Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่ออิเล็กทรอนิกส์

สื่ออิเล็กทรอนิกส์

Published by รติพร อินต๊ะ, 2022-01-09 02:27:52

Description: สื่ออิเล็กทรอนิกส์

Keywords: lสื่ออิเล็กทรอนิกส์

Search

Read the Text Version

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ จัดทำโดย น.ส. รติพร อินต๊ะ เลขที่ 16 ส่ง อ.อลิษา พันเทศ

คำนำ Trainingmedia สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic media) หมายถึง สื่อที่บันทึกสารสนเทศด้วย วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์อาจอยู่ในรูปของ สื่อบันทึกข้อมูลประเภทสารแม่เหล็ก เช่น แผ่นจานแม่เหล็กชนิดอ่อน (floppy disk) และสื่อประเภทจานแสง (optical disk) บันทึกอักขระ แบบดิจิตอลไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ บันทึกและอ่านข้อมูล

สื่ออิเล็กทรอนิทส์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์” สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic media) หมายถึง สื่อที่บันทึก สารสนเทศด้วย วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์อาจอยู่ในรูปของ สื่อบันทึกข้อมูลประเภทสาร แม่เหล็ก เช่น แผ่นจานแม่เหล็กชนิดอ่อน และสื่อประเภทจานแสง(optical disk) บันทึก อักขระแบบดิจิตอลไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ บันทึก และอ่านข้อมูล เป็นสื่อการเรียนการสอนที่เกิดจากวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสื่อสารโทรคมนาคม การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอนจะออกมาใน ลักษณะของสื่อประสม หรือมัลติมีเดีย (Multimedia) แสดงผลออกมาหลายรูปแบบตาม ที่โปรแกรมไว้ เช่น มีเสียง เป็นภาพเคลื่อนไหว สามารถให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ ปัจจุบัน สื่อประเภทนี้มีหลายลักษณะ

โดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แบ่งออก ได้ดังนี้ ข้อดี 1.ขยายขอบเขตของการเรียนรู้ของผู้เรียนในทุกหนทุกแห่ง จาก ห้องเรียนปกติไปยังบ้าน และที่ทำงาน ทำให้ไม่เสียเวลาในการเดิน ทาง 2.ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ผู้เรียนรอบโลกในสถานศึกษาต่าง ๆ ที่ร่วมมือกันได้มีโอกาสเรียนรู้พร้อมกัน 3.ผู้เรียนควบคุมการเรียนตามความต้องการ และความสามารถของ ตนอง 4.การสื่อสารโดยใช้ อีเมล์ กระดานข่าว การพูดคุยสด ฯลฯ ทำให้การ เรียนรู้มีชีวิตชีวาขึ้นกว่าเดิม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนช่วยเหลือกันใน การเรียน 5.กระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักการสื่อสารในสังคม และก่อให้เกิดการเรียน แบบร่วมมือ ซึ่งที่จริงแล้ว การเรียนแบบร่วมมือสามารถขยาย ขอบเขตจากห้องเรียนหนึ่งไปยังห้องเรียนอื่น ๆ ได้โดยการเชื่อมต่อ ทางอินเทอร์เน็ต 6.การเรียนด้วยสื่ อหลายมิติทำให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนเนื้ อหาได้ ตามสะดวกโดยไม่ต้องรียงลำดับกัน 7.ข้อมูลของหลักสูตรและเนื้ อหารายวิชาสามารถหาได้โดยง่าย 8.การเรียนการสอนมีให้เลือกทั้งแบบประสานเวลา คือเรียน และพบกับผู้ สอนเพื่อปรึกษา หรือถามปัญหาได้ในเวลาเดียวกัน (Synchronous) และ แบบต่างเวลา (Asynchronous) คือเรียนจากเนื้อหาในเว็บ และติดต่อผู้ สอนทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น

9.ส่งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื่องจากเว็บเป็นแหล่งความรู้ที่ เปิดกว้างให้ผู้ที่ต้องการศึกษาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง สามารถเข้ามาค้นคว้าหาความรู้ได้ อย่างต่อเนื่อง และตลอดเวลา การสอนบนเว็บตอบสนองต่อผู้เรียนที่มีความใฝ่รู้ รวม ทั้งมีทักษะ ในการตรวจสอบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Meta-Cognitive Skills) ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 10.การสอนบนเว็บเป็ นวิธีที่ดีเยี่ยมในการให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ของสถานการณ์ จำลอง ทั้งนี้เพราะสามารถใช้ข้อความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ ภาพ 3 มิติ ในลักษณะที่ใกล้เคียงกับชีวิตจริงได้ ข้อจำกัด การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้นยังมีน้ อย เมื่อเทียบกับการออกแบบ โปรแกรมเพื่อใช้ในวงการ อื่น ๆ ทำให้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีจำนวน และ ขอบเขตจำกัดที่จะนำมาใช้เรียนในวิชาต่างๆ การที่จะให้ผู้สอนเป็นผู้ออกแบบโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเองนั้น นับว่า เป็นงานที่ต้องอาศัยเวลา สติปัญญา และความสามารถเป็นอย่างยิ่ง ทำให้เป็นการเพิ่ม ภาระของผู้สอน

ประเภทสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 1.คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI CAI ย่อมาจากคำว่า COMPUTER-ASSISTED หมายถึง สื่อการเรียนการ สอนทางคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง ซึ่งใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการนำเสนอ สื่อประสม ได้แก้ ข้อความ ภาพนิ่ง กราฟิก แผนภูมิ กราฟ วีดีทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง 2.WBI (Web-based Instruction) คือ บทเรียนที่สร้างขึ้นสำหรับการเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยนำจุดเด่น ของวิธีการให้บริการข้อมูลแบบ www มาประยุกต์ใช้ Web Base Instructionจึงเป็นบท เรียนประเภท CAI แบบ On-line ในที่นี้หมายความว่า ผู้เรียนเรียนอยู่หน้ าจอ คอมพิวเตอร์ที่ติดต่อผ่านเครือ กับเครื่องแม่ข่ายที่บรรจุบทเรียน

4.E-book เป็นคำภาต่างประเทศ ย่อมาจากคำว่า electronic book หมายถึงหนังสือที่สร้าง ขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์โดยปกติมักจะเป็นแฟ้ ม ข้อมูลที่สามารถอ่านเอกสารทางหน้ าจอคอมพิวเตอร์ทั้งในระบบ ออฟไลน์และออนไลน์ 5. E-Training E-Training หมายถึง กระบวนการการฝึกอบรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นกระ บวนการจัดการฝึกทักษะ เพิ่มพูนสาระความรู้ ที่เน้ นให้ผู้เข้ารับการอบรมนั้นเรียนรู้ด้วย ตนเอง ผู้เข้าอบรมมีอิสระในการเข้าศึกษา เรียนรู้ตามเวลา โอกาสที่ผู้ฝึกอบรมต้องการโดย เนื้อหาขององค์ความรู้จะถูกออกแบบมาให้ศึกษาเรียนรู้ได้โดยง่าย ในรูปแบบมัลติมีเดียซึ่ง ประกอบด้วยสื่อที่เป็นข้อความรูป หรืออาจมี ภาพเคลื่อนไหว 6.Learning Object หมายถึง การจัดรูปแบบสาระการเรียนรู้เป็นหน่วยที่เป็นอิสระใช้เวลา สำหรับการเรียนรู้ เป็นช่วงสั้นๆ ประมาณ 2 ถึง15 นาที และถึงแม้ ว่าจะเป็นการเรียนรู้ แบบหน่วยย่อยก็ตาม Learning Object จะมีความสมบรูณ์ในตัวเองซึ่งในแต่ละเนื้อหา จะประกอบชื่อเรื่อง คำอธิบายคำสำคัญวัตถุประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ และ การประเมินผล ประการหนึ่งคือ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง

ยุคปัจจุบันนี้ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือนิยมใช้คำย่อว่า ICT : Information and Communication Technology ซึ่งหมายรวมถึงเทคโนโลยีหลักสำคัญ 2 ด้าน ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology) และ เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) ICT มีบทบาทและส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตประจำวัน ของคนในสังคม ที่เรียกกันว่า สังคมสารสนเทศ (Information Society) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) ได้กล่าวถึง ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศเป็น “ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคม ไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้” (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่10 www.cmtca.or.th/file_doc/แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม) เทคโนโลยี สารสนเทศเป็ นเทคโนโลยีที่สำคัญยิ่งในการเอื้ อให้ประชาชนทุกภาคส่วนสามารถเข้า ถึงความรู้ได้อย่างรวดเร็วและตลอดเวลา มีความสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศ ให้บรรลุเป้ าหมายและสามารถแข่งขันกับนานาประเทศในโลกยุคเศรษฐกิจแห่ง ภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge - Based Economy

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) ได้กล่าวถึง ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศเป็น “ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่ สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้” (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่10 www.cmtca.or.th/file_doc/แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม) เทคโนโลยีสารสนเทศเป็น เทคโนโลยีที่สำคัญยิ่งในการเอื้อให้ประชาชนทุกภาคส่วนสามารถเข้าถึงความรู้ได้อย่าง รวดเร็วและตลอดเวลา มีความสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศให้บรรลุเป้ าหมายและ สามารถแข่งขันกับนานาประเทศในโลกยุคเศรษฐกิจแห่งภูมิปั ญญาและการเรียนรู้ (Knowledge - Based Economy

บทสรุป สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic media) หมายถึง สื่อที่บันทึกสารสนเทศ ด้วย วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์อาจอยู่ในรูปของ สื่อบันทึกข้อมูลประเภท สารแม่เหล็ก เช่น แผ่นจานแม่เหล็กชนิดอ่อน (floppy disk) และสื่อ ประเภทจานแสง(optical disk) บันทึกอักขระแบบดิจิตอลไม่สามารถอ่าน ได้ด้วยตาเปล่า ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook