Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Book_1

Book_1

Published by bangphaelibrary01, 2019-12-19 02:14:05

Description: Book_1

Search

Read the Text Version

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดนิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ถ้าจะนำาคำาจำากัดความท่ีพระราชทานเอาไว้ข้างต้นมาขยายความเพิ่มเติมเพื่อให้เข้าใจมาก ยงิ่ ขนึ้ จะเหน็ วา่ ดนิ ทเ่ี หมาะสมในการทาำ การเกษตร หรอื ทเ่ี รยี กวา่ เปน็ ดนิ ดนี น้ั มอี งคป์ ระกอบสาำ คญั ๔ ประการจะขาดสิ่งหน่ึงส่ิงใดมิได้ ถ้าขาดคุณภาพของดินจะลดลงและเป็นปัญหาในการผลิต โดยมอี งคป์ ระกอบดังน้ี ๑) ตอ้ งมีปริมาณแรธ่ าตุอาหารพืช ทีเ่ รียกว่า ปยุ๋ ในจำานวนท่เี หมาะสมและเพยี งพอต่อการ เจรญิ เติบโตของพชื ท่ปี ลูก ธาตอุ าหารเหล่านี้ ไดแ้ ก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรสั (P) โพแทสเซียม (K) ออกซเิ จน (O) ไฮโดรเจน (H) แมกนเี ซียม (Mg) และเหลก็ (Fe) เปน็ ตน้ แร่ธาตุอาหารในดิน และทางอากาศ ท่ที รงเรยี กวา่ “ปยุ๋ ” 44

๒) ต้องมีสภาพทางเคมีเหมาะสม ได้แก่ สภาพความเป็นกรด (ความเปร้ียว) ความเป็นด่าง เหมาะสม (มีค่า pH ประมาณ ๗) และมคี วามเคม็ ตาำ่ หรอื ไม่เค็ม เป็นตน้ ๓) ต้องมสี ภาพทางชวี ภาพเหมาะสม ได้แก่ มีจลุ ินทรยี ์ต่าง ๆ และมีสตั วเ์ ล็ก ๆ ทอี่ าศยั อยู่ใน ดินเป็นจำานวนมากพอที่จะช่วยย่อยสลายซากพืชท่ีทับถมอยู่บนดินให้ผุพังสลายตัวแปรสภาพเป็น อินทรียวัตถุ ฮิวมัสหรือขุยอินทรีย์ ทำาให้ดินร่วนซุยมีความสามารถในการอุ้มนำ้า ช่วยดูดซับแร่ธาตุ อาหารหรอื ปลดปลอ่ ยอาหารให้มปี ระโยชนต์ ่อพืชมากข้ึน จุลินทรีย์ในดินที่สำาคัญท่ีทำาประโยชน์ให้แก่ดิน โดยทั่ว ๆ ไปแบ่งออกเป็น ๒ พวก ได้แก่ จุลินทรยี ์ที่อาศัยอยทู่ ร่ี ากพชื ตระกูลถั่ว จลุ ินทรีย์พวกนส้ี ามารถเปล่ยี นไนโตรเจนจากอากาศในดนิ ให้ มาเปน็ อาหารของตนเองและทำาใหเ้ กดิ ปมทร่ี ากถ่วั ซึง่ พืชสามารถเอาไนโตรเจนไปใช้ได้ จลุ นิ ทรียเ์ หล่านี้ เปน็ ประโยชนใ์ นแงข่ องการทาำ ใหด้ นิ มไี นโตรเจน แตจ่ ะอยไู่ ดต้ อ้ งอาศยั อยกู่ บั รากถวั่ พง่ึ พาอาศยั ซง่ึ กนั และกัน ตวั อย่างชนดิ จลุ นิ ทรีย์ ไดแ้ ก่ จุลนิ ทรยี ์ไรโซเบยี ม (Rhizobium sp.) จุลินทรียอ์ กี ประเภทหนึ่ง เป็นจุลินทรีย์ที่อยู่ได้อย่างอิสระในดินบางชนิดสามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศได้ เมื่อตายลงก็จะ ปลดปลอ่ ยไนโตรเจนใหแ้ กด่ นิ บางชนดิ สามารถปลดปลอ่ ยกรดออกมาซงึ่ กรดบางอยา่ งสามารถละลาย ธาตฟุ อสเฟตในดนิ ให้พืชดูดซบั ไปใช้ อยา่ งไรกต็ ามธาตุอาหารท่ีได้จากจุลนิ ทรียใ์ นดนิ จากเชื้อราหรอื จากสตั วเ์ ลก็ ๆ ทอ่ี าศยั อยใู่ นดนิ มนี อ้ ยมาก ไมเ่ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของพชื ทปี่ ลกู เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แหลง่ อาหารสาำ คัญของมนุษย์ ๔) ตอ้ งมสี ภาพทางกายภาพเหมาะสม หมายถงึ ดินจะต้องมีความโปรง่ มีความร่วนซยุ และ ไมแ่ ขง็ หรอื เปน็ ชน้ั ดานแนน่ ทบึ ซงึ่ ลกั ษณะดงั กลา่ วทาำ ใหร้ ากพชื สามารถดดู นาำ้ และอาหารไปใชไ้ ดอ้ ยา่ ง สมบูรณ์ ปัจจัยท่ีทำาให้ดินมีสภาพทางกายภาพดังกล่าวเหมาะสม ได้แก่ อินทรียวัตถุในดิน วิธีการ ไถพรวน ลักษณะของเน้ือดินตลอดจนลักษณะของสภาพพ้ืนที่ ถ้าเป็นที่ดอนจะไม่มีปัญหาเรื่อง นำา้ แชข่ งั แตถ่ า้ เปน็ ทลี่ มุ่ น้าำ มกั แช่ขงั และมรี ะดบั นาำ้ ใตด้ นิ อยตู่ น้ื การแกไ้ ขปญั หาเพอ่ื นำามาใชป้ ลกู พชื ไร่ หรือไม้ผลซึ่งไม่ชอบน้ำาขังและจำาเป็นต้องลงทุนสูงในการยกร่องและต้องมีคันดินล้อมรอบเพ่ือ สบู น้ำาออกในฤดฝู น ซ่ึงความจรงิ แลว้ ควรเลอื กพืชทีช่ อบนา้ำ เช่น ขา้ วจะเหมาะสมกวา่ เพราะไม่ตอ้ ง ลงทนุ สูงในการเปลีย่ นแปลงสภาพพื้นที่ นอกจากขอ้ ความคดั ลอกมาจากเรอื่ ง คณุ สมบตั ติ า่ ง ๆ ของดนิ ทเ่ี หมาะสมสาำ หรบั ทาำ การเกษตร ยงั พระราชทานพระราชวนิ จิ ฉยั ถงึ เรอื่ งดนิ ทมี่ ปี ญั หา ในพน้ื ทโ่ี ครงการตา่ ง ๆ ทม่ี พี ระราชดาำ รใิ หด้ าำ เนนิ การ โดยทรงกลา่ วถงึ ต้นเหตขุ องปัญหา และ การแก้ปัญหา ซ่งึ ไดถ้ ่ายสาำ เนามาดังน้ี 45

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร 46

47

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แหง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ศนู ย์ศึกษ�ก�รพฒั น�เข�หนิ ซ้อนอนั เนื่องม�จ�กพระร�ชด�ำ ริ อำ�เภอพนมส�รค�ม จังหวดั ฉะเชิงเทร� ปญั ห� : ดนิ ทร�ย มแี ร่ธ�ตนุ ้อย ก�รแกไ้ ข 1) สร้างอา่ งเก็บนาำ้ 2) บริเวณรอ่ งหว้ ยจดั ทาำ แปลงสาธิต “ทฤษฎีใหม”่ 3) ปลกู แฝกบริเวณท่ดี อน 4) ปลูกพชื ไม้ผลและพืชล้มลุก โดยปรับปรงุ ดนิ ดว้ ยอินทรยี วตั ถุ ศนู ย์ศกึ ษ�ก�รพฒั น�ห้วยฮอ่ งไคร้อนั เนอื่ งม�จ�กพระร�ชด�ำ ริ อำ�เภอดอยสะเกด็ จงั หวัดเชยี งใหม่ ปญั ห� : ดนิ เปน็ หนิ กรวด และแหง้ แลง้ ก�รแกไ้ ข 1) สรา้ งอ่างเกบ็ น้าำ และฝายกั้นนำ้า ลำาธาร 2) เม่อื มคี วามชน้ื ปา่ เร่มิ ฟืน้ ตัว และปลกู เสริมตามความจาำ เปน็ 3) บริเวณทีล่ าดชนั น้อยฟนื้ ฟูดนิ ดว้ ยการปลกู พชื ท่ีเหมาะสม ทำาทงุ่ หญา้ เลีย้ งสตั ว์ ใช้ป๋ยุ อนิ ทรยี แ์ ละปลูกหญา้ แฝก 48

ศนู ย์ศกึ ษ�ก�รพัฒน�พิกุลทองอันเนื่องม�จ�กพระร�ชด�ำ ริ อำ�เภอเมือง จังหวดั นร�ธวิ �ส ปัญห� : ดินเปรย้ี วจัด ก�รแก้ไข : โครงการแกลง้ ดิน ศนู ยศ์ ึกษ�ก�รพัฒน�หว้ ยทร�ยอันเน่อื งม�จ�กพระร�ชด�ำ ริ อำ�เภอชะอ�ำ จังหวดั เพชรบุรี ปญั ห� : ดินทราย มแี รธ่ าตุน้อย ดนิ ดาน ก�รแก้ไข 1) สรา้ งอา่ งเกบ็ นา้ำ 2) ปลูกป่า “แบบไม่ตอ้ งปลกู ” 3) ปลูกแฝกตามรอ่ งหว้ ยและ ปลูกควบคูไ่ ปกบั ไมโ้ ตเรว็ 4) ปรบั ปรงุ บำารุงดินด้วย อินทรียวตั ถุ ปลูก พืชหมุนเวียนและ ปลกู พืชปุ๋ยสด 49

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แหง่ ดนิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ศนู ยศ์ กึ ษ�ก�รพฒั น�ภูพ�นอนั เน่อื งม�จ�กพระร�ชดำ�ริ อำ�เภอเมอื ง จงั หวดั สกลนคร ปัญห� : ดนิ ทราย ดนิ เคม็ ขาดนำา้ ก�รแกไ้ ข : 1) สรา้ งอา่ งเกบ็ นาำ้ และ ฝายต้นนำา้ ลำาธาร 2) พัฒนาปา่ ไม้ 3) ปรับปรุงบำารงุ ด้วยอินทรียวตั ถุ ปลูกพืชหมนุ เวียน 4) กระทงุ้ ลูกรังใหแ้ ตกแล้วเอา ดนิ ลา่ งมาผสมกับดนิ ลกู รงั ขา้ งบนแลว้ ไถกลบ ศูนยศ์ ึกษ�ก�รพัฒน�อ�่ วคุ้งกระเบนอนั เนอ่ื งม�จ�กพระร�ชด�ำ ริ อำ�เภอท�่ ใหม่ จงั หวัดจนั ทบรุ ี 1) อนุรักษ์ป่าชายเลน 2) ทำาประมง “ระบบปิด” เปน็ มิตรกับ สงิ่ แวดลอ้ ม 50

51

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร 52

53

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดนิ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พื้นที่พรุ กอ่ นการพฒั นา อ่างเกบ็ นำา้ ใกลบ้ ้าน แปลงทดลองขา้ วโครงการแกล้งดิน แปลงควบคมุ (ปล่อยตามธรรมชาต)ิ โครงการแกลง้ ดนิ แปลงยกรอ่ งปลูกมะพร้าว ดินพรทุ ี่มวี ัสดุอินทรีย์มาก ดนิ ทรายทีม่ ีชนั้ ดาน (ดินชดุ บ้านทอน) 54

55

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร 56

บทที่ ๖ แนวทางการจัดการดนิ ทีม่ ีปญั หาตามพระราชดำาริ 57

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร 58

บทที่ ๖ แนวทางการจดั การดินที่มปี ัญหา ตามพระราชดาำ ริ ตลอดพระชนม์ชพี ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้ทรงงานด้านการพัฒนาการเกษตรอยู่เสมอ เพื่อยกระดับฐานะความเป็นอยู่ของเกษตรกร ผซู้ ึ่งได้รับการขนานนามว่าเปน็ กระดกู สนั หลงั ของประเทศ และดว้ ยเหตุทีด่ ินเป็นปจั จัยสำาคญั ใน การผลติ ทางการเกษตร ซงึ่ ประเทศไทย มที งั้ ดนิ ทเ่ี ปน็ ปญั หาและไมเ่ ปน็ ปญั หา ปญั หาดา้ นคณุ ภาพ ของดินมที ั้งปัญหาทางกายภาพและทางเคมี ซง่ึ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อพืชท่ีปลกู ทาำ ใหก้ ารปลูก พืชไม่ประสบผลสำาเร็จหรือได้รับผลผลิตน้อย ไม่คุ้มกับการลงทุน และจากผลการสำารวจดินโดย กรมพัฒนาท่ีดิน พบว่ามีดินท่ีมีปัญหามีปริมาณรวมกันท้ังประเทศเป็นจำานวนไม่น้อยกว่า ๑๐๐ ล้านไร่ การแกไ้ ขดนิ ทกี่ าำ ลงั เปน็ ปญั หาอนั เปน็ ผลมาจากการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ไมเ่ หมาะสม หรอื การ แกไ้ ขดนิ ปญั หาทเ่ี กดิ เองตามธรรมชาตมิ หี ลายวธิ ี แตก่ ารแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ วเปน็ เรอื่ งทไ่ี มง่ า่ ยและ ต้องคำานึงถึงปัจจัยหลายประการในการแก้ไขปัญหา ปัจจัยดังกล่าวได้แก่ ความรู้ทางวิชาการ งบประมาณ บคุ ลากรของรัฐ ความร่วมมอื และความขยันขนั แข็งของเกษตรกร แต่ทุกสิ่งทุกอยา่ ง ดูเหมือนจะง่ายข้ึน เมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงตระหนักถึงปัญหาของการใช้ทรัพยากรดินของประเทศในทุกภูมิภาค จากระยะเวลา อันยาวนานท่ีทรงงานหนักอย่างต่อเนื่อง ทรงให้ความสนพระราชหฤทัยในการหาวิธีการแก้ไข สภาพดินที่เป็นปัญหาในการผลิตทางการเกษตร ดังมีพระราชดำารัสกับบุคคลที่เข้าเฝ้าทูลละออง ธุลีพระบาทเม่ือคราวเสด็จพระราชดำาเนินไปเปิดพิพิธภัณฑ์เกษตรแห่งชาติ อำาเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี เมื่อวนั ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๕ ความตอนหน่งึ ว่า “…สมเด็จพระเทพรัตน ฯ เคยถ�มว่�ทำ�ไมจึงทำ�เฉพ�ะดินย�ก ๆ หรือ ท�ำ แตด่ นิ ปญั ห� กอ็ ธบิ �ยใหฟ้ งั ว�่ ดนิ ย�ก ๆ นนั้ ไมม่ คี นท�ำ จงึ ตอ้ งท�ำ ถ�้ ท�ำ ไดก้ จ็ ะ มีประโยชน์ เม่อื กอ่ นเข�ไมเ่ ข้�ใจ แตเ่ ดีย๋ วน้ีเข�เข้�ใจแล้ว ดนิ ดี ๆ จะไมท่ ำ�…” วธิ กี ารจดั การแกไ้ ขดนิ ปญั หาทพี่ ระราชทานพระราชดาำ รใิ หด้ าำ เนนิ งานเปน็ ไปอยา่ งมรี ะบบ โดยทรงศึกษา ค้นคว้าวจิ ัย เพอื่ ให้ร้สู าเหตขุ องปัญหา แล้วจึงคน้ คดิ วิธกี ารแก้ไขปัญหา ซึง่ วิธกี าร แกไ้ ขปญั หาตอ้ งเปน็ วธิ กี ารทเ่ี กษตรกรหรอื ผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งสามารถนาำ ไปใชเ้ พอื่ แกไ้ ขปญั หาไดโ้ ดยงา่ ย ไมย่ ่งุ ยาก หรอื ซับซ้อน ตัวอยา่ งการแกไ้ ขดนิ ท่มี ีปัญหาตามพระราชดำาริ พอกล่าวสรปุ เป็นเรอื่ ง ๆ ไปได้ ดังนี้ 59

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แห่งดนิ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ๖.๑ ก�รแก้ไขปญั ห�ดินเปรี้ยว ดนิ เปรย้ี วเป็นดินกรดชนดิ หนึง่ ที่ถือว่ามีกรดในดนิ เปน็ ปรมิ าณมาก จนทาำ ให้ผลผลิตของพชื ท่ี ปลูกลดลง หรือไม่ได้ผล ดินเปรี้ยวเหล่าน้ีโดยมากจะพบบริเวณที่ราบลุ่มตามชายฝั่งทะเลของ ประเทศไทย มเี นอื้ ทปี่ ระมาณ ๖ ลา้ นไร่ และจะพบมากทสี่ ดุ ในบรเิ วณทรี่ าบลมุ่ ภาคกลางของประเทศ และบริเวณทรี่ าบลมุ่ ตามแนวชายฝ่งั ทะเลของภาคใต้ ความเป็นกรดหรอื ความเปรย้ี วของดนิ ดังกล่าว เกิดจากการท่ีดินมีกรดกำามะถันเกิดข้ึน ซ่ึงกรดกำามะถันท่ีเกิดข้ึนในดินมีสาเหตุมาจากการที่ดินมี สารประกอบกาำ มะถนั (สารประกอบไพไรต)์ ปะปน เมื่อดนิ แห้งสารประกอบกาำ มะถันจะทาำ ปฏกิ ริ ิยา กบั อากาศปลดปล่อยกรดกำามะถันออกมา ในขณะเดยี วกนั มนษุ ยก์ ็มีส่วนกระตุน้ ทาำ ให้กรดมีปริมาณ มากขึน้ ถ้ามีการระบายน้าำ ออกไปจากดนิ หรอื ทาำ ให้ดนิ แห้งเปน็ ระยะเวลานาน ๆ ดินกรดประเภทนี้ ใชน้ ามศพั ทเ์ ป็นภาษาองั กฤษว่า “acid sulfate soil” และเหตุทค่ี วามเป็นกรดของดนิ เกิดจากกรด กาำ มะถนั จงึ มชี ่ือทางวิชาการอกี อยา่ งหนึ่งว่า “ดินกรดกาำ มะถัน” ดินเปร้ียวมีผลกระทบต่อการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรเป็นอย่างมาก ทำาให้ปลูกพืชได้ น้อยชนดิ และใหผ้ ลผลิตตำา่ ถา้ มกี ารขุดบอ่ นาำ้ ในบอ่ กจ็ ะเปรย้ี วจนเล้ยี งปลาไมไ่ ด้ พืชทป่ี ลูกมกั ไดร้ ับ ผลกระทบโดยตรงจากความรุนแรงของกรดท่ีเกิดข้ึนในดิน และเกิดจากการละลายออกมาของธาตุ บางชนิด เช่น อลูมิเนียม เหลก็ และแมงกานสี จนถงึ ระดับทเ่ี ปน็ พิษต่อพชื อีกท้ังทาำ ใหธ้ าตฟุ อสฟอรสั ซ่ึงเป็นธาตอุ าหารพืชหลักถูกตรึงทาำ ให้อยใู่ นรูปที่พืชไม่สามารถดูดเอาไปใช้ได้ ตวั อย�่ งดินเปร้ยี ว ดนิ เปร้ยี วภาคกลาง ดนิ เปร้ยี วในพ้นื ท่พี รภุ าคใต้ คา่ ความเป็นกรด (pH) < 4.5 ขา้ วทีป่ ลูกไม่ไดผ้ ล 60

ด้วยเหตุที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จ พระราชดาำ เนินแปรพระราชฐานไปประทบั แรม ณ พระตาำ หนักทักษิณราชนเิ วศน์ จังหวดั นราธิวาส เปน็ ประจาำ ทกุ ปี ตงั้ แตป่ ี ๒๕๑๗ ระหวา่ งเสดจ็ พระราชดาำ เนนิ ไปทรงเยยี่ มราษฎร ทรงทราบถงึ ปญั หา ดินเปรย้ี วในจังหวัดนราธวิ าส จงึ พระราชทานพระราชดำารใิ หจ้ ัดต้งั ศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาพกิ ุลทองฯ ขึ้นเมื่อวันท่ี ๑๘ สิงหาคม ๒๕๒๔ ดังมีพระราชดำารัส ณ พระตำาหนักทักษิณราชนิเวศน์ จังหวัด นราธวิ าส ความตอนหนึง่ วา่ “...ด้วยพื้นที่จำ�นวนม�กในจังหวัดนร�ธิว�สเป็นที่ลุ่มตำ่� มีน้ำ�ขังตลอดปี ดินมคี ุณภ�พต่�ำ ซ่งึ พน้ื ท่ที งั้ หมดประม�ณ ๓ แสนไร่ เกษตรกรจ�ำ นวนม�กไมม่ ีท่ี ทำ�กิน แม้เมื่อระบ�ยน�้ำ ออกจ�กพื้นทหี่ มดแล้ว ยงั ย�กที่จะใหป้ ระโยชนท์ �งก�ร เกษตรให้ได้ผล ท้ังนี้เน่ืองจ�กดินมีส�รประกอบไพไรต์ ทำ�ให้เกิดกรดกำ�มะถัน เมือ่ ดินแห้งทำ�ใหด้ ินเปรย้ี ว ควรปรบั ปรงุ ดนิ ใหด้ ขี ้นึ ดงั น้นั เหน็ สมควรทจี่ ะมกี �ร ปรบั ปรุงพัฒน� โดยใหม้ หี น่วยง�นต�่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งเข�้ ม�ดำ�เนินก�รศกึ ษ�และ พัฒน�พื้นท่ีพรุร่วมกันแบบผสมผส�น และนำ�ผลสำ�เร็จของโครงก�รไปเป็น แบบอย่�งในก�รทจ่ี ะพัฒน�พ้นื ที่ดินพรใุ นโอก�สตอ่ ไป...” 61

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แห่งดนิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พืน้ ทีด่ ินเปรย้ี วในจังหวัดนราธวิ าส พบมากในพ้ืนท่ีพรแุ ละมจี าำ นวนนับแสนไรท่ ีใ่ ช้ทาำ การเกษตรไม่ไดผ้ ล หลังการจัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง ฯ ได้พระราชทานพระราชดำาริเพิ่มเติมระหว่าง เสด็จพระราชดำาเนินไปทรงงานในเขตจังหวัดนราธิวาส ซ่ึงเป็นเร่ืองที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพื้นที่ ดนิ เปรี้ยว หรอื ดินในพน้ื ท่พี รดุ งั น้ี วันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๒๖ ณ ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาพกิ ุลทองฯ “...ศูนย์ศึกษ�ก�รพัฒน�ท่ีอยู่ในจังหวัดนร�ธิว�ส เป็นศูนย์ศึกษ�ท่ีเน้นท�ง ด้�นค้นคว้�วิจัยและบริก�รในชีวิตคว�มเป็นอยู่ในภ�คใต้ หนักไปในท�งดินที่เป็น พรุ ซึ่งเป็นปัญห�ม�ก เพร�ะว่�ยังไม่ได้ศึกษ�พอและเกี่ยวข้องกับกรมกองหล�ย กรมกอง ซ่ึงอ�จจะยังไม่ปรองดองกันคือไม่เข้�ใจกัน ก็ม�วิจัยพร้อมกันทีเดียวจะ ไดม้ คี ว�มเข�้ ใจกันได.้ ..” 62

เสดจ็ ฯ ไปพ้นื ที่โครงการแกลง้ ดิน ศูนย์การศึกษาพกิ ุลทองฯ อาำ เภอเมือง จังหวดั นราธิวาส เม่ือวนั ท่ี ๗ ตุลาคม ๒๕๓๓ พระราชทานพระราชดำาริให้ดาำ เนินการโครงการ “แกล้งดิน” ณ ศูนย์ศกึ ษาพัฒนาพิกุลทองฯ อำาเภอเมือง จงั หวัดนราธวิ าส เมือ่ วนั ท่ี ๑๖ กันยายน ๒๕๒๗ วันท่ี ๒๗ มิถนุ ายน ๒๕๒๗ ณ ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาพิกุลทองฯ “...ให้ดำ�เนินก�รทดลองปรับปรุงดิน โดยใช้ rock phosphate ในพ้ืนท่ีพรุ เปรียบเทียบกับหินฝุ่น โดยจัดห�วัสดุ rock phosphate จ�กแหล่งท้องถิ่น เช่น ทีจ่ ังหวดั นครศรธี รรมร�ช หรือท้องทีใ่ กล้เคียงม�ทดลองดู ดังนั้น จงึ มอบหม�ยให้ ผู้อำ�นวยก�รศูนยศ์ ึกษ�ก�รพัฒน�พิกุลทอง เปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบ...” 63

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แหง่ ดิน พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร วนั ที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๒๗ ณ บ้านโคกชุมบก ตำาบลขุนทอง อำาเภอตากใบ จงั หวดั นราธิวาส “...ขย�ยโครงก�รชลประท�นมูโนะ เป็นระยะท่ี ๒ ก�รแก้ไขปัญห�ดินเปรี้ยว หลังหมู่บ้�นโคกชุมบก โดยแก้ไขด้วยวิธีขุดลอกคลองจ�กโคกย�งม�เช่ือมต่อ คลองบ�งเตย แล้วขุดคลองซอย เพ่ือให้มีน้ำ�หล่อเลี้ยงดิน จะแก้ไขภ�วก�รณ์ เกิดกรดในดินได้ ให้ชลประท�นคำ�นวณค่�ก่อสร้�งได้ อำ�เภอต�กใบช่วยสำ�รวจ เสน้ ท�งและก�รจัดซอ้ื ทด่ี ินบริเวณแนวคลอง...” วันท่ี ๑๖ กนั ยายน ๒๕๒๗ ณ ศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาพิกุลทองฯ “…เปน็ ทท่ี ร�บกนั ดแี ลว้ หน�้ ทข่ี องศนู ยศ์ กึ ษ�ก�รพฒั น� กค็ อื ศกึ ษ�วธิ พี ฒั น� ทอ้ งถน่ิ ซง่ึ รวมถงึ วธิ แี กป้ ญั ห�ใหเ้ กษตรกรดว้ ย ขณะนบ้ี �งพน้ื ทรี่ �ษฎรก�ำ ลงั ประสบ ปญั ห�เรอื่ งทด่ี นิ ท�ำ กนิ กล�ยสภ�พเปน็ ดนิ เปรย้ี วในลกั ษณะต�่ ง ๆ ไมส่ �ม�รถท�ำ ก�ร เพ�ะปลูกได้ ท�งศูนย์ศึกษ�ก�รพัฒน�จึงควรกำ�หนดพ้ืนที่ในเขตศูนย์ฯ มีสภ�พ คล�้ ยคลงึ กบั ทด่ี นิ ทม่ี ปี ญั ห�แตล่ ะแหง่ แลว้ สร�้ งสถ�นก�รณใ์ หเ้ หมอื นกบั พน้ื ทจี่ รงิ ทสี่ ดุ โดยใชว้ ชิ �ก�รเข�้ ชว่ ย ทง้ั นเ้ี พอื่ ศกึ ษ�ว�่ พนื้ ทที่ มี่ ปี ญั ห�นนั้ คอ่ ย ๆ เสอ่ื มสภ�พ ลงในรปู ใด ใชเ้ วล�เท�่ ใดในแตล่ ะขน้ั ตอน จ�กนน้ั จงึ จะศกึ ษ�วธิ กี �รแกไ้ ขและฟน้ื ฟู คว�มสมบูรณ์ของดินท่ีมีปัญห�เท่�ท่ีจะทำ�ได้ แล้วจึงเผยแพร่คว�มรู้ให้เกษตรกร เข้�ใจต่อไป…” 64

แปลงทดลอง ข้�ว แปลงปล่อยทิง้ ร้�ง แปลงควบคมุ แปลงทดลอง แปลงทดลอง แปลงทดลอง ข้�ว ข้�ว ปลกู พืช ผัก หรอื พืชลม้ ลกุ มีพระราชดาำ ริให้ดำาเนินการโครงการ “แกลง้ ดนิ ” ณ ศูนยศ์ ึกษาพฒั นาพิกลุ ทองฯ เมื่อวนั ที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๒๗ “...ให้มกี �รทดลองท�ำ ดนิ ให้เปร้ยี วจดั โดยก�รระบ�ยน�้ำ ให้แหง้ และศกึ ษ�วธิ ี ก�รแก้ดินเปร้ียว เพื่อนำ�ผลไปแก้ปัญห�ดินเปรี้ยวให้แก่ร�ษฎรท่ีมีปัญห�ในเร่อื งน้ี ในเขตจังหวัดนร�ธิว�ส โดยให้ทำ�โครงก�รศึกษ�ทดลองในกำ�หนด ๒ ปี และพืช ท่ีท�ำ ก�รทดลองปลกู ควรเป็นข�้ ว...” วันท่ี ๒๖ กนั ยายน ๒๕๒๙ ณ ศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาพิกลุ ทองฯ “…ใหด้ �ำ เนนิ ก�รศกึ ษ�ตอ่ เพอ่ื เปน็ แนวท�งในก�รพฒั น�ดนิ เปรยี้ วจดั ตอ่ ไป…” แปลงทดลองปลกู ข้าว แปลงทดลองปลกู ขา้ วแลว้ ปล่อยท้ิงร้าง 65

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แหง่ ดนิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร มพี ระราชดำารใิ ห้ไปปรับปรงุ ดนิ เปรย้ี วบ้านโคกอฐิ -โคกใน อาำ เภอตากใบ จังหวัดนราธวิ าส เมือ่ วันที่ ๓ กันยายน ๒๕๓๓ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๓๐ ณ ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาพิกลุ ทองฯ “…เปลย่ี นแปลงวิธกี �รสูบนำ�้ เข�้ ออกในแต่ละแปลงใหม่ โดยแบง่ ชว่ งระยะ เวล�ท่ที ำ�ให้ดนิ แห้งและเปียก ในแตล่ ะแปลงใหแ้ ตกต�่ งกนั …” วันท่ี ๓ กนั ยายน ๒๕๓๓ ณ บา้ นโคกอิฐ-โคกใน ตาำ บลพร่อน อำาเภอตากใบ จงั หวดั นราธวิ าส “…สภ�พพนื้ ทดี่ นิ เปรยี้ วในบ�้ นโคกอฐิ บ�้ นโคกใน เกษตรกรมคี ว�มตอ้ งก�ร จะปลูกข้�ว ท�งชลประท�นได้จัดส่งนำ้�ชลประท�นม�ให้ ให้ดำ�เนินก�รพัฒน� ดนิ เปรย้ี วใหเ้ ปน็ ประโยชนไ์ ด้ และใหป้ ระส�นง�นกบั ชลประท�นว�่ จะตอ้ งควบคมุ ระดบั นำ้�ใตด้ ินอยู่เท่�ใด…” แปลงควบคมุ แปลงปลกู พชื ลม้ ลกุ 66

วันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๓๓ ณ ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาพิกลุ ทองฯ “…เพ่ือดำ�เนินก�รปรับปรุงและแก้ไขปัญห�เร่ืองดิน ให้ส�ม�รถนำ�ม�ใช้ปลูก พืชเศรษฐกิจได้ ควรพจิ �รณ�ดำ�เนินก�ร คือ... พจิ �รณ�ท�งเลือกในก�รปรับปรงุ ซ่ึงมีก�รใช้วัสดุปรับปรุงดินท่ีมีประสิทธิภ�พ ใช้น้ำ�ชะล้�งคว�มเป็นกรดของดิน ก�รใชว้ ธิ เี ขตกรรม และก�รปลกู พชื ทนเปรยี้ วใหท้ �ำ แปลงทดลองใหส้ ภ�พเหมอื นกบั ทบี่ �้ นโคกอิฐ-โคกใน และศกึ ษ�ก�รปรับปรุงดินใหเ้ สร็จให้ได้ภ�ยใน ๑ ปี และน�ำ ไป ด�ำ เนนิ ก�รทบ่ี �้ นโคกอฐิ -โคกใน…” “…ก�รยกรอ่ งในก�รปลกู ไมย้ นื ตน้ ในดนิ เปรย้ี วใหเ้ ปดิ หน�้ ดนิ ออกกอ่ นแลว้ ขดุ ดนิ ล�่ งม�เสรมิ บรเิ วณสนั รอ่ ง และน�ำ หน�้ ดนิ เข�้ ม�อกี ครงึ่ หนง่ึ จะท�ำ ใหส้ นั รอ่ งปลกู พืชสูงขนึ้ …” “…ศกึ ษ�ก�รใช้ปูนและวัสดปุ รบั ปรุงดนิ ในพ้ืนท่พี รุที่มอี ินทรยี วตั ถสุ ูง จะช่วย ให้พชื ส�ม�รถใชธ้ �ตอุ �ห�รไนโตรเจนและแร่ธ�ตุไดเ้ พมิ่ ม�กขึน้ …” “…เร่ืองก�รศึกษ�ก�รเปลี่ยนแปลงคว�มเป็นกรดของดินกรดกำ�มะถัน ให้ ด�ำ เนินก�รศกึ ษ� แปลงท่ี ๑-๕ ต�มทก่ี รมพัฒน�ที่ดนิ เสนอ…” วันท่ี ๕ ตุลาคม ๒๕๓๕ ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ “...โครงก�รแกลง้ ดนิ นเ้ี ปน็ เหตผุ ลอย�่ งหนง่ึ ทพี่ ดู ม� ๓ ปแี ลว้ หรอื ๔ ปกี ว�่ แลว้ ต้องก�รน้ำ�ส�ำ หรบั ม�ให้ดนิ ท�ำ ง�น ดนิ ท�ำ ง�นแลว้ ดนิ จะห�ยโกรธ อันนไ้ี ม่มีใครเช่อื แล้วก็ม�ทำ�ที่นี้แล้วมันได้ผล ดังน้ัน ผลง�นของเร�ที่ทำ�ที่น่ีเป็นง�นสำ�คัญท่ีสุด เช่ือว่�ช�วต่�งประเทศเข�ม�ดูเร�ทำ�อย่�งนี้แล้วเข�ก็พอใจ เข�มีปัญห�แล้วเข� กไ็ ม่ได้แก้ ห�ต�ำ ร�ไม่ได.้ ..” “...โครงก�รปรบั ปรงุ ดนิ เปรยี้ วควรด�ำ เนนิ ก�รตอ่ ไปในแงข่ องก�รศกึ ษ�ทดลอง และก�รขย�ยผลก�รทดลองตอ้ งดอู ย�่ งน้ี ทง้ิ ดนิ เอ�ไวป้ หี นง่ึ แลว้ จะกลบั เปลยี่ นหรอื เปล�่ เพร�ะว่�คว�มเปรยี้ วมันเป็นช้นั ดนิ ทีเ่ ป็นซัลเฟอร์ (sulfur) แล้วกถ็ �้ เร�เปดิ ให้มนี ำ้� อ�ก�ศลงไป ให้เป็นซลั เฟอร์ออกไซด์ ซึ่งซัลเฟอรอ์ อกไซด์เอ�น�้ำ เข้�ไปอีกที ไปละล�ยซลั เฟอรอ์ อกไซดก์ ก็ ล�ยเปน็ ใสอ่ อกไซดล์ งไป กเ็ ปน็ กรด sulfuric acid แต่ ถ�้ สมมตุ วิ �่ เร�ใสอ่ ยตู่ ลอดเวล� ชน้ั ดนิ ทเี่ ปน็ ซลั เฟอรน์ นั้ ถกู กนั ไวไ้ มใ่ หโ้ ดนออกซเิ จน แลว้ ตอนนไี้ มเ่ พิม่ acid โดยหลกั ก�รเปน็ อย�่ งนัน้ แต่ห�กว�่ ต่อไปในแปลงต่�ง ๆ เพม่ิ ก�รทดลองอกี เมอ่ื ไดผ้ ลแลว้ ทง้ิ ไวม้ นั จะกลบั ไปสสู่ ภ�พเดมิ หรอื ไม่ แลว้ เมอื่ คว�ม เป็นกรดเพิ่มข้นึ ใหม่ จะพฒั น�ให้กลับคนื ม�สสู่ ภ�พนไ้ี ด้ ต้องใช้เวล� อ�จจะใช้เวล� สักปีเดียว ดูสภ�พว่�ปีไหนไม่ได้ใช้ดนิ มันจะเสอื่ มลงไปเท�่ ไรแลว้ จะกลับคนื ม�เร็ว เท่�ใด...” 67

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ ห่งดนิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร “...เมอ่ื มกี �รแกไ้ ขทก่ี ล�่ วม�แลว้ ก�รใชน้ �้ำ กส็ �ม�รถลดคว�มเปน็ กรดของดนิ จนส�ม�รถปลกู พชื ได้ผลดี แล้วให้ปล่อยท้งิ ไว้เพอ่ื ศึกษ�ดูว�่ ก�ำ มะถันทอี่ ยใู่ นดินจะ ทำ�ปฏิกริ ิย�กบั ออกซิเจนแล้วท�ำ ให้เกิดกรดอกี หรอื ไม่ ถ�้ เกิดกรดข้ึนม�อีกกใ็ หแ้ กไ้ ข ใหม่ดูว�่ จะใช้เวล�น�นเท�่ ไหร่...” “...ง�นทดลองน้ีเหมือนเป็นตำ�ร� ควรทำ�เป็นตำ�ร�ท่ีจะนำ�ไปใช้ในพ้ืนที่ดิน เปร้ยี วอ่นื ๆ ในพ้นื ทอ่ี ่ืนอ�จจะไม่ตอ้ งมีก�รแบง่ เป็นแปลงยอ่ ยเชน่ น้ี คันดินที่สร้�ง เพ่ือกน้ั น้�ำ กอ็ �จจะใชค้ ลองชลประท�นสร้�งถนน สะพ�น ก�รศึกษ�จึงต้องท�ำ แบบ น.้ี ..” “...ดูว่�ก�รใส่ปูนคร้ังเดียวปีแรกจะให้ประโยชน์ได้น�นเท่�ใด ก�รใช้ปูน อย่�งเดยี วคงไม่เกดิ ประโยชนม์ �ก ต้องมนี ำ้�รว่ มดว้ ย ปูนร�ค�ไมแ่ พง แต่ค�่ ขนส่ง แพง เกษตรกรลงทุนสูง และมีนำ้� เกษตรกรก็ส�ม�รถปลูกพืชได้ตลอดมีปัญห� อีกอย�่ งกค็ อื เกษตรกรข�ดแรงง�นท่จี ะหว�่ นปนู ดว้ ย...” วนั ท่ี ๙ ตุลาคม ๒๕๓๕ ณ บ้านโคกอิฐ-โคกใน ตาำ บลพรอ่ น อาำ เภอตากใบ จงั หวัดนราธวิ าส “...เร�เคยม�โคกอฐิ -โคกใน ม�ดเู ข�ชี้ตรงน้นั ๆ เข�ทำ� แตว่ ่�เข�ได้เพียง ๕ ถงั ๑๐ ถงั แตต่ อนนไี้ ดข้ นึ้ ไปถงึ ๔๐-๔๕ ถงั กใ็ ชไ้ ดแ้ ลว้ ตอ่ ไปดนิ จะไมเ่ ปรย้ี วแลว้ เพร�ะ ว่�ท�ำ ใหเ้ ปรีย้ วเต็มทีแ่ ลว้ โดยทขี่ ุดอะไร ๆ ทำ�ให้เปร้ยี วแล้วก็ระบ�ย ร้สู ึกว่�นับวัน เข�จะดขี ึ้น อนั นี้สเิ ป็นชยั ชนะทด่ี ใี จม�กที่ใชง้ �นได้แลว้ ช�วบ้�นเข�กด็ ีขึ้น แต่กอ่ น ช�วบ้�นเข�ตอ้ งซือ้ ข้�ว เด๋ียวน้เี ข�มีข�้ วอ�จจะข�ยได้…” วันท่ี ๒๘ กันยายน ๒๕๓๖ ณ บา้ นโคกอฐิ -โคกใน ตาำ บลพรอ่ น อำาเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส “...ง�นด�้ นก�รศกึ ษ�พฒั น� ใหศ้ ูนย์ศกึ ษ�ก�รพฒั น�พิกุลทองฯ จัดท�ำ แปลง ส�ธิตก�รแก้ปัญห�ดินเปร้ียวในบริเวณพ้ืนท่ีบ�้ นยูโย และบริเวณใกล้เคียง เพ่ือให้ ร�ษฎรเหน็ รูปแบบก�รปรับปรงุ คณุ ภ�พดนิ เปร้ยี วให้ส�ม�รถเพ�ะปลกู ได.้ ..” 68

เสดจ็ ฯ ไปทอดพระเนตรหนา้ ตดั ดนิ บริเวณโครงการแกลง้ ดิน ศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ อำาเภอเมอื ง จงั หวดั นราธิวาส เมอ่ื วนั ที่ ๑๔ ตลุ าคม ๒๕๓๖ วันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๓๖ ณ ศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาพกิ ลุ ทองฯ “...ก�รศึกษ�หน้�ตัดดินวิศวกรรมภ�ยในศูนย์ศึกษ�ก�รพัฒน�พิกุลทองฯ เนอื่ งจ�กดนิ พ้ืนท่ีพรุเป็นดนิ ทอ่ี อ่ นไมส่ �ม�รถรบั น้ำ�หนักได้ จ�ำ เป็นต้องมีก�รตอก เส�เขม็ ซงึ่ ชน้ั ด�นทเี่ ปน็ หนิ แขง็ จะอยลู่ กึ ม�กอ�จถงึ ๔๐ เมตร เพอ่ื ใหท้ ร�บขอ้ มลู เก่ียวกับลักษณะชั้นดินในพ้ืนท่ีพรุ รวมทั้งคว�มลึกของชั้นหิน จึงให้ขุดเจ�ะทำ� หน้�ตัดดิน เพ่ือไว้ใช้ศึกษ�หน้�ตัดดินในพื้นที่พรุอันจะเป็นข้อมูลสำ�คัญในด้�น วศิ วกรรมสำ�หรับง�นก่อสร�้ งต�่ ง ๆ ในพืน้ ทพ่ี รุ...” “...ศึกษ�ก�รเปล่ียนแปลงคว�มเป็นกรดของดินกรดกำ�มะถันโครงก�ร แกล้งดนิ ไปอีกน�น ๆ เพอื่ ติดต�มดูว่�คว�มเปน็ กรดของดนิ จะอยู่ไดเ้ ท่�ไร...” วันท่ี ๔ ตลุ าคม ๒๕๓๙ ณ อาคารบังคับนาำ้ บางเตย ๒ ตำาบลบางขนุ ทอง อาำ เภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส “...ก�รพฒั น�พืน้ ท่ดี นิ เปรี้ยวบ�้ นโคกกระท่อม ต�ำ บลพรอ่ น อ�ำ เภอต�กใบ จังหวัดนร�ธิว�ส มีนำ้�ชลประท�นดีอยู่แล้ว แต่ดินเป็นดินเปรี้ยวเกษตรกร ไมส่ �ม�รถใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ขอใหศ้ นู ยศ์ กึ ษ�ก�รพฒั น�พกิ ลุ ทอง ด�ำ เนนิ ก�รพฒั น� ในลักษณะเดยี วกบั บ�้ นโคกอิฐ โคกใน...” 69

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดนิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร วันท่ี ๖ ตลุ าคม ๒๕๓๙ ณ สนามบินนราธวิ าส จังหวัดนราธิวาส “...นำ�ผลง�นและก�รศึกษ�วิจัยก�รพัฒน�พ้ืนท่ีดินเปร้ียวจัดของศูนย์ศึกษ� ไปใช้ในก�รพัฒน� บ้�นยูโย...” ๖.๑.๑ ก�รแกไ้ ขปญั ห�ดนิ เปรยี้ วต�มแนวพระร�ชด�ำ ริ ในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวได้พระราชทานพระราชดำาริ ให้ศูนย์ ศึกษาการพฒั นาพกิ ุลทองฯ ดำาเนนิ การตง้ั แตว่ นั ท่ี ๑๖ กันยายน ๒๕๒๗ โดยทรงเรยี กการศกึ ษาวิจยั ดงั กลา่ วเพื่อแก้ไขปญั หาเรอื่ งดนิ เปรย้ี ววา่ เปน็ โครงการ “แกล้งดิน” ซึง่ พอสรุปไดด้ งั นี้ การดำาเนนิ การจัดทาำ โครงการ “แกล้งดนิ ” ดงั กล่าว เริ่มตน้ จากการศึกษาลกั ษณะของ ดนิ จนถงึ ระดบั ความลกึ ๒ เมตร ซงึ่ พบว่า ดนิ ในบรเิ วณพ้นื ทพี่ รุของศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาพิกุลทองฯ เป็นดินเหนียวท่ีพบช้ันดินเลนสีเทาปนน้ำาเงินในระดับความลึกประมาณ ๑ เมตร ซ่ึงเป็นชั้นที่มี กนสับาาำ้ แรอปชอข่รกงัะซปกิเฏจอนกิบรใิ กหยิ ำา้กามกระาดถรกเันำากทมดิ ะี่เกรถรียันดกดว(งั H่ากไ2ลพSา่Oไวร4จต)ะ์ อไ(มอFม่กeีมSด2างั )ทนสำานั้ ใะหกสร้ดมะินอบแยวปู่นรชกสั้นาภรนา้ีเ“พมแเื่อปกสล็นัมง้กดผรนิัสด”กจับัดคหออื กราือการเาปทศราำจี้ยใะหวทจด้ ำาัดนิ ปในฏแตแิก่ถปิร้าิยลมางี ทดลองดงั กล่าวแห้ง-เปียกสลบั กันไป โดยการสบู นำา้ เข้าออกตามระยะเวลาทีก่ ำาหนด เพอื่ ให้ออกซเิ จน ได้ทำาปฏิกิริยากับสารประกอบกำามะถัน การทำาให้ดินแห้งและเปียกสลับกันในช่วงเวลาต่าง ๆ กัน พระองค์ทรงเรยี กกระบวนการนวี้ า่ “เป็นก�รแกลง้ ดิน” จงึ ได้ช่อื ว่าเปน็ โครงการ “แกล้งดิน” หลงั จากการดำาเนินงาน “แกล้งดิน” มาเป็นเวลาประมาณ ๓ ปี คา่ ความเป็นกรดของ ดนิ หรอื คา่ pH ของดนิ ลดลงเหลอื ประมาณ ๓.๘-๔.๐ จากนน้ั ไดท้ ดลองปลกู พชื เศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ ปรากฏ วา่ พืชตา่ ง ๆ เชน่ ขา้ ว พชื ผัก ข้าวโพด ถ่ัว ฯลฯ ตายหมด เม่ือดินเปร้ยี วจนปลกู พชื เศรษฐกิจไมข่ ึ้น พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ไดพ้ ระราชทานพระราชดาำ รใิ นเวลา ต่อมาให้ดำาเนินการแก้ไขให้ดินดังกล่าวให้สามารถนำามาใช้ปลูกพืชเศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างย่ิงข้าว ให้ได้ ซ่งึ ผลการดำาเนินงานพอสรปุ ไดด้ ังน้ี การแก้ไขปัญหาดินเปร้ียวเพ่ือนำามาใช้ปลูกพืชมีหลักสำาคัญ ๔ ประการ ที่จำาเป็นต้อง ดำาเนนิ การ คือ ๑) ต้องควบคุมระดับน้ำาใต้ดินให้ไม่ต่ำากว่า ๑ เมตร เพื่อป้องกันไม่ให้ดินชั้นล่าง (ซง่ึ มสี ารประกอบกาำ มะถันมาก) แห้งหรือสัมผัสกบั อากาศ แลว้ ปลดปล่อยกรดกำามะถนั ออกมา ดังนั้น จึงต้องมแี หล่งนาำ้ จากระบบชลประทานเขา้ มาช่วย ๒) ใชน้ า้ำ ชลประทานชะลา้ งกรด และสารพษิ ใหอ้ อกไปจากดนิ ระยะเวลาของการชะลา้ ง ประมาณ ๒-๔ อาทติ ยต์ อ่ ครัง้ ๓) ใช้วัสดุปูนแก้ไขความเป็นกรดของดินและน้ำา วัสดุปูน ได้แก่ ปูนขาว ปูนมาร์ล ปนู โดโลไมท์ หรอื หนิ ปนู ฝนุ่ อตั ราของปนู ทใี่ สผ่ นั แปรไปแลว้ แตล่ ะชนดิ ของพชื ทปี่ ลกู และความรนุ แรง ของกรด โดยทั่ว ๆ ไปอัตราท่ใี ชอ้ ยรู่ ะหว่าง ๑-๓ ตันต่อไร่ ถ้าใชว้ สั ดุปูนควบคไู่ ปกบั การใชน้ าำ้ ชะล้าง สามารถลดปริมาณการใช้ปนู ได้มากถงึ ครึง่ หนง่ึ ของอตั ราปกติ 70

๔) ใชพ้ นั ธุพ์ ชื ทนเปรย้ี ว ตวั อยา่ งพันธ์ุขา้ วทนเปรีย้ ว : ขา้ วหอมดอกมะลิ ๑๐๕ ขา้ วปทุมธานี ๑ ข้าว กข ๓๑ กข ๔๑ กข ๔๗ กข ๔๘ และข้าวลกู แดง เปน็ ต้น ตัวอยา่ งไมผ้ ลทนเปรย้ี ว : มะม่วง ขนุน กระท้อน มะกอกนำา้ มะขาม ฝรง่ั ละมดุ มะดัน และไผ่ไตห้ วัน เป็นตน้ ตัวอย่างไม้โตเร็วทนเปรี้ยว : ข้ึนได้ดีโดยไม่ต้องปรับปรุงดิน ได้แก่ สนประดิพัทธ์ ยคู าลิปตสั กระถินเทพา สะเดา หวา้ มะฮอกกานี และเสม็ด เป็นต้น พ้ืนท่ีดินเปร้ียวหลังได้รับการปรับปรุงดิน สามารถใช้ปลูกข้าวได้เป็นอย่างดี และถ้าจะ ใชป้ ลูกพืชไร่ พืชผัก หรอื ไมผ้ ล จาำ เปน็ ตอ้ งมีการยกรอ่ ง โดยไมใ่ หเ้ อาดินลา่ งจากคูนาำ้ มาทับหนา้ ดินเดมิ บนสันร่อง มีคันดินล้อมรอบ และมีการติดตั้งเคร่ืองสูบนำ้าเพ่ือแก้ไขปัญหาเรื่องน้ำาท่วม ยิ่งไปกว่าน้ัน ดนิ เปรี้ยวหากไดร้ ับการปรับปรงุ และมแี หลง่ น้ำาชลประทานสามารถนาำ มาใชท้ าำ การเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดาำ ริได้เป็นอย่างดี สำาหรบั หญา้ เลี้ยงสตั ว์ ถ้าตอ้ งการปลกู หญ้าคณุ ภาพดจี ำาเปน็ ต้องมี การปรับปรุงดิน ส่วนการขุดบ่อเล้ียงปลาบนพื้นที่ดินเปรี้ยว จำาเป็นต้องมีการปรับปรุงคุณภาพนำ้า และดิน ปลาท่แี นะนำาให้เลี้ยง ได้แก่ ปลาดุกอยุ เทศ ปลาไน ปลานลิ และปลาตะเพยี นขาว เปน็ ตน้ ไม้โตเร็วทนเปรย้ี ว เสม็ด สะเดา มะฮอกกานี หวา้ กระถนิ เทพา ยคู าลปิ ตัส สนประดพิ ทั ธ์ กก 71

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ๖.๑.๒ ก�รนำ�ผลง�นโครงก�ร “แกล้งดิน” ไปเผยแพร่ ผลของการดาำ เนินงานของโครงการ “แกล้งดิน” ได้มกี ารนาำ เอาไปประยกุ ตใ์ ช้ในพืน้ ท่ี ของเกษตรกรซ่ึงมีปัญหาเรื่องดินเปรี้ยวมากมายหลายแห่ง โครงการนำาร่องซ่ึงเป็นโครงการแรก ตามพระราชดำาริ ได้แก่ การแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวจัดบริเวณบ้านโคกอิฐ บ้านโคกใน อำาเภอตากใบ จังหวดั นราธิวาส โดยเร่มิ ดำาเนนิ การเมอ่ื ปี ๒๕๓๓ จากผลของการดำาเนนิ งานดังกลา่ วปรากฏวา่ การพฒั นาดนิ เปร้ียวได้ประสบผลสาำ เร็จ ตามวัตถุประสงค์ท่ีตั้งเอาไว้ดังพระราชดำารัสเมื่อคราวเสด็จพระราชดำาเนินไปบ้านโคกอิฐ - โคกใน เม่อื วันท่ี ๙ ตุลาคม ๒๕๓๕ ความตอนหน่ึงว่า “...เร�เคยม�โคกอิฐ-โคกใน ม�ดูเข�ช้ีตรงนั้น ๆ เข�ทำ� แต่ว่�เข�ได้เพียง ๕ ถัง ๑๐ ถงั แตต่ อนนไ้ี ด้ข้นึ ไปถงึ ๔๐-๔๕ ถัง ก็ใชไ้ ดแ้ ลว้ ตอ่ ไปดินจะไม่เปร้ียว แล้ว เพร�ะว่�ทำ�ให้เปร้ียวเต็มท่ีแล้ว โดยท่ีขุดอะไร ๆ ทำ�ให้เปร้ียวแล้วก็ระบ�ย ร้สู ึกว�่ นับวนั เข�จะดีขน้ึ อนั นส้ี เิ ป็นชยั ชนะทด่ี ใี จม�กท่ใี ช้ง�นได้แลว้ ช�วบ้�นเข� ก็ดีข้นึ แตก่ อ่ นช�วบ�้ นเข�ต้องซอื้ ข�้ ว เดย๋ี วนีเ้ ข�มีข�้ วอ�จจะข�ยได…้ ” พ้นื ที่นาบา้ นโคกอฐิ -โคกใน ก่อนปรับปรงุ ดนิ พื้นที่นาบ้านโคกอฐิ -โคกใน หลงั ปรับปรุงดิน ปจั จุบันมีการนาำ เอาวิธกี ารปรับปรุงแกไ้ ขดนิ เปร้ยี วของโครงการ “แกลง้ ดิน” ไปใช้และ ไปถ่ายทอดเทคโนโลยีให้เกษตรกรมากมายหลายแห่งและหลายโครงการ อาทิ โครงการพัฒนา ดินเปร้ียวในพ้ืนที่ภาคใต้ โครงการพัฒนาลุ่มน้ำาปากพนังฯ จังหวัดนครศรีธรรมราช และโครงการ ชลประทานเขอ่ื นขนุ ดา่ นปราการชล จังหวดั นครนายก เปน็ ตน้ ซึ่งเรือ่ งการพัฒนาดนิ เปร้ยี วในจังหวดั นครนายก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระราชทาน พระราชดำารสั เม่ือวนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๐ ความตอนหนึง่ ว่า “...ท่ีที่เปรี้ยวน่ีก็คือที่ อำ�เภอบ้�นน� จังหวัดนครน�ยก ซ่ึงเป็นจังหวัดท่ีชื่อ “นครน�ยก” ไม่ใช่น�ยกรัฐมนตรี เป็น “น�ยก” คือว่�น�เข�ยกภ�ษี เพร�ะว่� ทุกปี ผลจะไม่ได้ตง้ั แต่สมยั เก่� แตว่ ่�ถ�้ ห�กว่�ทำ�ใหด้ ินห�ยเปร้ียวลง หรอื ห�วธิ ีท่ี จะทำ�ก�รกสิกรรมในที่เปร้ียวนี้ได้อย่�งดี อย่�งได้ผล ก็จะเป็นจังหวัดท่ีอ�จจะต้อง เปลี่ยนชื่อจังหวัด อ�จจะให้ชื่อว่� “น�สมบูรณ์” อะไรอย่�งน้ัน แต่ท่ีจังหวัด นครน�ยกนี่ มีที่น�เป็นแสนไร่ ก็ “น�ยก” ท้ังนั้น ถ้�ส�ม�รถทำ�ก�รทดลองเป็น ผลส�ำ เรจ็ เข�้ ใจว�่ จะทำ�ให้คนมีร�ยไดม้ �กขนึ้ ...” ดังน้ันเพื่อเป็นการสาธิตการพัฒนาดินเปร้ียวในพื้นที่ภาคกลาง จึงได้พระราชทาน พระราชดำาริให้จัดตั้งโครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ 72

ณ ท่ีดินของมูลนิธิชัยพัฒนา อำาเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก เม่ือปี ๒๕๔๐ ซ่ึงผลการดำาเนินงาน บรรลไุ ดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ ๖.๒ ก�รแกไ้ ขปัญห�ดนิ ทถ่ี ูกชะล�้ งพงั ทล�ยหรอื ถกู กดั กร่อน (soil erosion) การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ในทน่ี ี้ หมายถงึ การชะลา้ งพงั ทลายทเ่ี กดิ จากนา้ำ ทไี่ หลบา่ ผา่ นหนา้ ดนิ ไปตามความลาดชันเม่ือมีฝนตก ทำาให้หน้าดินถูกพัดพาหายไปหรือเกิดเป็นร่องลึกกระจัดกระจาย อยทู่ ่วั ไปในพ้นื ที่ ปัจจัยสำาคัญท่ีทำาให้ความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของหน้าดินโดยน้ำา แตกต่างกันไป ในแตล่ ะพนื้ ท่ี ไดแ้ ก่ ปริมาณน้าำ ฝนและลกั ษณะของเม็ดฝน ลักษณะดิน ลักษณะของความลาดชันหรอื ลาดเอียง ลักษณะของพืชพรรณที่ขึ้นปกคลุมดิน และการจัดการดิน โดยท่ัว ๆ ไปพื้นท่ีท่ีนำามาใช้ทำา เกษตรกรรมอย่างต่อเน่ืองเป็นระยะเวลานาน และมีการไถพรวนไม่ถูกวิธี จะเกิดการชะล้างพังทลาย มากกว่าพื้นท่ีที่มปี ่าปกคลมุ ในพน้ื ทีท่ ี่มีปัจจยั อื่นคลา้ ยคลึงกนั ลักษณะของการชะลา้ งพงั ทลายของดิน มีหลายรปู แบบ เม่ือหนา้ ดินถกู ชะลา้ งพังทลายความอุดมสมบูรณ์ของดินทีเ่ คยมจี ะหายไป ตะกอนดิน จะถกู พดั พาไปสะสมตามแหลง่ น้าำ ทำาใหน้ ำา้ มีตะกอนข่นุ สีแดงและลำาน้าำ ตน้ื เขิน การท่ลี ำานาำ้ ต่าง ๆ ใน ฤดฝู นมตี ะกอนขนุ่ สแี ดงเกดิ ขน้ึ บง่ ชวี้ า่ บรเิ วณตน้ นาำ้ ลาำ ธารมกี ารชะลา้ งพงั ทลายของดนิ เกดิ ขน้ึ จาำ เปน็ ต้องได้รับการแก้ไข และถึงแม้ว่าเหตุการณ์ดังกลา่ วจะเห็นได้ทว่ั ไปตามลาำ นำา้ ตา่ ง ๆ ในทกุ ภมู ภิ าคของ ประเทศ แตส่ งั คมกย็ งั ไม่ให้ความสนใจในการแกไ้ ขปัญหาอยา่ งจริงจงั และต่อเนอื่ ง การแกไ้ ขปัญหาดังกลา่ วตามหลักวิชาการด้านการอนุรักษด์ นิ และนำ้า สามารถกระทาำ ได้ ๒ วิธี คือ วิธกี ล และวธิ พี ชื ดงั น้ี ๑) วิธีกล (mechanical method) เป็นวิธีท่ีใช้เครื่องมือต่าง ๆ ปรับสภาพพื้นที่เพื่อให้ ความรุนแรงของการไหลบ่าของน้ำาผ่านหน้าดินลดลง เม่ือน้ำาไหลช้าลง ความรุนแรงในการชะล้าง พงั ทลายหนา้ ดนิ ของนา้ำ กจ็ ะลดลง วธิ กี ลดงั กลา่ ว ไดแ้ ก่ การไถพรวนขวางความลาดชนั กอ่ นทจี่ ะปลกู พชื การทำาคันดินขวางความลาดชันและการทำาขั้นบันไดดิน เป็นต้น การป้องกันการชะล้างพังทลาย ของดนิ ดว้ ยวธิ กี ลในแปลงของเกษตรกรของประเทศไทยมไี มม่ าก แมแ้ ตก่ ารไถพรวนขวางความลาดชนั ซ่ึงเป็นวิธีการที่ง่ายที่สุด แต่ไม่เป็นที่นิยม เพราะเกษตรกรใช้การจ้างไถพ้ืนที่ด้วยรถแทรกเตอร์ ท่ีมักจะต้องการไถในลักษณะข้ึน-ลง ตามความลาดชันของพื้นที่ เน่ืองจากทำาได้ง่ายและเสร็จเร็วกว่า การไถขวางความลาดชัน ๒) วิธพี ชื (vegetative method) เป็นวธิ ีการป้องกนั การชะลา้ งการพงั ทลายของหนา้ ดิน โดยใช้การปลูกพืช ซึ่งลงทุนน้อย เกษตรกรสามารถดำาเนินการได้ง่าย ได้แก่ การปลูกพืชคลุมดิน การปลูกพืชเป็นแนวขวางความลาดชัน หรือปลูกพืชอนุรักษ์ดินเป็นแนวหรือเป็นแถวสลับกับแถบ พืชไร่ เป็นต้น พืชอนุรักษ์ดินท่ีจะนำามาใช้ปลูกเป็นแนวขวางความลาดชันอาจเป็นพืชตระกูลถั่ว หรือตระกูลหญ้ากไ็ ด้ การใช้วิธีพืชเพ่ือป้องกันหรือแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายของหน้าดิน เป็นวิธีการสำาคัญท่ี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงสนพระราชหฤทัยและ พระราชทานพระราชดำาริแก่หน่วยงานที่เก่ียวข้องให้นำาหญ้าแฝกไปปลูกเพื่อแก้ไขปัญหาการชะล้าง พังทลายของดนิ ทวั่ ประเทศ 73

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ลักษณะของก�รชะล�้ งพงั ทล�ยของดินรปู แบบต�่ ง ๆ ผวิ ดนิ ถกู พัดพาไปกบั นา้ำ ผวิ ดนิ ถกู กดั เซาะเป็นร่อง ดินถูกกดั เซาะเป็นร่องลกึ มาก แพะเมอื งผีในจงั หวัดแพร่ เกิดจากการชะล้างพงั ทลายของดนิ อยา่ งรุนแรงในอดีต การไถพรวนขึ้นลงตามความลาดชนั การทาำ ข้นั บนั ไดดินไม่เหมาะสม ทำาให้ดินถกู ชะล้างพังทลายได้ ก็เป็นเหตใุ ห้ดนิ ชะล้างพังทลายได้ 74

ตัวอย�่ งก�รจดั ก�รดนิ โดยวิธกี ล เพื่อแกไ้ ขปญั ห�ก�รชะล้�งพังทล�ยของดนิ การไถพรวนขวางทางลาดชนั เพ่ือปลูกพชื คนั ดนิ เบนน้ำา ขั้นบนั ไดดนิ คนั ครู ับนำา้ ขอบเขา ตวั อย�่ งก�รจัดก�รดนิ โดยวิธีพชื เพอ่ื แก้ไขปัญห�ก�รชะล้�งพงั ทล�ยของดิน การปลูกพชื คลมุ ดิน (cover crop) การคลุมดนิ ดว้ ยเศษพืช (mulching) 75

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แห่งดิน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร พระร�ชท�นวธิ กี �รแก้ไขปัญห�ก�รชะล้�งพังทล�ยของดิน โดยก�รปลกู หญ้�แฝกในรปู แบบต�่ ง ๆ ซงึ่ ถือไดว้ ่�เปน็ ก�รจัดก�รดินโดยวธิ พี ชื แปลงขยายพันธขุ์ องหญ้าแฝก การหยง่ั รากลงลกึ ของหญ้าแฝก แฝกดอน แฝกลมุ่ 76

๖.๒.๑ ประมวลพระร�ชดำ�ริในก�รพัฒน�และรณรงค์ก�รใช้หญ้�แฝกอันเน่ืองม�จ�ก พระร�ชด�ำ ริ สำานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำาริ (สาำ นกั งาน กปร.) ไดร้ วบรวมพระราชดาำ รสั และพระราชดาำ รเิ กย่ี วกบั การพฒั นาและรณรงคก์ ารใชห้ ญา้ แฝก อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาำ ริ เรม่ิ แรกนบั แตว่ นั ท่ี ๒๒ มถิ นุ ายน ๒๕๓๔ จนถงึ วนั ที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๔ รวมท้งั ส้นิ ๓๐ ครัง้ ดงั นี้ ๑) วันท่ี ๒๒ และ ๒๙ มิถนุ �ยน ๒๕๓๔ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ไดพ้ ระราชทาน พระราชดำาริแก่ นายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการ กปร. ณ สวนจิตรลดา และ ณ วังไกลกังวล อาำ เภอหวั หิน จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ สรุปดงั นี้ ๑.๑) ใหศ้ กึ ษาทดลองการปลูกหญา้ แฝกเพื่อปอ้ งกนั การพังทลายของดนิ ในพื้นที่ ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ และพ้ืนที่อ่ืน ๆ ที่เหมาะสมอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะศูนย์ศึกษาการ พฒั นาหว้ ยทรายฯ และศนู ย์ศึกษาการพฒั นาเขาหินซ้อนฯ ๑.๒) การดำาเนินการศึกษาทดลองการปลูกหญ้าแฝกให้พิจารณาลักษณะ ภูมิประเทศ ซึง่ แบง่ ได้ ๒ ลกั ษณะดงั น้ี ๑.๒.๑) การปลูกหญ้าแฝกบนพ้ืนที่ภูเขาให้ปลูกหญ้าแฝกตามแนวขวาง ความลาดชันและในร่องนำ้าของภูเขาเพื่อป้องกันการพังทลายของหน้าดินและช่วยเก็บความชื้นในดิน ไว้ดว้ ย ๑.๒.๒) การปลกู หญา้ แฝกบนพน้ื ทร่ี าบให้ดาำ เนนิ การในลกั ษณะ ดงั น้ี - ปลูกโดยรอบแปลง - ปลกู ในแปลง แปลงละ ๑ หรือ ๒ แนว - สำาหรบั แปลงพืชไรใ่ หป้ ลูกตามรอ่ งสลบั กับพืชไร่ ๑.๓) ผลของการศึกษาทดลอง ควรเก็บข้อมูลท้ังทางด้านการเจริญเติบโตของ ลำาต้นและราก ความสามารถในการอนุรักษ์ความสมบูรณ์ของดิน และการเก็บความช้ืนในดิน และพันธห์ุ ญา้ แฝกตา่ ง ๆ ด้วย ๒) วันที่ ๕ กรกฎ�คม ๒๕๓๔ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พระราชทาน พระราชดำาริเก่ียวกับการอนุรักษ์ดินและนำ้าด้วยหญ้าแฝกกับ นายปราโมทย์ ไม้กลัด ผู้อำานวยการ สำานกั งานกจิ กรรมพิเศษ กรมชลประทาน และ พ.ต.อ.ธีรเดช รอดโพธ์ิทอง ผอู้ าำ นวยการโครงการศูนย์ ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ ณ วังไกลกังวล อำาเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบครี ขี ันธ์ สรุปดงั น้ี ๒.๑) ได้ทรงศึกษาการอนุรักษ์หน้าดินโดยวิธีธรรมชาติมานานแล้ว โดยพบว่า ในแต่ละพื้นที่จะเปิดหน้าดินแล้วทำาการเกษตร เช่น การยกร่องพรวนดินซ่ึงยังถือว่าเป็นวิธีการท่ี ผดิ ธรรมชาตทิ จ่ี ะเกดิ ปญั หาในอนาคต จงึ ทรงแนะนาำ ใหศ้ นู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยทรายฯ ทาำ การเกษตร 77

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แห่งดนิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร อยา่ งไม่ทาำ ลายธรรมชาติ เชน่ การไมไ่ ถพรวนเปดิ หนา้ ดนิ เปลอื ยดนิ เป็นตน้ โดยใหท้ กุ โครงการในศนู ย์ ศกึ ษาพฒั นาห้วยทรายฯ ทำาเปน็ ตวั อย่างแล้วหาทางแนะนำาใหร้ าษฎรทาำ ตามตอ่ ไป ๒.๒) ได้ทรงศึกษาเอกสารของธนาคารโลกเก่ียวกับการอนุรักษ์หน้าดินด้วย หญา้ แฝก จงึ ใหศ้ นู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยทรายฯ ทาำ การศกึ ษาทดลองปลกู หญา้ แฝกเพอ่ื อนรุ กั ษห์ นา้ ดนิ โดยปลูกและขยายพันธหุ์ ญา้ แฝกในพ้ืนทร่ี ปู แบบตา่ ง ๆ เช่น ขอบรอ่ งนาำ้ แปลงมะม่วงหิมพานต์ บรเิ วณ ที่ลาดชนั หรือตามรอ่ งน้ำาธรรมชาตินำาหินไปกนั้ เป็นฝายเล็ก ๆ แล้วปลูกหญ้าแฝกด้านหน้าหรอื ในพนื้ ท่ี ทำาการเกษตร เชน่ แปลงปลกู ขา้ วโพด เปน็ ตน้ ทงั้ นี้ ใหบ้ ันทกึ ภาพก่อนดำาเนินการและหลงั ดำาเนินการ ไวเ้ ป็นหลักฐานและใหท้ กุ โครงการในศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาห้วยทรายฯ ทาำ เป็นตวั อย่าง ๓) วนั ท่ี ๗ กรกฎ�คม ๒๕๓๔ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ เสดจ็ พระราชดาำ เนนิ ไปทอดพระเนตรโครงการพระราชดาำ ริ สวนหาดทรายใหญ่ อาำ เภอปราณบรุ ี จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ และมพี ระราชดำารสั ความตอนหนง่ึ ว่า “…ขอให้ปลูกหญ้�แฝกไว้ด้วย เพร�ะหญ้�แฝกมีประโยชน์ม�กในก�รช่วยยึด ดินไม่ให้พังทล�ยช่วยรักษ�หน้�ดิน โดยเฉพ�ะท่ีโครงก�รฯ นี้มีท่ีล�ดชันหล�ยแห่ง นอกจ�กน้ีหญ�้ แฝกยงั ชว่ ยกกั เก็บอินทรียวตั ถุไว้ในดนิ ใบอ่อนของหญ�้ แฝกยงั เปน็ อ�ห�รสัตวไ์ ดอ้ กี ดว้ ย…” ๔) วันที่ ๑๙ กมุ ภ�พนั ธ์ ๒๕๓๕ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ไดม้ พี ระราชดาำ ริ ณ โตะ๊ เสวยที่ ๑ ภายในพระตาำ หนักภูพงิ ค์ราชนเิ วศน์ อาำ เภอเมอื ง จงั หวัดเชยี งใหม่ ใหก้ องบัญชาการ ตาำ รวจตระเวนชายแดนนาำ หญ้าแฝกไปปลูกตามฐานปฏิบตั ิการตา่ ง ๆ และหมูบ่ ้านใกล้เคียง แล้วขยาย ไปปลกู ทว่ั ประเทศ เนอื่ งจากหญา้ แฝกมคี ณุ ลกั ษณะทเี่ หมาะสมในการจดั ระบบอนรุ กั ษด์ นิ โดยการปลกู เป็นแนวร้ัวกั้นตามระดับช้ัน และได้มีการศึกษาทดลองใช้อย่างได้ผลดีในประเทศแถบเอเชียหลาย ประเทศแล้ว นอกจากน้ียงั พบวา่ การปลูกหญ้าแฝกยงั สง่ ผลใหก้ ารเพาะปลูกพืชอ่ืน ๆ ระหวา่ งแนวรัว้ หญ้าแฝกไดผ้ ลผลิตมากขน้ึ ๕) วันที่ ๒๐ กมุ ภ�พันธ์ ๒๕๓๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร สมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำาเนินไปทรงติดตามการดำาเนินงานของโครงการหลวง ณ ที่ทำาการตำาบลห้วยแก้ว อำาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และเสด็จพระราชดำาเนินไปทอดพระเนตรแปลงรวบรวมพันธุ์หญ้าแฝก ซงึ่ ไดเ้ กบ็ รวบรวมพันธุพ์ น้ื เมอื งจากท้องถ่ินตา่ ง ๆ ในประเทศ รวมท้งั ของต่างประเทศ และพนื้ ทที่ ดลอง ปลูกหญ้าแฝกขวางรอ่ งนำา้ เพอื่ ลดความแรงของน้าำ และสะสมอนิ ทรียวตั ถบุ ริเวณหน้าแถวหญ้าแฝก หลังจากนั้นทั้งสามพระองค์ได้เสด็จ ฯ ไปทอดพระเนตรแปลงขยายพันธุ์หญ้าแฝก 78

แปลงรวบรวมพนั ธุ์หญ้าแฝก ณ สาำ นกั งานพฒั นาทด่ี ินเขต ๖ จงั หวดั เชยี งใหม่ ซ่งึ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ไดพ้ ระราชทานพระราชดาำ ริ ดังนี้ ๕.๑) หญ้าแฝกเป็นพืชที่มีระบบรากลึก แผ่กระจายลงไปในดินตรง ๆ เป็นแผง เหมอื นกำาแพงช่วยกรองตะกอนดนิ และรกั ษาหน้าดินไดด้ ี จึงควรนำามาศกึ ษาและทดลองปลูก ๕.๒) การปลูกหญา้ แฝก ควรปลกู เป็นแถวเด่ียว ระยะระหวา่ งตน้ ตา่ งกัน ๑๐-๑๕ เซนตเิ มตร ทำาให้ไมเ่ ปลืองพืน้ ท่ี ดูแลรกั ษางา่ ย ควรทาำ การทดลองปลกู ในร่องนา้ำ และบนพนื้ ท่ลี าดชัน ใหม้ ากเพอ่ื ปอ้ งกนั การชะลา้ งพังทลายของดิน ๕.๓) การปลูกหญ้าแฝกเป็นแนวความคิดใหม่ ควรปลูกโดยไม่ต้องหวังผลอะไร มากนกั แตผ่ ลทไี่ ดจ้ ะดมี าก และการปลกู ไมจ่ าำ เปน็ ตอ้ งไปปลกู ในทข่ี องเกษตรกร ขอใหป้ ลกู กนั ในสถานี พฒั นาทด่ี นิ เพอ่ื เปน็ แบบอยา่ งเพอ่ื คดั พนั ธห์ุ าพนั ธท์ุ ดี่ ที ไี่ มข่ ยายพนั ธโ์ุ ดยการออกดอก ตอ้ งดวู า่ ปลกู แลว้ มพี ันธุไ์ หนที่ทนแลง้ ในหนา้ แลง้ ยังเขยี วอยกู่ ใ็ ชไ้ ด้ โดยขอใหป้ ลกู ก่อนฤดฝู นจะทาำ ให้เกษตรกรในพืน้ ท่ี ขา้ งเคยี งเห็น ๖) วันที่ ๒๔ กุมภ�พันธ์ ๒๕๓๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำาเนินไปทรงติดตาม การดำาเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ อำาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โดยมนี ายสเุ มธ ตนั ติเวชกุล เลขาธิการ กปร. นายปราโมทย์ ไม้กลัด ผูเ้ ช่ยี วชาญพเิ ศษ ด้านการจัดสรรน้าำ 79

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แห่งดนิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร เสดจ็ ฯ ไปพืน้ ทีแ่ ปลงปลกู หญ้าแฝก ณ สถานีพฒั นาทดี่ นิ เชียงใหม่ สพข. 6 จงั หวัดเชยี งใหม่ เมื่อวันท่ี ๒๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๑ และปรับปรุงบำารุงรักษา กรมชลประทาน และนายพิมลศักด์ิ สุวรรณทัต ผู้ช่วยเลขาธิการ กปร. เข้าเฝ้า ฯ รับเสด็จถวายงาน ในการน้ี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงปลูกหญ้าแฝกในแปลงทดลองของศูนย์ฯ และไดพ้ ระราชทานพระราชดาำ ริ โดยสรปุ ดงั นี้ ๖.๑) ใหด้ าำ เนนิ การปลกู หญา้ แฝก ซง่ึ จะชว่ ยทงั้ การอนรุ กั ษด์ นิ และนาำ้ โดยรากของหญา้ แฝก จะอมุ้ นา้ำ ไวซ้ งึ่ จะชว่ ยใหเ้ กดิ ความชมุ่ ชน้ื ในดนิ อนั จะสามารถปลกู พชื อนื่ ๆ เชน่ ขา้ วโพดหรอื ตน้ ไมย้ นื ตน้ อ่ืน ๆ ในบริเวณท่ปี ลูกหญ้าแฝกได้ และคณุ ลักษณะอกี อย่างหนง่ึ ของหญา้ แฝกก็คอื หญา้ แฝกจะเปน็ ตวั กกั เกบ็ ไนโตรเจนและกำาจดั สิง่ เป็นพิษหรือสารเคมอี ่นื ๆ ไมใ่ ห้ไหลลงไปยงั แมน่ า้ำ ลาำ คลอง โดยกักให้ ไหลลงไปใตด้ นิ แทน ๖.๒) ให้ดาำ เนินการศกึ ษาและคดั เลอื กพนั ธทุ์ ี่เหมาะสมกับสภาพพนื้ ท่ไี ปพรอ้ ม ๆ กันเพอ่ื ที่ จะไดน้ าำ ไปสง่ เสริมและขยายพนั ธท์ุ อ่ี ่นื ๆ ตอ่ ไป โดยเฉพาะตามไหลเ่ ขาที่จะมีการพังทลายของดินมาก เช่น ที่โครงการศึกษาวิธีการฟื้นฟูที่ดินเส่ือมโทรมเขาชะงุ้มฯ และที่วัดญาณสังวรารามก็ควรจะปลูก เช่นกัน และทรงแนะนำาวิธีการปลูกว่าควรปลูกหญ้าแฝกก่อนหน้าฝนประมาณ ๓ เดือน เพ่ือที่จะให้ ต้นหญ้าแฝกแข็งแรงพอท่ีจะทนต่อความแรงของน้ำาในหน้าฝนได้ และยังทรงให้ศึกษาทดลองการ ปลกู หญา้ แฝกในรอ่ งนาำ้ ในลกั ษณะทเ่ี ปน็ ฝายชะลอนา้ำ ดว้ ย ตลอดจนทส่ี งู ชนั รมิ ถนนทเ่ี หน็ ดนิ เปลอื ยอยู่ ใหน้ าำ หญา้ แฝกไปปลกู เพ่อื ป้องกนั ดินพงั ทลายด้วย 80

๗) วันท่ี ๑๙ มีน�คม ๒๕๓๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดำาเนินไปทรงเยี่ยมชมศูนย์พัฒนา การเกษตรทีส่ ูงปางตอง ตาำ บลหมอกจาำ แป่ อาำ เภอเมอื ง จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน ในการนพ้ี ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ไดพ้ ระราชทานพระราชดำาริ ในส่วนของการปลูก หญ้าแฝกเพ่ือการอนุรักษ์ดินและน้ำา ให้พิจารณาปลูกก่อนหน้าฝนสัก ๓ เดือน ในกรณีท่ีพื้นท่ีมีน้ำา พอที่จะมารดต้นหญ้าแฝก เพราะจะทำาให้หญ้าแฝกแข็งแรงเมื่อถึงหน้าฝนจะทนต่อความแรงของนำ้า ในหน้าฝนได้ ๘) วนั ที่ ๑๔ พฤษภ�คม ๒๕๓๕ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ไดพ้ ระราชทาน พระราชดาำ รกิ บั รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ณ พระตาำ หนกั จติ รลดารโหฐาน ซง่ึ มสี าระ สำาคญั ดงั น้ี ๘.๑) ให้เร่งดำาเนินการปลูกหญ้าแฝกให้ครอบคลุมทั่วประเทศไทยภายใน ๒ ปี ถงึ แม้การดาำ เนนิ งานอาจจะสนิ้ เปลอื งงบประมาณบ้างกค็ วรได้ดำาเนนิ การ ๘.๒) การคัดเลอื กพันธุ์หญา้ แฝกควรเปน็ พนั ธุ์ทีไ่ มส่ ามารถขยายพันธุด์ ว้ ยเมลด็ ๘.๓) วธิ กี ารปลกู เมื่อแยกหน่อควรมรี ากประมาณ ๑๕ เซนติเมตร เมอื่ นาำ ไปปลูก ในพน้ื ที่ไม่จำาเปน็ ตอ้ งตัดถงุ เพราะรากหญา้ แฝกจะสามารถขยายมานอกถุงได้ ๘.๔) การปลกู หญา้ แฝกควรปลูกท้ังในพื้นทเี่ พ่ือการเกษตร ขอบสระหรอื แหลง่ น้าำ ในบรเิ วณพ้นื ทีป่ า่ ไม้ ตลอดจนสามารถปลูกในบริเวณทเ่ี ป็นร่องนาำ้ เพ่อื กรองตะกอนดนิ ไม่ให้ไหลไปสู่ แหล่งเกบ็ นา้ำ และรากหญา้ แฝกซงึ่ หนาแนน่ จะมสี ่วนในการเก็บความชุ่มชืน้ ในดนิ ได้ ๘.๕) สาำ หรบั โครงการศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยทรายฯ ใหด้ าำ เนนิ การปลกู ในบรเิ วณ หม่บู ้านมุสลิมเปน็ แนวเพือ่ เพ่ิมปริมาณของหน้าดนิ สำาหรับโครงการศึกษาวธิ ีการฟน้ื ฟูที่ดนิ เสือ่ มโทรม เขาชะงุ้มฯ ให้ดำาเนินการปลูกในส่วนบนท่ีติดกับเขาเขียว โดยให้ปลูกติดกันเป็นแถวเดียว โดยให้ นาำ หนา้ ดนิ มาใสเ่ พิ่มเติมในระยะตน้ เมอ่ื หญา้ แฝกข้ึนดีแลว้ จะชว่ ยเพ่ิมปรมิ าณหนา้ ดินได้ ๙) วนั ที่ ๘ มถิ ุน�ยน ๒๕๓๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จ พระราชดำาเนินไปทรงเย่ียมโครงการศึกษาวิธีการฟื้นฟูท่ีดินเส่ือมโทรมเขาชะงุ้มฯ ท่ีอำาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้ พระราชทานพระราชดาำ ริ สรปุ ดังน้ี ๙.๑) การคัดเลือกพันธุ์หญ้าแฝกน้ัน เป็นสิ่งสำาคัญท่ีควรระมัดระวังอย่างมาก ควรเลอื กพนั ธท์ุ ไ่ี มส่ ามารถกระจายพนั ธไ์ุ ดโ้ ดยเมลด็ เพราะถา้ เปน็ พนั ธท์ุ แ่ี พรก่ ระจายโดยทางเมลด็ แลว้ จะเปน็ อันตราย ๙.๒) การปลกู หญ้าแฝกในพ้นื ท่ีเกบ็ กกั นำ้าของอา่ งเก็บน้ำา ควรปลกู ตามแนวระดับ โดยรอบอา่ งเกบ็ นาำ้ จาำ นวน ๓ แนว คอื 81

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ ห่งดิน พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร - แนวท่ี ๑ ปลกู ตามแนวระดบั สูงเทา่ กับระดับเก็บกกั นำา้ - แนวท่ี ๒ ปลกู ตามแนวสงู กว่าระดบั เก็บกักน้าำ ๒๐ เซนตเิ มตร - แนวท่ี ๓ ปลูกตามแนวตา่ำ กวา่ ระดบั เก็บกกั น้าำ ๒๐ เซนติเมตร (เพราะวา่ นำ้ามักจะถึงระดบั เก็บกกั ) การปลูกหญ้าแฝกเป็นแนวรอบพ้ืนที่เก็บกักนำ้า จะให้ประโยชน์อย่างน้อย ๒ ประการ คอื ๙.๒.๑) ป้องกันดินพังทลายลงไปในอ่างเก็บนำ้า ทำาให้อ่างเก็บน้ำาไม่ต้ืนเขิน และถา้ ตอ้ งการขดุ ดนิ ในอา่ งไปใชป้ ระโยชนก์ ส็ ามารถนาำ เครอื่ งจกั รวง่ิ ขา้ มแนวหญา้ แฝกไปขดุ ไดเ้ พราะ หญ้าแฝกจะไมต่ าย ๙.๒.๒) การปลูกหญ้าแฝกเปน็ แนวรอบ ๆ อา่ งเก็บนา้ำ จะช่วยรกั ษาหน้าดนิ เหนืออ่าง ทำาให้ดินอุดมสมบูรณ์ข้ึนอันจะเป็นการช่วยให้ป่าไม้ในบริเวณพื้นท่ีรับนำ้าสมบูรณ์ขึ้นอย่าง รวดเรว็ ๙.๓) ควรทดลองปลูกในดินที่มีช้ันดานลงไปเล็กน้อยแล้วปลูกหญ้าแฝก และ หลังจากน้ันปล่อยให้หญ้าแฝกเจริญเตบิ โตเปน็ ระยะเวลา ๒-๓ ปี จงึ ศกึ ษาวา่ รากสามารถชอนไชผา่ น ชั้นดาน (หรือระเบิดดาน) ไปไดเ้ พียงใด ๙.๔) การปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการกัดเซาะของน้ำาในร่องน้ำาให้พิจารณา ดำาเนนิ การ ดังนี้ ๙.๔.๑) ในกรณีท่ีร่องนำ้ามีขนาดกว้างและลึก ให้ปลูกหญ้าแฝกในลักษณะ ตัววีคว่ำาในร่องนาำ้ แลว้ ปลูกตอ่ เป็นแนวยาวไปตามเส้นชนั้ ความสูงในลักษณะกา้ งปลา โดยมรี ะยะหา่ ง ระหว่างแถวตามแนวต้ัง ๑ เมตร เพ่ือชะลอการกัดเซาะร่องนำ้า และกระจายน้ำาให้ไหลซึมลงในดิน หน้าแนวหญ้าแฝก ๙.๔.๒) ปลูกเป็นแนวตรงขวางร่องน้ำา เพื่อช่วยในการเก็บกักตะกอน ไว้ในรอ่ งน้ำา จนในที่สุดร่องนาำ้ ก็จะมีดนิ ตะกอนทบั ถมจนเตม็ ๙.๕) ควรทดลองปลูกหญ้าแฝกในบริเวณท่ีมีหญ้าคาระบาด เพ่ือศึกษาดูว่า หญ้าแฝกจะสามารถควบคุมหญ้าคาได้หรือไม่ วิธีการปฏิบัติก็คือปลูกหญ้าแฝกล้อมรอบหญ้าคา หลังจากที่หญ้าแฝกต้ังตัวดีแล้ว ให้จุดไฟเผาหญ้าคา เพื่อดูว่าหญ้าแฝกสามารถป้องกันไฟลุกลาม ไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด ๙.๖) ควรปลกู หญา้ แฝกลอ้ มรอบไมผ้ ล ซงึ่ จะสามารถปอ้ งกนั ไมใ่ หด้ นิ รอบ ๆ ตน้ ไม้ เปน็ หลุม ในขณะเดียวกันก็สามารถตดั ใบหญ้าแฝกคลุมดนิ เพอื่ รกั ษาความชุ่มชื้นให้แก่ไมผ้ ลได้ ๙.๗) การปลกู หญา้ แฝกในแปลงทเ่ี พาะปลกู พชื สามารถทำาไดห้ ลายรูปแบบ เช่น - ปลกู โดยรอบแปลง - ปลกู ในแปลง แปลงละ ๑ หรือ ๒ แถว - สาำ หรบั แปลงพชื ไร่ให้ปลกู ตามร่องสลับกับพืชไร่ ๙.๘) การปลกู หญา้ แฝกบนพน้ื ทภ่ี เู ขา ใหป้ ลกู ตามแนวขวางของความลาดชนั และ ในรอ่ งนาำ้ ของภูเขาเพ่อื ป้องกนั การพงั ทลายของหน้าดินและชว่ ยเก็บความชืน้ ของดนิ 82

๑๐) วันท่ี ๖ กรกฎ�คม ๒๕๓๕ 83 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำาเนินไปทรงเยี่ยมโครงการพระราชดำาริ สวนหาดทรายใหญ่ ทอดพระเนตรแปลงขยายพันธุ์หญ้าแฝกบนพ้ืนท่ีภูเขา และได้พระราชทาน พระราชดาำ ริ สรุปไดด้ งั น้ี ๑) ควรปลูกให้ชิดกว่านี้เพราะยังไม่แน่ใจว่าหญ้าแฝกที่ปลูกอยู่เป็นพันธุ์อะไร และมี ลกั ษณะอยา่ งไร ตอ่ จากนนั้ ไดท้ รงปลกู หญา้ แฝกในแปลงทดลองทไ่ี ดเ้ ตรยี มไว้ โดยใชพ้ นั ธท์ุ ร่ี วบรวมจาก เขาเต่า ๒) หลังจากนั้นอีก ๕ วัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้มีรับสั่งให้ผู้เชี่ยวชาญด้านหญ้าแฝกมาตรวจสอบหญ้าแฝกท่ีโครงการฯ ผลการ ตรวจสอบปรากฏว่า พันธุ์พ้ืนเมืองท่ีปลูกอยู่เป็นพันธุ์ท่ีดีมาก จึงมีพระราชดำาริให้ขยายเพิ่มเติม เพ่ือท่ีจะใหพ้ นื้ ทอ่ี ืน่ ๆ นาำ ไปปลูกต่อไป ๑๑) วนั ที่ ๒๒ กรกฎ�คม ๒๕๓๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร เสดจ็ พระราชดำาเนิน ไปทอดพระเนตรโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย ฯ อำาเภอชะอำา จังหวัดเพชรบุรี ทรงปลูกหญ้าแฝกบริเวณพ้ืนที่แปลงทดลองปลูกหญ้าแฝกท้ายอ่างเก็บน้ำา และได้พระราชทาน พระราชดาำ รกิ บั ขา้ ราชการท่เี ฝ้า ฯ รับเสดจ็ สรุปดงั น้ี ๑) ควรเร่งปลูกหญ้าแฝกให้มาก ๆ เพราะหญ้าแฝกมีคุณสมบัติพิเศษในการอนุรักษ์ดิน หลายประการ โดยเฉพาะดนิ ทมี่ ีโครงสร้างแขง็ ดงั เชน่ ท่ีห้วยทรายนี้ หญ้าแฝกจะทำาหนา้ ท่เี ปน็ เขอื่ นที่ มีชวี ิตที่จะชว่ ยทาำ ใหด้ ินมีความช่มุ ช้นื และอดุ มสมบรู ณม์ ากขนึ้ ๒) ในการปลกู หญา้ แฝกตามแนวลาดเอยี ง ควรใหแ้ ตล่ ะแถวหา่ งกนั มากขน้ึ ประมาณ ๑-๒ เมตร ตามแนวดงิ่ เพอื่ ประหยัดหน่อพนั ธ์ุ แต่ควรปลกู ชิด ๆ กัน เพื่อใหห้ ญา้ แฝกมผี ลเร็วขึ้น ถ้าจะปลกู ไม้ผลควรปลูกหญ้าแฝกเปน็ รปู ครึ่งวงกลมล้อมตน้ ไม้ผลคล้ายฮวงซุ้ย ๓) ควรปลูกหญ้าแฝกเหนือแหล่งน้ำา เพ่ือเป็นแนวป้องกันตะกอนและดูดซับสารเคมี ตลอดจนของเสยี ตา่ ง ๆ ทไี่ หลลงในแหลง่ นา้ำ เพราะหญา้ แฝกจะดดู ซบั สารพษิ ตา่ ง ๆ ไวใ้ นรากและลาำ ตน้ ได้นานจนสารเคมีน้นั สลายตวั เปน็ ปุ๋ยสำาหรบั พืชต่อไป ๑๒) วันท่ี ๒๘ สงิ ห�คม ๒๕๓๖ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทาน พระราชดำารัสแก่นายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการ กปร. ณ พระตำาหนักจิตรลดารโหฐาน ความตอนหนงึ่ ว่า “…ก�รปลูกหญ�้ แฝกถ้�ปลกู เปน็ กอใหญ่และห่�งประม�ณ ๑๕ เซนติเมตร ถ้� ปลูกใกล้ ๆ คอื ๒ - ๓ เซนตเิ มตร และใช้กอเล็กกจ็ ะเชอื่ ว่�เม่อื เติบโตมักจะปดิ แถว ได้ดีกว่� คว�มส้ินเปลืองของหญ้�แฝกก็อ�จจะน้อยกว่� หลังจ�กปลูกก็จะติดกันได้ ผลภ�ยในไมก่ เ่ี ดอื น แตอ่ ย�่ งกอทปี่ ลกู ห�่ งกว�่ จะไดผ้ ลก็ ๒ ปี เพร�ะฉะนน้ั ไมท่ นั ก�รณ์ ท่ีดอยตุงน้ันเพ�ะปลูกหน�ม�กจึงส้ินเปลืองม�กแต่เป็นก�รทดลองหวังผลรวดเร็ว

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดนิ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร สรุปได้ว�่ ต้องทำ�กอเล็กลงไปหน่อยแลว้ กป็ ลกู ใหใ้ กลแ้ ละชดิ กัน สำ�หรับระยะห�่ ง ของแต่ละแถว แต่เป็นแนวล�ดเท ๒ เมตรต่อแถว แล้วก็อยู่บนและตำ่�ลงม� สอ่ งระดบั ลงม�ใหไ้ ดร้ ะดบั ๒ เมตร กอ็ �จจะไมถ่ งึ ๒ เมตรกไ็ ด้ ประม�ณ ๑.๕๐ เมตร สะดวกกว่� เพร�ะประม�ณคว�มสูงของคนซึ่งถ้� ๒ เมตร ต้องเขย่งส่อง แต่ถ้�ส่องระดับนี้ก็จะสะดวกกว่�ทำ�แถวให้ได้ขน�นกับท�งเทแล้วก็อีกแถว ลงม�จะส่องได้พอดี เดินสอ่ งไดส้ ะดวก...” ๑๓) วันท่ี ๑๕ กรกฎ�คม ๒๕๓๙ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสดจ็ พระราชดาำ เนิน พรอ้ มด้วยสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไปทอดพระเนตรการดำาเนนิ โครงการ ศึกษาวิธีการฟื้นฟูท่ีดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้มฯ อำาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ได้พระราชทาน พระราชดำาริเก่ียวกบั หญ้าแฝก (เพิ่มเติม) กับ นายสเุ มธ ตนั ติเวชกุล นายจริย์ ตุลยานนท์ นายสวสั ดิ์ วัฒนายากร นายรุ่งเรือง จุลชาต นายปราโมทย์ ไม้กลัด นายสิทธิลาภ วสุวัต นายสิมา โมรากุล นายพยุง นพสุวรรณ และขา้ ราชการท่ีรอรับเสด็จ สรปุ ดังน้ี ๑๓.๑) ทรงเน้นถึงระยะปลูกหญ้าแฝก ควรปลูกให้ชิด โดยให้ระยะห่างระหว่างต้น ๕ เซนตเิ มตร ๑๓.๒) การปลกู หญา้ แฝกเพอ่ื รกั ษาความชมุ่ ชน้ื ในดนิ ใหแ้ กไ่ มผ้ ลและไมย้ นื ตน้ ในลกั ษณะ เปน็ แนววงกลมรอบโคนตน้ ไมน้ นั้ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หารากของหญา้ แฝกทม่ี จี าำ นวนมากเกนิ ไป จะแยง่ อาหารจากตน้ ไม้ อนั จะเปน็ การสกัดก้นั การเจรญิ เติบโตของตน้ ไมท้ ่ปี ลกู ใหเ้ ปลยี่ นเปน็ การปลกู เป็น แบบครึ่งวงกลมด้านล่างของความลาดชัน เพื่อแก้ไขปัญหานี้ เพื่อช่วยให้หญ้าแฝกได้ทำาหน้าที่รักษา ความช่มุ ช้นื ในดนิ ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพตอ่ ไป ๑๓.๓) การวางแนวปลกู หญา้ แฝกแบบรูปตวั วีควำ่า (^) เพ่อื แกไ้ ขการเกดิ รอ่ งน้ำาแบบลึก ทเ่ี กิดจากการกดั เซาะของนาำ้ (gully erosion) ให้ปลกู หญา้ แฝกตามแนวระดบั พาดผ่านรอ่ งนา้ำ และ ใหร้ ะดบั ของแนวหญ้าแฝกตอนบน (ปลายแหลมของตัววคี ว่าำ ) มีระดับสูงกว่าด้านลา่ ง เมอื่ น้าำ ไหลลง มาตามความลาดเทของพน้ื ทมี่ าถงึ แนวหญา้ แฝก ซงึ่ จะชว่ ยลดการกดั เซาะในรอ่ งนา้ำ และจะชว่ ยใหเ้ กดิ การทับถมของตะกอนในร่องน้าำ ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ๑๓.๔) ให้ทดลองปลูกหญ้าแฝกโดยใช้สว่านเจาะดิน เจาะลึกลงไปในช้ันของดินลูกรัง จากนั้นให้ใช้ดินดีใส่ในหลุมท่ีสว่านเจาะแล้ว จึงปลูกหญ้าแฝก รากหญ้าแฝกจะเจริญเติบโตหย่ังลึก ลงไปในชนั้ หินลูกรงั ไดด้ ียิง่ ๑๓.๕) ให้พิจารณาปลูกหญ้าแฝกในพ้ืนท่ีโครงการศึกษาวิธีการพ้ืนฟูท่ีดินเส่ือมโทรม เขาชะงุ้มฯ ให้ทัว่ พื้นท่ี ๑๔) วนั ที่ ๖ สิงห�คม ๒๕๓๙ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พร้อมด้วย สมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ และสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จพระราชดำาเนินไปทรงตรวจเยี่ยมผลการปฏิบัติงาน ในพ้ืนท่ีโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนา ห้วยทรายฯ จังหวัดเพชรบุรี ได้พระราชทานพระราชดำาริเก่ียวกับหญ้าแฝก (เพ่ิมเติม) กับ นายสุเมธ ตันติเวชกุล นายประวิทย์ ทับทิมอ่อน นายชัยชาญ ชโลธร และข้าราชการที่รอรับเสด็จ สรปุ ดังนี้ 84

๑๔.๑) การปลกู หญา้ แฝก ถา้ ปลกู แนวชดิ กนั มาก ๆ หรอื ปลกู รอบโคนไมผ้ ลเปน็ แบบวงกลม ถ้าปลูกใกลต้ น้ ไม้มากเกินไป จะทาำ ให้ตน้ ไมข้ าดนำา้ เพราะหญา้ แฝกใช้น้ำามากและน้ำาจะซมึ หารากไม้ผล ได้ยาก เพราะรากหญา้ แฝกก้ันไว้ ท่ีปลกู ไว้เป็นครึง่ วงกลมและกอชิดกนั นนั้ ถูกต้องแลว้ ๑๔.๒) บรเิ วณพนื้ ทป่ี ลกู ปา่ เชงิ เขาทองอยา่ ทาำ แบบปอกเปลอื ก ปยุ๋ จากเขาจะลงมา ดนิ และ นา้ำ จากเขาจะลงมา ควรตอ่ ขยายแนวหญา้ แฝกออกไปอกี ควรปลกู เปน็ รปู ตวั วคี วาำ่ (^) ในไมช่ า้ กจ็ ะเตม็ ร่อง ในท่เี ปน็ รอ่ งนำ้าลึกควรทาำ คนั ดนิ หรอื คนั หนิ ขวางนาำ้ กอ่ น เพื่อทำาเปน็ ฝายชะลอนำ้า อยา่ ปลกู ลงไป ในร่องน้าำ โดยตรง นอกจากนัน้ พื้นทีร่ ะหวา่ งแถวหญา้ แฝกดนิ จะมีคณุ ภาพดีข้นึ นา่ จะใหเ้ กษตรกรปลูก พืชลม้ ลกุ ทง้ั น้ี การปลกู หญา้ แฝกโดยใชส้ วา่ นเจาะดนิ ซงึ่ ไดใ้ ชส้ วา่ นเจาะดนิ แบบมอื หมนุ เจาะ เป็นบางสว่ นที่เขาชะงุ้มฯ ขุดใหเ้ ปน็ รอ่ ง เพ่ือให้รากหญา้ แฝกชอนไชไปในดิน - วิธีการปลูกหญ้าแฝกแซมในช่องว่างแนวรั้วหญ้าแฝกในพ้ืนท่ีดินดาน ให้ใช้สว่าน เจาะตามแนวชอ่ งว่าง โดยใส่ปยุ๋ หมกั ลงไปตามรอ่ ง - ควรใชก้ รรไกรตดั หญา้ แฝกให้มคี วามสูงประมาณ ๓๐ เซนติเมตร ดินทอ่ี ยรู่ ะหว่าง แถวหญ้าแฝกจะอดุ มสมบรู ณ์เตม็ ไปด้วยธาตอุ าหาร ซ่ึงควรปลกู พชื ลม้ ลกุ หรือไมผ้ ลแซม ๑๔.๓) การปลูกหญ้าแฝกเพื่อแก้ไขช่องว่างระหว่างแนวรั้วหญ้าแฝก ให้ปลูกโดยการ ขุดเป็นร่องตามแนวช่องว่าง และใช้ดินผสมปุ๋ยหมักใส่ในร่องแล้วปลูกหญ้าแฝกให้ชิดติดกัน ระยะห่างไม่เกิน ๕ เซนติเมตร ตามแนวช่องว่างแล้วให้ตัดใบหญ้าแฝกหัวท้ายช่องว่างให้เหลือ ๓๐ เซนติเมตร เพือ่ ให้หญ้าแฝกทีป่ ลูกใหมไ่ ดร้ ับแสงแดด ควรให้นาำ้ อย่างสมำา่ เสมอจนกวา่ หญ้าแฝกจะ ต้ังตัวได้ ดินที่ทับถมเหนือแนวร้ัวหญ้าแฝกเป็นดินท่ีดีมาก ดินลึกถึง ๓๕ เซนติเมตร ขอให้เร่งรัด หญา้ แฝกแก้ไขช่องว่างเพื่อใหแ้ นวรัว้ หญ้าแฝกมีประสิทธิภาพจะเปน็ การช่วยให้ดนิ ดียง่ิ ขึน้ ๑๕) วันที่ ๓ เมษ�ยน ๒๕๔๐ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดำาเนิน ไปทอดพระเนตรการดำาเนินงานโครงการศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ ดงั นี้ ๑๕.๑) จดุ เสด็จ ฯ ที่ ๑ งานศึกษาทดลองการใชป้ ระโยชนห์ ญ้าแฝก เพอื่ พัฒนาดินดาน ท้ายอา่ งเกบ็ นา้ำ ห้วยทรายฯ ได้พระราชทานพระราชดาำ ริ ดงั นี้ - ให้หาวธิ เี จาะลงไปในช้ันดินดานแล้วนาำ ดนิ ทม่ี ีความรว่ นซุยใสล่ งไปในหลุมสำาหรับ ปลกู หญา้ แฝก เพ่อื ใหร้ ากหญา้ แฝกสามารถทะลดุ ินดานไปได้ หญา้ แฝกจะนาำ ความชื้นไประเบิดดินให้ รว่ นซยุ มากขึน้ - ให้ทดลองปลูกหญ้าแฝกเป็นแถวตามแนวระดับระยะห่างระหว่างต้นประมาณ ๕ เซนตเิ มตร เพ่อื ปอ้ งกนั การชะลา้ งของหนา้ ดิน และชว่ ยทาำ ให้เกิดหนา้ ดนิ มาทบั ถมกนั บริเวณแนวรัว้ หญา้ แฝกซ่ึงต่อไปจะใชด้ นิ ทำาการเพาะปลกู ได้ - การปลกู หญา้ แฝกลอ้ มรอบตน้ ไมค้ วรปลกู แบบฮวงซยุ้ (ครงึ่ วงกลม) เพอื่ ชว่ ยเกบ็ กกั ความชื้นใหแ้ กต่ น้ ไม้ 85

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ๑๕.๒) จุดเสด็จ ฯ ที่ ๒ งานอนุรักษ์ดินและนำ้าบริเวณลุ่มน้ำาเขาบ่อขิงได้พระราชทาน พระราชดำาริ ดงั นี้ - ให้ปลูกป่าและหญ้าแฝกตามแนวระดับเม่ือเวลาฝนตกลงมา จะพัดพาเศษใบไม้ มาติดอยู่ที่แนวหญ้าแฝกเป็นการทำาให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ โดยกรมป่าไม้มีหน้าที่ปลูกป่า และ กรมพัฒนาท่ีดินมีหน้าท่ีปลูกหญ้าแฝก ซึ่งศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ จะเป็นหน่วยงานกลาง ทีป่ ระสานใหท้ ้ัง ๒ หน่วยงานร่วมกนั ดำาเนินการ ๑๖) วนั ที่ ๒๓ เมษ�ยน ๒๕๔๐ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร เสด็จพระราชดาำ เนิน ไปทอดพระเนตรการดาำ เนนิ งานโครงการศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาเขาหนิ ซอ้ นฯ ไดพ้ ระราชทานพระราชดาำ ริ สรปุ ดังน้ี ๑๖.๑) จุดเสด็จ ฯ ท่ี ๑ บนสนั เข่ือนอ่างเกบ็ นาำ้ ห้วยเจ๊ก สรุปได้ดังน้ี เร่ืองการปลูกหญ้าแฝกรอบขอบแนวป่าไม้เพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของ หน้าดิน เศษใบไม้ท่ีร่วงหล่นจะช่วยทำาให้ดินมีการพัฒนาที่ดีขึ้น เม่ือใบไม้ย่อยสลาย ส่วนหญ้าแฝกท่ี ปลูกในระหว่างไมย้ ืนต้นจะไมต่ าย แตช่ ะงักการเจรญิ เตบิ โตระยะหนึ่ง เม่อื มีการตัดไมอ้ อกหญา้ แฝกก็ จะเจรญิ ไดอ้ กี ครง้ั ใหป้ ลกู หญา้ แฝกในดนิ ดาน โดยระเบดิ ดนิ ดานเปน็ หลมุ แลว้ ปลกู หญา้ แฝกลงในหลมุ เพื่อดันชน้ั ดนิ ดานให้แตกสามารถดักตะกอนตลอดจนใบไม้ทำาใหเ้ กิดดนิ ใหม่ขน้ึ ๑๖.๒) จุดเสด็จ ฯ ที่ ๒ ณ ศาลาทรงงานบริเวณอุทยานมัจฉา มีพระราชดำาริกับ ผ้อู าำ นวยการศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นาเขาหินซอ้ นฯ สรุปไดด้ งั นี้ ให้ศึกษาการปลูกหญ้าแฝกในดินดานของตำาบลเขาหินซ้อน ซ่ึงได้เคยให้ทำาใน ดินดานที่เขาชะงุ้ม (โครงการศึกษาวิธีการฟื้นฟูท่ีดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้มฯ อำาเภอโพธาราม จังหวัด ราชบุรี) และหว้ ยทราย (ศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาหว้ ยทรายฯ อาำ เภอชะอาำ จงั หวดั เพชรบรุ ี) มาแลว้ ๑๗) วนั ที่ ๙ พฤษภ�คม ๒๕๔๐ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เสด็จพระราชดำาเนิน พรอ้ มดว้ ยสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไปยงั แปลงนาสาธติ ในสวนจติ รลดา และ ได้พระราชทานพระราชดำาริแก่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นายชูชีพ หาญสวัสดิ์) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และข้าราชการช้ันผู้ใหญ่ของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ในเร่อื งอนุรักษด์ นิ สรุปดังน้ี การอนุรักษ์ดินก็ต้องดำาเนินการควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าไม้ นอกเหนือจากการ แก้ไขปัญหาดินเปร้ียวตามท่ีพระราชทานพระราชดำาริแล้ว การอนุรักษ์ดินด้วยหญ้าแฝกต้องทำาให้ กว้างขวางเพ่ือป้องกันและรักษาหน้าดินไม่ให้สูญหาย ได้ทดลองทำาคร้ังแรกที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนา หว้ ยทรายฯ และทโ่ี ครงการศกึ ษาวธิ กี ารฟน้ื ฟทู ด่ี นิ เสอ่ื มโทรมเขาชะงมุ้ ฯ ดว้ ย ตลอดจนเขา้ ไปดาำ เนนิ การ เป็นตัวอย่างท่ีศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ อีกหลายแห่งจึงขอให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์พิจารณา ดาำ เนนิ การในบริเวณทจ่ี ะฟืน้ ฟูและอนรุ กั ษ์ดนิ และนำ้าในพ้ืนทีเ่ สื่อมโทรมตา่ ง ๆ ด้วย 86

๑๘) วันท่ี ๒๔ กรกฎ�คม ๒๕๔๐ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เสดจ็ พระราชดาำ เนิน พรอ้ มดว้ ยสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ไปพระราชทานปริญญาบตั รแกผ่ ู้สำาเร็จ การศึกษาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ อาคารจกั รพนั ธเ์ พ็ญศิริ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ และ พระราชทานพระบรมราโชวาท ในสว่ นท่เี ก่ียวข้องกับหญา้ แฝก ขออัญเชญิ มาไว้ ณ ท่นี ี้ “...ทุกคนควรจะไดส้ นใจสังเกตศึกษ�เรือ่ งร�ว บุคคล และสิ่งต่�ง ๆ ทแ่ี วดล้อม และเกี่ยวข้องกับตัวเองให้ม�ก อย่�ละเลยหรือมองข้�มแม้สิ่งเล็กน้อย เช่นต้นหญ้� ซ่ึงถ้�ศึกษ�พิจ�รณ�ให้ดีก็จะก่อให้เกิดปัญญ�ได้ หญ้�น้ันมีท้ังหญ้�ที่เป็นวัชพืช ซึง่ เปน็ โทษ และหญ้�ท่ีมีคุณอย�่ งหญ้�แฝก ซ่งึ เป็นประโยชนอ์ ย�่ งย่ิงแกก่ �รอนรุ ักษ์ ดนิ และน�้ำ เพร�ะมรี �กทห่ี ยง่ั ลกึ แผก่ ระจ�ยลงไปตรง ๆ ท�ำ ใหอ้ มุ้ น�ำ้ และยดึ เหนยี่ วดนิ ไดม้ นั่ คง และมลี �ำ ตน้ ชดิ ตดิ กนั แนน่ หน� ท�ำ ใหด้ กั ตะกอนดนิ และรกั ษ�หน�้ ดนิ ไดด้ .ี ..” ๑๙) วนั ท่ี ๒๕ กรกฎ�คม ๒๕๔๐ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร เสด็จพระราชดาำ เนิน พรอ้ มดว้ ยสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผ้สู าำ เรจ็ การศึกษาจากมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ อาคารจกั รพนั ธเ์ พ็ญศิริ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ พระราชทานพระบรมราโชวาท ในส่วนทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั หญ้าแฝก ขออญั เชญิ มาไว้ ณ ท่นี ้ี “...ในวันน้ี ใคร่จะกล่�วเพ่ิมเติมแก่ท่�นทั้งหล�ยว่� สิ่งที่ดีมีประโยชน์นั้น จะตอ้ งใชใ้ หถ้ กู ตอ้ งต�มหลกั วชิ � และเหม�ะสมแกส่ ภ�พก�รณท์ วั่ ไปดว้ ย จงึ จะไดผ้ ล ทพ่ี ึงประสงค์ อย�่ งเชน่ ก�รปลูกหญ�้ แฝก จะต้องปลกู ให้ชิดติดกันเป็นแผง และว�ง แนวใหเ้ หม�ะสมกับลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ เป็นตน้ ว�่ บนพืน้ ทส่ี ูง จะต้องปลกู ต�มแนว ขว�งของคว�มล�ดชันและร่องน้ำ� บนพ้ืนที่ร�บ จะต้องปลูกรอบแปลงหรือปลูก ต�มรอ่ งสลบั กบั พชื ไร่ ในพนื้ ทเ่ี กบ็ กกั น�้ำ จะตอ้ งปลกู เปน็ แนวเหนอื แหลง่ น�ำ้ หญ�้ แฝก ที่ปลูกโดยหลักวิธีดังนี้ จะช่วยป้องกันก�รพังทล�ยของหน้�ดิน รักษ�คว�มชุ่มช้ืน ในดิน เก็บกักตะกอนดินและส�รพิษต่�ง ๆ ไม่ให้ไหลลงแหล่งน้ำ� ซึ่งจะอำ�นวยผล เป็นประโยชน์อย่�งยิ่งแก่ก�รอนุรักษ์ดินและน้ำ� ตลอดจนก�รฟื้นฟูดินและป่�ไม้ให้ สมบูรณข์ ้ึน บณั ฑติ ผู้จะออกไปเริ่มต้นชีวิตก�รง�นต่อไป จงึ ควรจะไดศ้ กึ ษ�พจิ �รณ� เรอ่ื งคว�มถูกต้องเหม�ะสมทกี่ ล่�วน้ีใหท้ ร�บชดั ...” ๒๐) วันที่ ๒๓ มิถุน�ยน ๒๕๔๑ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เสดจ็ พระราชดาำ เนนิ ไป ทอดพระเนตรการดำาเนินงานโครงการศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาห้วยทรายฯ อำาเภอชะอาำ จงั หวัดเพชรบุรี ในการน้ี ได้พระราชทานพระราชดำารสั ณ พระราชนิเวศมฤคทายวนั อำาเภอชะอาำ จังหวดั เพชรบรุ ี ความตอนหนึ่งวา่ 87

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แห่งดิน พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร “...อ�จไม่เข้�ใจว่� ทำ�ไมดินน้ันสมบูรณ์ได้ จะอธิบ�ยเล็กน้อยว่� ภูเข�ที่อยู่ เหนือดินน้ันมีต้นไม้ และเมื่อใบไม้ร่วงลงม� ฝนก็ชะใบไม้นั้นลงม� ถ้�เร�ไม่ปลูก หญ�้ แฝกหรอื ระมดั ระวงั ไมใ่ หใ้ บไมห้ รอื สง่ิ ทม่ี �จ�กภเู ข�นนั้ ไหลลงไปในหว้ ยทอ่ี ยขู่ �้ ง ล่�งก็ไม่ส�ม�รถท่ีจะฟื้นฟูดิน แต่โดยที่ปลูกหญ้�แฝกและทำ�คันก้ันไม่ให้ตะกอน เหล�่ นนั้ ไหลลงไปในหว้ ย กส็ �ม�รถฟน้ื ฟสู ร�้ งดนิ ทใี่ ชไ้ ดส้ �ำ หรบั ก�รเพ�ะปลกู นอกจ�ก นั้นถ�้ ห�กว่�ไม่ไดป้ ฏบิ ตั เิ ชน่ น้ี ดินน้นั จะหมดไปเลย เหลอื แตด่ นิ ด�นและทร�ย และ ดนิ ทอ่ี �จเปน็ ดนิ สมบรู ณก์ ไ็ หลลงไปในหว้ ย ซง่ึ จะท�ำ ใหห้ ว้ ยนน้ั ตนื้ เขนิ เมอ่ื หว้ ยตน้ื เขนิ น�้ำ ทลี่ งม�จ�กภเู ข�กท็ ว่ มในทร่ี �บ นอกจ�กนนั้ น�้ำ ทลี่ งจ�กภเู ข�นนั้ จะลงม�โดยรวดเรว็ เพร�ะภูเข�น้ันมตี ้นไม้นอ้ ย ท�ำ ให้น�้ำ ลงม�โดยฉบั พลนั และท่วม...” ๒๑) วนั ท่ี ๑๔ กรกฎ�คม ๒๕๔๑ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เสด็จพระราชดาำ เนนิ ไปทอดพระเนตรการดาำ เนนิ งานโครงการศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยทรายฯ อาำ เภอชะอาำ จงั หวดั เพชรบรุ ี พรอ้ มท้งั ได้พระราชทานพระราชดำารัสเก่ยี วกับหญา้ แฝก ความตอนหน่ึงวา่ “...ขอ้ ส�ำ คญั ทม่ี �เพร�ะว�่ ทดี่ นิ ในเมอื งไทยมนั มนี อ้ ยลงทจี่ ะใชง้ �นได้ จงึ ตอ้ งห� ท่เี ลว ๆ ให้พฒั น�ข้นึ เป็นท่ีทใี่ ชไ้ ด้ และให้คว�มส�ำ คัญของโครงก�รน้เี ปน็ ยงั ไง ต้อง ลงมือหล�ยฝ่�ย กรมพัฒน�ที่ดินและกรมป่�ไม้ศึกษ� และถ้�ทำ�ได้แล้วเมืองไทยนี้ ไมอ่ ับจน...” “...หญ้�แฝกน้ีจะกักนำ้�และปุ๋ยท่ีม�จ�กภูเข� ภูเข�เป็นเครื่องปฏิกรณ์นำ้�และ ปยุ๋ ไมต่ อ้ งเอ�ปยุ๋ ท่ไี หน พัฒน�ดนิ กส็ บ�ย ก็อ�ศัยชลประท�นแลว้ ก็ป�่ ไม้...” “...เร�จะสร�้ งของดซี อ้ นบนของเลวนน่ั อย�่ ไปนกึ ไปใชด้ �นอนั นเ้ี พร�ะด�นอนั นไ้ี มม่ อี �ห�รและแขง็ เหลอื เกนิ ตอ้ งสร�้ งผวิ ดนิ ใหมข่ น้ึ ม� หญ�้ แฝกเร�เจ�ะดนิ ลงไป แล้วเอ�ดินท่มี ีอ�ห�รลงไป หญ�้ แฝกก็ส�ม�รถชอนไชอยูไ่ ด้ แลว้ หญ้�แฝกน้นั เวล� น้�ำ ฝนชะม�จ�กภูเข�จะชะล้�งใบไม้ม�ตดิ หญ้�แฝก กจ็ ะเปน็ ดินทใ่ี ชไ้ ด้ ดนิ น้ีจะเพิ่ม ข้ึนไป แล้วก็ดินนนี้ �นไปจะเป็นดนิ ...” ๒๒) วนั ท่ี ๒๐ เมษ�ยน ๒๕๔๓ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทาน พระราชดาำ ริ ท่ศี ูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ อาำ เภอชะอำา จังหวดั เพชรบุรี (บริเวณพ้ืนทเี่ ขาบอ่ ขิง) สรปุ ดังน้ี ๒๒.๑) ใหท้ ดลองปลูกไม้สาธรรว่ มกับหญ้าแฝกต่อไป และทาำ การศกึ ษากบั ไม้ชนิดอ่นื ๆ ว่า ชนิดใดจะเหมาะสมกบั พ้นื ท่ีดนิ ดานไดด้ ี ๒๒.๒) การแกไ้ ขดนิ เลวโดยวธิ ที างธรรมชาติ โดย (๑) ปลกู หญ้าแฝกเพ่ือใหด้ ินดานแตกตวั จะทาำ ให้น้าำ ซมึ ผ่านไปได้ (๒) ปลูกต้นไม้ควบคู่กับการปลูกหญ้าแฝก ต้นไม้จะเจริญเติบโตในดินดานได้ เนอ่ื งจากหญา้ แฝกให้น้ำาและชว่ ยตรึงไนโตรเจน 88

๒๓) วนั ที่ ๑๒ เมษ�ยน ๒๕๔๔ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้มีพระราชดำาริ กบั หม่อมราชวงศ์ แซม แจ่มจรัส รัชนี เจา้ หนา้ ที่โครงการหลวง ณ โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา กรงุ เทพฯ สรุปดังน้ี ๒๓.๑) การนาำ รอ่ งการใชห้ ญา้ แฝกกบั ดนิ เหนยี วในการกอ่ สรา้ งยงุ้ ฉางราคาถกู เปน็ ตวั อยา่ ง แกก่ สกิ รรมในชนบท ใหท้ าำ การทดลองเกบ็ ขา้ วเปลอื กจรงิ เพอื่ พจิ ารณาลทู่ างการควบคมุ ความรอ้ นทเี่ กดิ จากการเกบ็ เมล็ดขา้ วเปลือกในยุง้ ฉางแบบนี้ และให้ใช้หลงั คายุ้งฉางแบบบ้านของชาวเอสกโิ ม (Igloo) เพ่ือแก้ไขปัญหาความร้อนและความชื้นท่ีจะเกิดขึ้นจากการเก็บข้าวเปลือกและให้มีการศึกษาเพ่ือการ ป้องกันความเสียหายของพืน้ ผิวภายนอกของยงุ้ ฉางเมอื่ ถูกความชน้ื ๒๓.๒) ให้ศึกษาเร่ืองหญ้าแฝกและสกัดสาระสำาคัญมาเพ่ือใช้ในการควบคุมป้องกันกำาจัด ปลวกให้มีการศึกษาการพัฒนาเย่ือหญ้าแฝกให้ปลวกไม่สามารถทำาลายได้ โดยการพิจารณากำาจัดสาร ที่เปน็ อาหารของปลวกเสียตง้ั แต่ต้นจะไดไ้ มม่ ีปญั หาเมื่อนาำ ไปประยุกตใ์ ชเ้ ปน็ วัตถุดิบในอุตสาหกรรม ๒๓.๓) การใชห้ ญา้ แฝกเปน็ วสั ดแุ ทนไมใ้ นอตุ สาหกรรมเฟอรน์ เิ จอรแ์ ละตกแตง่ ภายใน โดย ใหม้ กี ารศกึ ษาความคงทนของแผน่ ไมอ้ ดั หญา้ แฝกตอ่ สภาพการทาำ ลายของปลวก และการศกึ ษาเพอื่ หา วัสดภุ ายในประเทศ เพ่อื ทดแทนการนาำ เข้าวสั ดุทเ่ี ป็นตัวประสานจากตา่ งประเทศ ๒๓.๔) การใชห้ ญา้ แฝกเปน็ วสั ดกุ อ่ สรา้ งทางวศิ วกรรมทป่ี ระหยดั ปลอดมลภาวะ ประหยดั พลงั งานชาวบา้ นสามารถทาำ ไดเ้ องโดยเถา้ หญา้ แฝก สดั สว่ นการใชเ้ ถา้ หญา้ แฝกเปน็ วสั ดทุ ดแทนซเี มนต์ และผลท่ีได้รับโดยเน้นเร่ืองความแข็งแรง ความทนทาน ส่วนการประยุกต์ใช้เย่ือหญ้าแฝกเป็นวัสดุ เสริมแรง สัดส่วนการใช้เถ้าหญ้าแฝกโดยเน้นเรื่องการพัฒนาให้มีคุณสมบัติท่ีดีกว่าและทดแทน การใช้วัสดสุ ังเคราะห์ ๒๓.๕) การแสดงแบบจาำ ลองการเปลยี่ นแปลงคณุ สมบตั ทิ างชลศาสตรข์ องการไหลลกั ษณะ การกดั เซาะและการกกั เก็บตะกอนของระบบแถบหญา้ แฝก ดังน้ี (๑) ให้มีการขยายแบบจำาลองจากแบบจำาลองแสดงแนวคิดเป็นแบบจำาลองที่ สามารถเกบ็ ขอ้ มลู ไดถ้ กู ตอ้ งและเปน็ ทย่ี อมรบั ทางวศิ วกรรม รวมทง้ั ใหม้ กี ารทดสอบเพอ่ื ยนื ยนั ขอ้ มลู ใน ภมู ปิ ระเทศจรงิ ด้วย (๒) ให้นำาข้อมูลท่ีได้รับจากแบบจำาลองไปประยุกต์ใช้แถบหญ้าแฝกเพ่ือลดความ เสียหายจากการเกดิ อุทกภยั ในพน้ื ทเ่ี กษตรกรรม (๓) ใหม้ กี ารศกึ ษาการใชแ้ ถบหญา้ แฝกและพชื พนั ธล์ุ ดหรอื ปอ้ งกนั สารไนเตรท จาก การทำาการเกษตรซมึ ซับลงในดิน ลงไปปนเปื้อนกบั แหลง่ นำา้ ใตด้ ินในระดบั ลา่ ง (๔) การใช้ความชุ่มช้ืนของแถบหญ้าแฝกลดหรือป้องกันความเสียหายที่เกิดจาก ไฟป่า (๕) รปู แบบการสง่ เสรมิ การปลกู หญา้ แฝกเปน็ พชื รายไดแ้ บบครบวงจร โดยเนน้ การ จดั กลมุ่ กสกิ รรมเพอ่ื ใหส้ ามารถควบคมุ ปรมิ าณ คณุ ภาพและสายพนั ธท์ุ กี่ าำ หนดได้ เพอ่ื เปน็ การแยกออก จากการส่งเสริมการปลูกเพื่อป้องกันรักษาดิน โดยให้ระมัดระวังการปลูกแยกจากระบบอนุรักษ์ ซ่ึง หญ้าแฝกเป็นพืชท่ีมีรายได้สู่เกษตรกรก็ให้ทำาไปโดยให้วิจัยเพื่อลดต้นทุนการผลิตลง ในการลดต้นทุน การผลติ ใหข้ ยายพันธโุ์ ดยใช้ทลิ เลอร์ทีแ่ ยกออกมา 89

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แห่งดนิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ๒๓.๖) แนวทางการใชเ้ ยอ่ื หญา้ แฝกเปน็ อตุ สาหกรรมภาชนะเมลามนี โดยใหม้ กี ารพจิ ารณา ผลิตภาชนะหรอื เครื่องใชท้ ่เี หมาะสมกับสีตามธรรมชาตขิ องเย่อื หญ้าแฝก และใหพ้ จิ ารณาจดสทิ ธิบตั ร ผลติ ภัณฑ์ภาชนะเมลามีนจากเย่ือหญา้ แฝกได้ ๒๓.๗) ลทู่ างการคมุ้ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาผลงานวจิ ยั คน้ ควา้ และผลติ ภณั ฑห์ ญา้ แฝก ของมลู นธิ โิ ครงการหลวงมดี ังน้ี (๑) ให้คณะทำางานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีหญ้าแฝก เร่งรดั การดาำ เนนิ การตามที่ ไดค้ ิดริเริ่มไว้ต่อไป เพราะมีคณุ คา่ และเป็นประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม (๒) ผลงานใดท่ีสามารถดำาเนินการจดสิทธิบัตรได้ ขอให้คณะทำางานสิทธิบัตร หญา้ แฝกรีบดาำ เนนิ การเพื่อจะไดเ้ ปน็ ทรพั ยส์ ินของแผน่ ดนิ ตอ่ ไปในภายหนา้ ๒๔) วนั ที่ ๑๓ กนั ย�ยน ๒๕๔๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระราชทาน พระราชดำารสั กับ นายกรฐั มนตรี ณ วังไกลกงั วล อำาเภอหัวหนิ จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ ความว่า “...ในก�รก่อสร้�งขน�ดใหญ่ ต้องมีก�รปรับปรุงเปิดพ้ืนที่เป็นอันม�ก โดย เฉพ�ะพนื้ ท่เี ชงิ เข� ควรทจ่ี ะตอ้ งมีก�รใชห้ ญ�้ แฝกปลกู เป็นพชื น�ำ เพอ่ื ฟื้นคนื สภ�พ พนื้ ทแี่ ละภมู ิทัศนแ์ ละคว�มอดุ มสมบูรณใ์ หก้ บั พ้ืนท่ีนนั้ อย่�งได้ผล...” ๒๕) วันที่ ๑๖ พฤศจิก�ยน ๒๕๔๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทาน พระราชดาำ ริ ณ โครงการปลกู ปา่ ถาวรเฉลมิ พระเกยี รตขิ องบรษิ ทั ปตท. จาำ กดั (มหาชน) อาำ เภอปราณบรุ ี จังหวัดประจวบครี ีขันธ์ สรุปดงั น้ี ๒๕.๑) ควรปลกู หญา้ แฝกกอ่ นหรอื พร้อมกบั ปลูกปา่ โดยเฉพาะที่ลาดชนั โดยตอ้ งปลูกให้ ถูกวิธี คือขวางแนวลาดชันเพราะในแผนที่ ปตท. แสดงการปลูกป่าจะเป็นแนวลงมาเหมือนที่ชาวเขา ปลูกกะหลำา่ โดยให้สังเกตทลี่ าำ ห้วยดา้ นล่างภูเขาจะเหน็ ดินลงไปกองอยเู่ ตม็ ๒๕.๒) ควรปลูกหญ้าแฝกเป็นแนวกันไฟป่าของแปลงปลูกป่า เพราะการปลูกป่าของ หน่วยงานต้องมีเจ้าหน้าที่หน่วยดับไฟ ต้องใช้รถจักรยานยนต์เพ่ือตรวจป่า ขอให้ใช้วิธีปลูกหญ้าแฝก เป็นแนวเพราะหญ้าแฝกนั้นต่างกับหญ้าคาซึ่งหน้าแล้งจะแห้งติดไฟง่าย แต่หญ้าแฝกหน้าแล้งจะเขียว เพราะมรี ากลกึ ดดู ความชน้ื ตลอดเวลาจะเปน็ แนวกันไฟโดยธรรมชาติ ๒๖) วนั ท่ี ๒๒ พฤศจกิ �ยน ๒๕๔๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทาน พระราชดำาริกับ ฯพณฯ นายอำาพล เสนาณรงค์ องคมนตรี คณะกรรมการบริหารสภาวิจัยแห่งชาติ และคณะวจิ ยั ณ ศาลาเรงิ วงั ไกลกงั วล อาำ เภอหวั หิน จงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ์ สรปุ ดงั นี้ ๒๖.๑) หญ้าแฝกเป็นพืชอเนกประสงค์ที่สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแพร่หลาย นอกจากคณุ ประโยชนห์ ลกั ของหญา้ แฝกทใี่ ชป้ ลกู เพอื่ ปอ้ งกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และชว่ ยฟน้ื ฟู ความอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ แลว้ รากของหญา้ แฝกทแี่ ผห่ ยงั่ ลกึ ลงไปในดนิ ยงั ชว่ ยดดู ซบั สารพษิ ทปี่ นเปอ้ื น มากบั นาำ้ ทไี่ หลผ่าน อกี ทัง้ คณุ สมบตั พิ เิ ศษของกอและใบหญ้าแฝกทปี่ ลูกล้อมรอบพนื้ ทเี่ กษตร ยงั มสี ว่ น ชว่ ยในการปอ้ งกนั ปลวกและหนไู มใ่ หเ้ ขา้ มาทาำ ความเสยี หายใหก้ บั พชื และผลติ ผลในพน้ื ทน่ี น้ั ๆ รวมทงั้ 90 ใช้ป้องกนั งูไดอ้ ีกดว้ ย

๒๖.๒) ปลวกมหี ลายชนดิ บางชนิดกท็ าำ ลายบ้านเรอื น แต่หลายชนิดก็มปี ระโยชนท์ ำาให้ดินดี และปลวกทก่ี ินหญา้ แฝกยงั ไม่ตายทันที เพยี งแต่ทาำ ใหป้ วดท้องเทา่ นัน้ ๒๖.๓) การปลูกหญ้าแฝกเพ่ือเป็นแนวกันไฟ เป็นประโยชน์ที่สำาคัญอีกประการหนึ่งของ หญ้าแฝกทจ่ี ะช่วยลดความเสียหายจากไฟป่า ไม่วา่ จะเปน็ ในป่าปลกู หรอื ปา่ ธรรมชาติ ๒๖.๔) ควรปลูกหญ้าแฝกกอ่ นหรอื ร่วมกับแปลงปลกู ไม้ยืนตน้ โดยเฉพาะบนภูเขาจะช่วย ปอ้ งกนั การชะล้างพงั ทลายของดนิ และป้องกันไฟปา่ ได้เพราะหญา้ แฝกทนไฟ ใบจะสดตลอดปแี ละราก ทหี่ ยงั่ ลกึ ลงในดนิ จะชว่ ยดดู ความชนื้ ไว้ ดงั นนั้ การปลกู หญา้ แฝกเพอื่ เปน็ แนวกนั ไฟจะชว่ ยปอ้ งกนั ไฟปา่ ในฤดแู ล้งได้ ๒๖.๕) การปลกู ยคู าลปิ ตสั และสนบนภเู ขา มกั เกดิ ไฟไหมท้ กุ ปี ควรพจิ ารณาปลกู หญา้ แฝก ร่วม ๒๖.๖) การนำาใบหญ้าแฝกมาอัดเป็นแผ่นและนำาไปใช้ประโยชน์ทดแทนไม้จริงจะช่วยลด การนาำ เขา้ ไม้ รวมท้ังลดการตัดไมท้ ำาลายป่าลงได้ แตเ่ นอ่ื งจากกรรมวธิ กี ารผลิตแผน่ หญ้าแฝกอดั ใช้กาว ซ่งึ ตอ้ งนาำ เข้าจากต่างประเทศมีราคาแพง ควรมีการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาใชก้ าวซ่ึงผลติ ขึ้นภายในประเทศท่ี มคี ุณภาพดแี ละราคาถกู เพอื่ ประหยัดคา่ ใชจ้ ่ายของประเทศ ๒๖.๗) การนำารากหญ้าแฝกมาสกดั น้ำามันหอมระเหย ถึงแม้วา่ มรี าคาแพงควรมกี ารศกึ ษา พัฒนาเกี่ยวกับการปลูกหญ้าแฝกเพื่อผลิตโดยเฉพาะ ไม่ควรมีการขุดกอหญ้าแฝกเพ่ือนำารากมาใช้ใน การนาำ ไปสกดั นาำ้ มันหอมระเหย ๒๖.๘) สำาหรับใบหญ้าแฝกท่ีนำามาใช้เป็นวัตถุดิบนั้น ควรมีการศึกษาด้วยว่าหากมีการ ส่งเสริมและดำาเนินการในระดับอุตสาหกรรม แล้วจะมีวัตถุดิบเพียงพอหรือไม่ โดยปกติหญ้าแฝกจะมี ใบมากและมีการเจริญเติบโตได้เร็ว ควรมีการศึกษาให้มีการนำาใบไปใช้อย่างเหมาะสมไม่ให้เกิด ผลกระทบกับวัตถุประสงค์หลักคือการใช้หญ้าแฝกเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ดังนั้นหาก จะใชเ้ พอ่ื วตั ถปุ ระสงคอ์ นื่ ควรพจิ ารณาเตรยี มพนื้ ที่ เพอ่ื การปลกู โดยเฉพาะและควรวจิ ยั การนาำ วตั ถดุ บิ อน่ื ทเ่ี หมาะสมมาเปน็ ส่วนผสมในการทำาแผน่ ไมอ้ ดั ดว้ ย ๒๗) วันท่ี ๒๒ กมุ ภ�พนั ธ์ ๒๕๔๖ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทาน พระราชดำารกิ ับหม่อมราชวงศ์ แซม แจ่มจรัส รชั นี และคณะทำางานโครงการพัฒนาหญา้ แฝกเพอ่ื เปน็ พชื เศรษฐกิจ โครงการหลวง ณ ศาลาเรงิ วงั ไกลกงั วล อาำ เภอหัวหิน จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ สรุปดงั นี้ ๒๗.๑) ตอ้ งรบี ดาำ เนนิ การจดสทิ ธบิ ตั รสายพนั ธห์ุ ญา้ แฝกของไทยไวท้ งั้ หมด กอ่ นทจี่ ะมใี คร มานาำ ไปใชป้ ระโยชน์ และใหร้ บี ศกึ ษาหาวธิ ดี าำ เนนิ การ แมแ้ ตช่ นดิ ทไี่ มเ่ หมาะสมทจี่ ะนาำ ไปใชก้ ต็ อ้ งจดไว้ ด้วยเพอื่ ป้องกันไม่ใหใ้ ครนำาไปใชอ้ ย่างผิด ๆ ๒๗.๒) กรมพัฒนาท่ีดิน มีหน้าที่พัฒนาปรับปรุง บำารุงดิน ให้มีความอุดมสมบูรณ์ หญ้าแฝกเปน็ พชื ตวั หน่งึ ท่จี ะสามารถช่วยได้ ก็ให้ดาำ เนินการทำาให้มีกล้าหญา้ แฝกเพียงพอด้วย ๒๗.๓) ต้องใหช้ าวบ้านมคี วามเขา้ ใจและมหี ญา้ แฝกใหเ้ ขาปลูกเพียงพอ ขณะนไี้ ม่เพียงพอ ยังขาดอกี มาก หากยังไมม่ กี ลา้ พอ จะปลูกไปทีละ ๑๐ ๕๐ หรอื ๑๐๐ เมตรกไ็ ด้ แลว้ ขยายจากท่ีนัน่ ไป ปลูกไดอ้ กี ไมน่ านก็จะเตม็ พน้ื ที่ 91

ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แหง่ ดนิ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ๒๗.๔) ฝากถึงท่านนายกรัฐมนตรีในฐานะท่ีท่านเป็นตัวแทนของรัฐบาลว่าให้ช่วย สนับสนุนโครงการหญ้าแฝกด้วย เพราะจะยังให้เกิดผลดีโดยรวมต่อผืนแผ่นดินท้ังประเทศใน วันขา้ งหน้า ๒๗.๕) การปลกู หญา้ แฝก จะตอ้ งปลกู ใหถ้ กู ตอ้ งดว้ ย ไมใ่ หม้ คี วามหา่ งมากเกนิ ไปจนเปน็ ช่อง กจ็ ะไม่สามารถก้ันน้ำา กักตะกอนดนิ ฮวิ มัสต่าง ๆ ไว้ได้ และเมื่อปลูกเป็นชน้ั ๆ ตามเนนิ จะช่วย เป็นกำาแพงก้ันน้ำาที่ไหลบ่าลงมาได้ ที่เห็นว่าเหมาะสมก็คือความห่างประมาณ ๕ เซนติเมตร ซึ่งเม่ือ หญ้าแฝกเตบิ โตกจ็ ะขยายออกมาชนกันเปน็ แถวแนน่ มปี ระสทิ ธภิ าพ ๒๗.๖) หญ้าแฝกช่วยกักเก็บไนโตรเจน เพราะพืชดดู น้ำาไปใช้ได้ ไนโตรเจนหากซมึ ลงไป ใตด้ นิ หรอื รว่ั ไหลลงไปในแหลง่ นาำ้ กจ็ ะเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเปน็ สารพษิ ยากแกก่ ารกาำ จดั ดงั นนั้ จงึ นาำ ไปใชช้ ว่ ย ด้านส่ิงแวดล้อมได้ ๒๘) วนั ท่ี ๔ สิงห�คม ๒๕๔๘ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทาน พระราชดาำ รสั แกค่ ณุ หญงิ สดุ ารตั น์ เกยรุ าพนั ธ์ุ และขา้ ราชการระดบั สงู ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ณ พระตาำ หนักเปี่ยมสขุ วงั ไกลกงั วล อาำ เภอหวั หนิ จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ สรปุ ดงั นี้ “...ต้องปลูกต�มแนวขว�งล�ดเข�จะเก็บนำ้�ได้ ถ้�ปลูกต�มแนวล�ด ดิน จะไหลหมด หญ้�แฝกมหี ล�ยชนดิ ชนิดทดี่ ปี ลกู แลว้ ไมอ่ อกดอก ไม่เหมอื นหญ�้ ค� หลังค�ทีม่ ุงหญ�้ แฝกทนม�ก หญ้�แฝกดีใบหน�ไม่ตดิ ไฟง�่ ยปลกู ขว�งเป็นระยะ ๆ หญ้�ค�ตดิ ไฟง�่ ยในหน้�แล้ง ปลูกใต้ตน้ ไม้ช่วยซบั น้�ำ หญ้�แฝกชว่ ยไม่ให้หญ้�ค� ข้ึน หญ้�แฝกช่วยท้งั แลง้ ทง้ั ท่วม...” ๒๙) วนั ที่ ๓๑ สงิ ห�คม ๒๕๕๒ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทาน พระราชดำารัสกับฯพณฯ นายอำาพล เสนาณรงค์ องคมนตรี และคณะผู้ปฏิบัติงานโครงการพัฒนา และรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ ณ พระตำาหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล อำาเภอหวั หนิ จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ มใี จความดังน้ี “…หญ�้ แฝกนไี้ ดศ้ กึ ษ�ม�เปน็ เวล�ถงึ สบิ เจด็ ปี อย�่ งทที่ �่ นองคมนตรไี ดก้ ล�่ ว เมื่อตะก้ี ซึ่งก็นับว่�เป็นเวล�ช้�น�น แต่เป็นเวล�ที่เป็นประโยชน์ม�กและได้ผล อย่�งย่ิง เป็นสิ่งท่ีน่�มหัศจรรย์ ที่หญ้�ชนิดเดียวได้รับก�รศึกษ�น�นถึงขน�ด สิบเจด็ ปี แต่ตอ้ งเข�้ ใจว่�หญ�้ แฝกมีหล�ยชนดิ และถ�้ ไม่ได้ศึกษ�กไ็ มไ่ ดป้ ระโยชน์ ขึ้นม�อย�่ งท่ีได้เกิดขนึ้ สิบเจ็ดปีน่ีเกิดประโยชน์อย่�งยิ่ง เพร�ะว่�เวล�ทดลองต่�ง ๆ ได้ปร�กฏว่� หญ�้ แฝกหรอื หญ�้ ทคี่ ล�้ ย ๆ หญ�้ แฝก ไดท้ �ำ ประโยชนใ์ นด�้ นต�่ ง ๆ ซง่ึ น�่ มหศั จรรย์ ที่หญ้�เพียงบ�งชนิดได้ประโยชน์ในท่ีต่�ง ๆ หญ้�แฝกบ�งชนิดได้เกิดประโยชน์ ในที่ลักษณะเป็นทรี่ �บ บ�งแหง่ ก็ได้ประโยชน์ในทต่ี ่�งกัน เชน่ บนภูเข� ดินลกึ กม็ ี ดินต้นื กม็ ี เรือ่ งดนิ ลึกนนั้ ได้ปร�กฏว�่ ร�กไดห้ ยั่งลงไปถงึ ห�้ หกเมตร แล้วกล็ งไปได้ ซึ่งแต่ก่อนน้ีไม่ได้นึกว่�หญ้�จะลงไปลึก ข้อสำ�คัญ หญ้�นี้ได้หย่ังลงไปห้�หกเมตร และไม่ไดแ้ ผ่ออกไปข�้ ง ๆ แสดงว�่ ไมไ่ ปรงั คว�นร�กพืชทเ่ี ป็นประโยชน์ 92

อันนี้ตอนต้น ได้ไปเฝ้�สมเด็จพระบรมร�ชชนนี ซ่ึงท่�นเวล�นั้นทรงไม่สบ�ย ท�ำ ใหท้ ่�นมีคว�ม เรียกว่� เซ็ง ในชวี ติ กไ็ ดไ้ ปเฝ�้ ทีว่ งั สระประทมุ ซงึ่ เวล�นนั้ บอกได้ ว่�ท�่ นใช้คำ�ว่�เซ็งน่ะ ไมเ่ กินคว�มหม�ยของสภ�พของท่�น ได้ไปกร�บบงั คมทูลว�่ เด๋ียวน้ีขอแรงท่�นทำ�ประโยชน์กับพืชอย่�งหน่ึง ซึ่งจะได้ประโยชน์ท่ัวทั้งประเทศ ท่�นรู้สึกว่�เกิดครึกครื้นข้ึนม� ท่�นบอกว่�มีหรือ นึกว่�ทำ�หมดแล้วศึกษ�อะไร ๆ หมดแลว้ เลยบอก เปล่�นเี่ ปน็ สงิ่ ทยี่ ังไมไ่ ดศ้ ึกษ�หรือศกึ ษ�น้อย นอ้ ยม�ก ก็เลยเล�่ ให้ท�่ นฟงั เรอ่ื งคว�มมหัศจรรย์ของหญ�้ แฝก ซ่ึงเป็นหญ้�ธรรมด� แตว่ ่�มีคุณสมบตั ิ ท่ีจะช่วยให้พืชในที่ต่�ง ๆ มีประโยชน์ข้ึนม�อย่�งมหัศจรรย์ คือว่�ไม่ได้นึกเลยว่� จะใชห้ ญ้�ธรรมด�นม้ี �ทำ�ใหก้ �รเพ�ะปลูกดีข้ึน ท่�นกบ็ อกว่�จะไปท�ำ ทีไ่ หน ก็กร�บบังคมทลู ว�่ ทำ�ในที่ทีเ่ คยทรงปฏิบตั ิ กค็ อื ในทภี่ เู ข�สว่ นหนง่ึ ทภ่ี เู ข�นนั้ กค็ อื ทท่ี โ่ี ปรดม�ก ทดี่ อยตงุ ซงึ่ ถ�้ ไมไ่ ดใ้ ชห้ ญ�้ แฝกนี้ จะ ทำ�ใหท้ ีแ่ ถวนนั้ ไมเ่ จรญิ แลว้ เจริญอย�่ งไร ก็ท�ำ ใหท้ ่ที ่ีต�มปรกติเร�เหน็ ไม่หญ�้ ก็พืช ต�่ ง ๆ ขน้ึ ไมเ่ ปน็ ปรกติ หม�ยคว�มว�่ หญ�้ ไปคลมุ ไปปกคลมุ ท่ี ท�ำ ใหท้ น่ี น้ั ไมส่ มบรู ณ์ แต่ว่�หญ้�แฝกน้ี ถ้�เลือกทดลองหญ้�แฝกที่เป็นประโยชน์จ�กหญ้�แฝกหล�ยชนิด จะท�ำ ให้ดี ทีแ่ ถวนนั้ เจรญิ ดขี ้นึ โดยท�ำ ใหท้ เี่ หล่�นั้นมคี ว�มสมบรู ณ์ข้นึ ดว้ ยก�รเลอื ก หญ้�ทีเ่ หม�ะสม และปลกู ในท�งท่เี หม�ะสม ท่ีถกู ตอ้ ง จะท�ำ ให้ท่เี หล่�นัน้ ส�ม�รถท�ำ ประโยชน์ได้ เร�ก็ทูลท่�นว่� จะทำ�ให้ท่ีเหล่�นั้นมีคว�มเจริญ จะใช้ประโยชน์ของท่ี น้ันได้ดีม�ก แล้วเล่�ให้ท่�นฟังว่� จะทำ�ให้ที่เหล่�น้ันเจริญงอกง�มอย่�งมหัศจรรย์ แลว้ เล�่ ใหท้ ่�นฟังว่�มีวธิ ปี ลูกอย�่ งไร และวธิ ีเลอื กหญ�้ แฝกชนิดต�่ ง ๆ ท�่ นกต็ นื่ เตน้ แตท่ �่ นบอกว�่ จะไปท�ำ อะไรได้ กท็ ลู ว�่ ถ�้ ทรงพรอ้ ม ท�่ นไปเดย๋ี ว นกี้ ็ได้ ท�่ นกต็ น่ื เต้น เลยเรียกคนของท่�น บอกว�่ เอ้� ตกลง เดย๋ี วน้ีแข็งแรงพอแล้ว จะไปได้ คว�มจรงิ ท�่ นกเ็ พิง่ เริม่ แข็งแรง แตท่ ่�นครกึ ครน้ื ม�ก ท่�นบอกไปเด๋ียวนเ้ี ลย ลงท้�ยหญ้�แฝกเป็นหญ้�มหัศจรรย์ท่ีทำ�ให้ท่�นแข็งแรงทันที คนที่จะทำ�ก็เกิดคว�ม ดีใจ ในท่ีสุด เสด็จไปภ�ยในไม่ก่ีวัน เสด็จไปดอยตุง แล้วก็ขอให้คนนำ�หญ้�ชนิด ต�่ ง ๆ ม� เลยทลู ว่�ให้ไปปลกู หญ�้ ชนดิ ต�่ ง ๆ ในท่ีต�่ ง ๆ เพอื่ ทดลอง บอกไดว้ ่� ท�่ นครกึ ครนื้ ม�ก รสู้ กึ ท�่ นดใี จม�กทมี่ งี �นทจี่ ะท�ำ เพร�ะเวล�นนั้ ท�่ นก�ำ ลงั เดอื ดรอ้ น ในจติ ใจ เพร�ะว่�หมอบอกว�่ ไม่ได้ เสด็จไปไม่ได้ ท�่ นก็บอกว�่ ทำ�ไมจะไม่ได้ แลว้ ใน ที่สุดท่�นก็ไป แล้วก็ไปเป็นคนภูเข� เสด็จไปได้อย่�งประหล�ด หม�ยคว�มว่�ท่�น ออกไปทันที ออกเดินน่ะ แล้วก็ออกไปปลูกหญ้� ภ�ยในไม่ก่ีวัน หญ้�นั่นน่ะก็เจริญ งอกง�มออกม� ซ่ึงก็เป็นส่งิ ท่ปี ระหล�ด หญ้�บ�งชนิดก็ได้หยั่งลงไปลึก อย่�งที่บอกตะกี้ว่�ส่ีห้�เมตร บ�งชนิดก็ถึง หกเมตร ในระหว�่ งทห่ี ญ�้ บ�งชนดิ กล็ งไปเพยี งส�มเมตร แลว้ กล็ งไปหกเมตรนี้ เท�่ กบั ไปปกคลมุ ที่ ท�ำ ใหท้ เี่ หล�่ นนั้ ส�ม�รถทจี่ ะปอ้ งกนั ดนิ ทปี่ รกตจิ ะทล�ยลงม� ดนิ ทไ่ี ดร้ บั ก�รปกป้องของหญ�้ แฝกก็แขง็ แรง ท�ำ ให้ส�ม�รถที่จะท�ำ ต�มทต่ี อ้ งก�ร เป็นต้น ต�ม ที่ต้องก�รคือให้บริเวณน้ันไม่มีก�รทล�ยลงม� เช่น ข้�งถนน ทำ�ให้ถนนได้รับก�ร ปกปอ้ งไม่ใหด้ ินทล�ยลงม� ภ�ยในไม่ก่ีวันกจ็ บั ดินข�้ งถนนอย�่ งแนน่ แฟน้ ซ่งึ ก็เป็น 93


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook