Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการแก้ไขปัญหาการเรียนไม่ต่อเนื่องของนักศึกษา

วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการแก้ไขปัญหาการเรียนไม่ต่อเนื่องของนักศึกษา

Published by CALLMESUB, 2022-03-13 13:47:28

Description: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการแก้ไขปัญหาการเรียนไม่ต่อเนื่องของนักศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
จัดทำโดยนางสาวรจนา ขวัญเกตุ ครู กศน.ตำบลกระโทก

Search

Read the Text Version

วิจยั ในช้ันเรยี น เร่ือง เครือขายสงั คมออนไลน ในการแกไ ขปญหาการเรียนไมตอ เนื่อง ของนกั ศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน ภาคเรยี นที่ 2 ปการศกึ ษา 2564 โดย นางสาวรจนา ขวัญเกตุ ตําแหนง ครู กศน.ตาํ บลกระโทก ศนู ยก ารเรยี นชุมชน กศน.ตาํ บลกระโทก ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอโชคชัย สํานกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนครราชสีมา

ulUumECnt''on?1il d:u:rtnrl 4udnr:fifl uruon:vur.r uaynr:finurmrrudrurfr'udrmo1rnd'u .l iUfia, .{t Yl nt oboo.enboo/ tsm fqllin'ifrurj yr.n. bdbd je [5O{ rouauoi{'ulud'urtuu r4Euu yo € 4 {Sd'Uru':unr:elurJnr:frnuruoniyuurLffenl?finular:rd'o'arn'udtmoTtrrd'u ?YJ'lflLY{1u1{41?:au1 u n: r'tflu.ao tuafl:vL5-yn uIrg.uldnvoi'rqTuduolut-g'uudiriu fl?6Urnel . d J. Isl,i.edbd 4v v <i 4 4 nu ruuu Lqu].1:ruavrdun fl 1n r:uu?l r:uuTo ti tta? 6r rt uum rfi a nil :nfi qr:6u'r ourm a\\-/7) -\\ (urtam:tur tiryrnq) fl: nftu.f{]ua Frl'tlJrdliu?Joyro{dru:etn' r:qudrinr:dfinr*ru0n:suu$aun1:fiflBlnrudourfiudlmoTrnd'u Vouilfl (.4uuarqo:snr {zuundnr:) fgl Uo'ru?un1:fluu n15fl f'lB'luon:suurrasfl 1:Finu1a1ild0u1fru0.im0 Ltnt'EJ

บทคัดยอ การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาการแกปญหาเวลาเรียนไมตอเน่ือง เนื่องจาก สถานการณโรคระบาดไวรัสโควิด-19 เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา เมื่อเรียนดวยการเรียน แบบเนนผูเรียนเปนสําคัญการศึกษาคนควาดวยตนเอง การลงมือปฏิบัติจริง 2) เพ่ือศึกษาความ พึงพอใจ ของนักศึกษาท่ีมีตอการเรียนดวยกิจกรรมการเรียนแบบเนนผูเรียนเปนสําคญั การศึกษาคนควาดวยตนเอง กลุมตัวอยางคือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 6 คน ใชระยะเวลาตลอดภาคเรียนที่ 2 ป การศกึ ษา 2564 ในรายวิชา ในรายวชิ าสงั คมศกึ ษา สปั ดาหล ะ 4 ชว่ั โมง รวมทง้ั สิ้น 80 ชั่วโมง เคร่อื งมือ ที่ใชใ นการวิจัย ซ่ึงสรางขนึ้ โดยผูวจิ ัย ไดแก 1) แผนการจัดการเรียน 2) แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการ เรียน รายวิชา วิทยาศาสตร 3) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของ นักศึกษาท่ีมีตอการเรียน ผลการวิจัยพบวา 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนตน จํานวน 6 คน ดวยกิจกรรมการเรยี นแบบเนนผูเรยี นเปน สําคัญการศึกษาคน ควาดวยตนเอง การ ลงมือปฏิบัติจริง ทุกคนมีผลการเรียนระดับ 4.00 (ดเี ยี่ยม) คิดเปน 100 % มีคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 4.44 , คาความแปรปรวน 19.76 และคาสัมประสิทธ์ิของการกระจาย (CV.) = 5.30 หมายถึง ประสิทธิภาพอยูในระดับดีมาก 2) การจัดการเรียนดวยกิจกรรมการเรียนแบบเนนนักศึกษาเปนสําคัญ การศึกษาคนควาดวยตนเอง การลงมือปฏิบัติจริง สามารถแกไขปญหาเวลาเรียนที่ไมตอเนื่อง เน่ืองจาก เน่ืองจากสถานการณโ รคระบาดไวรัสโควิด-19 2) นักศึกษามีความพึงพอใจ ตอการเรียนดวยกิจกรรมการ เรียนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญการศึกษาคนควาดวยตนเอง การลงมือปฏิบัติจริง ระดับมาก (x =̅ 4.15, S.D.= 0.74)

กติ ตกิ รรมประกาศ งานวจิ ัยในครั้งน้ีสามารถสาํ เร็จลลุ วงไดด วยดีผูวิจยั ตองกราบขอบพระคุณนางจีระภา วฒั นกสิการ ผูอํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอโชคชัยท่ีใหความกรุณาเมตตา ใหการอบรม แนะนํา ช้ีแนะ ชวยเหลือในการศึกษาทําวิจยั ตลอดจนใหก ารแนะนําในการเขยี นรายงานการ วจิ ัย สนับสนุนสงเสริมการจัดการเรียนการสอนเนนผูเรียนเปนสําคญั การศึกษาคนควาดวยตนเองและการ ลงมือปฏิบัติจริง ใหแกคณะครูและนักศึกษาอยางเต็มศักยภาพ กราบขอบพระคุณ คณาจารยดาน เทคโนโลยี ทีใ่ หค วามชวยเหลอื ในการศึกษาใชส ่ือออนไลนและใหขอมลู ที่เปน ประโยชนตองานวจิ ัยในครั้งนี้ กราบขอบพระคุณบิดา มารดา ท่ีกรุณาอุปการะเลี้ยงดู ตลอดจนสงเสริมใหไดร ับการศกึ ษา และใหกําลงั ใจ เปนอยางดีเสมอมาขอบคุณครอบครัวและเพ่ือนรวมงานทุกคนท่ีชวยสนับสนุนใหกําลังใจจนกระท่ัง วิจัย ฉบับนส้ี าํ เรจ็ ไดดวยดี นางสาวรจนา ขวญั เกตุ

สารบัญ หนา ก บทคดั ยอ บทท่ี 1 บทนํา 1 2 ความสาํ คัญและทม่ี าของปญ หา 3-4 วตั ถปุ ระสงค 5 ขอบเขตของการศกึ ษา 5 ประโยชนท ีไ่ ดร บั นิยามศัพทเ ฉพาะ 6 บทที่ 2 ทฤษฏีท่เี กีย่ วของ 6 การสือ่ สารในองคกร (Communication in Organization) 7-12 สอื่ สังคมออนไลน (Social media) งานวิจัยทเี่ กยี่ วของ 14- บทท่ี 3 วธิ ีดาํ เนินการวิจัย 13 18 บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย 19 17 บทท่ี 5 สรปุ ผล และขอเสนอแนะ 21 สรุปผลการวิจยั ขอเสนอแนะ เอกสารอางอิง 20 ภาคผนวก คณะผูจ ัดทาํ 22

บทที่ 1 บทนาํ ความสาํ คัญและที่มาของปญหา การศึกษานับวามีความสําคัญตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรดังจะเห็นไดจากแนวการ จัดการศึกษาท่ีไดระบุไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช2551(กระทรวงศึกษาธิการ, 2552:6)ที่มุงพัฒนาผูเรียนทุกคนซ่ึงเปนกําลังของชาติใหเปนมนุษยที่มีความสมดุลท้ังดานรางกายความรู คุณธรรมมีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทย และเปนพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข มคี วามรูและทักษะพื้นฐาน รวมท้งั เจตคติ ท่จี ําเปนตอการศึกษา ตอการ ประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตโดยมุงเนนผูเรียนเปนสําคัญบนพ้ืนฐานความเช่ือวาทุกคนสามารถ เรียนรูและพัฒนาตนเองไดเต็มตามศักยภาพอีกท้ังหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช2551 ยังมีความประสงคที่จะใหเยาวชนไทยมีความรูอันเปนสากลและมีความสามารถในการสื่อสารการคิดการ แกปญหาใชเทคโนโลยีและมีทักษะชีวิตดวยเหตุนี้จึงทําใหการส่ือสารและการใชเทคโนโลยีเขามามีบทบาท สําคัญในการศึกษา โดยเฉพาะอินเทอรเน็ต ที่สามารถเชื่อมตอการสื่อสาร ขอมูลขาวสารตางๆไดอยางรวดเร็ว และทันตอเหตุการณอยูเสมอการเรียนรูบนเครือขายอินเทอรเน็ตเปนรูปแบบการเรียนอีกรูปแบบหน่ึง ที่มีความสอดคลองกับวิวัฒนาการทางเทคโนโลยีในปจจุบันจะเห็นไดวาบริการทางอินเทอรเน็ตอยางสังคม ออนไลน เปนที่ไดรับความนิยมอยางมาก สวนใหญพบในกลุมเด็กนักเรียน นักศึกษามากท่ีสุด ฉะนั้นถาเรา นําสังคมออนไลนมาประยุกตใชกับ การศึกษาจะทําใหนักเรียนและนักศึกษาสามารถ เขาถึงการเรียนรูไดทุกท่ี ทุกเวลา ดานบทบาทของสังคมออนไลน ตอการจัดการเรียนดวยลักษณะสําคัญของสังคมออนไลน คือ การมี ปฏิสัมพันธของคนในระบบเครือขายสังคมออนไลน มาสูการจัดการเรียนการสอนในหองเรยี นยอมกอใหเกิดผล สําคัญในหลากหลายลกั ษณะ เชน กันการสรา งความสัมพันธร ะหวางสงั คมในหองเรียน เนอ่ื งจากบรรยากาศของ สังคมออนไลนเปนการแลกเปล่ียนขอมูล ขา วสาร กอใหเ กิดความสัมพนั ธข องคนใน เครือขาย ดวยเหตุน้เี ม่ือทั้ง ผสู อนและผูเรียนเขาสูการสรางความสัมพันธภายในระบบสังคมออนไลนกจ็ ะนาํ ไปสูการพัฒนาความสมั พนั ธใ น สังคมจริงในทิศทางที่ใกลชิดกันย่ิงขึ้นซึ่งเปนผลใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพจริงนอกจากน้ี ลักษณะการนําเสนอขอมูล สถานภาพท่ีเปนปจจุบัน ทําใหท้ังผูสอนสามารถติดตาม พฤติกรรมและประสาน ขอมูลไดอยางทันทวงทีชวยในการกระตุนใหเกิดการศึกษาคนควาการแลกเปลี่ยนเรียนรูท่ีกวางขวาง การตั้งประเด็นแลกเปล่ียนขอสงสยั ตางๆผา นสังคมออนไลนไดอ ยางทันทว งทแี ละเปน เครื่องมอื สําหรับครูผสู อน ในการกระตุนนักศึกษาไดเปนอยางดีในขณะเดียวกันผูสอนสามารถนําเสนอเน้ือหาใหมๆไดอยางตอเนื่องและ นักศึกษาสามารถติดตามไดอยางตอเน่ือง แตถึงอยางไรก็ตามแมวาในปจจุบันเทคโนโลยี จะเขามามีบทบาท สําคัญในการจัดการเรียนการสอนแตก็มีขอจํากัดหลายประการที่จําเปนตองพิจารณาเชนการมีปฏิสัมพันธตอ

เพ่ือนมนุษย การกํากับตนเอง การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูรวมกันกับผูอื่นและการกําหนดทิศทางตอการ เรยี นของนกั ศกึ ษาและนักศึกษาบางคนไมส ามารถศึกษาดวยตนเองการเรียนรูใน ระบบอิเล็กทรอนิกสเพียงอยางเดียวจึงไมสามารถสงเสริมการเรียนรูท่ีสมบูรณไดแนวทางในการแกปญหาน้ี อาจทําไดโดยการจัดการเรียนแบบผสมผสานซึ่งเปนการรวมนวัตกรรมและความกาวหนาทางเทคโนโลยีเขา ดวยกันดวยการมีปฏิสัมพันธบนการเรียนแบบออนไลนและการมีสวนรวมในการเรียนแบบเผชิญหนาใน หองเรียน เรียน(Face to Face) ซ่ึงเปนยุทธศาสตรที่ใชในการเรียนรู มีสวนสนับสนุนและชวยเสริมสรางการ เรียนรูใหดียิ่งข้ึน (Thorne, 2003) สอดคลองกับงานวิจัยของสายชล จินโจ (2550 : 133) ผลการศึกษาพบวา นักเรียนมีความพึง พอใจตอการเรียนการสอนแบบผสมผสานอยูในระดับมาก นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี นสูงกวา กอนเรียน และมคี วามคงทนในการเรียนของนักศึกษามผี ลสมั ฤทธ์ติ ามเกณฑที่กาํ หนด จากการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตรเพ่ือชีวิตศึกษาซึ่งเนนกระบวนการเรียนการสอนให นักศึกษาไดเรียนรูปฏิบัติจริง นักศึกษาสามารถคนควาความรูจากแหลงเรียนรูท่ีหลากหลาย เชน ผูรู แหลง เรียนรจู ากสื่อ ICT คลิปวีดีโอจากยทู ูปโดยครูผูสอนมีหนาที่ใหคําแนะนําเพิ่มเติมและเปนท่ีปรึกษาและสืบเน่ือง จากสัปดาหสถานการณโควิดเพ่ิมความรุนแรง ท่ีมักจะ ทําใหการเรียนการสอนขาดความตอเนื่อง จากปญหา ดงั กลาว ทําใหผูวิจัยในฐานะท่ีเปนผูสอนมีความสนใจในการจัดกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผานเครือขาย สังคมออนไลนเพ่ือการแกปญหาการเรียนไมตอเน่ืองโดยนักศึกษาสามารถเขาไปศึกษาและทบทวนเน้ือหาที่ เรียนไดดวยตนเองอีกท้ังนักศึกษายังสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรูความคิดเห็นของตนเองผานเครือขายสังคม ออนไลน โดยมี การโตตอบ สนทนากับนักศึกษาคนอื่น เพื่อเพ่ิมพูนความรูความเขาใจ การท่ีผูเรียนไดคิด วิเคราะหและแกปญหาโดยใชเทคนิคการสอนแบบเพื่อนชวยเพ่ือนจะชวยใหนักศึกษาเกิดทักษะแกปญหาและ ทาํ ใหนักศึกษามีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนที่ดีข้ึน เพราะนักศึกษาสามารถศึกษาได ดวยตนเอง เรียนรูไดทุกท่ี ทุก เวลาและตอบสนองความแตกตางระหวา งบคุ คลไดดว ย จึงทาํ ใหนกั ศึกษามคี วาม เขา ใจบทเรยี นมากขน้ึ ผูเ รียน ตนื่ ตาตื่นใจดวยการนาํ เสนอเนื้อหาที่หลากหลาย เชน วีดโี อสาธิต ภาพเคล่ือนไหน เปนตน สงผลใหผูเรียนเกิด ความกระตือรือรนในการเรียนทําใหกระบวนการเรียนการสอนดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพและสงเสริมการ พัฒนาความรูความเขาใจของนักศึกษาตอ ไป วัตถุประสงคการวจิ ยั 1)เพือ่ ศึกษาการแกปญ หาเวลาเรยี นไมต อเนื่อง เนอ่ื งจากสถานการณโ ควดิ 2)เพอื่ ศึกษาพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาเมอ่ื เรยี นดวยกจิ กรรมการเรียนแบบผสมผสานผา นเครอื ขายสังคม ออนไลนตามแนวคดิ เพ่ือนชวยเพ่ือน 3)เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอการเรียนดว ยกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผานเครอื ขาย สงั คมออนไลน

สมมติฐานการวจิ ัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนศูนยการเรียนชุมชน กศน.ตําบลกระโทก ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2564 เมื่อเรียนดวยกิจกรรมการเรียน แบบผสมผสานผานเครือขายสังคมออนไลน หลงั เรยี นสูงกวากอ นเรียน 2. สามารถแกปญหาคาบเรียนไมตอเน่ือง กิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผานเครอื ขายสังคมออนไลน อยูใน ระดบั ดี พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน ในรายวชิ า วทิ ยาศาสตรเ พ่ือชวี ติ เมือ่ เรียน ดว ยกจิ กรรมการเรยี นแบบ ผสมผสานผา นเครอื ขายสงั คมออนไลน มพี ฤติกรรมการเรยี นรูโดยรวมอยูในระดบั ดี 3. ความพึงพอใจของนักศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน ในรายวิชา วิทยาศาสตรเพ่ือชีวติ ที่มตี อการเรียนดวย กจิ กรรมการเรยี นแบบ ผสมผสานผานเครอื ขา ยสงั คมออนไลน อยูในระดับ ดี ขอบเขตการวจิ ัย 1. ประชากรและกลุมตวั อยาง ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งน้ีเปน นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน ท้งั สน้ิ 6 คน ในรายวชิ าวทิ ยาศาสตรเพ่อื ชวี ติ 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตวั แปรตน ไดแก การจัดกจิ กรรมการเรยี นแบบผสมผสานผานเครือขายสังคมออนไลนตาม 2.2 ตัวแปรตาม ไดแก 2.2.1 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น 2.2.2 พฤติกรรมการเรียนดวยกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผา นเครอื ขา ยสังคมออนไลน 2.2.4 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอการเรียนดวยกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผาน เครือขายสังคมออนไลน เนือ้ หาท่ีใชใ นการศกึ ษา เนื้อหาทใี่ ชศ กึ ษาเปนเน้อื หาทเี่ กย่ี วกับรายวิชาวิทยาศาสตรเพ่อื ชวี ติ ระยะเวลาทีใ่ ชใ นการทดลอง ระยะเวลาตลอดภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2564 ในรายวิชาวิทยาศาสตรเพ่ือชีวิต สัปดาหละ 4 รวมทง้ั สนิ้ 80 ชวั่ โมง

วัน / เดอื น / ป กิจกรรม หมายเหตุ ตลุ าคม 2564 - ศกึ ษาสภาพปญหาและวเิ คราะหหาแนวทาง ผูวิจัยบนั ทกึ ผล แกปญหา พฤศจิกายน 2564 - เขยี นเคาโครงงานวจิ ัย - ศกึ ษาการทาํ สื่อประกอบการเรียน พฤศจิกายน 2564 - ออกแบบเครื่องมือท่จี ะใชในงานวจิ ยั ธนั วาคม 2564 - ดําเนินการวจิ ัย มกราคม 2565 - เกบ็ รวบรวมขอมลู กุมภาพันธ 2565 - วิเคราะหข อมูล มนี าคม 2565 - สรุปและอภิปรายผล - จดั ทํารูปเลม เครือ่ งมือที่ใชใ นการวิจยั 1.แผนการจัดการเรียนแบบผสมผสานผานเครือขายสังคมออนไลนรายวิชาวิทยาศาสตรเพื่อชีวิตซึ่งแผนการ จัดการเรียนรูมีสัดสวนการจัดการ เรียนรูแบบผสมผสานแบบ 50:50 เปนการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนการ สอนแบบออนไลนรอ ยละ50 และ แบบปกติรอยละ50 โดยผานการตรวจสอบคุณภาพจากผูเชี่ยวชาญจํานวน 2 คน ผลการประเมนิ แผนการจัดการ เรียนรูมีความเหมาะสมอยใู นระดบั มาก 2.เว็บไซตเพ่ือการจัดกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผานเครือขายสังคมออนไลนจะประกอบดวยเนื้อหาใน รูปแบบสื่อประเภทตาง ประกอบดวย เอกสาร วีดิโอ ขอความและภาพกราฟฟก สําหรับการจัดกิจกรรมแบบ ผสมผสานผานเครือขายสังคมออนไลนซ่ึงในการวิจัยน้ี ไดกําหนดใหใชส่ือบทเรียนออนไลน มีความเหมาะสม อยูใ นระดับ มาก 3.แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนรายวิชา วิทยาศาสตรเ พ่ือชีวติ ผวู ิจัยไดสรางขึ้นเปนแบบทดสอบชนิด อัตนัย 20 ขอ ผานการประเมิน มีคาดัชนีความสอดคลองตั้งแต .50 ขึ้นไป มีคาความยากงายอยูระหวาง 0.20-0.80 มีคาอํานาจจาํ แนกตง้ั แต 0.20 ขนึ้ ไป และ มคี าความเชื่อม่นั ของแบบทดสอบ (KR–20 ของคูเดอร- ริ ชารด สัน) เทา กับ 0.81 4. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนผานเครือขายสงั คมออนไลน ผูวิจัยสราง แบบสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเปน รายบคุ คล เปนการสังเกตแบบมโี ครงสรางลว งหนา (Structured Observation)

5. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอการเรียนดวยกิจกรรมการเรียนแบบผสม ผสานผาน เครอื ขายสงั คมออนไลน ซึง่ ผูวจิ ยั สรา งแบบสอบถามชนิดมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) มี 5 ระดบั ประโยชนทีไ่ ดรับ 1. การจัดกจิ กรรมการเรียนแบบผสม ผสานผาน เครือขา ยสังคมออนไลนองคกรสามารถแกไขปญหาคาบ เรียนไมตอ เนื่อง และเปนการปรับตัวใหเขากับกระแสสังคมในยุคปจ จุบันท่ีส่ือสังคมออนไลน (Social media) เขามามบี ทบาทตอการดําเนนิ ชีวิตของมนุษยใ นยคุ ปจจุบนั 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาดวย กิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผานเครือขายสังคม ออนไลน อยูใ นระดบั ดี 3. นักศึกษามีความพึงพอใจ ตอการเรียนดวยกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผานเครือขายสังคม ออนไลน นิยามศัพทเ ฉพาะ ส่ือสังคมออนไลน (Social media) หมายถึง เว็บไซตที่ผูคนสามารถติดตอสื่อสารกับ เพ่ือนท้ังที่รูจักมากอน หรือรูจักภายหลังทางออนไลนซึ่งเว็บไซตเครือขายสังคม ออนไลนแตละแหงมีคุณลักษณะแตกตางกันออกไป แตสวนประกอบหลักที่มี เหมือนกัน คือ โปรไฟล(Profiles - เพ่ือแสดงขอมูลสวนตัวของเจาของบัญชี) การ เชอ่ื มตอ(Connecting –เพือ่ สรางเพอื่ นกับคนท่ีรูจักและไมรจู กั ทางออนไลน) และ การสงขอ ความ (Messaging -อาจเปนขอ ความสวนตัวหรือขอความสาธารณะ) ซ่งึ สื่อออนไลนทใ่ี ชใ นการในครัง้ น้ี มี 2 ประเภท ดงั น้ี 1) LINE คือแอพพลิเคชั่นท่ีผสมผสานบริการ Messaging และ Voice Over IP นํามา ผนวกเขาดวยกัน จึงทํา ใหเกิดเปนแอพพลิช่ันที่สามารถแชท สรางกลุม สง ขอความ โพสตรูปตางๆ หรือจะโทรคุยกันแบบเสียงก็ได โดยขอมูลทั้งหมดไม ตองเสียเงิน หากเราใชงานโทรศัพทที่มีแพคเกจอินเทอรเน็ตอยูแลว แถมยัง สามารถใช งานรวมกันระหวาง iOS และ Android รวมท้ังระบบปฏิบัติการอ่ืน ๆ ไดอีกดวย การท างานของ LINE นั้น มี ลักษณะคลาย ๆ กบั WhatsApp ที่ตอ งใช 2) Facebook คอื บรกิ ารบนอนิ เทอรเน็ตบริการหน่ึง ที่จะทาํ ใหผูใชสามารถ ติดตอ สื่อสารและรวมทํากิจกรรม ใดกิจกรรม หนึ่งหรือหลายๆ กิจกรรมกับผูใช Facebook คนอ่ืนๆ ได ไมวาจะเปนการต้ังประเด็นถามตอบใน เร่ืองที่สนใจ โพสตรูปภาพ โพสตคลิปวิดีโอ เขียนบทความหรือบล็อกแชทคุยกันแบบสดๆ เลน เกมสแบบเปน กลุม และยังสามารถทํากิจกรรมอืน่ ๆผา นแอพลิเคชน่ั เสริม (Applications) ทม่ี อี ยอู ยา งมากมาย ซง่ึ แอพลเิ คช่ัน ดงั กลา วไดถกู พฒั นาเขา มา เพิม่ เตมิ อยเู ร่ือยๆ

บทท่ี 2 ทฤษฏที เี่ กย่ี วของ ในการศึกษาเรื่อง : การศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผานเครือขายสังคมออนไลน (Social media) คลิปวดิ ิโอสือ่ ออนไลน มี แนวคิด ทฤษฎแี ละงานวิจัยทเ่ี กย่ี วขอ ง ซง่ึ จะนําเสนอตามลาํ ดับหวั ขอ ดังนี้ 1. การส่ือสารในองคกร (Communication in Organization) 2 2. คลิปวดิ โิ อออนไลน (Social media) LINE Facebook 3. ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน (Exchange Theory) 4. งานวิจยั ทเ่ี กยี่ วของ 1. การส่ือสารในองคกร (Communication in Organization) การส่ือสารนับเปนเครื่องมือสําคัญในการ ดํารงชีวิตประจําวัน เพ่ือสรางความเขาใจอันดีตอ กัน การแจงผูอื่นใหรับทราบและเขาใจถึงเจตนา ความ ตองการปญหา ความคิด ความรูสึก ความ เขาใจ แนวคิด ทาทีความเห็นดวย ไมเห็นดวย การอธิบายในดาน ภาพรวม รายละเอียด วัตถุประสงค เหตุผลเปาหมายและผลงาน การนัดหมาย การตอรองทางธุรกิจและเร่ือง อ่ืนๆ ทุกเรื่อง จึงไมตอง สงสัยวาผูบริหารจัดการและผูนํานั้นจําตองตระหนักถึงความสําคัญและบทบาทของ การสื่อสารใน ฐานะท่ีเปนดัชนีบงช้ีท่ีสําคัญประการหนึ่งของความสําเร็จขององคกร ความตระหนักและความ เขาใจถึงความสําคัญของบทบาท กลไกในการสื่อสารน้นั ชวยทําใหผ ูบริหารจดั การสามารถบริหาร จัดการ และ พัฒนาองคก รไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพยง่ิ ขึ้น ความหมายของการตดิ ตอส่อื สารในองคกร การส่อื สารภายในองคก ร หมายถึง กระบวนการแลกเปล่ียนขาวสาร ขอมูลภายในองคกร เพอ่ื ใหสมาชกิ ที่อยูในองคกรสามารถทาํ งานไดบรรลุวัตถปุ ระสงคขององคกรซ่ึงทกุ คนท่ีอยู ใน องคกรตองมีความสัมพันธระหวางกัน มีการถายทอดขอมูลขาวสารในการทํางาน มีกิจกรรมตางๆในการ ทํางานรวมกัน ภายใตสภาพแวดลอมท่ีเปลี่ยนไป 10 ทองใบ สุดชารี (2542:5) ใหความหมายวา การสื่อสารใน องคกร คือ การแลกเปล่ียนขอมูล ขาวสารและความรูในหมูสมาชิกขององคกร เพื่อใหบรรลุประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลขององคกร การสื่อสารขององคกรมีหลายระดับ ไดแก ระดับปจเจกบุคคล ระดับกลุม และระดับ องคกร ดังนั้น องคกรจึงจําเปนตองมีการส่ือสารดวยเหตุผลหลายประการ กลาวโดยสรุป การติดตอสื่อสารใน องคกรเปนการสงและรับขาวสารจากบุคคลหน่ึงไปยัง บุคคลหน่ึง เพื่อใหเกิดความเขาใจอันดีและสามารถ ประสานงานใหฝ ายตางๆ ไดปฏิบัตหิ นา ที่ความ รับผดิ ชอบไดต รงตามวัตถปุ ระสงคขององคกร 2. ส่ือสังคมออนไลน (Social media) ส่ือสังคมออนไลน(Social media) คือ ชองทางในการติดตอส่ือสาร แลกเปล่ียนความรู ความคิดสําหรับคนยุคใหม โดยรวมตัวกันเปนกลุมหรือสังคมผานทางเว็บไซต ตัวอยางเชน กลุมคน รักกีฬา คนรักรถ คนรักสุนขั การรณรงคใ นเรื่องตางๆ หรอื แมก ระทง่ั การรวมกลุมของผูช่นื ชอบ

แบรนด สนิ คา โดยในยคุ ปจจุบันคงไมมใี ครปฏิเสธไดแลววา เครือ่ งมือชนดิ นมี้ ปี ระโยชนอ ยา งมากที่ ชว ยให คนเรานนั้ ตดิ ตอสื่อสารกนั ไดอยางรวมเร็วมากยง่ิ ขึน้ การไดรับขา วสารไดท ันถว งที ถา พดู ถงึ จดุ เดน ของ Social media ทที่ าํ ใหไดรับความนยิ มอยา งมากคอื การท่ที ุกคน สามารถเปน ไดท ้งั ผรู บั สารและผูสงสาร ทุกคนสามารถ บอกถึงความคดิ ความตองการ จุดประสงค ของตวั เองไดอยางอิสระ ไมถูกจํากัดไวเหมอื นในอดตี ทส่ี ามารถรบั ฟง ไดเพียงอยางเดียว ทาํ ให หลายๆหนว ยงานมกั นาํ Social media มาปรบั ใช เพ่อื สรางชองทางส่ือสารใหก ับ ตวั ธุรกิจและยงั สามารถสรา งความสมั พนั ธอนั ดแี กลกู คา ความหมายของ Social media คาํ วา “Social” หมายถงึ สังคม ซงึ่ ในท่ีนจ้ี ะหมายถงึ สังคมออนไลน ซงึ่ มีขนาดใหมมากใน ปจ จบุ นั คาํ วา “Media” หมายถึง ส่ือ ซง่ึ ก็คือ เนอื้ หา เรอื่ งราว บทความ วดี ีโอ เพลง รปู ภาพ เปน ตน ดงั นน้ั คําวา Social media จงึ หมายถงึ สอ่ื สังคม ออนไลนท มี่ ีการตอบสนองทางสังคมได หลายทิศทาง โดยผานเครือขายอนิ เตอรเ นต็ พูดงายๆ กค็ ือเว็บไซตท ี่ บคุ คลบนโลกน้ีสามารถมี ปฏิสัมพนั ธโตต อบกนั ไดน ั่นเองพื้นฐานการเกิด Social media กม็ าจากความตองการ ของมนษุ ยหรอื 20 คนเราท่ีตองการติดตอ สื่อสารหรอื มีปฏิสัมพนั ธกัน จากเดิมเรามีเว็บในยคุ 1.0 ซึง่ กค็ ือเวบ็ ที่ แสดง เนื้อหาอยางเดยี ว บคุ คลแตล ะคนไมสามารถติดตอหรือโตต อบกันได แตเม่ือเทคโนโลยีเวบ็ พฒั นา เขา สยู ุค 2.0กม็ ีการพัฒนาเว็บไซตท ีเ่ รียกวา web application ซึ่งก็คอื เว็บไซตม ีแอพลเิ คชันหรือ โปรแกรมตา งๆ ที่มีการ โตต อบกบั ผใู ชง านมากขึน้ ผูใชงานแตล ะคนสามารถโตตอบกันไดผา นหนา เวบ็ เพ่ือใหเขาใจงา ยขน้ึ ใหน กึ ถงึ สือ่ ตางๆ ทอ่ี ยูบนอนิ เทอรเนต็ ซึ่งคนท่ีอยูในสังคมออนไลน (สงั คมของผใู ชงานอินเทอรเ นต็ ) ซง่ึ ส่อื เหลาน้ี แตละคน สามารถเขา ไปดูได เขาไปสรางได และ สามารถแลกเปลย่ี นสื่อกนั ได เปนสอื่ ของสงั คมของผใู ชอินเทอรเ นต็ รวมกนั ตวั อยางเชน สงั คม ออนไลนของผใู ชง าน Facebook สมาชิกแตล ะคนจะสามารถนาํ เอาส่ือตา งๆ เชน เรอื่ งราวของตัวเอง หรอื เร่อื งราวตางๆ ภาพวีดิโอ เผยแพรไปยงั สมาชกิ ทกุ คนในเครือขา ยได ขณะที่สมาชิกคน อื่นก็ สามารถ เสนอสื่อของตนเองขน้ึ มาแลกเปลี่ยนได ดังนั้นสอ่ื ตางๆ ทีน่ ํามาแลกเปล่ียนกับสมาชกิ ใน สงั คม ออนไลนน ั้น จะเรียกวา Social media 1. เปนสอื่ ท่ีแพรกระจายดว ยปฏิสมั พันธเ ชงิ สงั คมตรงน้ีไมตางจากคนเราสมัยกอนครบั ที่ เกิดเร่อื งราวทีน่ า สนใจ อะไรขน้ึ มา กพ็ ากันมานัง่ พูดคุยกนั จนเกิดสภาพ Talk of the town แตเมื่อมาอยูในโลกออนไลน การ แพรกระจายของส่ือก็ทาํ ไดงายขึ้นโดยเกิดจาก การแบง ปนเน้อื หา (Content Sharing) จากใครก็ได อยางกรณี ของปา Susan Boyle ทด่ี งั กนั ขามโลกเพียงไมก่สี ัปดาหจ ากการลงคลปิ ทป่ี ระกวดรอ งเพลงในรายการ Britain’s Got Talent ผานทาง YouTubeเปนตน ทั้งน้ี Social media อาจจะอยใู นรูปของเนื้อหา รปู ภาพ เสียงหรือวดิ ีโอ 2. เปนสื่อท่ีเปลี่ยนแปลงส่อื เดิมที่แพรก ระจายขา วสารแบบทางเดยี ว (one-to-many) เปน แบบการสนทนาท่ี สามารถมผี ูเขารว มไดห ลายๆคน (many-to-many) เม่ือมีสภาพของ การเปน ส่ือสังคม สิง่ สาํ คัญก็คอื การ สนทนาพาทีทเ่ี กิดขนึ้ อาจจะเปน การรวมกลมุ คยุ ในเรอ่ื งทีส่ นใจรวมกนั หรือการวิพากษว ิจารณสินคา หรือ บริการตางๆ โดยที่ไมม ีใคร เขามาควบคุมเน้ือหาของการสนทนา แมกระท่ังตวั ผผู ลติ เนือ้ หานั่นเอง เพราะผูที่ ไดร ับ สารมสี ทิ ธิท่ีจะเขารว มในรูปแบบของการเพิ่มเติมความคดิ เห็น หรือแมกระทงั่ เขาไป แกไ ขเนอื้ หานัน้ ได ดวยตวั เอง

3. เปน ส่อื ทเ่ี ปล่ียนผคู นจากผูบรโิ ภคเน้อื หาเปน ผูผลิตเนื้อหาจากคนตวั เล็กๆในสงั คมที่ แตเดิมไมม ีปากมีเสยี ง อะไรมากนกั เพราะเปน เพยี งคนรับส่อื ขณะที่สื่อจําพวก โทรทัศน วทิ ยุ หรือหนังสือพิมพจ ะเปน ผูท รงอิทธิพล อยา งมาก สามารถช้ชี ะตาใครตอ ใครหรือสินคา หรอื บริการใดโดยทีเ่ ราแทบจะไมมที างอุทธรณ แตเ มื่อเปน Social media ท่แี ทบจะไมมีตน ทนุ ทาํ ใหใครๆกส็ ามารถผลติ เนอ้ื หาและกระจายไปยังผูรบั 21 สารไดอ ยางเสรี หากใครผลิตเน้ือหาที่โดนใจคนหมูม าก กจ็ ะเปน ผทู รงอิทธิพลไป ยิ่ง หากเปน ในทางการตลาด ก็สามารถโนม นา วผตู ิดตามในการตัดสนิ ใจซ้ือสินคาหรอื บรกิ ารไดโ ดยงาย ถาอธบิ ายความหมายเพยี งแคน ี้ หลายทา นอาจจะ นึกภาพ Social media ไมออก ถาจะให เขา ใจงา ยๆกค็ งจะตองเปด เว็บไซตตา งๆ ทเี่ ผยแพรกันอยูบน อนิ เทอรเ น็ต ขึ้นมาสักเว็บไซตห น่งึ จะ เห็นวา บนหนา เวบ็ ไซตน น้ั เราจะพบตวั หนังสือ ภาพหรืออ่ืนๆ เราจะ เรยี กสงิ่ ท่ีนาํ เสนอผานหนา เว็บไซตด งั กลาววา ส่อื (media) แตเนือ่ งจากส่อื ดังกลา วที่เผยแพรผ า นอินเทอรเ น็ต เหลา นัน้ เราจงึ เรียกวา สื่อออนไลน หมายถึงสอ่ื ทสี่ งมาตามสาย (LINE) ถงึ แมปจ จบุ ันจะเผยแพรแ บบไรสาย เราก็ ยังเรยี กวา ออนไลน กอนหนาน้นั การเปด ดูสื่อแตละเวบ็ ไซตน้นั ตา งคนก็ตา งเปดเขาไปดสู ่ือออนไลนใน เวบ็ ไซตเหลาน้นั ตอมาจงึ มีผูคดิ วา ทาํ อยา งไร จะทําใหผ ูท ี่เขามาในเวบ็ ไซตนน้ั ๆ แทนท่ีจะมาอา น มาดสู ื่อเพียง อยา งเดียว ทาํ อยา งไรใหส ามารถมาสรา งสอื่ เชน พิมพขอความหรือใสภาพ เสียง วดี โิ อ ในเวบ็ ไซตน นั้ ไดด ว ย ซ่งึ เว็บไซตท ี่พัฒนาในระยะตอมาจะเปนเว็บไซตทผี่ ูคนทั่วๆไป สามารถเขา ไปเพิม่ เตมิ เนอื้ หาหรอื เพ่ิมเติมส่อื ได ตามทต่ี นเองตองการ ซึ่งมผี ลทําใหเวบ็ ไซตเ หลานั้น เปน เวบ็ ไซตที่ผูใชง านมสี ว นรวมในการสรางสื่อ แทนท่ีจะ เปน เวบ็ ไซตส วนตัวของคนใดคนหนึง่ ก็ กลายเปน เวบ็ ไซตของกลมุ คนกลมุ หนึง่ ข้ึนมา ทําใหเกิดเปนชุมชนหรอื สงั คมยอยๆของผทู ีใ่ ช เวบ็ ไซตนั้นขึน้ มา โดยเน้ือหาหรือสือ่ ท่ีนาํ เสนอผา นเวบ็ ไซตนน้ั ก็เปนส่ือทค่ี นในสงั คมนั้นๆ ชว ยกันสรางข้นึ มา แตการพัฒนายงั ไมหยดุ ยั้ง เพราะมกี ารคดิ กันตอไปอีกวา ทาํ อยางไรทจ่ี ะใหคนในชุมชน หรือ สงั คมของคนใชเว็บไซตน น้ั ๆ นอกจากจะสามารถเพม่ิ ส่อื ของตนเองแลว ยงั สามารถทจี่ ะ สื่อสาร ติดตอ โตตอบ กนั ไดด วย ซงึ่ ปจจบุ นั มเี ว็บไซตจ าํ นวนมากทีส่ ามารถพฒั นาจนกระท่ังสราง เปน ชุมชนขนาดใหญท่ีมสี มาชิก จํานวนมากนับเปน ลา นคน สามารถตดิ ตอสอื่ สาร สงเร่ืองราวตา งๆ ถึงกนั ไดอยางกวา งขวาง ทาํ ใหเ รอื่ งราวท่สี ง ถึงกันน้นั เปน เรื่องราวของคนในสังคมออนไลนนั้น กลายเปน สื่อหรือ media ทีส่ รางโดยคนทอ่ี ยูในสงั คมทเี่ ปน สมาชิกของเว็บไซตน น้ั ๆ เพ่ือใหเหน็ ภาพทช่ี ดั เจนของ Social media มากขึ้น จะขอยกตัวอยางเว็บไซตท่เี ปน สงั คม ขนาดใหญมสี มาชิกเปนลานคนทวั่ โลก แตแ ตล ะคนทม่ี เี รือ่ งราวมากมายเผยแพรบนเวบ็ ไซต กลาง เปน แหลง รวมของเร่ืองราวหรอื สื่อออนไลนขนาดใหญ ซึง่ คนท่ัวไปก็รูจ ักดีคือเว็บไซตของ Facebook LINE LINE เปนแอพพลิเคชันประเภทแชทที่ไดรับความสนใจจากผูใชงานในประเทศไทยเปน อยางมาก ปจจุบันมีจํานวนผูใชงานในประเทศไทยแลวมากกวา 18ลานผูใชงาน เนื่องดวยมีฟงกชัน การใชงานที่ หลากหลาย เชน การสนทนาแบบกลุม การแชรพิกัดสถานที่ การคุยผานเสียง การคุย ผานวีดีโอการสงสติก เกอร สวนใหญเปนบริการท่ีไมเสียคาใชจาย รวมถงึ แอพพลิเคชันยังรองรับ การใชงานไดทง้ั บนโทรศพั ทส มารท โฟน และบนเครื่องคอมพิวเตอรอกี ดวย โดยเวบ็ ไซตผูพัฒนา ของ LINE ไดระบุวา ผูใชงานในประเทศไทยตดิ อยู ในอันดบั ที่ 3 จากผูใชงานท่ัวโลก [1] และคง หลกี เลี่ยงไมไดว า ปจ จบุ ันการใชง านแอพพลเิ คชัน

LINE ของคนไทยไมไดจาํ กัดเฉพาะในหมเู พื่อน คยุ กัน ดังจะเห็นจากหลายองคก รนํามาใชส ําหรับสอ่ื สารองคกร การทํางาน การแชรรูปภาพ คลิป เสียงหรือแมแตบางครั้งใชบอกพิกัดสถานที่ใชงานกับคนสนิท ญาติพ่ีนอง ครอบครัว แตจะเปน อยางไรหากการใชงานแอพพลิเคชันดังกลาวสามารถถูกดักรับขอมูลการส่ือสารระหวาง ทางออกไป ไดทั้งหมด โดยท่ีผูใชงานไมสามารถลวงรูเลยได เม่ือถึงเวลาน้ันคงไมมีใครการันตีไดวาขอมูล ดังกลาวจะยงั คงเปนความลบั อยอู ีกหรือไม รวมถึงขอมูลที่หลุดออกไปน้ัน หากเปนขอมูลท่ีมี ความสําคัญกอ็ าจ ถกู นําไปหาผลประโยชนในทางท่ีผดิ ตอก็เปนได และจากสถานการณค วามนิยม ของแอพพลิเคชัน LINE ทั่วโลก จึงทําใหมีนักวิจัยหลายรายเริ่มศึกษาวิจัยถึงการท างานของแอพ พลิเคชัน LINE อยางละเอียด โดยพบหัวขอ ขาวชวงเดือนสิงหาคมวามีนักวิจัยจากเว็บไซต Telecom Asia เปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการท างานของแอพ พลิเคชัน LINE ที่มีรับสงขอมูลของแอพพลิเคชันบน เครื่องผูใชงานกับเซิรฟเวอรของผูใหบริการ LINE ใน รปู แบบ Plain-text [2] กรณีท่ีใชงาน อนิ เทอรเน็ตบนเครอื ขา ย 2G/3G น้ัน ทําใหเกดิ คําถามเกี่ยวกบั มาตรการ ในการรักษาความลบั ของ ผูใชงานมากข้ึน อันเนื่องจากกรณีดังกลาวผูใหบริการโทรศัพทสามารถดักอานขอมูล ของผูใชงาน ไดอยางงายดาย แตอยางไรก็ตามกรณีดังกลาวนั้น การท่ีจะมีผูกระทําการดังกลาวได ยังคงเปน เรื่อง ท่ีจํากดั อยเู ฉพาะผูใหบ ริการโทรศัพทมือถือเทาน้ันทีจ่ ะสามารถเห็นขอมูล ซึ่งเปนเร่ืองทต่ี อง พิจารณากัน ตอไปถึงแนวทางการบริหารจัดการของผูใหบริการเครือขายโทรศัพทมือถือเพ่ือให ผูใชงานมีความเชื่อม่ันวา ขอมูลจะไมถูกเปดเผยหรือเขาถึงโดยบุคคลท่ีไมไดรับอนุญาต โดยใน 28 บทความนี้จะกลาวถึงอีกมุมหน่ึงของ บทวเิ คราะหชองโหวบทแอพพลิเคชัน LINE ท่นี ักวิจัยของ ไทยเซิรตไดต รวจสอบพบ และมคี วามคาดหวังจะให ผูอานไดรูเทาทันสถานการณภัยคุกคามและ อันตรายตางๆที่มากับการใชงานเทคโนโลยีในปจจุบัน เพ่ือให ผูใชงานสามารถใชงานอยาง ระมัดระวังและมีความปลอดภัยมากย่ิงขึ้นได วิเครําะหกํารรับสงขอมูลของแอพ พลิเคชัน LINE นักวิจัยของไทยเซิรตไดทําการวิเคราะหการรับสงขอมูลของแอพพลิเคชัน LINE โดย จําลอง สถานการณการรับสงขอมูลใน 2ลักษณะคือรับสงผานเครือขาย 2G/3G และผานเครือขาย LAN/Wi-Fi และใช โปรแกรมเฉพาะสําหรบั ดักรับขอมูลบนเครือขาย โดยไดน ําขอมูลท้ังหมดมา วิเคราะหและสรุปผลดังน้ี ทดสอบ โดยใชงานแอฟพลิเคชัน LINE เวอรช ัน 3.8.8 บนระบบปฏิบตั ิการณแ อนดรอยด ผา นเครอื ขาย 2G/3G พบวา มี การรับสงขอมูลในลักษณะ Plain text ผานโพรโทคอล HTTP โดยขอดี ของการรับสงขอมูลบนโพรโทคอล HTTP คือสามารถรับสงขอมูลไดเร็ว แตขอเสียคือหากมีผูท่ี สามารถดักรับขอมูลตรงกลางระหวางผูใชงานกับ เซริ ฟเวอรใหบ ริการของ LINE แลว ก็จะสามารถ มองเหน็ ขอมลู ทีร่ ับสง กันอยูระหวา งผูใชงานกับเซริ ฟ เวอรของ LINE ไดทันที สังเกตจากรูปท่ี 2 ซึ่ง เปนขอมูลที่ไดจากการทดสอบดักรับขอมูลการใชงานแอพพลิเคชัน LINE บนระบบปฏิบัติการแอน ดรอยดเวอรช่ัน 3.8.8 ซ่ึงใชงานเครือขาย 3G โดยพบขอความวา “where r u” ซ่ึง เปนขอ ความท่ี นกั วจิ ัยของไทยเซริ ต ไดท าการทดสอบสง ออกไปจรงิ แตอ ยางไรก็ตามจากทไี่ ดก ลา วไวขางตน วา ขอมูลท่ีรับสงบนเครือขาย 2G/3G อาจยังมีความเสี่ยงไมมากนัก เน่ืองจากเทคนิคการดักรับขอมูล บนเครื่อง ขาย 2G/3G โดยผูใชงานดวยกันยงั ไมสามารถทาํ ไดโดยงาย แตก ็ยงั คงมีความเสี่ยงในมุมท่ี ผูใหบ รกิ ารเครอื ขา ย โทรศัพทอาจสามารถตรวจสอบการใชงานของลูกคาได รวมถึงปจจุบันทาง ผูพัฒนาแอพพลิเคชัน LINE ไดมี การปรับปรุงการท างานแอพพลิเคชัน LINE ต้ังแตเวอรชั่น 3.9 ขึ้น ไป ที่ทํางานบนระบบปฏิบัติการแอน ดรอยดน ้ัน โดยเปลี่ยนมาใชโ พรโทคอล HTTPS

ในการรบั สง ขอ มลู ซึ่งมีการเขารหัสลับขอ มูลแทนการรับสงขอมูลแบบเดิมในลกั ษณะ Plain-text แลว ในสวน นี้ทางไทยเซิรต ขอแนะนําใหผูใชงานที่ใชงานแอพพลิเคชัน LINE บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยดทําการ ตรวจสอบเวอรชันของแอพพลิเคชันที่ใชงานและหากพบวาใชเวอรช่ันตํ่ากวา 3.9 ใหรีบทําการ อัพเดททันที Facebook Facebook คือ บริการบนอินเทอรเน็ตบริการหนึ่ง ทจ่ี ะทาํ ใหผ ูใชส ามารถตดิ ตอ ส่อื สารและ รวมทํา กจิ กรรมใดกจิ กรรมหน่ึงหรือหลายๆ กิจกรรมกับผูใช Facebook คนอนื่ ๆ ได ไมว าจะเปน การต้ังประเด็นถาม ตอบในเร่ืองที่สนใจ โพสตรูปภาพ โพสตคลิปวิดีโอ เขียนบทความหรือบล็อก แชทคุยกันแบบสดๆ เลนเกมส แบบเปน กลุม (เปน ทน่ี ิยมกนั อยางมาก) และยังสามารถทาํ กิจกรรม อน่ื ๆ ผานแอพลเิ คช่ันเสริม (Applications) ท่มี อี ยูอยางมากมาย ซ่งึ แอพลิเคชัน่ ดงั กลาวไดถกู พฒั นา เขา มาเพม่ิ เติมอยูเ รอ่ื ยๆ Facebook เปน Social media ท่ีไดรับความนิยมอกี แหง หนึ่งในโลก ซึ่งถา ใน ตางประเทศ ความยิ่งใหญของ Facebook มีมากกวา Hi5 เสยี อกี แตใ นประเทศไทยของเรา Hi5 ยงั ครองความเปน เจาในดา น Social media ในหมูคนไทย เมือ่ วนั ท่ี 4 กมุ ภาพนั ธ พ.ศ.2548 Mark Zuckerbergไดเปดตวั เวบ็ ไซต Facebook ซงึ่ เปนเว็บ ประเภท Social network ซึ่งตอนนั้น เปดใหเ ขา ใชเฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลยั ฮารเวริ ดเทาน้ัน และเว็บน้ี กด็ งั ขึ้นมาในชว่ั พรบิ ตา เพียงเปด ตัวไดส องสัปดาห ครงึ่ หนึ่งของนักศึกษาทีเ่ รยี นอยูท่ี มหาวทิ ยาลัยฮารเ วริ ด ก็ สมคั รเปน สมาชกิ Facebook เพ่ือเขาใชง านกันอยา งลนหลาม และเมื่อทราบ ขาวนี้ มหาวิทยาลยั อื่นๆ ในเขต บอสตันก็เรม่ิ มีความตองการและอยากขอเขา ใชง าน Facebook บาง เหมือนกัน มารคจงึ ไดช ักชวนเพ่ือนของ เคาที่ชือ่ Dustin Moskowitzและ Christ Hughes เพื่อชว ยกัน สรา ง Facebook และเพียงระยะเวลา 4 เดอื น หลงั จากนั้น Facebook จึงไดเพ่มิ รายชื่อและสมาชิกของ มหาวทิ ยาลัยอีก 30 กวาแหง ไอเดยี เรม่ิ แรกในการต้งั ช่อื Facebook นนั้ มาจากโรงเรียนเกา ในระดบั มัธยมปลายของมารค ทชี่ ื่อฟล ิปสเอ็กเซเตอรอะคาเดม่ี โดยที่ โรงเรียนน้ี จะมหี นังสอื อยหู นึ่งเลมที่ชื่อวา The Exeter Facebook ซ่ึงจะสงตอ ๆ กันไปใหน ักเรยี นคนอ่ืนๆ ได รูจักเพื่อนๆ ในชนั้ เรยี น ซงึ่ Facebook นี้จริงๆ แลวก็เปนหนังสือเลมหนงึ่ เทาน้ัน จนเมือ่ วันหนง่ึ มารคได เปล่ยี นแปลงและนํามันเขาสูโลกของ อนิ เทอรเนต็ เมื่อประสบความสาํ เรจ็ ขนาดนี้ ท้งั มารค ดสั ตนิ และฮวิ จไ ด ยายออกไป ท่ี Palo Alto ในชว งฤดรู อ นและไปขอแบงเชา อพารทเมนทแ หงหนึ่ง หลังจากนั้นสองสปั ดาห มารค ไดเขาไปคุย กับชอน ปารคเกอร (Sean Parker) หนึง่ ในผรู ว มกอต้งั Napster จากนั้นไมนาน ปารค เกอรก ย็ าย เขา 30 มารว มทํางานกับมารคในอพารตเมนท โดยปารค เกอรไดช วยแนะนําใหรูจกั กบั นักลงทนุ รายแรก ซง่ึ กค็ ือ ปเ ตอรธ ลี (Peter Thiel) หนงึ่ ในผูรวมกอต้ัง PayPal และผบู รหิ ารของ The Founders Fund โดยปเตอรได ลงทุนใน Facebook เปนจํานวนเงนิ 500,000 เหรยี ญสหรฐั ดว ยจาํ นวนสมาชกิ หลาย ลา นคน ทําใหบรษิ ัทหลาย แหง สนใจในตัว Facebook โดย Friendster พยายามทจ่ี ะขอซ้ือ Facebook เปนเงิน 10 ลา นเหรยี ญสหรัฐ ใน กลางปพ.ศ. 2548 แต Facebook ปฎิเสธขอ เสนอไป และไดร บั เงินทนุ เพ่ิมเตมิ จาก Acela Partners เปน จํานวนอีก 12.4 ลา นเหรียญสหรัฐ ในตอนน้ัน Facebook มี มูลคา จากการประเมนิ อยูทป่ี ระมาณ 100 ลานเหรยี ญสหรัฐ Facebook ยงั เตบิ โตตอไป จนถึงเดอื น กนั ยายนป พ.ศ. 2549 กไ็ ดเ ปด ในโรงเรียนในระดบั มธั ยมปลาย เขารวมใชงานได และในเดอื นถัดมา Facebook ไดเพ่ิม ฟงคช่นั ใหม

โดยสามารถใหส มาชกิ เอารูปภาพมาแบงปนกันได ซง่ึ ฟง ชั่นน้ีไดร ับความนิยมอยางลนหลาม ในฤดใู บไมผ ลิ Facebook ไดร ับเงินจากการลงทนุ เพ่มิ อีกของ Gridlock Partners, Ameritech Capital พรอ มกับนักลงทุน ชดุ แรกคือ Acela Partners และปเ ตอรธ ีล เปน จํานวนเงินถึง 25 ลา นเหรียญสหรฐั โดยมูลคา การประเมิน มลู คา ในตอนนั้นเปน 525 ลา นเหรยี ญ หลงั จากนน้ั Facebook ไดเปด ใหอ งคกรธุรกจิ หรอื บริษัทตางๆ ให สามารถเขาใชงาน Facebook และสรา ง network ตา งๆ ได ซึง่ ในที่สดุ กอ็ งคกรธุรกจิ กวา 20,000 แหงไดเขา มาใชง าน และสดุ ทายในปพ.ศ. 2550 Facebook ก็ได เปด ใหทุกคนท่มี ีอีเมล ไดเขาใชง าน ซงึ่ เปน ยคุ ท่ีคนทัว่ ไป ไมวาเปน ใครกส็ ามารถเขา ไปใชงาน Facebook ไดเ พยี งแคคณุ มีอเี มลเทาน้ัน สําหรับงานครัง้ น้นี ําทมี โดย Mark Zuckerbergไดเปดเผยวา รูปแบบหนา News Feed แบบ ใหมจ ะทําใหผูใชจ ะสามารถเลือกดู Feeds ตางๆ ได สะดวกย่งิ ขึน้ โดยประสบการณการใชง านจะ ใกลเ คยี งกับเวอรช ั่นแพลตฟอรมมอื ถอื มากยิง่ ขึ้น ซึ่งหนา News Feed แบบใหมจ ะทําใหผ ูใ ชเ ลือก อานส่งิ ทต่ี ัวเองสนใจ สามารถเลือกดทู ุกอยา งรวมกนั ตามลาํ ดับเวลา เชน การ เลอื กดเู ฉพาะกิจกรรม ตา งๆ ทเี่ กิดข้ึน โดยจุดเดนของ News Feed แบบใหมมดี งั น้ี คอนเทนตหรือเร่อื งราวที่ เกดิ ขนึ้ บน หนา News Feed แบบใหมจะดูมีมติ ิและรสู กึ นาสนใจมากขึน้ เชน การแชรร ปู ภาพ, ลิงก, อัลบ้ัมและ แผนท่ี ทกุ อยางจะดูชดั เจนและนาสนใจมากขนึ้ เลือกประเภทของฟดทเ่ี ราตองการใหแสดงได เชน ฟดจาก เพ่อื นทงั้ หมด (Feed from All Friends), ฟดเฉพาะทเี่ ปนรปู ภาพ, ฟดเฉพาะเพลง ซึ่งอารมณ จะคลายๆ กบั เรากําลงั อานหนังสือพิมพแ ละเลือกอานคอลัมนท ่ีเราสนใจ หนา เว็บ News Feed แบบใหมก บั หนาเวบ็ เวอรชนั่ มอื ถือจะมรี ปู แบบเหมือนกนั มากขึ้น โดยจะมีแถบสถานะดา นซา ย เพื่อเลอื กดูเมนูตา งๆ เชน ฟด, ขอความ, แฟนเพจ, แอพพลิเคช่ันตางๆ เปน ตน (คนทใี่ ชเฟซบุกเวอรชน่ั มอื ถือนาจะชนิ กับสวนนี้) นอกจากนย้ี ังมีการบอก New Stories เพอ่ื มีการอพั เดทเนื้อหาใหมๆ บนหนา News Feed ซงึ่ เหมือนกับเวอรชนั่ บนมอื ถือนนั่ เอง ทัง้ น้ี เฟซบกุ 31 จะเรม่ิ ทยอยปรบั หนา News Feed แบบใหมใหก บั ผูใ ชบางสว นกอน แตส ําหรบั ใครท่ีอดใจรอไม ไหว อยากจะลองหนาNewsFeedแบบใหมก อนใครสามารถไปแจง ความตอ งการไดที่ facebook.com/about/newsfeed จากนัน้ เลือกลงมาดานลางสดุ และคลิกปุม Join Waiting List และรอ ให ทางเฟซบุกอพั เดทหนา News Feed แบบใหมใ หกบั บัญชีของเรา ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน (Exchange Theory) สญั ญา สัญญาววิ ัฒน( 2550. : 128) ไดแ บงประเภทของทฤษฎีแลกเปลย่ี นเปน 2 ประเภทคือ 1. ทฤษฎีการแลกเปล่ียนระดับบุคคล (Individualistic Exchange Theory) หรือทฤษฎี แลกเปลี่ยนเชิง พฤติกรรม (Behavioral Exchange Theory) ซ่ึงพัฒนามาจากทฤษฎี จิตวิทยาเชิงพฤติกรรม (Behavioral Psychology) 2. ทฤษฎีการแลกเปล่ียนเชิงบูรณาการ (Integration Exchange Theory) หรือทฤษฎีการ แลกเปลี่ยนเชิง โครงสราง (Exchange Structuralism Theory) ซึ่งพัฒนามาจากทฤษฎี มนุษยวิทยาเชิงหนาท่ี (Functional Anthropology) Encyclopedia of Sociology (Volume 4: S-Z Index) (1992, p.1887) ใหน ยิ ามของ

เครือขายทางส่ือสังคมวา หมายถึง ปรากฏการณทางสังคมในรูปแบบหน่ึงท่ีแสดงใหเห็นถึงรูปแบบการจัดเรียง ความสัมพันธ (Patterned Arrays of Relationship) ระหวางปจเจกชน (Individual) ท่ี รวมกระทําการใน สังคม งานวิจัยที่เก่ียวของ จิราภรณ ศรีนาค. (2556). ไดศึกษาเร่ือง การวิเคราะหประเภท รูปแบบ เนื้อหาและการใช ส่ือสังคม ออนไลนในประเทศไทย มีวัตถุประสงค 4 ประการคือ 1) เพ่ือศึกษาประเภทของส่ือสังคม ออนไลนที่ผูใชสื่อ สังคมออนไลนเลือกใช 2) เพ่ือศึกษารูปแบบการนําเสนอเน้ือหาของส่ือสังคม ออนไลน 3) เพื่อศึกษาเน้ือหาท่ี ผูใชส่ือสังคมออนไลนใชในการส่ือสารผานสื่อสังคมออนไลน และ 4) เพ่ือศึกษาวัตถุประสงคการใชสื่อสังคม ออนไลนของผูใชสื่อสังคมออนไลน การศึกษาคร้ังนี้เปน การวิจัยเชิงปริมาณ เปนเคร่ืองมือหลักในการเก็บ รวบรวมขอมูล รวมถึงการสัมภาษณผูใชสื่อสังคมออนไลน จํานวน 28คน และการวเิ คราะหขอมูลจากตัวอยาง ส่ือสังคมออนไลน จากการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนหญิง อายุระหวาง 21-30 ป มีระดับ การศึกษา ในระดับปริญญาตรปี ระกอบอาชพี อาชพี นกั เรียน/นกั ศึกษาโดยสื่อสงั คมออนไลนประเภทเครือขา ย สังคมออนไลนโดยเฉพาะ Facebook คือ ประเภทของสื่อสังคมออนไลนที่ผูใชรูจักและนิยมใชมากท่ีสุด ท้ังนี้ รูปแบบในการนําเสนอสารของสื่อสังคมออนไลน พบวา Facebook คือสื่อสังคมออนไลนท่ีมี รูปแบบโดดเดน มากท่ีสุด โดยเฉพาะรูปแบบการใหผูรับสารมีสวนรวม (Interactive) ท่ีสามารถทําการส่ือสารแบบ VDO Call ไดดานเน้ือหาการใชส่ือสังคมออนไลนนั้น มีลักษณะของการใชสื่อ สังคมออนไลนเพ่ือเสริมกับการใชส่ือเดิม เปนลักษณะที่พบมากที่สดุ และเน้ือหาในการแสดงตัวตนทพ่ี บคือกลมุ ตัวอยางสวนใหญไมใชชื่อหรอื รปู ภาพของ ตนเองในการใชส่ือสังคมออนไลนและภาษาที่ใชสวนใหญเปนภาษาพูดทั้งนี้ความสัมพันธระหวางคูส่ือสารสวน ใหญอยูในระดับเร่ิมตน ความสัมพันธ คือ บุคคลทั่วๆ ไป หรือเพื่อนใหมและไมมีการตั้งกฎ บรรทัดฐานหรือ กติกาการใช งานไว ดานวตั ถุประสงคการใชส่ือสงั คมออนไลน พบวา กลุม ตัวอยางใชส่อื สังคมออนไลนเพ่ือการ พดู คุย สนทนามากทสี่ ุด รองลงมาคือ ใชเพื่อความบันเทิง และใชเพ่ือรับรูเหตุการณต างๆ ซึ่งสงผล กระทบเชิง บวก ทําใหไดร ูเหตุการณไดอยางรวดเร็ว สามารถชวยใหการติดสนใจที่จะทําสิ่งตางๆ ไดงายขึ้น และชวยใหได กลับไปคุยกับเพื่อนเกา พบปะเพ่ือนใหมๆ และผลกระทบเชิงลบ พบวา สื่อ สังคมออนไลนทําใหความสัมพันธ ของบุคคลในโลกของความเปนจริงลดลง และสงผลตอความ ถูกตองของขอมูลขาวสารท่ีใชสื่อสารลดลงดวย จากการทดสอบสมมติฐาน พบวา ดานระยะเวลา การใชส่ือสังคมออนไลน กลุมผูใชส่ือสังคมออนไลนสวนใหญ มีการใชส ื่อ สังคมออนไลน แบบตอเนอ่ื ง โดยมีการใชงานสือ่ สังคมออนไลนท ุกวัน แมจาํ นวนเวลาที่ตางกันหรือ ชวงเวลาท่ี ตางกัน ก็ยังมีการใชส่ือสังคมออนไลน เพื่อตอบสนองความตองการ ของตนเองท่ีไมแตกตางกัน ซึ่ง ความสัมพนั ธกับผลกระทบเชงิ บวก และผลกระทบเชิงลบ โดยมรี ะดับ ความสัมพันธในระดบั ต่ําสว นการสรางตัวตนผานการเลือกใชช ื่อและรูปภาพเพ่ือสรา งอัตลักษณ การใชภ าษาใน การ แสดงออก การสรางความสัมพนั ธกับบุคคลอน่ื ๆ และการเคารพกฎ/กติกาตา งๆ ที่ตนเองและผใู ช คนอื่นๆ ต้ังไว มีความสัมพันธกับการใชส่ือสังคมออนไลนในระดับปานกลาง ทั้งนี้ ยังมี ความสัมพันธกับผลกระทบเชิง บวกและผลกระทบเชงิ ลบ โดยมีระดบั ความสัมพนั ธในระดบั ปานกลาง

บทท่ี 3 วิธีดําเนนิ การวิจัย วธิ ีดาํ เนนิ การวจิ ัย ผวู จิ ยั ไดด ําเนินการวจิ ยั และเก็บรวบรวมขอ มูล มลี าํ ดับข้นั ตอน ดงั นี้ 1. ผูวิจัยปฐมนิเทศใหนักศึกษา รับรูถึงวัตถุประสงค รายละเอียด ข้ันตอนของการเรียนดวย กิจกรรมแบบ ผสมผสานผา นเครือขายสงั คมออนไลน 2. ผวู ิจยั ทําการสอน โดยจัดกจิ กรรมการเรยี นในชั้นเรียนปกติ (Offline) และเรียนผานเครอื ขา ยสงั คม ออนไลน (Online) ตามแผนการจัดการเรียนรู ซึ่งจัด กิจกรรมการเรียนรูแบบผสมผสานแนวต้ัง (Vertical Blended Learning) ในอตั ราสว น 50:50 3.ระหวางดําเนินวิจัยผูวิจัยทําการประเมินการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผานเครือขายสังคมออนไลนของ นกั ศึกษาเปนรายบคุ คล โดยจะบนั ทึกลงในแบบสงั เกตที่สรา งขึ้น 4. เมื่อสิ้นสุดการวิจัย ใหนักศึกษา ทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน รายวิชา วิทยาศาสตรเพ่ือชีวิต 5.ใหนักศึกษาทําแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอการเรียนดวยกิจกรรมการเรียนแบบ ผสมผสานผานเครือขายสังคมออนไลน ซ่ึงแบงออกเปน 2 สวน คือ แบบสอบถามความพึงพอใจปลายปด และ แบบสอบถามความพึงพอใจปลายเปด เพื่อสอบถามความคิดเหน็ อนื่ ๆ 6. ผวู ิจัยเก็บรวบรวมขอมูลทง้ั หมดไปวิเคราะหข อ มูลตามวธิ กี ารทางสถิติ เพือ่ นําเสนอในงานวิจัย ตอ ไป

บทที่ 4 ผลการวิจยั การศึกษางานวิจัยคร้ังนี้ไดศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผานเครือขายสังคมออนไลน (Social media) โดยนาํ เสนอผลการวิจัยใน 3ประเดน็ ดังตอไปน้ี ตอนที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน แผนการเรียนราย วทิ ยาศาสตรเ พอื่ ชวี ิต จํานวน 6 คน ตอนท่ี 2 ผลการศึกษาพฤตกิ รรมการเรยี นของนกั ศึกษา ตอนท่ี 3 ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจ ตอนที่1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน แผนการเรียนรายวิชา สังคมศกึ ษา จํานวน 6 คน ดว ยกจิ กรรมการเรยี นแบบผสมผสานผานเครือขา ยสงั คมออนไลน แผนภูมิท่ี 1 แสดงผลการเรียนของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน แผนการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร เพ่อื ชวี ิต จํานวน 6 คน ดว ยกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผานเครอื ขายสงั คมออนไลน แผนภมู แทง แสดงผลการเรียนของนกั ศกึ ษา จากแผนภมู ิท่ี1แสดงใหเ หน็ วานักศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนแผนการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร เพอ่ื ชีวติ จาํ นวน 6 คนท่ีผานการจัดการเรียนการสอนดว ยกจิ กรรมการเรยี นแบบผสมผสานผานเครือขายสังคม ออนไลน มีผลการเรยี น 4.00 (ดเี ย่ยี ม) ทุกคน

ตารางที่ 1 แสดงสถิตผิ ลการเรยี นของนักศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน ของศูนยการเรียนชมุ ชน กศน.ตําบล กระโทก จํานวน 6 คน ดวยกิจกรรมการเรยี นแบบผสมผสานผา นเครือขา ยสังคมออนไลน สถิติผลการเรยี นของนกั ศกึ ษาของศนู ยก ารเรยี นชุมชน กศน.ตําบลกระโทก จากตารางที่ 1 แสดงใหเ หน็ วานักศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน ศนู ยก ารเรยี นชมุ ชน กศน.ตาํ บล กระโทก จาํ นวน 6 คน ดว ยกจิ กรรมการเรยี นแบบผสมผสานผานเครือขายสงั คมออนไลน ทกุ คนมผี ลการเรียน ระดับ 4.00 (ดเี ยีย่ ม) คดิ เปน 100 % ตารางท่ี 2 แสดงคาสถติ ิผลการเรียนของนกั ศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตนศนู ยการเรียนชุมชน กศน.ตําบลกระโทก จํานวน 6 คน ดว ยกจิ กรรมการเรยี นแบบผสมผสานผานเครอื ขายสังคมออนไลน นางสาวรจนา ขวญั เกตุ ครู กศน.ตาํ บล จากตารางท่ี 2 แสดงใหเ ห็นวา นกั ศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนตน ศนู ยการเรียนชมุ ชนกศน. ตําบลกระโทก ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน จาํ นวน 6 คน ที่ผา นการเรยี นการสอนดวยกิจกรรมการเรยี นแบบ ผสมผสานผานเครือขา ยสงั คมออนไลน มคี าเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D) = 4.44 , คา ความแปรปรวน 19.76 และ คา สมั ประสิทธข์ิ องการกระจาย (CV.) = 5.30 หมายถึงประสิทธิภาพอยูใ นระดับดีมาก

ตอนที่ 2 ผลการศึกษาพฤติกรรมการเรียนของระดับมธั ยมศึกษาตอนตน ศูนยการเรยี นชมุ ชน กศน.ตําบลกระโทก จํานวน 6 คน ดวยกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผานเครือขายสงั คมออนไลน แผนภมู ทิ ี่ 2 ผลการศึกษาพฤตกิ รรมการเรียนของนกั ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน ศนู ยก ารเรียนชมุ ชน กศน.ตําบลกระโทก จํานวน 6 คน ทีเ่ รยี นดวยกิจกรรมการ เรยี นแบบผสมผสานผา นเครือขา ยสังคมออนไลน จากแผนภูมิท่ี 2 แสดงใหเ ห็นวา พฤตกิ รรมการเรยี นของระดับมธั ยมศึกษาตอนตน ศนู ยการเรยี นชมุ ชน กศน.ตาํ บลกระโทก จาํ นวน 6 คน ทีเ่ รียน ดวยกจิ กรรมการเรียนแบบผสมผสานผานเครือขายสงั คมออนไลน ตามแนวคดิ เพ่อื นชวยเพื่อนนักศกึ ษา มพี ฤตกิ รรมการตอบคาํ ถามมากท่ีสดุ (รอยละ 97.70) รองลงมาคอื ความ รว มมอื ในการทํางานกลมุ (รอยละ 96.77) การเขารวมกจิ กรรม (รอยละ 96.77) การสงงานตามเวลา (รอยละ 95.39) การแสดงความคิดเห็น (รอ ยละ 29.95) การตงั้ คาํ ถาม (รอ ยละ 5.99) และการโพสต แชรเ นอื้ หา (รอ ย ละ 3.69) เรยี งตามลําดับ ตอนท่ี 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ศูนยการเรียนชมุ ชน กศน.ตาํ บลกระโทก จาํ นวน 6 คน ทม่ี ตี อการเรียนดว ย กิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผานเครือขา ยสังคมออนไลน ตารางที่ 4 ผลการศึกษาความพงึ พอใจของนกั ระดับมธั ยมศึกษาตอนตนศนู ยการเรียนชุมชน กศน.ตําบลกระโทก จาํ นวน 6 คน ที่มีตอการเรยี นดว ยกจิ กรรมการ เรียนแบบผสมผสานผานเครอื ขายสังคม ออนไลน

จากตารางท่ี 4 แสดงใหเห็นวาผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ศูนยการเรียนชุมชน กศน.ตําบลกระโทก ท่ีมีตอการเรียนดวยกิจกรรม การเรียนแบบผสมผสานผานเครือขาย สังคมออนไลนตามแนวคิดเพื่อนชวยเพื่อนโดยภาพรวมมีความ พึงพอใจอยูในระดับมาก( =̅ 4.15, S.D.= 0.74) ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้1.ความพึงพอใจดานรูปแบบลักษณะของส่ือผานเครือขายสังคมออนไลนจากผลการ วิเคราะหขอมูลพบวานักศึกษามีความพึงพอใจในดานรูปแบบลักษณะส่ือสังคมออนไลนอยูในระดับมาก ( =̅ 4.22, S.D.= 0.71) 2.ความพึงพอใจดานกระบวนการจัดการเรียนรูจากผลการวิเคราะหขอมูลพบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในดานกระบวนการจัดการเรยี นรูอยใู นระดับมาก ( =̅ 4.08, S.D.= 0.78) อภิปรายผล จากผลการวจิ ยั เรอื่ ง ผลของการจัดกจิ กรรมการเรยี นแบบผสมผสานผานเครือขา ยสงั คมออนไลนต าม

บทท่ี 5 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ สรปุ ผลการวิจัย 1.ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนักศึกษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน ศนู ยการเรียนชมุ ชน กศน.ตาํ บล กระโทก จํานวน 6 คนดวยกิจกรรมการเรยี นแบบผสมผสานผา นเครือขา ยสังคมออนไลน ทุกคนมีผลการเรียน ระดับ 4.00 (ดเี ย่ยี ม) คิดเปน 100 % มคี าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 4.44 , คา ความแปรปรวน 19.76 และ คาสมั ประสิทธ์ิของการกระจาย (CV.) = 5.30 หมายถึงประสทิ ธภิ าพอยูในระดบั ดมี าก ทัง้ น้เี น่อื งจากการจดั กิจกรรมการเรยี นแบบผสมผสานผา นเครือขายสงั คมออนไลน.ใหกับนักศกึ ษา ทาํ ใหนักศกึ ษาไดเ รยี นรูทงั้ จาก ภาคทฤษฎี การลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ จนสามารถนาํ ไปใชในชีวิตจริง และมกี ารเรยี นออนไลนผา นระบบ ทําใหการ เรียนมีความตอเน่ืองสงผลใหความรูทไี่ ดมีความคงทนและใหนกั ศึกษาไดเรยี นรใู นการชว ยเหลอื ซง่ึ กนั และกัน ใหน ักศึกษาจะเรยี นรูอ ะไรตางๆไดจ ากเพ่ือนสเู พื่อนและการเรยี นรเู ชน นี้จะทําใหนกั ศึกษาทเี่ รียนรชู าเกิดการ เรียนรไู ดเ น่อื งจากภาษาท่ีผูเรียนใชพดู จากส่ือสารกนั น้ันสามารถส่ือความหมายระหวา งกันและกันไดเปนอยางดี ดังทสี่ คุ นธ สอนธพานนท และคณะ (2545,หนา31-33)วิธสี อนแบบกลมุ เพื่อนชว ยเพ่ือนเปนวิธีการสอนวธิ หี น่งึ ทีสบื ทอดเจตนารมณของปรัชญาการศึกษาท่ีวา Learning by doing ตามแนวทฤษฎขี องจอหน ดวิ อี้ โดยเนน การใหนักเรยี นมกี ารรวมกลมุ เพื่อการทํางานรวมกนั หรือการปฏิบตั ใิ นกจิ กรรมการเรยี นการสอนอาจกลาวไดว า การสอนแบบเพ่ือนชวยเพื่อนน้ันเปน การสงเสรมิ ระบอบประชาธปิ ไตย และยังมุงใหผ ูเรียนทีม่ ีผลสมั ฤทธิ์อยูใน เกณฑตาํ่ ไดรับประโยชน จากเพ่ือนนักศึกษาทเี่ กง กวา หรือมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นอยเู กณฑ นอกจากนก้ี าร จัดการเรยี นรแู บบผสมผสาน(Blended Learning) เปนการเรียนการสอนที่อาศัยส่ือหลาย ๆ ชนดิ ผสมผสานกนั ตัง้ แตด า นเทคโนโลยี กจิ กรรมการเรียนการสอน และเหตุการณท่เี หมาะสมเพ่ือสรางรปู แบบการเรียนการสอนที่ เหมาะสมสาํ หรับนักศกึ ษาการผสมผสานเปนการนํา รูปแบบอิเลก็ ทรอนิกสและสื่อสมยั ใหม เขามาเสรมิ การ เรยี นการสอนตามรปู แบบปกติในหอ งเรยี น ดังท่นี วลพรรณ ไชยมา (2554, หนา 12-13 ) กลา ววา การจัดการ เรยี นการสอนแบบผสมผสานเปน การผสมผสานวิธีการหลาย ๆ วิธีเขา ดวยกัน ทง้ั วิธสี อน สอ่ื และเทคโนโลยกี าร สอน ผานการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในหองเรียนแบบ ดังเดมิ หรือการเรียนการสอนแบบเผชญิ หนา กนั (Face to Face) และการเรยี นการสอนแบบออนไลน (Online) โดยเนนใหผ เู รยี นไดรับการฝกฝนและลงมือ ปฏบิ ัติจรงิ เพอ่ื ใหการจดั การเรียนการสอนมีความยดื หยุนและทาํ ใหน ักศึกษาเกิดการเรยี นรอู ยางเตม็ ศักยภาพ บรรลุเปาหมายของการเรยี นรูซง่ึ สอดคลองกบั งานวจิ ัยของพลอยไพลนิ ศรีอ่ําดี (2556)ไดศึกษาผลการจัดการ เรียนรูแบบผสมผสานดวยกจิ กรรมการเรียนแบบแกป ญหาวชิ าเทคโนโลยี สารสนเทศ 2 ทีม่ ตี อความสามารถใน การแกป ญหาและผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของศกึ ษา ศูนยการเรียนชุมชน กศน.ตําบลกระโทกผลการวิจยั พบวา 1)ผลคะแนนความสามารถในการแกปญหาของระดบั มัธยมศึกษาปท่ี 2 ที่เรยี นแบบผสมผสานดว ยกจิ กรรมการ เรยี น แบบแกป ญหา อยูในระดับดีมาก2)ผลการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรยี นของนักศึกษาทเี่ รยี นแบบผสมผสานดวยกิจกรรมการเรียนแบบแกปญหาหลังเรียนสงู กวา กอ นเรยี น อยางมีนยั สาํ คญั ทางสถิติทรี่ ะดับ .01 1. ผลการศกึ ษาพฤติกรรมการเรยี น ของนักศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ศูนยการเรียนชุมชน กศน.ตําบลกระโทก ทีเ่ รยี นดวยกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผานเครอื ขา ยสังคมออนไลนตามแนวคดิ เพ่ือน ชว ยเพอื่ น พบวา นักศกึ ษามีพฤติกรรมการตอบ คาํ ถามมากท่ีสุด (รอยละ 97.70) รองลงมาคอื ความรว มมือใน การทาํ งานกลมุ (รอยละ 96.77) การเขารว ม กจิ กรรม (รอ ยละ 96.77) การสงงานตามเวลา (รอ ยละ 95.39) การแสดงความคดิ เห็น (รอยละ 29.95) การต้ัง คําถาม (รอยละ 5.99) และการโพสต แชรเนอ้ื หา (3.69)เรียง ตามลาํ ดบั ผูวิจัยพบวานกั ศึกษามีพฤติกรรมการตอบ คําถามมากทส่ี ดุ เนอ่ื งจากคําถามจะเปนสงิ่ ที่กระตนุ ให ผูเรยี นอยากเรียนรูโ ดยส่ิงที่อยากเรียนรดู ังกลา วจะตอ งเร่มิ มาจากปญ หาทน่ี กั ศกึ ษาสนใจหรอื พบใน ชวี ติ ประจําวนั ทม่ี ีเนือ้ หาเก่ยี วของกับบทเรียน 2.ผลการศึกษาความพึงพอใจ ของระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน ศูนยการเรยี นชุมชน กศน.ตาํ บลกระโทก ท่ีมีตอ การเรียนดว ยกจิ กรรมการเรยี นแบบผสมผสานผา นเครอื ขายสงั คมออนไลนต ามแนวคดิ เพ่ือนชวยเพื่อน โดยภาพรวม มีความพึงพอใจ อยใู นระดับมาก ( ̅= 4.15, S.D.= 0.74) ทั้งนีเ้ น่ืองจากการเรยี นดวยกจิ กรรมการ เรยี นแบบผสมผสานผา น เครือขายสงั คมออนไลนต ามแนวคิดเพ่ือนชวยเพื่อน เปนการเรยี นในรปู แบบที่แปลก ใหม ซง่ึ ผูเ รยี นไมเ คยเรียนมา กอ น จงึ เกิดความกระตือรือรน ความสนใจในการเรยี น โดยผวู ิจัยไดพ ฒั นาบทเรยี น ผานเวบ็ ไซต (Google Sites) โดยมรี ูปแบบที่สวยงามนาสนใจ เหมาะสมกับวยั ของผูเรยี น ผูเรยี นสามารถเรยี นรู ไดดวยตนเองตามโอกาสที่ เหมาะสม ชว ยสงเสริมใหน ักศกึ ษาเรียนรูไดทุกเวลา ผเู รยี นสามารถแลกเปลย่ี น เรยี นรู ซกั ถามขอสงสยั ผานทางสอ่ื สังคมออนไลนท ี่ผวู จิ ัยตั้งชุมชนไวใ นกเู กิลพลสั (Google Plus) อีกท้ังผูเรยี น ไดทํางานรวมกนั ผา นเอกสารออนไลน (Google Document) นอกจากน้ผี ูว ิจัยไดใ หผูเรียนเขา ลงทะเบียนเรยี น ออนไลน ดงั นน้ั ดว ยรปู แบบการเรียนแบบผสมผสานผานเครือขา ยสงั คมออนไลน จงึ สง ผลใหนกั ศกึ ษาเกิดความ พงึ พอใจตอการเรยี นในคร้งั นีเ้ ปน อยา งมาก สอดคลอ งกบั งานวิจยั ของ เดือนเพ็ญ ภานุรักษ(2555) ไดศ ึกษาผล การจัดการเรียนรูโดย ใชวธิ ีการแบบรว มมือกนั ดว ยเทคนิคเพอ่ื นคคู ดิ ผานเครอื ขายสังคมการเรยี นรู ในรายวชิ า วิทยาศาสตรเ พื่อชวี ติ ผลการวจิ ัยพบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการเรียนรโู ดยใชว ธิ ีการแบบรว มมือกนั ดวยเทคนิคเพ่อื นคูค ดิ ผา น เครอื ขายสงั คมอยูในระดับมาก ขอ เสนอแนะ จากผลการวจิ ยั เรือ่ งการศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานผานเครือขายสังคมออนไลน (Socialmedia)เพอ่ื แกปญ หาเวลาเรียนไมตอ เนื่องของระดับมธั ยมศึกษาตอนตน ศูนยการเรยี นชุมชน กศน.ตาํ บลกระโทก ผวู จิ ัยมขี อคนพบและแนวความคิดมาใชเ ปน ขอ เสนอแนะ ดงั น้ี

ขอเสนอแนะเพื่อนําผลการวจิ ัยไปใช 1.กอนเรียนดวยกิจกรรมแบบผสมผสานผานเครือขายสังคมออนไลนตามแนวคิดเพ่ือนชวยเพ่ือนควรเตรียม ความพรอมของนักศึกษาในการใชงานสื่อสังคมออนไลนเพ่ือใหนักศึกษาไดใชงานสื่อสังคมออนไลนไดอยาง คลองแคลว และมปี ระสทิ ธิภาพ 2.ผูส อนควรชี้แจงรูปแบบลักษณะขั้นตอนของกิจกรรมแบบผสมผสานผานเครือขา ยสังคมออนไลนตามแนวคิด เพื่อนชว ยเพ่ือนใหก ับนกั ศึกษาอยางละเอยี ด เพื่อใหนักศึกษาเขา ใจและทําการศกึ ษาบทเรียนได อยา งถกู วิธี ขอ เสนอแนะเพอ่ื การวิจัยคร้งั ตอ ไป 1.ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชส่ือสังคมออนไลนรวมกับการเรียนรูรูปแบบอ่ืน เชน การเรียนรโู ดยใชป ญ หาเปนฐาน(PBL) เปน ตน 2.ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชส่ือสังคมออนไลนเพื่อใชในการพัฒนาทักษะ ด า น อ่ื น ใ น ร า ย วิ ช า ต า ง ๆ เ ช น ทั ก ษ ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด ทั ก ษ ะ ก า ร อ า น แ ล ะ ทั ก ษ ะ ก า ร เ ขี ย น เ ป น ต น 3. ควรมกี ารศึกษาการใชก ารเรยี นรูโ ดยใชเทคนิคการเรียนการสอนแบบอนื่ ๆ เพอ่ื นาํ มา เปรียบเทยี บวา วธิ ีใดจะ เหมาะสมกบั การเรยี นการสอนมากทส่ี ุด 4. ควรมีการศึกษาสาเหตุของการแสดงพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาที่เรียนผานเครือขายสังคม ออนไลน เพือ่ ใชเ ปนแนวทางในการสง เสริมหรอื ปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมของนักศึกษาตอไป 5. ควรหาเทคนิคหรือวิธีการท่ีจะสงเสริมพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาที่เรียนผานเครือขายสังคม ออนไลน ใหมพี ฤตกิ รรมการแสดงออกทางดา นการตง้ั คําถาม การโพสต และการแชรเ นอ้ื หา เพ่ิมขนึ้

เอกสารอางอิง ภาษาไทย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2552). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ:โรง พมิ พ ชมุ ชนสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย. เดือนเพ็ญ ภานรุ กั ษ. (2555). “ผลการจดั การเรียนรโู ดยใชวิธกี ารแบบรว มมอื กนั ดว ยเทคนิคเพื่อนคูคิดผา น เครือขายสังคมการเรยี นรใู นรายวิชา การบริหารสารสนเทศ 1.”วิทยานพิ นธป รญิ ญามหาบัณฑติ สาขาวชิ าคอมพิวเตอรศึกษา คณะครศุ าสตร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม. พลอยไพลิน ศรีอํา่ ดี (2556). “ผลการจัดการเรยี นรูแบบผสมผสานดวยกิจกรรมการเรยี นแบบแกป ญ หา วชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ที่มีตอความสามารถในการแกปญ หาและผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของ นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 2 โรงเรยี นสริ ินธรราชวทิ ยาลัย.” วารสารวชิ าการ Veridian E-Journal ป ท่ี 6,ฉบบั ที่ 2 (เดือนพฤษภาคม – สงิ หาคม) :582-596. สายชล จินโจ.(2550).“การพัฒนารูปแบบการเรยี นการสอนแบบผสมผสานรายวชิ าการเขยี นโปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร 1 สาขาคอมพวิ เตอรธ ุรกจิ .”วทิ ยานพิ นธปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาคอมพิวเตอร ศกึ ษา บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ. สคุ นธ สินธพานนท และคณะ. (2545).การจดั กระบวนการเรยี นรูท ่เี นน ผเู รยี นเปน สาํ คญั ตามหลกั สตู ร การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน.กรุงเทพฯ:อกั ษรเจริญทัศน. สุรพล พยอมแยม. (2541). จติ วิทยาอุตสาหกรรม.กรุงเทพฯ: โครงการสง เสรมิ การผลิตตําราและเอกสาร การสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร สาํ นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส (องคการมหาชน) .(2557). ผลสาํ รวจพฤติกรรมผูใชง าน อนิ เทอรเ นต็ ในไทยป 2557.วนั ทีค่ น ขอ มูล 6 สงิ หาคม 2557, เขาถึงไดจาก http://thumbsup.in.th/2014/08/thailand-internet-user-profile-2014/ ภาษาตางประเทศ Thorne, K. (2003). Blended Learning: How to Integrate Online and Traditional Learning.London: Kogan Page.

ภาคผนวก การขบั เคลอื่ นหอ งเรยี นคณุ ภาพโดยการใชร ะบบ ICT การทําFactbook การสรา งหอ งเรียน google classroom การจัดการเรียนการสอนโดยใหนักเรยี นลงทะเบียนเรยี นผานสอ่ื ออนไลน

คณะผูจัดทาํ ที่ปรึกษา วฒั นกสกิ าร ผูอํานวยการ กศน.อาํ เภอโชคชัย นางจรี ะภา หาญกลา บรรณารกั ษชาํ นาญการพเิ ศษ นางสุวมิ ล ครู กศน.ตําบล วิเคราะหเรยี บเรยี ง และตน ฉบับ ผอู าํ นวยการ กศน.อําเภอโชคชยั บรรณารกั ษช ํานาญการพิเศษ นางสาวรจนา ขวญั เกตุ บรรณาธกิ าร วฒั นกสิการ หาญกลา นางจีระภา นางสุวมิ ล

ศนู ยก ารเรยี นชุมชน กศน.ตาํ บลกระโทก ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอโชคชยั สาํ นกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย จงั หวัดนครราชสีมา