเปน็ อยใู่ ห้ดขี ้นึ หากดาำ รงชพี ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เป็นท่ี ประจักษ์และยอมรบั ไม่เพยี งแตใ่ นประเทศเทา่ น้ัน แตย่ ังรวมไปถงึ ต่างประเทศดว้ ย โดยได้รบั การทูลเกล้า ฯ ถวายเหรียญสดุดีพระเกียรติคุณจากองค์กรระหว่างประเทศมากถึง ๓๒ รางวัล และได้รับการทูลเกล้า ฯ ถวายปรญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ดริ์ วมมากกวา่ ๒๑ ปรญิ ญาบตั ร ซงึ่ แสดงใหเ้ หน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ พระองค์ ไดท้ รงสรา้ งคุณปู การต่าง ๆ มากมายเปน็ ทป่ี ระจักษแ์ จง้ ทัว่ สากลโลก โดยมีตัวอย่างของการทูลเกล้า ฯ ถวายรางวัลเพ่ือเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร จากองค์กรท้ังในประเทศและต่างประเทศ ดังนี้ ๑) รางวลั Tele Food Medal ทลู เกลา้ ฯ ถวายโดยองคก์ ารอาหารและเกษตรแหง่ สหประชาชาติ กรุงโรม สาธารณรัฐอิตาลี เพอื่ สดดุ ีพระเกียรตคิ ุณในฐานะท่ีเปน็ เลศิ ในการพัฒนาการเกษตร และเสรมิ สร้าง ความมั่นคงทางอาหารของประเทศ เม่ือวันที่ ๘ ธนั วาคม ๒๕๔๒ ๒) สมาคมป้องกันการชะล้างพังทลายของดินนานาชาติ (International Erosion Control Association) ทูลเกล้า ฯ ถวายราชสดุดี ให้ทรงเป็นพระมหากษัตริย์นักอนุรักษ์ดินและน้ำาดีเด่นของโลก (Honor Excellence in Soil and Water Conservation and Natural Resource Protection International and Award-King of Thailand) เม่อื วนั ที่ ๒๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๖ ๓) ฝ่ายวิชาการของภูมิภาคเอเชียของธนาคารโลก (World Bank’s Asia Technical Department) ไดท้ ูลเกลา้ ฯ ถวายรางวลั หญา้ แฝกชบุ สำาริด (Vetiver Grass Bronze Award) เพือ่ เทิด พระเกยี รตทิ ไี่ ดพ้ ระราชทานพระราชดาำ รใิ หป้ ลกู หญา้ แฝกเพอื่ อนรุ กั ษด์ นิ และนาำ้ เมอ่ื วนั ท่ี ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๓๖ ๔) สำานักสิทธิบัตร กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ทูลเกล้า ฯ ถวายสิทธิบัตร เลขที่ ๒๒๖๓๗ แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เม่ือวันที่ ๕ ตลุ าคม ๒๕๕๐ ภายใต้ชอื่ ทีแ่ สดงถงึ การประดษิ ฐ์ “กระบวนการปรับปรงุ สภาพดินเปรี้ยว เพอ่ื ให้เหมาะสม ตอ่ การเพาะปลูก (โครงการแกลง้ ดนิ )” ๕) สหภาพวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติ (International Union of Soil Sciences-IUSS) ทูลเกล้า ฯ ถวายรางวัล “นักวิทยาศาสตร์ดินเพ่ือมนุษยธรรม (The Humanitarian Soil Scientist)” เม่ือวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๕๕ และขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้วันที่ ๕ ธันวาคม ของทกุ ปเี ปน็ “วนั ดนิ โลก (World Soil Day)” เพอื่ รณรงคใ์ หท้ กุ ชาตติ ระหนกั ถงึ ความสาำ คญั ของทรพั ยากรดนิ ที่มตี ่อมวลมนุษยชาติ

ดพวรงะใบจาขทอสงรมาเดษ็จฎพรร์ ะปปรรามชินญทแ์ รหม่งหดาินภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร สมาคมปอ้ งกันการชะลา้ งพังทลายของดินนานาชาติ (International Erosion Control Association) ทูลเกลา้ ฯ ถวายราชสดดุ ี ให้เปน็ พระมหากษัตรยิ น์ ักอนุรักษด์ ินและนำ้าดีเดน่ ของโลก เมือ่ ๒๕ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๓๖ รางวัล Tele Food Medal รางวัลรากหญ้าแฝกชุบสาำ รดิ ซงึ่ ทลู เกลา้ ฯ ถวาย ซึง่ ทลู เกลา้ ฯ ถวาย โดยธนาคารโลก โดย FAO กรุงโรม เม่ือวันท่ี ๓๐ ตุลาคม ๒๕๓๖ เม่ือวันท่ี ๘ ธนั วาคม ๒๕๔๒ 138

คณะผู้บรหิ ารของสหภาพวิทยาศาสตรท์ างดนิ นานาชาติ (International Union of Soil Sciences) และสมาคมดนิ และปุ๋ยแหง่ ประเทศไทย เขา้ เฝ้า ฯ เพ่อื ทูลเกล้า ฯ ถวายเหรียญสดดุ ี “Humanitarian Soil Scientist” ณ โรงพยาบาลศริ ิราช เม่ือวนั ที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๕๕ ระหวา่ งวนั ท่ี ๓ ถึง ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ กรมพัฒนาทีด่ นิ ไดร้ ับมอบหมายจากกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ให้เป็นหน่วยงานหลักในการจัด “ง�นเฉลิมพระเกียรติพระบ�ทสมเด็จพระเจ้�อยู่หัว นกั วทิ ย�ศ�สตร์ดินเพื่อมนุษยธรรมและวันดินโลก ๕ ธนั ว�คม” เพอ่ื เป็นการสาำ นึกในพระมหากรุณาธิคณุ ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงรับการทูลเกล้า ฯ ถวายรางวัล “นักวิทย�ศ�สตร์ดินเพื่อมนุษยธรรม (Humanitarian Soil Scientist)” เม่ือวันท่ี ๑๖ เมษายน ๒๕๕๕ เป็นพระองค์แรกจากสหภาพวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติ (IUSS) และเป็นการจัดงาน เฉลมิ ฉลองวนั ดนิ โลก ๕ ธนั วาคม โดยจดั พรอ้ มกนั กบั สาำ นกั งานองคก์ ารอาหารและเกษตรแหง่ สหประชาชาติ ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี และนานาประเทศ ย่ิงไปกว่าน้ัน การจัดงานดังกล่าว ยังมีการจัดนิทรรศการ เพื่อเผยแพร่พระอัจฉริยภาพ ในการทรงงานด้านการจัดการทรัพยากรดินของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ให้ประชาชนชาวไทย และชาวต่างประเทศได้เรียนรู้ โดยงาน ดงั กลา่ ว ไดจ้ ดั ทศี่ นู ยก์ ารคา้ สยามพารากอน กรงุ เทพมหานคร และทอี่ าคารสาำ นกั งานใหญข่ ององคก์ ารอาหาร และเกษตรแห่งสหประชาชาติ ณ ทกี่ รุงโรม ประเทศอติ าลี 139

ดพวรงะใบจาขทอสงรมาเดษ็จฎพรร์ ะปปรรามชินญทแ์ รหม่งหดาินภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร กรรมการบรหิ ารและอดตี เลขาธกิ ารสหภาพวทิ ยาศาสตรท์ างดนิ นานาชาติ ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวลั นักวิทยาศาสตรด์ ินเพอื่ มนษุ ยธรรม (Humanitarian Soil Scientist) นบั เปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ ลน้ เกลา้ ลน้ กระหมอ่ มอยา่ งหาทสี่ ดุ มไิ ด้ ทสี่ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำาเนินไปทรงเปิดงาน และทอดพระเนตรนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ ในวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๕๕ โดยได้ทรงลงพระนามาภิไธยบนแผ่นดินเหนียวเพื่อเป็นสัญลักษณ์ การเฉลิมฉลองวันดินโลก ๕ ธันวาคม ซึ่งคณะผู้ปฏิบัติงานและผู้เฝ้าทูลละอองพระบาท ต่างซาบซ้ึง และปีติยนิ ดเี ปน็ ล้นพ้น ประเด็นสำาคัญย่ิง และมีคุณค่าอย่างใหญ่หลวงสำาหรับวงการปฐพีท่ัวโลก คือ สมัชชาใหญ่แห่ง สหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ได้ลงมติจากการประชุมคร้ังที่ ๖๘ เม่อื วันท่ี ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ สำานักงานใหญน่ ครนวิ ยอรก์ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ใหก้ ารรบั รองวันดินโลก (World Soil Day) ให้ตรงกับวันท่ี ๕ ธันวาคม และขอให้ทุกประเทศร่วมกันเฉลิมฉลอง ในวันท่ี ๕ ธนั วาคม ของทกุ ปี การกาำ หนดเป็นวนั ท่ี ๕ ธันวาคม ซง่ึ เป็นวันพระราชสมภพของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร กำาหนดขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติ ท่ีทรงปฏิบัติ พระราชกรณียกิจนานัปการที่เก่ียวเนื่องกับเรื่องดินที่ใช้ในการปลูกพืช โดยเฉพาะอย่างย่ิงการแก้ไขดินท่ีมี ปัญหาทางการเกษตร เพื่อให้สามารถนำามาใช้ปลูกพืชได้อย่างเหมาะสม ยกตัวอย่างเช่น การแก้ไขปัญหา ดินเปรี้ยว ดินทรายท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำา ดินลูกรัง และดินท่ีมีปัญหาเรื่องการชะล้างพังทลาย เป็นต้น นอกจากทางสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้ประกาศให้วันท่ี ๕ ธันวาคมของทุกปีเป็นวันดินโลกแล้ว ยังประกาศให้ ปี ๒๕๕๘ เป็นปดี ินสากล (International Year of Soil in 2015) อกี ด้วย โดยใช้หวั ขอ้ (Theme) ของการเฉลิมฉลองว่า “Healthy Soils for a Healthy Life” ซ่ึงแปลเป็นไทยได้ว่า “ดนิ ดีชีวเี ป็นสุข” 140

สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ ฯ ไปทรงเปดิ งานวนั ดนิ โลก เมื่อวนั ท่ี ๓ ธนั วาคม ๒๕๕๕ นทิ รรศการวนั ดนิ โลก เมอื่ วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ 141

พดวรงะใบจาขทอสงรมาเดษ็จฎพรร์ ะปปรรามชินญท์แรหม่งหดาินภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงลงพระนามาภิไธยลงบนแผ่นดินเหนียว ทอดพระเนตรนิทรรศการงานวนั ดินโลก ท่ีระบขุ อ้ ความว่าวนั ที่ ๕ ธนั วาคม เปน็ วันดนิ โลก สมัชช�ใหญแ่ ห่งสหประช�ช�ติ ได้ประก�ศอย่�งเป็นท�งก�ร ให้วันท่ี ๕ ธนั ว�คม ของทุกปี เป็นวันดินโลก (World Soil Day) เม่ือวนั ที่ ๒๐ ธนั ว�คม ๒๕๕๖ ณ ส�ำ นักง�นใหญ่นครนิวยอรก์ ประเทศสหรฐั อเมริก� 142

ในวันที่ ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๗ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา เสด็จ ฯ แทนพระองค์ ตามคาำ กราบบังคมทูลเชิญขององคก์ ารอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ ไปทรงรว่ ม งานเฉลิมฉลองวันดินโลกและเริ่มการจัดงานเฉลมิ ฉลองปีดินสากล ปี ๒๕๕๘ อยา่ งเปน็ ทางการ และ เชญิ พระราชดาำ รสั หวั ขอ้ “Healthy Soils for a Healthy Life” ไปพระราชทานในงานเฉลมิ ฉลอง ดังกล่าว ณ สำานกั งานใหญ่สหประชาชาติ นครนวิ ยอรก์ สหรฐั อเมริกา ที่ประชมุ สมัชชาสหประชาชาติ มมี ตริ บั รองใหว้ นั ที่ ๕ ธนั วาคมของทกุ ปซี ง่ึ เปน็ วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา เปน็ วนั ดนิ โลก และใหป้ ี ๒๕๕๘ เป็นปีดินสากล เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในพระปรีชาสามารถด้านการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรดิน พระราชดำารัสในหัวข้อ ดังกลา่ วของพระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จา้ พัชรกติ ยิ าภา ได้อญั เชญิ สาำ เนามาไวด้ งั นี้ 143


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook