Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore donka

donka

Published by bangphaelibrary01, 2019-01-29 22:19:04

Description: donka

Search

Read the Text Version

ทาเนยี บแหล่งเรยี นรู้สถานท่ีทอ่ งเทีย่ ว เชิงวฒั นธรรม ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางแพ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ราชบุรี สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ



คานา แหล่งเรียนรู้ หมายถงึ “แหล่ง” หรือ “ทรี่ วม” สถานทีห่ รือศูนย์รวมท่ปี ระกอบดว้ ย ข้อมลู ข่าวสาร ความรู้ และกิจกรรมทีม่ ีกระบวนการเรยี นรหู้ รอื กระบวนการเรียนการสอนท่ีมีรปู แบบแตกตา่ งจากกระบวนการ เรยี นการสอนท่มี คี รูเปน็ ผู้สอน หรอื ศนู ยก์ ลางการเรยี นรแู้ ละแหลง่ การเรยี นรู้ ตามมาตรา 25 ใน พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 (ฉบับแก้ไข) พ.ศ.2545 ประกอบดว้ ยห้องสมุดประชาชน พิพิธภณั ฑ์ หอศลิ ป์ สวนสตั ว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อทุ ยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์ การกีฬาและนันทนาการ แหล่งขอ้ มูลและแหลง่ การเรยี นรอู้ น่ื จากความสาคญั ดังกล่าว ศนู ยบ์ รกิ ารการศึกษา นอกโรงเรยี นอาเภอบางแพ จึงไดจ้ ดั ทาเอกสารทาเนยี บแหล่งเรียนรู้ เพ่ือใชป้ ระโยชน์ของแหล่งเรียนรูใ้ ห้ การศกึ ษาแกผ่ เู้ รยี นและผ้รู บั บรกิ ารท้งั ในระบบ และนอกระบบ และตามอธั ยาศัย โดยมีเป้าหมาย (1) แหล่ง เรียนรู้สามารถตอบสนอง การเรียนรู้ทีเ่ ปน็ กระบวนการ ( Process of Learning) การเรยี นร้โู ดยการปฏบิ ตั ิ จรงิ ท้ังการเรยี นรูข้ องคนในชุมชนทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั (2) เปน็ แหล่งทากิจกรรมแหล่ง ทัศนศกึ ษา แหล่งฝกึ งานและแหล่งประกอบอาชีพของผเู้ รยี น (3) เป็นแหลง่ สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้เกดิ ขึน้ โดยตรง (4) เป็นหอ้ งเรยี นธรรมชาติ เป็นแหล่งศกึ ษาคน้ ควา้ วิจยั และฝึกอบรม (5) เป็นการเปิดโอกาส สาหรบั ผสู้ นใจเขา้ ถงึ ขอ้ มูลได้อย่างเต็มที่และท่วั ถงึ (6) สามารถเผยแพรข่ ้อมลู แกผ่ ู้เรยี น ผูร้ บั บริการในเชงิ รุก เขา้ สูท่ กุ กลุม่ เปา้ หมายอย่างทวั่ ถึง ประหยดั สะดวก (7) มีการเชอื่ มโยงและแลกเปล่ียนข้อมลู ระหว่างกนั และ (8) มีสือ่ ประเภทต่างๆ ประกอบด้วยสอื่ สงิ่ พมิ พ์ และสือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์ เพ่อื เสริมกจิ กรรมการเรยี นการสอน และการพฒั นาอาชีพเป็นตน้ เอกสารทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้เลม่ น้ี จะประกอบด้วยเน้อื หาสาระ ดงั ต่อไปนี้ แหล่งเรียนร้ปู ระเภทท่องเทีย่ ววัฒนธรรม ไดแ้ ก่ บ้านดอนพรม ศูนยก์ ารศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย อาเภอบางแพ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า จะเปน็ แหลง่ เรยี นรแู้ ละขอ้ มลู สารสนเทศของสถานศึกษา ให้มีคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา เพื่อนาไปสู่การประเมิน เพื่อรองรับมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาและผู้รบั บริการเกดิ ความมนั่ ใจและพอใจในการรบั บริการท่ี มีมาตรฐานการศึกษาทก่ี าหนด ตอ้ งขอขอบคุณคณะทางานทีม่ สี ่วนเกี่ยวข้องทุกทา่ นทที่ าให้เอกสารสาเร็จ ดว้ ยดี หากทา่ นพบข้อบกพรอ่ งและขอ้ เสนอแนะใดๆ ในการพฒั นาทาเนียบแหลง่ เรยี นรู้ให้มคี วามสมบูรณ์ โปรดแจ้งศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางแพ เพื่อได้พัฒนาปรบั ปรุงตอ่ ไป (นายสจั จา จนั ทรวเิ ชียร) ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางแพ



สารบัญ คานา หนา้ สารบัญ 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐานจงั หวดั ราชบรุ ี ข้อมูลพื้นฐานอาเภอบางแพ 5 9 แหล่งเรยี นรเู้ ชงิ วฒั นธรรม บา้ นดอนพรม



1 ขอ้ มลู พื้นฐานจังหวดั ราชบรุ ี

2 คาขวญั ประจาจงั หวดั ราชบุรี คนสวยโพธาราม คนงามบา้ นโปง่ เมืองโอง่ มงั กร วดั ขนอนหนงั ใหญ่ ตื่นใจถ้างาม ตลาดนา้ ดาเนิน เพลินค้างคาวรอ้ ยล้าน ย่านย่สี กปลาดี ตราประจาจงั หวัดราชบรุ ี รูปเคร่ืองราชกกธุ ภัณฑข์ องพระมหากษตั รยิ ์ 2 สิ่ง คอื 1.พระแสงขรรค์ชัยศรี ประดิษฐานอยูบ่ นบันไดแก้ว 2.ฉลองพระบาทคู่ประดิษฐานอยบู่ นพานทอง หมายถึง เครือ่ งแสดงถึง ความเป็นพระเจ้าแผน่ ดิน ธงประจาจงั หวัดราชบุรี ต้นไมป้ ระจาจงั หวดั ราชบรุ ี ดอกไม้ประจาจงั หวัด ช่ือพรรณไม้ โมกมัน ราชบุรี ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Wrightia ชอ่ื ดอกไม้ ดอกกลั ปพฤกษ์ tomentosa

3 ประวัติจังหวดั ราชบรุ ี จังหวดั ราชบุรมี ชี ่ืออนั เป็นมงคลยง่ิ หมายถงึ \" เมืองพระราชา\" ราชบุรเี ป็นเมอื งเก่าแก่ เมอื งหนง่ึ ของ ประเทศไทยจากการศึกษา และขุดค้นของนกั ประวัตศิ าสตร์ นกั โบราณคดี พบว่าดินแดนแถบล่มุ แมน่ ้าแม่ กลองแห่งนี้เปน็ ถ่ินฐานท่อี ยู่อาศัยของคนหลายยคุ หลายสมยั และมคี วามรุ่งเรอื งมาต้ังแต่อดีต จากหลกั ฐานทาง โบราณสถานและโบราณวัตถุมาก ทาใหเ้ ชื่อไดว้ ่ามผี ูค้ นต้ังถนิ่ ฐานอย่ใู นบริเวณนตี้ งั้ แตย่ ุคหินกลาง ตลอดจนได้ ค้นพบเมืองโบราณสมัยทราวดีที่ตาบลคบู ัว อาเภอเมืองราชบรุ ี พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก มหาราชปฐมกษตั ริยแ์ หง่ ราชวงศจ์ กั รี ได้เคยดารงตาแหนง่ หลวงยกกระบตั รเมอื งราชบุรีในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนปลาย ซึ่งในชว่ งปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาและตอนต้นกรุงรตั นโกสินทร์ปรากฏหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ พบวา่ เมอื งราชบุรีเป็นเมือง หนา้ ด่านทส่ี าคัญ และ เป็นสมรภูมิการรบหลายสมัย โดยเฉพาะในสมยั สมเด็จพระ พทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกไดย้ กทัพมาต้ังรบั ศึกพม่าในเขตราชบุรหี ลายครั้ง คร้งั สาคญั ท่สี ดุ คอื สงครามเกา้ ทพั ต่อมา พ.ศ. 2360 ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั ได้โปรดเกล้าฯให้สรา้ งกาแพงเมืองใหม่ทาง ฝั่งซ้ายของแมน่ า้ แมก่ ลองตลอดมาจนถึงปจั จบุ ัน คร้นั ถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ใน พ.ศ. 2437 ไดท้ รงเปลีย่ น การปกครองสว่ นภูมิภาคโดยรวมหวั เมืองตา่ งๆ ทอ่ี ยู่ใกลช้ ิดกัน ตั้งข้นึ เป็นมณฑล และได้ รวมเมืองราชบรุ ี เมอื งกาญจนบรุ ี เมืองสมทุ รสงคราม เมอื งเพชรบุรี เมืองปราณบุรี เมอื งประจวบคีรขี ันธ์ รวม 6 เมอื ง ต้ังขึ้นเปน็ มณฑลราชบุรี ตงั้ ทบ่ี ญั ชาการมณฑล ณ ท่ีเมอื งราชบรุ ี ทางฝงั่ ขวาของแม่น้าแม่กลอง (ปจั จุบนั คอื ศาลากลางจงั หวดั ราชบุรหี ลงั เกา่ ) ตอ่ มาใน พ.ศ. 2440 ไดย้ า้ ยที่บัญชาการเมืองราชบรุ ี จากฝ่ังซา้ ย กลบั มา ต้งั รวมอยแู่ หง่ เดียวกับศาลาว่าการมณฑลราชบุ รี ทางฝงั่ ขวาของแมน่ า้ แมก่ ลอง จนถึง พ.ศ. 2476 เมื่อไดม้ กี าร ยกเลิกการปกครองแบบมณฑลท้งั หมด มณฑลราชบุรีจงึ ถกู ยกเลกิ และคงฐานะเปน็ จงั หวดั ราชบุ รจี นถงึ ปัจจุบนั อาณาเขต ทศิ เหนอื ติดต่อจงั หวดั กาญจนบรุ ี ทิศใต้ ติดต่อจงั หวัดเพชรบุรี ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อจงั หวดั สมทุ รสาคร สมุทรสงคราม และนครปฐม ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ ประเทศพมา่ สภาพภมู ปิ ระเทศ 1. พื้นทีร่ าบสงู ไดแ้ ก่ บรเิ วณชายแดนทต่ี ดิ ต่อกับประเทศพม่า มเี ทือกเขาตะนาวศรีและภเู ขานอ้ ยใหญ่ สลับซบั ซอ้ นในเขตพนื้ ที่อาเภอสวนผ้ึง จอมบึง ปากท่อ และกงิ่ อ.บา้ นคา 2. พืน้ ท่ีราบล่มุ ไดแ้ กบ่ ริเวณพ้นื ทร่ี าบล่มุ แมน่ า้ แมก่ ลอง มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมกับการเพาะปลูกหรอื ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ในเขตพ้นื ที่อาเภอเมืองราชบรุ ี โพธาราม และบ้านโปง่ 3. พ้ืนทร่ี าบต่า ได้แกบ่ รเิ วณตอนปลายของแมน่ า้ แม่กลอง คลองดาเนนิ สะดวก และแม่นา้ ออ้ ม ดา้ นจงั หวัด สมุทรสงคราม ในเขตพ้นื ทอี่ าเภอบางแพ วดั เพลง และดาเนินสะดวก ซง่ึ มีคคู ลองเชื่อมโยงถึงกนั กว่า 200 สาย สภาพพน้ื ทแ่ี บง่ ได้ 3 ลกั ษณะคือ

4 เขตการปกครอง จงั หวดั ราชบุรแี บ่งการปกครองออกเปน็ การปกครองส่วนภมู ภิ าค และการปกครองส่วนท้องถิ่นดังนี้ การปกครองสว่ นภมู ภิ าค แบ่งการปกครองออกเป็น 9 อาเภอ 1 กงิ่ อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมอื งราชบรุ ี อาเภอโพธาราม อาเภอบา้ นโปง่ อาเภอดาเนินสะดวก อาเภอบางแพ อาเภอวดั เพลง อาเภอปากทอ่ อาเภอจอม บงึ อาเภอสวนผึ้ง และกิ่งอาเภอบ้านคา 104 ตาบล 963 หมู่บ้าน การปกครองส่วนทอ้ งถิ่น แบง่ การปกครองออกเปน็ 1 องค์การบริหารส่วนจงั หวัด 3 เทศบาลเมอื ง 20 เทศบาลตาบล และ 93 องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล จานวนประชากรท้ังสิ้น 830,275 คน เปน็ ชาย 408,255 คน และเปน็ หญงิ 422,020 คน

5 ขอ้ มลู พ้นื ฐานอาเภอบางแพ

6 อาเภอบางแพ คาขวญั อาเภอบางแพ : เปด็ พะโลร้ ะบอื นาม กงุ้ ก้ามกรามชื่อนยิ ม อีกโคนมพันธดุ์ ี ประเพณีไทยทรงดา แหลง่ เพาะชาไมด้ อก สนิ ค้าออกเห็ดนานาพันธุ์ ทอี่ ยทู่ ่ีวา่ การอาเภอ ที่วา่ การอาเภอบางแพ หมทู่ ี่ ๕ ต.บางแพ อ.บางแพ จ.ราชบรุ ี พกิ ดั ๑๓°๔๑′๓๐″N ๙๙°๕๕′๔๘″E/ ๑๓.๖๙๑๖๗°N ๙๙.๙๓๐๐๐°E/ ๑๓.๖๙๑๖๗; ๙๙.๙๓๐๐๐ ข้อมูลทั่วไป ๑.ประวัตคิ วามเปน็ มา อาเภอบางแพเปน็ ชมุ ชนหน่งึ เมืองราชบุรี ในอดีตเปน็ ทรี่ าบลุ่มจดชายทะเลในฤดูฝนจะมผี ู้คน จานวนมากพากนั ตดั ไมเ้ ป็นแพล่องตามลานา้ ไปชายทางชายทะเล และชมุ ชนที่มีความเจรญิ และมปี ระชากรอยู่ หนาแนน่ คอื ชมุ ชนโพหัก (ตาบลโพหกั ) เปน็ แหล่งอารยะธรรมโบราณแหง่ หน่ึงที่ราบลุ่มแม่นา้ แมก่ ลอง ซ่งึ มีอายุ ประมาณ ๒,๐๐๐-๓,๐๐๐ ปี เพราะกรมศลิ ปกรได้ขุนพบโครงกระดกู มนษุ ยโ์ บราณ จานวน ๔๘ โครง ในบริเวณ โคกพับ หมทู่ ่ี ๒ ตาบลโพหัก ในปี พ.ศ.๒๕๒๐-๒๕๒๑ นอกจากนนั้ ยงั ไดข้ ุดพบต้มุ หทู ีท่ าจากหนิ เซอร์เพนไทม์ สี เขียวคล้ายหยก หวีทท่ี าดว้ ยกระดกู สัตว์ มีลกั ษณะคลา้ ยกับทใี่ นประเทศจีน ซงึ่ พบกนั มากก่อนสมยั ราชวงศ์ฮัน่ ซึง่ มีอายุประมาณ ๒,๐๐๐ ปี นอกจากนนั้ “ ถนนท้าวอูท่ อง “ ซ่งึ เปน็ ถนนโบราณทเ่ี ชื่อมระหวา่ งเมอื งราชบุรี กบั เมืองเพชรบรุ ี ในสมยั ทราวดีราวพุทธศักราชศตวรรษที่ ๑๓ จนถึงสมยั อู่ทองหรอื ลพบรุ ี ซึง่ แนวถนนอู่ทอง เดิมเปน็ สันทรายท่ีเปน็ ทะเลโบราณ เป็นแนวธรรมชาติทเี่ ร่มิ ต้นจากอาเภอบางแพ ผ่านอาเภอเมืองราชบรุ ี และ ตาบลคบู ัว ไปยังเขตอาเภอปากท่อ อาเภอเขาย้อย และอาเภอเมืองเพชรบุรี จากหลักฐานดังกล่าวข้างต้น จะ เห็นวา่ อาเภอบางแพในอดีตเปน็ ชมุ ชนท่ีมีความเจรญิ เปน็ เมอื งทา่ ในการค้าขาย และมคี วามสาคญั ย่ิงชุมชนหนง่ึ ของเมอื งราชบรุ ี และเป็นหลกั ฐานประการหนึ่ง คอื ประชาชนในอาเภอบางแพ ประกอบด้วยชนหลายเชอ้ื สาย เชน่ ไทย (ชมุ ชนโพหัก) บ้านดอนสาลี และบา้ นดอนใหญ่ เขมร (บา้ นหัวโพ บา้ นดอนเช่ง บ้านลาพญา บา้ นดอน กระทุม่ และบา้ นดอนมะขามเทศ และจีน เป็นตน้ ซ่ึงแสดงใหเ้ ห็นวา่ ชมุ ชนท่ีมีความเจรญิ แหง่ หน่ึงในอดีต บาง แพเป็นส่วนหน่งึ ของเมอื งราชบุรี ตลอดมาจนไดม้ ีการจัดระเบียบการปกครองทอ้ งถนิ่ ให้เป็นมณฑล เป็นจังหวัด และเปน็ อาเภอ จนในปี พ.ศ.๒๔๕๗ ทางราชการได้แบง่ ตาบลต่างๆ ของอาเภอบ้านโปง่ อาเภอโพธาราม และ อาเภอดาเนนิ สะดวก รวม ๑๗ ตาบล ยกฐานะเป็นอาเภอซึ่งได้ตัง้ ทว่ี า่ การอาเภออยทู่ ี่ บ้านลาพญา ตาบลลา

7 พญา ตง้ั ช่ืออาเภอว่าอาเภอลาพญา ตอ่ มาเม่อื ปี พ.ศ.๒๔๖๑ เปล่ียนเปน็ อาเภอบางแพ พ.ศ.๒๔๙๕-๒๔๙๗ ทว่ี า่ การอาเภอชารดุ ทรดุ โทรมทางราชการไดอ้ นุมตั ิงบประมาณให้สรา้ งทว่ี ่าการอาเภอหลังใหม่จึงไดย้ า้ ยท่ีวา่ การ อาเภอไปสรา้ งใหมใ่ นบริเวณทศิ ตะวนั ตกของลาคลองตาคต (บริเวณทต่ี ้งั ท่วี า่ การอาเภอในปัจจุบนั ) ท่ีตั้งและอาณาเขต อาเภอบางแพตง้ั อยทู่ างทิศตะวนั ออกของจงั หวัด มีอาณาเขตติดต่อกบั เขตการปกครองข้างเคยี ว ดังต่อไปนี้ ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกบั อาเภอเมอื งนครปฐม (จงั หวัดนครปฐม) ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกบั อาเภอสามพราน (จังหวัดนครปฐม) และอาเภอบา้ นแพว้ (จงั หวดั สมทุ รสาคร) ทิศใต้ ติดตอ่ กบั อาเภอดาเนนิ สะดวก (จังหวัดราชบรุ ี) ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กบั อาเภอโพธาราม (จงั หวัดราชบรุ ี) ๒ .เน้อื ท/่ี พ้ืนท่ี ๑๗๒,๕๙๖ ตร.กม. ๓. สภาพภมู อิ ากาศโดยท่ัวไป แบบมรสมุ มี ๓ ฤดู ฤดรู อ้ น ฤดูฝน และ ฤดูหนาว

8 แหล่งเรียนรู้เชิงวัฒนธรรม

9 บา้ นดอนพรม สภาพทว่ั ไปของชมุ ชนชาวไทยทรงดา ชาวไทยทรงดา ลาวโซง่ หรอื ลาวทรงดา เป็นกลมุ่ ชนเดียวกันซึง่ นับวา่ เป็นคนไทยส่วนหนงึ่ มถี น่ิ กาเนิดดง้ั เดมิ มาจากประเทศเวียดนาม อพยพมาอยู่ในประเทศไทยหลายครั้ง ในปี พ.ศ. 2321 ครั้งพระเจา้ ตากสินมหาราชโปรดเกลา้ ใหส้ มเด็จเจา้ พระยามหากษัตริยศ์ กึ พร้อมดว้ ย พระยาสุรสีห์พิษณุวาธริ าชคือสมเด็จพระอนุชาธิราช เปน็ แม่ทัพยกไปปราบเมอื งลา้ นช้างและยกทัพขน้ึ ไปทาง เหนือตเี มืองม่วยหรือมอ่ ย เมอื งพันได้แล้วอพยพชาวไทยทรงดากลบั มาจงึ ให้ไปต้ังบา้ นเมืองอยเู่ พชรบุรี ปี พ.ศ. 2535 ในแผน่ ดินพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช พวกเมอื งแถง เมอื งพวน ตั้งขอ้ ขัดแย้งต่อเมอื งเวยี งจนั ทร์ เจา้ เมืองจงึ แตง่ กองทพั ข้ึนไปตเี มืองแถงเมืองพวน ไดพ้ วกผู้ไตทรงดา และลาว พวน สง่ มาทีก่ รงุ รัตนโกสนิ ทรแ์ ละสง่ มาทเ่ี พชร ต่อมาปี พ.ศ. 2378 สมยั พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว รชั กาลที่ 3 โปรดเกล้า ฯ ให้ เจา้ พระยาธรรมา (สมบญุ ) เปน็ แมท่ พั ยกไปปราบหวั เมอื งฝา่ ยเหนือ เสรจ็ ราชการแลว้ จดั การบ้านเมืองเปน็ ปกติ สุขเรยี บรอ้ ย ไดก้ วาดต้อนเอาครอบครวั เมอื งแถงซงึ่ สว่ นมากเป็นผ้ไู ทยดาหรือไทยทรงดา เป็นการตัดความ ยุ่งยาก ไทยทรงดาเหล่าน้นั ใหไ้ ปต้ังภูมลิ าเนาทามาหากินทีเ่ มอื งเพชรบรุ ี ๒. ความเป็นมาในการกอ่ ตงั้ ชมุ ชน ชมุ ชนบ้านดอนพรหมเปน็ ชมุ ชนหนงึ่ ของอาเภอบางแพท่ีมีประชากรมีเช้ือสายไทยทรงดา (ลาวโซง่ ) ซง่ึ ได้อพยพมาจากเมืองเพชรบุรี จงั หวัดเพชรบุรี ในช่วงปลายสมัยของสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั รชั กาล ท่ี 4 แหง่ กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ มาตงั้ ถน่ิ ฐานบ้านเรือนอยอู่ าศยั และประกอบอาชีพ ณ บา้ นดอนพรหม และไดม้ ี ประชากรอยหู่ นาแนน่ ขึ้น ทางราชการจงึ ได้ประกาศจัดต้งั ขน้ึ เป็นหมบู่ า้ น เรียกวา่ บ้านดอนพรหม สาหรบั ที่มี ชื่อว่าบ้านดอนพรหมน้ัน เน่ืองจากสภาพเดมิ ของหมูบ่ ้านนัน้ เป็นท่ดี อน มตี น้ หนามพรมข้ึนอยู่เป็นจานวนมาก ชาวบา้ นจงึ เรียกว่า ดอนพรม การรวมกลุ่มกนั ของคนในชุมชนบา้ นดอนพรมไดเ้ รม่ิ รวมกันเปน็ กลุม่ ชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั ประกอบ กบั มีเชือ้ ชาติ และมขี นบธรรมเนียมประเพณอี นั เดยี วกัน จงึ ทาให้เป็นชุมชนทีม่ ีความเป็นอันหนงึ่ เดยี วกัน โดยมีพระครูพรหมสนุ ทร อดีตเจ้าอาวาสวดั ดอนพรม เปน็ ผจู้ ดุ ประกายการก่อต้ังชมุ ชน ชมุ ชนบ้านดอนพรม ตงั้ อยู่หมูท่ ่ี 2 ตาบลดอนคา อาเภอบางแพ จังหวัดราชบรุ ี โดยอยทู่ างทิศ ตะวันออกของอาเภอบางแพ มีระยะทางห่างจากที่ว่าการอาเภอบางแพ 14 ก.ม. มีเน้ือที่ทง้ั สิ้นจานวน 2,443 ไร่ เปน็ พน้ื ท่เี กษตรกรจานวน 2279 ไร่ และพ้ืนท่อี ยอู่ าศัย 164 ไร่ มีครัวเรอื น 182 ครวั เรือน ประชากร 1228 คน เป็นชาย 632 คน หญงิ 596 คน

10 มอี าณาเขต ดงั น้ี 3 ตาบลดอนใหญ่ อาเภอบางแพ ทิศเหนือ ตดิ ต่อกับหมูท่ ่ี 4 ตาบลโพหัก อาเภอบางแพ ทิศใต้ ติดตอ่ กับหมทู่ ี่ 1 ตาบลดอนใหญ่ อาเภอบางแพ ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับหมู่ท่ี 3 ตาบลดอนคา อาเภอบางแพ ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับหมทู่ ี่ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศโดยทวั่ ไปของบา้ นดอนพรม พ้นื ทีส่ ่วนใหญ่เป็นท่รี าบลมุ่ เหมาะกบั การทา การเกษตร ไมม่ ีปา่ ไม้ ไมม่ ภี ูเขา มีทางหลวงชนบทสายลาพญา-ตากแดด ผ่านหมู่บา้ น ๓. ภาษาของชาวไทยทรงดา (ลาวโซง่ ) ชาวลาวโซ่งมีภาษาซ่ึงเปน็ เอกลกั ษณ์ของตนทง้ั ภาษาเขยี นและภาษาพดู นับจากเวลาทอ่ี พยพมาอยู่ ประเทศไทยเปน็ เวลานานกวา่ สองรอ้ ยปี ภาษาเขยี นไดค้ ่อยๆ สูญหายไปพรอ้ มกับชาวลาวโซ่งรนุ่ เกา่ ทเี่ สยี ชวี ิต บางคนกม็ ีอายุมากประมาณ 80 ปขี น้ึ ไป เม่ือไมไ่ ดเ้ ขยี นนานมากกท็ าให้ลืมเลือนไป ในปัจจุบัน จึงมชี าวลาว โซ่งผสู้ ูงอายทุ ร่ี ูภ้ าษาเขยี นน้อยลง แตภ่ าษาพดู ยังคงใช้ส่อื สารกันระหว่างผ้ทู ่ีมีเช้อื สายลาวโซ่งด้วยกัน ใน หมู่บ้านผทู้ ่มี ีอายุ 40 ปขี ึ้นไป ซึ่งลูกหลานลาวโซง่ ร่นุ หลงั ไมไ่ ด้ใช้ภาษาพดู อยา่ งบรรพบรุ ษุ แต่ยงั คงฟงั ภาษา พูดได้ และปัจจุบนั ภาษาพดู ของชาวลาวโซ่งกม็ ภี าษาไทยปนบา้ ง “คาขวญั บา้ นดอนพรม” บา้ นดอนพรมเมอื งนา่ อยู่ เชิดชูวัฒนธรรม ไทยทรงดาลา้ เลิศ แสนประเสรฐิ ความสามัคคี การแต่งกายของชาวไทยทรงดา ชดุ ไทยทรงดา

11 ชมุ ชนไทยทรงดา ลาวโซ่ง จังหวดั ราชบรุ มี ีอยู่หลายอาเภอ เช่น อาเภอจอมบงึ ปากท่อ ดาเนนิ สะดวก สาหรับอาเภอบางแพอยทู่ ตี่ าบลดอนคา ชุมชนลาวโซ่งมีหนังสือและภาษาพูดเปน็ ของตวั เอง สาเนยี งภาษาพดู คล้ายลาวเวยี งจันทร์ ตวั หนงั สือคล้ายลาว การแต่งกายชาย-หญงิ นยิ มแตง่ กายชุดดาหรอื สีครามเขม้ เปน็ ประจา จนไดช้ ่ือวา่ “ลาวทรงดา ” หรอื “ไทยทรงดา ” เส้อื ผา้ ลาวโซ่งแบง่ เปน็ ชุดท่ีใช้ประจา และชดุ ทีใ่ ช้กนั ในโอกาส พิเศษชดุ ทใี่ ช้ประจาผู้ชายนุ่งกางเกงขาสน้ั สีดาหรอื สีครามเข้ม เรยี กวา่ “ส้วงขาวต้น” ผหู้ ญิงนงุ่ ผา้ ซนิ่ สีดาหรอื สี ครามเขม้ มีลายขาวสลบั ดาเปน็ ลายทางลงมีเชิงเปน็ ผา้ ขอบกวา้ งประมาณ 2-3 น้ิว สวมเสอ้ื แขนกระบอกแขน ยาวสีดารดั ขอ้ มือผา่ หนา้ ตลอดตัว กระดมุ เงนิ เรียกว่า “เส้ือก้อม ” ผูช้ ายเรยี ก “เสอื้ ไท ” ชดุ ทีใ่ ช้ในโอกาสพิเศษ ผู้ชายนงุ่ การเกงขายาวสีดา “ส้วงขาฮี ” สวมเสื้อ เรยี กวา่ “เสอื้ ฮี”ซ่งึ ทาด้วยผ้าฝา้ ยยอ้ มคราม ตวั เสอ้ื เขา้ รปู ผ่าหน้าตลอดรกั แร้และดา้ นขา้ งตัวปกั ด้วยเศษผา้ สี ต่างๆ ตดั กระจกชนิ้ เลก็ ๆ เปน็ ลวดลายสวยงาม เส้อื ฮผี ู้หญงิ ปักดา้ ยตกแต่งปลายแขนดว้ ยไหมสีสดหลากสี นิยม สวมเคร่อื งประดบั โลหะ ส่วนทรงผมตา่ งๆ ตามชว่ งอายุ ไว้ดา้ นหลัง ชุดแต่งงานของชาวไทยทรงดา ชดุ แต่งงานของชาวไทยทรงดาแบบเต็มยศ

12 ผ้ชู ายสวมหมวก ใสก่ าไลเงิน สะพายย่าม, ผู้หญงิ ใสเ่ สอ้ื ฮแี ละน่งุ ผา้ ซน่ิ หม้ี เส้ือผ้า ของใช้ การแตง่ กายของชาวไทยทรงดา และการจัดงานสบื สานประเพณวี ฒั นธรรม “ไทยทรงดา” การแต่งกายไทยทรงดาแบบประยกุ ต์

13 การแต่งกายไทยทรงดาของยยุ้ ญาติเยอะ และ กานันประจวบ ติง่ ตอ้ ย ประเพณีวฒั นธรรมชมุ ชนของชาวไทยทรงดา ประเพณพี ธิ ีกรรมของลาวโซ่งทีส่ าคญั คอื พธิ ีเสนเรือน และพธิ ีเวนตง หรือการเลี้ยงผเี รือนถอื เป็นการ ทาใหบ้ รรพบุรุษท่ีลว่ งลบั ไปแลว้ ไมอ่ ดอยากและทาใหท้ กุ คนในครอบครัวมีความสุขและเกิด สิริมงคลแก่ ครอบครวั และพธิ กี รรมที่สาคัญอกี อยา่ งหนึ่งคอื การ “เรียกขวัญ” หรอื การแปลงขวญั เปน็ พิธขี ับไลส่ ิ่งช่วั ร้าย ถือวา่ เปน็ เสนียดจัญไร และเรยี กขวญั ของบคุ คลผนู้ น้ั กลบั คืนมาสรู่ า่ งกาย พธิ ีน้ีนยิ มทากับเด็ กหรอื ผูใ้ หญ่ทีต่ กใจ ขวัญเสีย หรือไปประกอบอาชีพต่างถ่ินต่างแดนไกล เมอ่ื กลับมาบา้ นเกดิ กจ็ ะทาพิธนี ี้ ซง่ึ ปจั จบุ ันก็ยังทากันเป็น ประจา

14 การแต่งกายของนักเรยี นโรงเรียนวดั ดอนพรหม การแห่ขบวนชนั หมาก

15 ขบวนขันหมากของชาวไทยทรงดา หาบเข่งใส่เครอ่ื งเซ่นของบรรพบรุ ษุ

16 ขบวนขันหมาก การประกวดธิดาไทยทรงดา

17 การฟอ้ นแคนของคนไทยทรงดา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook