Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพื่องานธุรกิจ

วิชา การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพื่องานธุรกิจ

Published by lavanh9979, 2021-08-23 05:03:09

Description: วิชา การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพื่องานธุรกิจ

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน การบริหารจัดการระบบฐานข้อมลู เพื่องานธุรกิจ Database Management Systems for Business นิรันดร ผานิจ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี 2560

คำนำ | ก คำนำ เอกสารประกอบการสอน รายวชิ าการบริหารจดั การระบบฐานข้อมลู เพือ่ งานธุรกิจ ผ้เู ขยี นได้ ใช้ประสบการณ์จากการทางานด้านการพฒั นาระบบสารสนเทศ และอาจารยส์ อนระดับปรญิ ญาตรี รวมทง้ั ศึกษาจากตาราต่าง ๆ ในการจัดทา โดยเอกสารประกอบการสอนนี้มรี ูปแบบการจัดเน้ือหา เอกสารการสอนเชงิ ปฏิบตั กิ าร โดยมุง่ เนน้ ให้ผูเ้ รียนสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการออกแบบ ฐานข้อมลู และพฒั นาโปรแกรมเช่อื มต่อระบบฐานข้อมลู ได้ เอกสารประกอบการสอนเล่มนีม้ ีทัง้ หมด 10 บท โดยแบ่งตามเนอ้ื หาตามคาอธิบายรายวชิ า รายวิชาการบรหิ ารจดั การระบบฐานข้อมูลเพื่องาน ธุรกจิ (BC10201) สาขาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี ผ้เู ขียนหวงั ว่าเอกสารประกอบการสอนเล่มน้ี จะเป็นประโยชนส์ าหรบั นักศกึ ษาและผู้อ่านทุก ท่าน ในการใชเ้ ป็นคูม่ ือสาหรบั การเรียนการสอน และการนาไปเป็นแนวคิดในการวเิ คราะห์และ ออกแบบฐานข้อมลู ต่อไป นริ ันดร ผานิจ 5 มนี าคม 2560 กำรบริหำรจัดกำรระบบฐำนข้อมูลเพ่ืองำนธุ รกิจ



สารบญั สารบัญ | ค คานา ก สารบัญ ค สารบัญตาราง ฎ สารบัญภาพ ฐ 1 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 1 3 บทท่ี 1 แนวคดิ เบ้ืองต้นเกี่ยวกับฐานขอ้ มูล 3 4 1.1 ขอ้ มูล 5 1.2 สารสนเทศ 5 1.3 หน่วยเก็บขอ้ มูล 9 10 1.3.1 ยคุ ทห่ี นึ่ง 13 1.3.2 ยคุ ทสี่ อง 14 1.3.3 ยคุ ปัจจบุ นั 14 1.4 หน่วยในการจัดเก็บข้อมูล 15 1.5 ระบบแฟ้มข้อมูล 16 1.5.1 ระบบแฟ้มข้อมลู ดว้ ยมือ 17 1.5.2 ระบบแฟ้มข้อมลู ด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ 17 1.6 ระบบฐานขอ้ มูล 19 1.7 ประโยชนข์ องระบบฐานข้อมลู 20 1.8 บทสรปุ 21 คาถามทา้ ยบท 23 เอกสารอา้ งอิง 23 25 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 2 26 บทท่ี 2 ระบบการจดั การฐานข้อมูล 27 28 2.1 ระบบการจดั การฐานข้อมูล (DBMS) 29 2.2 หนา้ ท่ีระบบการจดั การฐานขอ้ มลู 2.3 องคป์ ระกอบของระบบจัดการฐานข้อมูล 2.4 ประเภทของระบบจดั การฐานขอ้ มลู 2.4.1แบง่ ตามจานวนของผูใ้ ช้เป็นหลกั 2.4.2 แบ่งตามสถานท่ีเก็บข้อมลู เป็นหลัก การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพื่องานธุ รกจิ

ง | สารบญั สารบญั (ตอ่ ) 30 30 2.4.3 แบง่ ตามลักษณะการใช้งานเปน็ หลกั 30 2.5 ขอ้ ดีและข้อดอ้ ยระบบการจดั การฐานข้อมลู 31 31 2.5.1 ขอ้ ดขี องระบบจัดการฐานขอ้ มูล 33 2.5.2 ข้อดอ้ ยของระบบจัดการฐานข้อมลู 34 2.6 ตวั อยา่ งการประยกุ ต์ใชร้ ะบบการจดั การฐานข้อมูล 36 2.7 แนวโนม้ ของระบบการจัดการฐานข้อมูล 37 2.8 บทสรุป 39 คาถามท้ายบท 41 เอกสารอา้ งอิง 42 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 3 44 บทท่ี 3 สถาปตั ยกรรมระบบฐานข้อมลู และแบบจาลองข้อมูล 45 3.1 สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล 47 3.2 สคมี า (Schema) และ อนิ สแตนซ์ (Instance) 47 3.3 สถาปตั ยกรรมในระดบั ภายนอก (External Level) 49 3.4 สถาปตั ยกรรมในระดับความคิด (Concept Level) 50 3.5 สถาปัตยกรรมในระดบั ภายใน (Internal Level) 50 3.6 แบบจาลองฐานข้อมลู (Data Model) 52 3.6.1 คณุ สมบตั ิแบบจาลองฐานข้อมลู ทีด่ ี 52 3.7 ฐานข้อมลู แบบลาดับชั้น (Hierarchical Data Model) 52 3.7.1 ขอ้ ดีของฐานข้อมูลแบบลาดบั ช้ัน (Hierarchical Data Model) 53 3.7.2 ข้อด้อยของฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น (Hierarchical Data Model) 54 3.8 ฐานขอ้ มลู แบบเครอื ข่าย (Network Data Model) 54 3.9 ฐานข้อมูลเชิงสมั พันธ์ (Relational Database) 55 3.10 ฐานข้อมูลเชงิ วัตถุ (Object Oriented Database) 58 3.10.1 คลาส (Class) 59 3.10.2 ออบเจ็ค (Object) หรืออินสแตนซ์ (Instance) 60 3.11 บทสรปุ คาถามทา้ ยบท เอกสารอ้างองิ การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอื่ งานธุรกจิ

สารบญั (ตอ่ ) สารบัญ | จ แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 4 61 บทท่ี 4 ฐานขอ้ มลู เชิงสัมพันธ์ (Relational Database) 63 63 4.1 ฐานขอ้ มูลเชิงสมั พันธ์ (Relational Database) 64 4.2 โครงสรา้ งฐานข้อมูลเชงิ สัมพนั ธ์ 64 4.3 รเี ลชั่น (Relation) 64 4.3.1 คณุ สมบัตขิ องรเี ลช่ัน 65 65 4.3.2 ประเภทของรีเลชัน 65 4.4 แอตทรบิ ิวต์ (Attribute) 65 4.5 โดเมน (Domain) 65 4.6 ทูเพิล (Tuple) 65 4.7 เอนทติ ี (Entity) 66 4.8 รีเลชนั ชพิ (Relationship) 66 67 4.8.1 ประเภทของรีเลชันชิพ 67 4.9 ดกี รี (Degree) และคาร์ดินาลิตี (Cardinality) 70 4.10 คยี ์ (Key) 71 71 4.10.1 ประเภทของคยี ์ 72 4.11 กฏอินทิกรีตี (Integrity Rule) 73 4.12 แบบฝกึ ปฏิบัตกิ ารในช้ันเรียน 75 4.13 บทสรุป 77 คาถามทา้ ยบท 77 เอกสารอ้างอิง 78 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 5 78 บทที่ 5 แบบจาลองออี าร์ (ER-Model) 78 5.1 ความหมายของแผนภาพอีอาร์ 78 5.2 สว่ นประกอบของแบบจาลองออี าร์ 79 79 5.2.1 เอนทิตี (Entity) 5.2.2 แอททรบิ ิว (Attribute) 5.2.3 ความสัมพนั ธ์ (Relationship) 5.3 เอนทติ ี (Entity) 5.3.1 เอนทติ ปี กติ (Strong Entity หรอื Regular Entity) การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพื่องานธุรกจิ

ฉ | สารบัญ 79 80 สารบัญ (ตอ่ ) 80 80 5.3.2 เอนทิตีอ่อนแอ (Weak Entity) 81 5.3.3 Associative Entity 81 5.4 แอตทรบิ วิ ต์ (Attribute) 82 5.4.1 แอตทรบิ ิวตอ์ ย่างงา่ ย (Simple Attribute) 82 5.4.2 คอมโพสติ แอททรบิ วิ ต์ (Composite Attribute) 83 5.4.3 มัลติแวลแู อททริบวิ ต์ (Multivalued Attribute) 84 5.4.4 ดีไลน์แอททรบิ ิวต์ (Derived Attribute) 85 5.4.5 คียแ์ อตทรบิ ิวต์ (Key Attribute) 85 5.5 รเี ลชน่ั ชีพ (Relationship) 87 5.5.1 ความสมั พนั ธ์แบบหน่งึ ตอ่ หนง่ึ (One-to-One) 87 5.5.2 ความสัมพันธแ์ บบหนึง่ ตอ่ กลุม่ (One-to-Many) 87 5.5.3 ความสัมพันธแ์ บบกลุ่มตอ่ กลมุ่ (Many-to-Many) 90 5.6 สัญลกั ษณ์แบบจาลองอีอาร์ท่ีนิยม 91 5.7 ฝกึ ปฏบิ ัติการออกแบบอีอาร์แสดงโครงสรา้ งขอ้ มูลทางธรุ กิจ 63 5.8 บทสรุป 95 คาถามทา้ ยบท 95 เอกสารอา้ งอิง 96 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 6 100 บทท่ี 6 ระบบจดั การฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล (MySQL Database) 101 6.1 ระบบจัดการฐานข้อมลู มายเอสควิ แอล 102 6.2 การตดิ ต้งั MySQL 103 6.3 การเช่อื มต่อฐานข้อมลู 104 6.4 การสร้างฐานขอ้ มลู 106 6.5 ชนดิ ของข้อมลู ของฐานข้อมูลมายเอสควิ แอล 107 6.5.1 ข้อมูลประเภทข้อความ (String) 108 6.5.2 ขอ้ มลู ประเภทตัวเลข (Numeric) 108 6.5.3 ขอ้ มลู ประเภทวันที่ (Date/time) 6.6 การสรา้ งตาราง 6.7 การเชื่อมความสมั พันธร์ ะหวา่ งตาราง 6.7.1 สรา้ งความสัมพันธร์ ะหว่างตารางพร้อมกับการสร้างตาราง การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่อื งานธุรกิจ

สารบัญ | ช สารบัญ (ตอ่ ) 111 112 6.7.2 เชอื่ มความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตารางภายหลงั 113 6.8 การยกเลิกหรือลบความสัมพันธร์ ะหว่างตาราง 113 6.9 แบบฝกึ หดั เชิงปฏิบัตกิ าร 114 114 6.9.1 ฝึกสร้างตารางและเชื่อมตารางซ้ือขายสินค้า 116 6.9.2 ฝึกปฏบิ ตั สิ รา้ งตารางและเชื่อมตารางระบบการลา 117 6.10 บทสรปุ 119 คาถามท้ายบท 121 เอกสารอา้ งองิ 121 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 7 124 บทที่ 7 นอร์มัลไลซเ์ ซชนั่ (Normalization) 124 7.1 นอร์มลั ไลซ์เซช่นั 125 7.2 ประโยชนข์ องการนอร์มัลไลเซชนั 126 7.3 รปู แบบทเ่ี ป็นบรรทัดฐานขนั้ ที่ 1 (First Normal Form : 1NF) 126 7.4 ฟงั ก์ชันนัลดเี พนเดนซี (Functional dependency) 127 7.5 ฟังกช์ นั การขน้ึ ตอ่ กันแบบทง้ั หมด (Full Functional dependency) 131 7.6 ฟงั กช์ ันการขึ้นต่อกนั แบบบางสว่ น (Partial Dependency) 131 7.7 รูปแบบท่เี ป็นบรรทัดฐานขัน้ ท่ี 2 (Second Normal Form : 2NF) 132 7.8 ทรานชิทีฟดเี พนเดนซี (Transitive Dependency) 133 7.9 รปู แบบทีเ่ ปน็ บรรทดั ฐานขนั้ ท่ี 3 (Third Normal Form : 3NF) 135 7.10 ฝึกปฏบิ ัตกิ ารนอร์มัลไลซเ์ ซช่ันฐานขอ้ มูล 136 7.11 บทสรุป 137 คาถามท้ายบท 141 เอกสารอา้ งอิง 141 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 8 143 บทท่ี 8 ภาษาในการประมวลผลข้อมลู 144 8.1 ภาษาในการประมวลผลข้อมลู 8.2 ประเภทของคาส่งั ของภาษาเอสควิ แอล 8.3 คาสง่ั เพ่มิ ขอ้ มูล (Insert) การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพื่องานธุ รกิจ

ซ | สารบญั 146 146 สารบัญ (ตอ่ ) 147 148 8.4 คาสง่ั สบื คน้ ข้อมลู (Select) 149 8.4.1 การสบื คน้ ทกุ คอลัมน์ 150 8.4.2 การสบื คน้ บางคอลัมน์ 151 8.4.3 เปล่ียนหัวคอลัมน์ดว้ ย SELECT AS 152 8.4.4 การสบื คน้ โดยไม่แสดงขอ้ มลู ที่ซ้ากัน 153 8.4.5 การสืบค้นพร้อมจัดเรียงขอ้ มลู 155 156 8.5 การประมวลผลแบบเง่ือนไข (Where) 157 8.5.1 ตวั ดาเนินการทางตรรกศาสตร์ 159 8.5.2 ตัวดาเนนิ การ AND, OR, NOT 161 8.5.3 ตัวดาเนินการ Between 162 8.5.4 ตัวดาเนนิ การ IN 162 8.5.5 ตวั ดาเนินการ Like 163 8.5.6 ฟังกช์ น่ั MIN(), MAX(), COUNT(), AVG(), SUM() 164 165 8.6 คาส่ังปรบั ปรงุ ข้อมูล (Update) 167 8.7 คาสั่งลบขอ้ มูล (Delete) 171 8.8 ฝึกปฏิบัติการในชน้ั เรียน 171 8.9 บทสรปุ 173 คาถามท้ายบท 173 เอกสารอา้ งอิง 175 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 9 176 บทที่ 9 ความปลอดภยั ของฐานข้อมูล (Database Security) 177 9.1 การรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูล 179 9.2 การสรา้ งระบบรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูล 180 9.3 การเชอื่ มต่อกับฐานข้อมูล MySQL Server 182 9.4 การสรา้ งบญั ชผี ใู้ ชฐ้ านขอ้ มูล MySQL 9.5 การลบบญั ชีผใู้ ช้ MySQL 9.6 การกาหนดสิทธใิ ห้แก่บัญชีผู้ใช้ 9.7 การยกเลกิ สิทธิในตาราง 9.8 การควบคมุ ความปลอดภัยดว้ ยววิ 9.9 การสร้างววิ การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื งานธุรกจิ

สารบัญ (ตอ่ ) สารบัญ | ฌ 9.10 การปรับปรุงวิว 184 9.11 การลบววิ 185 9.12 ฝกึ ปฏิบัติการสร้างวิวขอ้ มลู การสั่งซื้อสนิ ค้า 186 9.13 บทสรปุ 188 คาถามทา้ ยบท 189 เอกสารอา้ งองิ 190 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 10 191 บทที่ 10 การประยกุ ต์ใช้งานฐานขอ้ มูลจาหนา่ ยสินคา้ 193 10.1 แบบจาลองอีอาร์ฐานข้อมลู จาหน่ายสินค้า 193 10.2 ข้อมูลตวั อยา่ ง 194 10.3 การติดตั้ง Connector/Net 195 10.4 การเชือ่ มต่อฐานข้อมูล 197 10.5 การแสดง/ค้นหารายการสินค้า 199 10.6 การเพ่ิมรายการสนิ ค้าใหม่ 201 10.7 การปรับปรงุ ข้อมูลสินค้า/การลบรายการสนิ ค้า 203 10.8 การดกั จบั ขอ้ ผดิ พลาด 207 10.9 บทสรุป 208 คาถามท้ายบท 209 เอกสารอ้างอิง 211 การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่ืองานธุรกจิ

ญ | สารบัญ สารบญั ภาพ 3 4 ภาพที่ 1.1 a) แบบฟอร์มการสารวจขอ้ มูลแล้วได้มาซ่งึ b) ขอ้ มลู ดบิ 5 ภาพที่ 1.2 การประมวลผลข้อมลู ได้ สารสนเทศ c) การสรุป d) การทาเปน็ แผนผังกราฟ 6 ภาพท่ี 1.3 ขอ้ มูลและสารสนเทศ 7 ภาพท่ี 1.4 ฟลอปปดี้ ิสก์ 7 ภาพที่ 1.5 ดสิ ก์ไดร์ฟ 8 ภาพที่ 1.6 เทปแมเ่ หล็ก 8 ภาพที่ 1.7 เทปแม่เหลก็ 9 ภาพที่ 1.8 เครอ่ื งอา่ นเทปแม่เหลก็ 10 ภาพท่ี 1.9 แผน่ ซดี ี 10 ภาพท่ี 1.10 แผน่ ดวี ีดี 11 ภาพที่ 1.11 จานบลูเรย์ 11 ภาพท่ี 1.12 แฮนดไี ดรฟ์ปัจจุบัน 12 ภาพท่ี 1.13 ฮาร์ดดิสก์ 13 ภาพที่ 1.14 ฮาร์ดดิสก์ Solid state drive 14 ภาพที่ 1.15 สญั ญาณแบบดิจิตอล 15 ภาพท่ี 1.16 ลาดับชัน้ การจดั เก็บข้อมลู 15 ภาพท่ี 1.17 ตบู้ ตั รรายการ ในห้องสมดุ 16 ภาพที่ 1.18 การจดั เกบ็ ข้อมลู ระบบแฟม้ ข้อมูล 24 ภาพท่ี 1.19 ระบบจัดการฐานข้อมลู 25 ภาพท่ี 2.1 การจดั เก็บข้อมลู ในสมัยกอ่ น และการจดั เกบ็ โดยใชค้ อมพวิ เตอร์ 28 ภาพที่ 2.2 ระบบจดั การฐานขอ้ มลู 28 ภาพที่ 2.3 ตัวอย่างโปรแกรมฐานขอ้ มูลแบบผูใ้ ช้คนเดยี ว 29 ภาพท่ี 2.4 โปรแกรมฐานข้อมลู แบบผใู้ ช้หลายคน 29 ภาพที่ 2.5 โปรแกรมฐานข้อมลู ประเภทศูนย์กลาง 31 ภาพท่ี 2.6 โปรแกรมฐานข้อมูลประเภทกระจาย 32 ภาพท่ี 2.7 ระบบบริการนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 33 ภาพที่ 2.8 ตัวอยา่ งระบบขายสินคา้ ออนไลน์ 34 ภาพที่ 2.9 ตวั อย่างระบบจองต๋วั เครอ่ื งบนิ 42 ภาพที่ 2.10 ตัวอย่างระบบฐานขอ้ มูลเชิงวัตถุ ภาพที่ 3.1 วิวัฒนาการระบบฐานขอ้ มลู การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอ่ื งานธุรกจิ

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) สารบญั | ฎ ภาพที่ 3.2 Data abstraction levels 43 ภาพท่ี 3.3 สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล ANSI/SPARC 44 ภาพที่ 3.4 ตาราง Poduct 45 ภาพที่ 3.5 มมุ มองของข้อมูล ผผู้ ลติ สนิ คา้ OTOP 45 ภาพท่ี 3.6 มุมมองของข้อมลู สินค้า OTOP 46 ภาพท่ี 3.7 มุมมองการมองเห็นข้อมูลที่แตกต่างกัน 46 ภาพที่ 3.8 ER-Diagram โครงสรา้ งขอ้ มลู การเรียนของนักศกึ ษา 47 ภาพท่ี 3.9 Design, Implementation, and Management 48 ภาพที่ 3.10 ภาพรวมสถาปัตยกรรมฐานข้อมลู 49 ภาพท่ี 3.11 โครงสรา้ งต้นไม้กลบั หวั 50 ภาพที่ 3.12 โครงสร้างตน้ ไม้กลับหัว 51 ภาพที่ 3.13 ตวั อย่างฐานขอ้ มูลแบบลาดบั ชนั้ 51 ภาพที่ 3.14 ฐานขอ้ มลู แบบเครือข่าย (ระบบจาหน่ายสินค้า) 53 ภาพที่ 3.15 โครงสรา้ งรเี ลชัน 53 ภาพท่ี 3.16 แสดงตวั อย่างแผนภาพคลาสไดอะแกรม 54 ภาพท่ี 3.17 แผนภาพคลาสไดอะแกรม vehicle 55 ภาพท่ี 3.18 สร้างออบเจค็ จากคลาส vehicle 55 ภาพท่ี 3.19 ความสัมพนั ธ์ระหว่างวตั ถุ 56 ภาพที่ 3.20 ความสัมพันธร์ ะหว่างวัตถุ 56 ภาพที่ 3.21 การเปรียบเทียบระหว่าง OO, UML และ ER models 57 ภาพที่ 4.1 Dr. Edgar E Codd 63 ภาพที่ 4.2 รเี ลชนั (Relation) 64 ภาพท่ี 4.3 แสดงรีเลชันชิพ (Relationship) 66 ภาพท่ี 4.4 แสดงดีกรี และ คาร์ดินัลลิตี 67 ภาพท่ี 4.5 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรเี ลชนั Suplirer กบั รเี ลชนั Province 69 ภาพที่ 5.1 ตวั อยา่ งแผนภาพออี าร์แสดงโครงสร้างฐานข้อมูลสนิ คา้ OTOP 77 ภาพที่ 5.2 ตวั อย่างเอนทติ ี (Entity) 78 ภาพที่ 5.3 ตัวอยา่ งแอททริบิว (Attribute) 78 ภาพท่ี 5.4 ตัวอย่างความสัมพันธ์ (Relationship) 78 ภาพท่ี 5.5 สัญลักษณเ์ อนทิตีปกติ 79 การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอื่ งานธุรกจิ

ฏ | สารบัญ 79 80 สารบัญภาพ (ตอ่ ) 81 81 ภาพที่ 5.6 สัญลักษณ์เอนทิตีออ่ นแอ 82 ภาพท่ี 5.7 สัญลักษณ์เอนทิตี Associative 82 ภาพที่ 5.8 ตวั อยา่ งแอททรบิ ิวตท์ ี่อย่างง่าย 82 ภาพท่ี 5.9 ตวั อย่างแอททริบิวตท์ ีส่ ามารถแบ่งแยกได้ 83 ภาพท่ี 5.10 ตัวอย่างแอททริบิวต์ท่ีสามารถมีค่าได้หลายคา่ 83 ภาพที่ 5.11 ตวั อยา่ งแอททริบิวต์ทีส่ ามารถมีคา่ ได้หลายคา่ 84 ภาพท่ี 5.12 ตัวอย่างแอททริบวิ ต์ทเี่ กิดจากการคานวณ 84 ภาพท่ี 5.13 ตวั อย่างแอตทริบวิ ต์คียห์ ลกั 84 ภาพท่ี 5.14 ตวั อยา่ งรีเลช่นั ชพี 85 ภาพท่ี 5.15 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งเอนทติ ีลกู คา้ และเอนทิตใี บเสร็จ 85 ภาพท่ี 5.16 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนทติ ปี ระชาชน และเอนทิตใี บขับข่ี 85 ภาพท่ี 5.17 ความสมั พันธร์ ะหว่างเอนทิตีผลติ ภณั ฑ์ และเอนทติ ีอาหารและยา 86 ภาพท่ี 5.18 ความสัมพันธ์ระหวา่ งเอนทติ ีลกู ค้า และเอนทิตีใบเสร็จ 86 ภาพท่ี 5.19 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งเอนทิตผี ผู้ ลติ และเอนทิตีสินคา้ 87 ภาพที่ 5.20 ความสัมพนั ธ์ระหว่างเอนทิตีผผู้ ลติ และเอนทิตสี นิ คา้ 95 ภาพที่ 5.21 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างเอนทติ ีลูกคา้ และเอนทิตเี ทีย่ วบิน 96 ภาพที่ 5.22 สญั ลกั ษณ์แบบจาลองอีอาร์แบบ Chen และแบบ Crow’s Foot 96 ภาพท่ี 5.23 สญั ลกั ษณแ์ บบจาลองอีอารท์ นี่ ยิ ม 97 ภาพที่ 6.1 ผู้ใชง้ านฐานขอ้ มูลมายเอสคิวแอล 97 ภาพท่ี 6.2 ตราสญั ลักษณ์มายเอสคิวแอล 98 ภาพท่ี 6.3 โลโก้โปรแกรม Xampp 98 ภาพท่ี 6.4 เวบ็ ไซต์ https://www.apachefriends.org/ 99 ภาพที่ 6.5 คลกิ Next > เพื่อตดิ ตัง้ 100 ภาพที่ 6.6 เลือก Component ทตี่ ้องการตดิ ตั้ง 100 ภาพที่ 6.7 เลือกโฟลเ์ ดอล์ที่ตอ้ งการตดิ ตั้ง 101 ภาพที่ 6.8 การติดตงั้ เสรจ็ สมบูรณ์ 101 ภาพท่ี 6.9 หนา้ จอ XAMPP Control Panel ภาพท่ี 6.10 การรันฐานข้อมูล MySql ภาพที่ 6.11 การเชอื่ มต่อมายเอสคิวแอล ภาพท่ี 6.12 แสดงผลการเชื่อมต่อสาเรจ็ การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอื่ งานธุรกิจ

สารบญั | ฐ สารบญั ภาพ (ตอ่ ) 102 107 ภาพท่ี 6.13 การสร้างฐานขอ้ มลู ชอ่ื buengkan 110 ภาพท่ี 6.14 ผลการสรา้ งตาราง category 110 ภาพที่ 6.15 ตัวอย่างขอ้ มลู ในตาราง Product 111 ภาพท่ี 6.16 แสดงข้อผดิ พลาดในเพ่ิมขอ้ มลู ท่ไี มม่ ี CategoryID ในตารางทีส่ ัมพนั ธ์ 122 ภาพที่ 6.17 ตาราง Product1 และตาราง Category1 ท่ียงั ไมเ่ ช่ือมความสมั พันธ์ 123 ภาพที่ 7.1 อ.ี เอฟ.คอดด์ (E.F.Codd) 125 ภาพที่ 7.2 ข้นั ตอนการนอร์มัลไลเซชัน 126 ภาพที่ 7.3 ฟงั กช์ นั นลั ดีเพนเดนซี 126 ภาพที่ 7.4 ฟงั ก์ชันนลั ดีเพนเดนซี 127 ภาพที่ 7.5 แผนภาพแสดงฟังก์ชนั การข้นึ ต่อกันแบบทัง้ หมด 127 ภาพที่ 7.6 แผนภาพแสดงพาร์เชียลดีเพนเดนซี 128 ภาพท่ี 7.7 แผนภาพแสดงพารเ์ ชียลดเี พนเดนซี 128 ภาพท่ี 7.8 แผนภาพแสดงพาร์เชียลดเี พนเดนซี 129 ภาพท่ี 7.9 แผนภาพแสดงพาร์เชยี ลดีเพนเดนซี 129 ภาพท่ี 7.10 แยกพารเ์ ชยี ลดีเพนเดนซแี ยกออกมาเป็นรเี ลช่ันใหม่ 129 ภาพท่ี 7.11 รีเลชนั่ ทีแ่ ยกพารเ์ ชียลดเี พนเดนซีออก 130 ภาพที่ 7.12 รีเลชน่ั ใหมท่ ่ีอยู่ในบรรทดั ฐานขน้ั ท่ี 2 131 ภาพที่ 7.13 แผนภาพแสดงการรมี พู พารเ์ ชยี ลดเี พนเดนซี 132 ภาพที่ 7.14 แผนภาพแสดงทรานชิทฟี ดเี พนเดนซี 132 ภาพที่ 7.15 แผนภาพแยกแสดงทรานชิทฟี ดีเพนเดนซี 132 ภาพที่ 7.16 รเี ลชั่นเดิมก็ให้คง Determinant เอาไว้ 142 ภาพท่ี 7.17 รีเลช่ันใหมท่ ี่อยู่ในบรรทดั ฐานข้นั ท่ี 3 144 ภาพท่ี 8.1 คาสง่ั ภาษาเอสคิวแอลโดยตรงกบั ฐานข้อมูล 145 ภาพท่ี 8.2 ตาราง Category 146 ภาพท่ี 8.3 ผลการเพมิ่ ขอ้ มูลในตาราง Category แบบไมร่ ะบคุ อลัมน์ 147 ภาพที่ 8.4 ผลการเพิ่มข้อมูลในตาราง Category แบบระบคุ อลัมน์ 148 ภาพที่ 8.5 ผลการสบื คน้ ข้อมลู ในตาราง Category 149 ภาพท่ี 8.6 ผลการสบื ค้นข้อมูลในตาราง Category เลอื กเพยี งบางคอลัมน์ 149 ภาพท่ี 8.7 ชอื่ ใหห้ วั คอลัมน์ได้ด้วยคาส่งั AS ภาพที่ 8.8 คาส่งั DISTINCT สบื ค้นโดยไม่แสดงข้อมลู ท่ีซ้า การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่อื งานธุรกจิ

ฑ | สารบัญ 150 151 สารบัญภาพ (ตอ่ ) 152 154 ภาพท่ี 8.9 คาสง่ั ORDER การจัดเรยี งข้อมูล 154 ภาพท่ี 8.10 คาส่งั ORDER การจัดเรยี งข้อมูล 155 ภาพที่ 8.11 การประมวลผลแบบเงื่อนไข ราคามากกวา่ เท่ากับ 200 บาท 156 ภาพท่ี 8.12 ตวั ดาเนินการ AND, OR, NOT 157 ภาพท่ี 8.13 ตวั ดาเนินการ OR ราคานอ้ ยกว่า 500 หรอื ดาว นอ้ ยวา่ 5 157 ภาพท่ี 8.14 ตวั ดาเนนิ การ NOT 158 ภาพที่ 8.15 ตวั ดาเนนิ การ BETWEEN 158 ภาพท่ี 8.16 ตวั ดาเนินการ IN 158 ภาพที่ 8.17 ตวั ดาเนินการ LIKE 159 ภาพที่ 8.18 ตัวดาเนนิ การ LIKE 160 ภาพที่ 8.19 ตวั ดาเนินการ LIKE 160 ภาพท่ี 8.20 ตวั ดาเนินการ LIKE 162 ภาพท่ี 8.21 ฟังก์ช่ัน MIN() 172 ภาพที่ 8.22 ฟงั ก์ชั่น MAX() 172 ภาพท่ี 8.23 ฟังก์ช่นั COUNT(*) 173 ภาพท่ี 8.24 ตัวอยา่ ง ปรับปรุงขอ้ มูลในตาราง Product 174 ภาพที่ 9.1 องคป์ ระกอบของระบบฐานข้อมูล 174 ภาพท่ี 9.2 แสดงการเช่อื มต่อฐานขอ้ มลู ท่ีต้องมี User และรหัสผ่าน 174 ภาพท่ี 9.3 การ Start MySQL 175 ภาพที่ 9.4 การเชอื่ มตอ่ มายเอสคิวแอลเซริ ์ฟเวอร์ 176 ภาพท่ี 9.5 แสดงผลการเชือ่ มตอ่ สาเรจ็ 180 ภาพที่ 9.6 คาส่ัง exit สาหรับออกจากฐานขอ้ มูล 181 ภาพท่ี 9.7 การสร้าง user ใหม่ช่อื nirun 186 ภาพท่ี 9.8 ลบบัญชีผู้ใช้ nirun ออกจากฐานข้อมูล 187 ภาพที่ 9.9 ววิ View2 ทีส่ ร้างมาจากตาราง T1 และ T2 193 ภาพท่ี 9.10 โครงสรา้ งฐานข้อมลู สนิ ค้า หมวดหม่สู นิ ค้าและผู้ผลิตสินค้า 194 ภาพท่ี 9.11 แบบจาลองอีอาร์ระบบจาหนา่ ยสินค้าโอทอ็ ป 195 ภาพท่ี 9.12 ข้อมลู สมมุติฐานข้อมลู จาหนา่ ยสนิ ค้าโอท็อป ภาพท่ี 10.1 แผนภาพอีอาร์ ภาพที่ 10.2 ข้อมูลสมมุตขิ ้อมูลจาหนา่ ยสนิ คา้ โอทอ็ ป ภาพที่ 10.3 เว็บไซต์ https://dev.mysql.com/downloads/ connector/net/ การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่ืองานธุรกจิ

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) สารบญั | ฒ ภาพที่ 10.4 ไลบรารี่ MySql.Data.dll สาหรบั เชอ่ื มตอ่ ฐานข้อมูล MySql 195 ภาพที่ 10.5 ติดต้ังไลบรารี่ MySql.Data.dll ในโปรเจค 196 ภาพที่ 10.6 การติดตัง้ ไลบราร่ี MySql.Data.dll เสรจ็ สมบุรณ์ 196 ภาพที่ 10.7 ผลการเช่ือมต่อฐานข้อมูลล้มเหลว 198 ภาพท่ี 10.8 ผลการเชื่อมต่อฐานข้อมลู สาเร็จ 198 ภาพที่ 10.9 ฟอร์มการคน้ หารายการสินคา้ 199 ภาพที่ 10.10 การคน้ หารายการสนิ คา้ ทช่ี ่ือมีคาวา่ น้า 201 ภาพท่ี 10.11 การเพ่มิ ขอ้ มลู รายการสนิ คา้ ใหม่ 201 การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่อื งานธุรกิจ

ณ | สารบญั 41 125 สารบญั ตาราง 126 152 ตาราง 3.1 ยุคของจาลองของฐานข้อมูล 153 ตาราง 7.1 แสดงรายการสัง่ ซ้ือสินคา้ ท่ีมกี ลมุ่ ข้อมลู ซา้ 153 ตาราง 7.2 แสดงรายการสั่งซ้ือสินคา้ ที่อยใู่ น 1NF 178 ตาราง 8.1 ตัวดาเนินการทางตรรกศาสตร์ 181 ตาราง 8.2 ตวั ดาเนนิ การ AND, OR 181 ตาราง 8.3 ตวั ดาเนินการ NOT 181 ตาราง 9.1 สทิ ธทิ ่ีผู้ใชฐ้ านขอ้ มลู (Privileges) ตาราง 9.2 ผผู้ ลิตสินคา้ (Supplier) ตาราง 9.3 หมวดหมู่สินคา้ (Category) ตาราง 9.4 สินคา้ (Product) การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอ่ื งานธุรกิจ

แผนบริหารการสอนประจารายวชิ า | ด แผนบริหารการสอนประจารายวชิ า รหสั วิชา BC10201 3(2-2-5) รายวชิ า การบรหิ ารจดั การระบบฐานขอ้ มูลเพื่องานธรุ กิจ Databases Management Systems for Business เวลาเรยี น 16 สัปดาห์ รวม 64 คาบ คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษาแนวคิดเบื้องตน้ เกี่ยวกับการจัดการฐานข้อมูล องคป์ ระกอบฐานข้อมูล ระบบการ จัดการฐานข้อมลู การออกแบบฐานขอ้ มูล การจัดโครงสร้างทางตรรกะและทางกายภาพ การนอร์ มัลไลซ์ข้อมูล การเรียนรูแ้ ละการใชภ้ าษาในการประมวลผลขอ้ มูล ระบบป้องกันความมั่นคงของข้อมูล และการประยุกต์ใช้โปรแกรมสาเร็จรปู ในการจดั การฐานขอ้ มูล วัตถุประสงค์ทว่ั ไป 1. เพื่อใหน้ กั ศึกษาเขา้ ใจถึงพืน้ ฐานเกยี่ วกบั การจัดการฐานข้อมูล 2. เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษาเขา้ ใจถงึ หลกั การขององคป์ ระกอบฐานข้อมลู ระบบการจดั การฐานข้อมูล 3. เพื่อให้นักศึกษาอธบิ ายการทางานการจัดโครงสร้างทางตรรกะและทางกายภาพได้ 4. เพือ่ ใหน้ กั ศึกษามคี วามรู้ ความเข้าใจ และออกแบบฐานข้อมลู ได้ 5. เพอ่ื ให้นกั ศึกษามคี วามรู้ ความเข้าใจ และสามารถทาการนอร์มลั ไลซ์ข้อมูลได้ 6. เพ่อื ให้นกั ศึกษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถใชภ้ าษาในการประมวลผลขอ้ มูลได้ 7. เพื่อให้นกั ศึกษาสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้กับการทางานในอนาคตได้ เน้ือหารายวิชา เน้อื หา เวลา (ช่ัวโมง) สปั ดาห์ที่ 4 1 บทท่ี 1. แนวคดิ เบื้องต้นเกย่ี วกบั ฐานข้อมูล 1.1. ขอ้ มูลหมายถงึ 1.2. สารสนเทศหมายถึง 1.3. หนว่ ยจดั เกบ็ ข้อมูล 1.4. หนว่ ยในการจดั เกบ็ ข้อมลู 1.5. ระบบแฟม้ ข้อมูล 1.6. ระบบฐานข้อมูลหมายถงึ

ต | แผนบริหารการสอนประจารายวชิ า สัปดาห์ท่ี เนอื้ หา เวลา (ชั่วโมง) 2 1.7. ประโยชนข์ องระบบฐานข้อมูล 4 บทสรปุ 3 คาถามท้ายบท 4 เอกสารอ้างองิ บทท่ี 2. ระบบการจัดการฐานข้อมูล 2.1 ระบบการจดั การฐานข้อมูล 2.2 หนา้ ท่ีระบบการจดั การฐานข้อมูล 2.3 องคป์ ระกอบของระบบจดั การฐานข้อมูล 2.4 คุณสมบัติพืน้ ฐานของระบบฐานข้อมูล 2.5 ประเภทของระบบจดั การฐานข้อมลู 2.6 ขอ้ ดแี ละข้อเสียระบบการจัดการฐานข้อมูล 2.7 ตัวอยา่ งระบบการจัดการฐานขอ้ มลู 2.8 แนวโนม้ ของระบบการจัดการฐานขอ้ มูล บทสรปุ คาถามทา้ ยบท เอกสารอา้ งองิ บทท่ี 3. สถาปัตยกรรมระบบฐานขอ้ มูล 3.1 สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล 3.2 สคีมา (Schema) และ อินสแตนซ์ (Instance) 3.3 ระดับภายใน (Internal Level) 3.4 ระดับความคดิ (Concept Level) 3.5 ระดบั ภายนอก (External Level) 3.6 แบบจาลองฐานข้อมลู (Data Model) 3.7 ฐานข้อมูลแบบลาดับชัน้ 3.8 ฐานข้อมลู แบบเครือขา่ ย 3.9 ฐานข้อมลู แบบแบบสมั พนั ธ์ 3.10ภาษาท่ใี ชใ้ นระบบฐานขอ้ มลู 3.10.1 ภาษานยิ ามข้อมูล 3.10.2 ภาษาจดั การข้อมูล 3.10.3 ภาษาท่ใี ชใ้ นการควบคุมขอ้ มูล บทสรปุ คาถามทบทวน การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอ่ื งานธุรกิจ

แผนบริหารการสอนประจารายวชิ า | ถ สปั ดาหท์ ่ี เอกสารอา้ งอิง เน้ือหา เวลา (ชั่วโมง) 4 4 บทท่ี 4. ฐานขอ้ มูลเชงิ สมั พันธ์ 5-6 4.1 ฐานขอ้ มลู เชงิ สัมพันธ์หมายถงึ 8 4.2 โครงสรา้ งฐานข้อมลู เชงิ สัมพันธ์ 7-8 4.3 รเี ลชน่ั (Relation) 8 4.3.1 คณุ สมบัติของรีเลชั่น 4.4 รเี ลช่ันชพี (Relationship) 4.5 แอตทรบี ิวต์ (Attribute) 4.5.1 คุณสมบัติของรเี ลชั่น 4.6 โดเมน (Domain) 4.7 ทเู พลิ (Tuple) 4.8 ดกี รี (Degree) และคารด์ ินาลิตี (Cardinality) 4.9 คีย์ (Key) 4.10อนิ ทกิ รตี ี (Integrity) 4.11กฎ 12 ข้อของ Codd บทสรุป คาถามท้ายบท เอกสารอ้างองิ บทที่ 5. ระบบจัดการฐานขอ้ มลู MySQL 5.1 ระบบจดั การฐานข้อมูล MySQL 5.2 การตดิ ต้งั MySQL 5.3 การสร้างฐานขอ้ มลู 5.4 ชนิดของข้อมูลของ MySQL 5.5 การสรา้ งตาราง 5.6 การเช่อื มความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตาราง 5.7 ฝึกปฏบิ ัตกิ าร 5.7.1 การสรา้ งฐานขอ้ มลู ซ้อื ขายสนิ ค้า 5.7.2 การสรา้ งตารางซ้ือขายสนิ ค้า บทสรปุ คาถามทา้ ยบท เอกสารอ้างองิ บทที่ 6. แบบจาลองอีอาร์ การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอื่ งานธุรกจิ

ท | แผนบริหารการสอนประจารายวชิ า สัปดาห์ท่ี เนอื้ หา เวลา (ชั่วโมง) 6.1 ความหมายของแบบจาลองอีอาร์ 4 9 6.2 ส่วนประกอบของแบบจาลองออี าร์ 10 6.3 เอนทิตี (Entity) 6.3.1 Strong Entity 6.3.2 Weak Entity 6.3.3 Associative Entity 6.4 แอตทริบวิ ต์ (Attribute) 6.4.1 Simple Attribute 6.4.2 Composite Attribute 6.4.3 Multivalued Attribute 6.4.4 Derived Attribute 6.4.5 Key Attribute 6.5 รีเลช่ันชพี (Relationship) 6.5.1 One-to- One 6.5.2 One-to- Many 6.5.3 Many-to- One 6.5.4 Many-to- Many 6.6 คอนเนคทิวิตี (Connectivity) 6.7 คารด์ ินลั ลติ ี (Cardinality) 6.8 สญั ลักษณแ์ บบจาลองออี ารท์ ี่นยิ ม 6.9 พจนานุกรมขอ้ มลู 6.10ความหมายและประโยชนข์ องพจนานกุ รมข้อมลู 6.11ฝกึ ปฏิบัติการออกแบบอีอาร์ซื้อขายสนิ คา้ 6.12ฝกึ ปฏิบตั ิการออกแบบพจนานุกรมข้อมูล สอบกลางภาค บทที่ 7. นอรม์ ลั ไลซ์เซช่นั 7.1 วัตถุประสงค์ของนอรม์ ัลไลซ์เซชน่ั 7.2 รเี ลชันท่ียังไมเ่ ป็นบรรทดั ฐาน 7.3 ฟงั กช์ นั นัลดีเพนเดนซี 7.4 นอรม์ ัลไลซ์เซชั่นขั้นท่ี 1 7.5 พาร์เชียลดีเพนเดนซี 7.6 นอร์มัลไลซ์เซชั่นขัน้ ท่ี 2 การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื งานธุรกจิ

แผนบริหารการสอนประจารายวชิ า | ธ สัปดาหท์ ่ี เน้อื หา เวลา (ชั่วโมง) 11-12 7.7 ทรานชิทฟี ดเี พนเดนซี 8 7.8 นอรม์ ัลไลซเ์ ซชน่ั ขน้ั ที่ 3 13 7.9 นอรม์ ัลไลซเ์ ซชนั่ ขน้ั ที่ Boyce-Codd 4 บทสรปุ คาถามท้ายบท เอกสารอ้างอิง บทที่ 8. ภาษาในการประมวลผลขอ้ มูล 8.1 ภาษาเอสควิ แอล 8.2 ประเภทของคาสงั่ ของภาษา SQL 8.3 คาสง่ั เพิ่มข้อมลู (Insert) 8.4 คาสั่งค้นหาข้อมูล (Select) 8.4.1 เลือกแสดงบางคอลัมน์ 8.4.2 เปล่ยี นหัวคอลมั นเ์ ป็นข้อความอืน่ ด้วย SELECT... AS 8.4.3 แสดงขอ้ มลู ท่ไี มซ่ า้ กันดว้ ย DISTINCT 8.4.4 จดั เรียงขอ้ มลู ด้วย ORDER BY 8.5 เงอื่ นไข (Where) 8.5.1 ตวั ดาเนินการทางคณติ ศาสตร 8.5.2 ตวั ดาเนนิ การทางตรรกศาสตร 8.5.3 ตัวดาเนนิ การ Distinct, In, Like, Between AND 8.6 คาส่งั ปรับปรงุ ข้อมูล (Update) 8.7 คาส่ังลบขอ้ มูล (Delete) 8.8 ฝึกปฏบิ ตั ิการ 8.8.1 การเพ่ิมข้อมลู สินคา้ 8.8.2 การค้นหาข้อมูลสนิ ค้า 8.8.3 การปรบั ปรงุ ข้อมูลสนิ ค้า 8.8.4 การลบขอ้ มูลสินค้า บทสรปุ คาถามท้ายบท เอกสารอา้ งองิ บทที่ 9. ความปลอดภัยของฐานขอ้ มลู การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพ่ืองานธุรกจิ

น | แผนบรหิ ารการสอนประจารายวชิ า สัปดาหท์ ่ี เน้อื หา เวลา (ชั่วโมง) 14 9.1 วัตถุประสงคใ์ นการรกั ษาความปลอดภัย 4 15 9.2 การสรา้ งระบบรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมลู 4 9.3 การสร้างบัญชีผใู้ ช้ของ MySQL 9.4 การกาหนดสิทธิให้แก่บัญชผี ู้ใช้ 9.5 ประเภทและระดบั ของสทิ ธผิ ู้ใช้งาน 9.6 การถอนสทิ ธแิ ละการลบบัญชีผ้ใู ช้งาน 9.7 การควบคุมความปลอดภยั ดว้ ยวิว 9.8 ข้อดีของววิ 9.9 ขอ้ จากดั ของววิ 9.10การสรา้ งวิว 9.11การปรับปรงุ ววิ 9.12 การลบววิ 9.13ฝึกปฏบิ ัติการสรา้ งววิ ข้อมลู การสง่ั ซอ้ื สินค้า บทสรุป คาถามท้ายบท เอกสารอา้ งอิง บทที่ 10. การประยุกต์ใชง้ านฐานข้อมลู จาหนา่ ยสินค้า 10.1 รูจ้ ักโปรแกรม Visual Studio 10.2 ADO.NET 10.3 ร้จู กั MySQL Connector/Net 10.4 เชอื่ มตอ่ ไปยังฐานข้อมูล Mysql ดว้ ย C# 10.5 แสดงระเบยี นฐานข้อมลู Mysql บนวินโดว์ฟอร์ม 10.6 การคน้ หาข้อมลู สินค้า 10.7 การเพิ่มข้อมูลสินคา้ 10.8 การลบข้อมลู สินค้า 10.9 การปรบั ปรงุ ข้อมูลสินคา้ บทสรปุ คาถามทา้ ยบท เอกสารอ้างอิง นาเสนอการออกแบบโปรแกรมทางธรุ กิจ - ความเปน็ มาของโปรแกรม - ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับ การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพ่ืองานธุรกิจ

แผนบริหารการสอนประจารายวิชา | บ สัปดาหท์ ่ี เน้อื หา เวลา (ช่ัวโมง) 16 - ตารางทีเ่ ก่ยี วข้อง - แบบจาลองอีอาร์ - พจนานุกรมข้อมลู - ขนั้ ตอนการทางานของโปรแกรม สอบปลายภาค วิธกี ารสอน และกิจกรรม วธิ กี ารสอนและกจิ กรรมในรายวิชาได้แบง่ ออกเป็น 2 ภาค คอื 1. ภาคทฤษฎี เป็นการบรรยาย ซกั ถาม โดยใชเ้ น้ือหาในเอกสารประกอบการสอน วิชา การบริหารจัดการระบบฐานข้อมลู เพื่องานธรุ กิจ และยกตวั อย่างกรณีศึกษา โดยใช้เคร่ือง คอมพวิ เตอรป์ ระกอบการสอน และมอบหมายให้ทาแบบฝึกหดั ทบทวน 2. ภาคปฏิบตั ิ - ให้ผเู้ รียนทุกคนได้ลงมือปฏิบัติ โดยฝึกปฏิบัติในการแบบจาลองอีอาร์, ออกแบบ ฐานขอ้ มูล, ฝกึ ปฏบิ ัตใิ ชภ้ าษาในการประมวลผลขอ้ มลู (SQL command), การสร้างวิว ข้อมูล, การเช่อื มต่อฐานขอ้ มูล Mysql ดว้ ยภาษา C# - กิจกรรมกลมุ่ การนาเสนอการพัฒนาโปรแกรมทางธุรกจิ สอื่ การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน วชิ าการบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพ่อื งานธรุ กิจ 2. สไลด์ 3. แบบฝึกหดั ทบทวน และงานฝึกปฏบิ ตั ิ 4. ฐานขอ้ มลู Mysql 5. โปรแกรม Visio 6. โปรแกรม Visual Studio การวัดและการประเมินผล ร้อยละ 80 รอ้ ยละ 10 1. ระหว่างภาคเรยี น - จิตพิสยั (การเขา้ เรียน, ต้งั ใจเรียน และแต่งกายเรียบร้อย) การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอ่ื งานธุรกจิ

ป | แผนบรหิ ารการสอนประจารายวิชา - แบบฝกึ หดั ทบทวน และงานฝกึ ปฏิบัติ ร้อยละ 10 - สอบเก็บคะแนนระหวา่ งภาค ร้อยละ 20 - สอบปฏิบตั ิการสรา้ งฐานข้อมลู รอ้ ยละ 10 - สอบปฏบิ ตั ิภาษาในการประมวลผลขอ้ มลู (SQL command) รอ้ ยละ 10 - สอบนาเสนอการออกแบบโปรแกรมทางธรุ กจิ ร้อยละ 20 2. สอบปลายภาคเรยี น รอ้ ยละ 20 ร้อยละ 100 รวม การประเมนิ ผล ระดบั คะแนน หมายถึง ค่าระดบั คะแนน A ดเี ยี่ยม 4 คะแนน B+ ดมี าก 3.5 80-100 B 3 75-79 C+ ดี 2.5 70-74 C ดพี อใช้ 2 65-69 D+ พอใช้ 1.5 60-64 D อ่อน 1 55-59 F อ่อนมาก 0 50-54 0-49 ตก การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่อื งานธุรกจิ

บทท่ี 1. แนวคิดเบอื้ งตน้ เก่ยี วกับฐานขอ้ มูล | 1 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 1 แนวคิดเบอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั ฐานขอ้ มูล หวั ข้อเนอ้ื หา 1.1. ขอ้ มูลหมายถงึ 1.2. สารสนเทศหมายถึง 1.3. หน่วยจดั เกบ็ ขอ้ มลู 1.4. เขตข้อมูล 1.5. ระเบยี นข้อมลู 1.6. ระบบแฟ้มข้อมูล 1.7. รปู แบบของข้อมูล 1.8. ระบบฐานข้อมูลหมายถงึ 1.9. องค์ประกอบระบบฐานข้อมูล 1.10. ประโยชนข์ องระบบฐานข้อมูล 1.11. บทสรุป คาถามท้ายบท เอกสารอา้ งอิง วัตถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. อธิบายความหมายของข้อมลู ไดถ้ ูกต้อง 2. อธบิ ายความหมายสารสนเทศได้ถูกตอ้ ง 3. อธิบายเขตข้อมลู ได้ถูกต้อง 4. อธิบายหนว่ ยจดั เกบ็ ข้อมลู ได้ถกู ต้อง 5. อธิบายระบบแฟ้มขอ้ มูลได้ถกู ตอ้ ง 6. อธิบายรปู แบบของข้อมลู ได้ถูกตอ้ ง 7. อธบิ ายระบบฐานข้อมลู ไดถ้ ูกตอ้ ง 8. อธบิ ายองค์ประกอบระบบฐานขอ้ มูลได้ถูกตอ้ ง 9. อธบิ ายถงึ ประโยชน์ของระบบฐานข้อมลู ได้ การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอื่ งานธุรกจิ

2 | บทท่ี 1. แนวคิดเบอื้ งตน้ เกย่ี วกับฐานขอ้ มูล วิธสี อนและกจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. วธิ สี อน 1.1 ผู้สอนปฐมนิเทศการเรียนการสอนรายวิชาการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูล เพื่องานธรุ กิจ และหลักเกณฑก์ ารวัดและประเมินผลรวมถึงระเบยี บ ข้อตกลงใน ชั้นเรียน 1.2 ทบทวนความรเู้ ดมิ ของผูเ้ รียนเก่ยี วกบั การบรหิ ารจดั การระบบฐานขอ้ มูล 1.3 ใช้วิธีสอนบรรยายแบบมีส่วนรว่ ม 2 กจิ กรรมการเรียนการสอน 2.1. บรรยายเนอ้ื หาบทเรยี น ประกอบกบั การบรรยายโดยใช้ PowerPoint 2.2. ใชก้ ระบวนการกลมุ่ อภิปรายร่วมกันในประเด็น ประโยชน์และข้อดอ้ ยของ ระบบฐานข้อมูลในการทาธุรกิจปัจจุบัน แสดงความคดิ เห็น 2.3. นักศึกษาตอบคาถามท้ายบท ส่อื การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน รายวชิ าการบรหิ ารจดั การระบบฐานขอ้ มลู เพือ่ งานธุรกิจ บทท่ี 1 แนวคิดเบื้องตน้ เกี่ยวกับฐานขอ้ มูล 2. PowerPoint 3. ใบงานท้ายบท การวดั และประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤตกิ รรมของนกั ศึกษาการมีส่วนร่วมในกจิ กรรมท่ีกาหนดขึ้น 2. การตอบคาถาม การซักถามและการนาเสนอหน้าช้ันเรยี น 3. คาถามท้ายบท การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่ืองานธุ รกจิ

บทที่ 1 แนวคิดเบื้องตน้ เกี่ยวกบั ฐานข้อมูล ในบทแรกจะกล่าวถึงแนวคดิ เบือ้ งต้นเก่ียวกับฐานข้อมลู ซงึ่ จะเกรนิ่ ถึงความหมายของข้อมลู การได้มาซ่งึ สารสนเทศ อุปกรณจ์ ดั เกบ็ ข้อมูล ยุคของอุปกรณท์ ่ใี ช้จดั เกบ็ ขอ้ มลู ระบบการจดั เกบ็ ข้อมลู ประโยชนข์ องฐานข้อมลู ที่มคี วามสาคัญตอ่ การดาเนนิ งานขององคก์ ร และสรปุ สาระความสาคัญ โดยรายละเอยี ดของแต่ละหัวข้อมีดังตอ่ ไปน้ี 1.1 ขอ้ มูล ทีมงานทรูปลูกปัญญาได้ให้ความหมายว่า ข้อมูล (data) คือข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ท่ี เก่ียวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ ส่ิงของ สถานที่ ฯลฯ ข้อมูลจึงเป็นเร่ืองที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของ สง่ิ ต่าง ๆ ที่เกดิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง มกี ารรวบรวมขอ้ มูลอยา่ งเป็นระบบและต่อเน่ือง ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์และไพบูลย์ เกียรติโกมล (2545 : 40) ให้ความหมาย ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบ (raw data) ที่ถูกเก็บรวบรวมจากแหล่งต่างๆ ท้ังภายในและภายนอกองค์การโดยข้อมูลดิบ จะยังไม่มีความหมายในการนาไปใช้งาน หรือตรงตามความต้องการของผู้ใช้เช่น รายรับรายจ่าย ที่เกิดขื้นในแต่ละวันของธุรกิจ นิสิต -นักศึกษา ท่ีลงทะเบียนเรียน หรือข้อมูลเงินเดือน เป็นตน้ สรุปได้ว่า ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงหรือเร่ืองราวท่ีเก่ียวข้องกับส่ิงต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ การกระทา ฯลฯ ที่สามารถรับรู้ได้ มีหลากหลายรูปแบบ เช่น การมองเห็น การสัมผัส หรือ การได้ยิน โดยลักษณะของข้อมูล ก็มีหลากหลายรูปแบบ เช่น ตัวเลข ตัวหนังสือ ภาพท่ี หรือเสียง เป็นตน้ ภาพท่ี 1.1 a) แบบฟอรม์ การสารวจขอ้ มลู แล้วได้มาซงึ่ b) ข้อมูลดบิ ที่มา : Database Systems: Design, Implementation, and Management (2009 : 5) การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื งานธุรกิจ นิรันดร ผานิจ

4 | บทท่ี 1 แนวคดิ เบอื้ งตน้ เก่ยี วกับฐานข้อมูล 1.2 สารสนเทศ ปทีป เมธาคุณวุฒิ (2544:290) ให้ความหมาย สารสนเทศคือข้อมูลซ่ึงผ่านการเลือกสรรแล้ว โดยการประมวลผล ดังน้ันสารสนเทศ จึงเกิดจากการวิเคราะห์ข้อมูลหรอื ข้อเท็จจริง แล้วจัดระเบียบ ให้เป็นความรู้หรือข่าวกรองซ่ึงจะใช้เป็นข้ออา้ งอิง หรือเป็นพื้นฐานในการคาดการณ์ล่วงหน้าหรอื ช่วย ในการวินจิ ฉัยส่งั การได้ทนั ที โอภาส เอ่ียมสิริวงศ์ (2551:15) ให้ความหมาย สารสนเทศหมายถึงข้อมูลที่ผ่านการ ประมวลผลแลว้ และสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตามแตล่ ะบุคลตอ้ งการ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ได้ให้ความหมายว่า สารสนเทศ (information) เป็นผลลัพธ์ของ การประมวลผล การจัดดาเนินการ และการเข้าประเภทข้อมูลโดยการรวมความรู้เข้าไปต่อผู้รับ สารสนเทศนั้น สารสนเทศมีความหมายหรือแนวคิดท่ีกว้าง และหลากหลาย ต้ังแต่การใช้คาว่า สารสนเทศในชีวิตประจาวัน จนถึงความหมายเชิงเทคนิค ตามปกติในภาษาพูด แนวคิดของ สารสนเทศใกล้เคียงกับความหมายของการสื่อสาร เงื่อนไข การควบคุม ข้อมูล รูปแบบ คาส่ัง ปฏบิ ัตกิ าร ความรู้ ความหมาย ส่อื ความคิด การรบั รู้ และการแทนความหมาย ภาพที่ 1.2 การประมวลผลข้อมลู ได้ สารสนเทศ c) การสรุป d) การทาเปน็ แผนผงั กราฟ ทม่ี า : Database Systems: Design, Implementation, and Management (2009 : 5) การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพื่องานธุรกจิ

บทท่ี 1 แนวคดิ เบือ้ งตน้ เกย่ี วกบั ฐานข้อมูล | 5 ข้อมูล ประมวลผลขอ้ มลู สารสนเทศ ภาพที่ 1.3 ขอ้ มูลและสารสนเทศ ท่ีมา : ผเู้ ขยี น สรุป สารสนเทศคือ ข้อมูลตา่ ง ๆ ที่ได้ผ่านการประมวลผล โดยการประมวลผลน้นั สามารถทา ได้หลายแบบ เช่น การเรียงลาดับ การคานวณ การจัดกลุ่ม หรือการหาผลลัพธ์ เพ่ือทาให้ข้อมูลนั้นมี ความนา่ เชอื่ ถือมากข้ึน และสามารถนาสารสนเทศน้นั ไปใช้ตรงตามความต้องการของผ้ใู ชง้ าน 1.3 หน่วยเกบ็ ขอ้ มลู หน่วยเก็บข้อมูล (Storage unit) เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ท่ีทาหน้าท่ีเก็บข้อมูลต่าง ๆ เช่น ภาพท่ี เพลง วีดีโอ หรือแฟ้มข้อมูล หน่วยเก็บข้อมูลได้มีการพัฒนาขึ้นมาเรื่อย ๆ เพ่ือให้อุปกรณ์ เหล่านั้นมีประสทิ ธิภาพมากขึน้ โดยแบ่งออกเป็น 2 หนว่ ยเกบ็ ขอ้ มลู คือ 1. หน่วยเก็บขอ้ มลู หลกั (Primary storage) เปน็ หนว่ ยเกบ็ ข้อมลู ที่มีความเร็วในการเขา้ ถึง แต่เมื่อปิดเคร่ืองคอมพิวเตอร์ข้อมูลเหล่านั้นก็จะถูกลบบออกจากหน่วยเก็บข้อมูลหลัก ดว้ ย 2. หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Unit) เป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่ต้องการนา กลับมาใชง้ านใหม่ได้ เนื่องจากถา้ หากปดิ เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ข้อมูลเหลา่ นั้น ก็ยังคงอยู่ โดยเอกสารประกอบการสอนนี้ขอสรุปวิวัฒนาการของอุปกรณ์จดั เกบ็ ข้อมูลหนว่ ยเกบ็ ข้อมลู สารอง ดังน้ี 1.3.1 ยุคท่ีหนึ่ง อุปกรณ์จดั เก็บข้อมูลยุคนี้เป็นอุปกรณ์ท่ีมีขนาดใหญ่แต่มีความจุข้อมลู ที่น้อยมาก และ อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลบางชนิดถ้าเก็บรักษาไม่ดี อาจส่งผลให้ข้อมูลนั้นสูญหายได้ อุปกรณ์ จัดเกบ็ ขอ้ มูลในยคุ น้ี ไดแ้ ก่ การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื งานธุรกิจ

6 | บทท่ี 1 แนวคดิ เบอื้ งตน้ เกีย่ วกับฐานขอ้ มูล 1) Floppy Disk (ฟลอปปีด้ สิ ก์) ภาพท่ี 1.4 ฟลอปป้ีดิสก์ ทม่ี า: https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/a/aa/Floppy_disk_2 009_G1.jpg/1200px-Floppy_disk_2009_G1.jpg ฟลอปป้ีดิสก์หรือที่นิยมเรียกว่า ดิสก์เก็ต (Diskette) มี ลักษณะเป็นแผ่นแม่เหล็กสีดา ทรงกลม ทาจากแผ่นพลาสติกไมล่า เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก บรรจุอยู่ในซองพลาสติกแข็งรูป สีเ่ หล่ียม เพื่อป้องกนั แผ่นดสิ ก์เกต็ จากฝนุ่ ละออง สง่ิ สกปรก การขดู ขีด และอ่ืนๆแผ่นดสิ ก์เก็ต มีอยู่ 3 ขนาดคือ ขนาด 8 นวิ้ , ขนาด 5.25 นิ้ว, ขนาด 3.50 น้วิ ขนาด 3.50 น้ิว แผ่นดิสก์เก็ต ท่ีนิยมใช้คือ ขนาด 3.50 น้ิว ซ่ึงมีความจุในการเก็บข้อมูลเท่ากับ 1.44 MB สาหรับแผ่น ดิสก์เก็ต ขนาด 8 น้ิว และขนาด 5.25 นิ้ว ไม่เป็นที่นิยม เพราะมีขนาดใหญ่ พกพาไม่สะดวก และมีความจุเพียงข้อมูล 1.2 MB ซ่ึงน้อยกว่าขนาด 3.50 น้ิว ท่ีมุมด้านหน่ึงของดิสก์เก็ตจะมี กลไกป้องกันการบันทึกข้อมูลลงไปทับข้อมูลเดิม (Write-protect) ซึ่งในแผ่นดิสก์เก็ต 5.25 นิ้ว จะทาเป็นรอยบาก ถ้ามีแถบปิดรอยบากนี้แผ่นนั้นก็จะบันทึกไม่ได้ ส่วนในแผ่น ดิสก์เก็ต 3.5 นิ้ว จะใช้สลักที่เลื่อนไปมาได้สาหรับปิดรูที่เจาะไว้ ถ้ารูที่เจาะไว้ถูกปิดก็จะ บันทึกข้อมูลได้ แต่ถ้าเปิดเป็นช่องก็จะบันทึกไม่ได้ คอมพิวเตอร์สามารถอ่านข้อมูลจากแผ่น ดิสก์เก็ต ได้โดยการสอดแผ่นเข้าไปใน เคร่ืองขับดิสก์ หรือ ดิสก์ไดร์ฟ (Disk Drive) ซ่ึงเป็น อุปกรณ์ท่ีใชส้ าหรบั อา่ นและเขยี นข้อมลู ลงบนแผน่ ดิสก์เก็ต การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพื่องานธุรกิจ

บทท่ี 1 แนวคิดเบอื้ งตน้ เกย่ี วกับฐานขอ้ มูล | 7 ภาพท่ี 1.5 ดิสก์ไดร์ฟ ทมี่ า : https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/b/b3/Floppy_Disk_Drives_8_5_3.jpg ภาพท่ี 1.6 เทปแมเ่ หล็ก ท่ีมา: http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/22/cit/4_3.html 2) เทปแมเ่ หลก็ (Magnetic Tape) เป็นหน่วยเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์ในยุคแรกๆ ปัจจุบันได้รับความนิยมน้อยลง เทป แม่เหล็กมีหลักการทางานคล้ายเทปบันทึกเสียง แต่เปลี่ยนจากการเล่น (play) และบันทัก (record) เป็นการอ่าน (read) และเขียน (write) แทน ในเคร่ืองเมนเฟรมเทปที่ใช้จะเป็น แบบม้วนเทป (reel-to-reel) ซ่ึงเป็นวงล้อขนาดใหญ่ ในเคร่ืองมินิคอมพิวเตอร์จะใช้คาร์ ทริดจ์เทป (cartidege tape) ซึ่งมีลักษณะคล้ายวีดีโอเทป ส่วนในเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ จะใช้ตลบั เทป (cassette tape) ซึ่งมลี ักษณะเหมือนเทปเพลง การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่อื งานธุรกจิ

8 | บทท่ี 1 แนวคดิ เบอื้ งตน้ เก่ยี วกบั ฐานข้อมูล ภาพที่ 1.7 เทปแม่เหล็ก ท่ีมา: http://images.computerhistory.org/visiblestorage/img-2222.jpg?w=400 ภาพที่ 1.8 เคร่ืองอ่านเทปแม่เหล็ก ท่มี า: https://i.pinimg.com/originals/4e/48/44/4e4844390c756633141872bd9982cff6.jpg หลักการทางานคล้ายกับเทปบันทึกเสียง คือจะอ่านข้อมูลตามลาดับก่อนหลังตามท่ี ได้บันทึกไว้ เรียกหลักการนี้ว่าการอ่านข้อมูลแบบลาดับ (sequential access) การทางาน ลักษณะนี้จึงเป็นข้อเสียของการใช้เทปแม่เหล็กบันทึกข้อมูล คือทาให้อ่านข้อมูลได้ช้า เน่ืองจากต้องอ่านข้อมูลในม้วนเทปไปเร่ือย ๆ จนถึงตาแหน่งที่ต้องการ ผู้ใช้จึงนิยมนาเทป แม่เหล็กมาสารองข้อมูลเท่านั้น ส่วนข้อมูลที่กาลังใช้งานจะถูกเก็บอยู่บนหน่วยเก็บข้อมูล แบบจานแม่เหล็ก (Megnetic Disk) เพื่อให้เรียกใช้ได้ง่าย และนาเฉพาะข้อมูลที่สาคัญและ ไม่ถูกเรียกใช้บ่อย ๆ มา เก็บสารอง (back up) ไว้ในเทปแม่เหล็ก เพ่ือป้องกันการสูญหาย ของขอ้ มูล การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพือ่ งานธุรกจิ

บทท่ี 1 แนวคิดเบอื้ งตน้ เก่ยี วกบั ฐานข้อมูล | 9 1.3.2 ยุคทส่ี อง อุปกรณจ์ ัดเกบ็ ขอ้ มลู ในยคุ น้ี มกี ารพัฒนาให้มีความสามารถจัดเก็บข้อมูลได้มากขนึ้ และเร่ิมมีการพฒั นาอปุ กรณ์จัดเกบ็ ข้อมูลรูปแบบใหม่เพ่อื ใหเ้ กิดความสะดวก และสามารถ พกพาได้ง่าย แต่อปุ กรณ์จัดเก็บขอ้ มลู ในยุคนมี้ รี าคาค่อนขา้ งสงู อุปกรณจ์ ัดเก็บข้อมูลในยุคน้ี ไดแ้ ก่ 1. แผน่ ซีดี (Compact Disc :CD) เปน็ แผน่ พลาสติกทเี่ คลือบด้วยสารสะทอ้ นแสงมเี ส้นผา่ น ศูนยก์ ลางประมาณ 5 น้ิว การอ่านและเขยี นข้อมูลจะใชล้ าแสงเลเซอรส์ ่องและสะท้อน กลบั ข้อเดน่ ของแผน่ ซดี ีคือ ราคาถูก จขุ ้อมูลไดม้ าก คงทน และมีอายุการใชง้ านได้ ยาวนาน สามารถเก็บขอ้ มลู หรือโปรแกรมไดม้ ากถึง 750 เมกะไบต์ต่อแผน่ ภาพที่ 1.9 แผน่ ซดี ี ท่ีมา: http://www.jtcsupplycenter.com/product 2. แผน่ ดีวดี ี (Digital Versatile Disc) ไดถ้ ูกพฒั นาต่อเนื่องมาจากแผ่นซดี ี ทาให้มคี วามจุ ของข้อมูลสูงกว่าแผ่นซีดีมาก สาหรับแผ่นดีวีดีที่ผลิตมาจากโรงงาน จะสามารถอ่านได้ เพียงอย่างเดียว เรียกว่าดีวีดีรอม (DVD-ROM) มีความจุสูงถึง 4.7 กิกะไบต์และ 8.5 กิกะไบต์ โดยดีวีดีขนาด 4.7 กิกะไบต์ มีการบันทึกข้อมูลแบบหนึ่งชั้น และขนาด 8.5 กิกะไบต์มีการบันทึกข้อมูลแบบสองชั้นในแผ่นเดียวกันซ่ึงในท้องตลาดเรียกว่าดีวีดี ทีม่ กี ารบนั ทึกแบบหนงึ่ ชน้ั ดวี ดี ี 5 และแบบสองชน้ั เรียกว่าดวี ดี ี 9 การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพ่อื งานธุรกิจ

10 | บทท่ี 1 แนวคิดเบอื้ งตน้ เกย่ี วกบั ฐานข้อมูล ภาพท่ี 1.10 แผ่นดีวีดี ทมี่ า: https://www.kaidee.com/product-132156026/ 1.3.3 ยุคปัจจบุ ัน อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลในยุคน้ี มีการพัฒนาข้ึนมาจากอุปกรณ์ยุคก่อน มีการปรับให้ อุปกรณ์เหล่าน้ี มีขนาดท่ีเล็กลง มีความจุข้อมูลที่เพ่ิมมากข้ึน และยังทาให้อุปกรณ์เหล่านี้ สามารถรบั -สง่ ข้อมูลได้รวดเร็วมากข้นึ ด้วย และราคาถูกกว่าอุปกรณ์จดั เก็บข้อมูลในยุคกลาง เม่ือเทียบตามความจุของอุปกรณ์ ตัวอย่างอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลในยุคปัจจุบันมีดังนี้ 1) จานบลูเรย์ (อังกฤษ: Blu-ray Disc) คือรูปแบบของจานแสงสาหรับบันทึกข้อมูลความ ละเอียดสูง ซึ่งทาให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าดีวดี ีท่ีมีขนาดแผ่นเท่ากัน จานบลูเรย์มี ความจุ 25 GB ในแบบช้ันเดียว (Single-Layer) และ 50 GB ในแบบสองชั้น (Double- Layer) ซ่ึงแผน่ ดีวีดี มคี วามจแุ ค่ 4.7 GB ภาพที่ 1.11 จานบลูเรย์ ทม่ี า: https://www.lcdtvthailand.com/topic_detail.php?id=231&id=231 2) แฮนดีไดรฟ์ (handy drive) มีชื่อเรียกอ่ืนเช่น แฟลชไดร์ฟ (flash drive) ทรัมไดร์ฟ (thrum drive) หรือเมมโมรีสติก (memory stick) ซ่ึงเป็นหน่วยความจาแบบแฟลชที่ การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพื่องานธุรกิจ

บทท่ี 1 แนวคิดเบือ้ งต้นเก่ยี วกับฐานขอ้ มูล | 11 ออกแบบให้สามารถเสียบต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านพอร์ตยูเอสบีได้โดยตรง มีขนาด เล็ก พกพาสะดวก มีความจุสูงกว่า แผ่นดีวีดี และความจุยังมีแนวโน้มสูงข้ึนเร่ือยๆ อปุ กรณ์บันทึกข้อมลู แบบแฟลชนี้ทาให้การใช้งานแผ่นบันทึกข้อมูลลดความนิยมลงอยา่ ง รวดเรว็ อกี ด้วย ภาพท่ี 1.12 แฮนดีไดรฟป์ จั จุบัน ท่มี า: https://notebookspec.com/flashdrive.html 3) ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) คืออุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลอีกชนิดหนึ่ง โดยอุปกรณ์ชนิดนี้จะถูก ติดตั้งอยู่ภายในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ทาหน้าท่ีจัดเก็บข้อมูลต่างๆท่ีสาคัญของเคร่ือง คอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมและ ไฟล์ต่างๆ ซึ่งฮาร์ดดิสก์ ก็มีการ พฒั นามาอย่างตอ่ เนอื่ ง ดังน้ี 3.1 ฮาร์ดดิสก์ แบบจานแม่เหล็ก เป็นฮาร์ดดิสก์ที่มีใช้กันทั่วไป ฮาร์ดดิสก์ชนิดน้ี ถูก พัฒนาให้สารมารถจุข้อมูลได้เป็นจานวนมากและสามารถอ่าน-เขียนข้อมูลได้เร็ว ประมาณ 320 เมก็ กะไบต์ตอ่ วินาที ภาพท่ี 1.13 ฮาร์ดดิสก์ ทมี่ า: https://benjarat25b.wordpress.com การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพื่องานธุรกจิ

12 | บทท่ี 1 แนวคิดเบอื้ งตน้ เกย่ี วกับฐานข้อมูล 3.2 ฮารด์ ดิสก์ แบบ SSD ภาพท่ี 1.14 ฮาร์ดดิสก์ Solid state drive ท่ีมา: https://www.riverplus-ipc.com/hdd-ssd.html SSD ย่อมาจาก Solid state drive คืออุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลที่ทาหน้าที่ เหมือนกับฮาร์ดดิกส์เพียงแต่หลักการทางานน้ันแตกต่างจากฮาร์ดดิสก์รุ่นเก่า ซง่ึ ฮาร์ดดิสก์ SSD ถอื ได้วา่ เป็นฮารด์ ดิสก์รุ่นใหม่ที่กาลงั มาแรงทส่ี ดุ ข้อดีของฮาร์ดดิสก์แบบ SSD 1. เวลาในการเตรียมพร้อมในการใช้งานและเวลาเรียกไฟล์จะมีความเร็วมากเพียง ไม่กี่มิลลิวินาที เม่ือเทียบกับการทางานของฮาร์ดดิสก์รุ่นจานแม่เหล็ก ท่ีมีการ ทางานและเขา้ ถงึ ขอ้ มูลตอ้ งใช้เวลาหลายวนิ าที 2. ทนตอ่ สภาพอากาศและแรงกระแทกมากกว่าฮาร์ดดิสก์จานแม่เหลก็ 3. น้าหนักเบากว่าแบบฮารด์ ดสิ ก์จานแมเ่ หล็ก 4. มีอายุการใชง้ านที่ทนทานกวา่ ฮารด์ ดสิ ก์จานแม่เหลก็ ข้อเสียของฮาร์ดดสิ ก์แบบ SSD 1. มีราคาที่แพงกวา่ ฮาร์ดดสิ ก์แบบจานแม่เหลก็ 2. มคี วามจนุ ้อย เมือ่ เปรียบเทียบจากราคาและความจุของฮารด์ ดิสก์แบบจาน แมเ่ หล็ก ซ่ึงจะพบว่าขนาดของหน่วยจัดเก็บข้อมูลจะมีขนาดของอุปกรณ์เล็กลง ในนณะท่ีสามารถ บรรจุข้อมูลได้มากขึ้น อีกทั้งในปัจจุบันเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตมีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงข้อมูลที่อยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ง่ายจึงมีเทคโนโลยีท่ีเรียกว่า Cloud Storage ซึง่ เป็นเทคโนโลยที ่ใี ชใ้ นการจดั เก็บข้อมลู เสมือนมหี นว่ ยจดั เก็บข้อมูลท่ีอยู่ท่ัวโลก ซ่งึ ผู้ใช้งาน สามารถเรียกใช้งานได้ ทกุ ท่ีทุกเวลาทุกสถานที่ท่สี ามารถเชือ่ มต่อเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตได้ การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพื่องานธุรกิจ

บทท่ี 1 แนวคดิ เบอื้ งต้นเกย่ี วกับฐานขอ้ มูล | 13 1.4 หน่วยในการจัดเกบ็ ขอ้ มูล รูปแบบขอ้ มูลทจี่ ดั เกบ็ ในคอมพวิ เตอร์ เป็นสญั ญาณแบบดิจติ อล มคี ่า 0 กับ 1 เทา่ นัน้ ภาพที่ 1.15 สัญญาณแบบดิจิตอล ทม่ี า: ผู้เขยี น แตเ่ นอ่ื งจากรูปแบบขอ้ มูลที่หลากหลาย และขนาดของรูปแบบข้อมูลต่าง ๆ มีขนาดใหญ่ ในการจัดเกบ็ ข้อมลู จึงแบง่ ออกเปน็ ดังน้ี 1.บติ (Bit) คือหน่วยของขอ้ มูลที่เลก็ ทส่ี ดุ อยู่ในรปู ของเลขฐานสอง มี 2 ค่าคอื 0 กับ 1 2.ไบต์ (Byte) คือหน่วยของข้อมูลเกิดจากการนาหลาย ๆ บิตมารวมกัน โดยใช้ 1 ไบต์แทน ตัว อกั ขระ 1 ตวั อกั ษร 3.เขตข้อมูล (Field) หรือฟิลด์ คือหน่วยของข้อมูลเกิดจากการนาข้อมูลหลายๆ ไบต์ มารวม กัน เพ่ือให้ได้ข้อความความหมายของส่ิงใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ, ท่ีอยู่, มหาวิทยาลัย, ประเทศ เป็นตน้ 4.ระเบียน (Record) หรอื เรคคอร์ด คอื หนว่ ยของขอ้ มูลเกดิ จากการนาหลายๆ ฟิลด์มารวมกัน มคี วามสัมพนั ธเ์ กี่ยวเนื่องกัน เช่น รหสั ผู้เสยี ภาษ,ี ชื่อ, ปที ีเ่ สยี ภาษี, จานวนเงนิ รวมกนั เป็น ระเบียน ของผเู้ สยี ภาษี เปน็ ต้น 5.แฟ้มข้อมูล (File) หรือไฟล์ คือ หน่วยของข้อมูลซึ่งเกิดจากการนาข้อมูลหลายๆ ระเบยี น ที่มี ลกั ษณะ ของเขต ข้อมูลเหมอื นกนั มาจัดเกบ็ รวมกัน 6.ฐานขอ้ มูล (Database) คือ หน่วยของข้อมูลซ่ึงเกิดจากการนาเอาแฟ้มข้อมูลหลาย ๆ แฟ้มที่ มคี วามสมั พนั ธ์กนั มาเกบ็ รวมกนั ไว้ที่เดยี ว การบริหารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอื่ งานธุรกจิ

14 | บทที่ 1 แนวคิดเบือ้ งต้นเกยี่ วกับฐานข้อมูล ภาพท่ี 1.16 ลาดบั ชนั้ การจดั เกบ็ ข้อมลู ทม่ี า: http://www.macare.net/dbms/data/uploads/database2.jpg 1.5 ระบบแฟ้มขอ้ มูล 1.5.1 ระบบแฟ้มขอ้ มูลด้วยมือ เป็นการจัดเก็บข้อมูล ท่ีไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการจัดเก็บ ในยุคก่อน เนื่องมาจากค่าใช้จ่ายในการปรับเปลี่ยนมาใช้คอมพิวเตอร์มีค่าใช้จ่ายสูง หรือจานวนของ ข้อมูลมีจานวนไม่มาก เช่น ระบบตู้บัตรรายการ (ตู้ดัชนี) ของห้องสมุด บัตรยืมคืนหนังสือ เป็นต้น การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่อื งานธุรกจิ

บทท่ี 1 แนวคิดเบือ้ งต้นเก่ยี วกบั ฐานข้อมูล | 15 ภาพท่ี 1.17 ตบู้ ตั รรายการ ในหอ้ งสมดุ ท่มี า: http://oknation.nationtv.tv/blog/home/blog_data/393/3393/images/MemorialLibrary8.jpg 1.5.2 ระบบแฟม้ ขอ้ มลู ด้วยเคร่อื งคอมพิวเตอร์ ระบบแฟ้มข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นการจัดเก็บเอกสารหรือข้อมูลต่างๆไว้ ในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยจัดเก็บแยกเป็นแฟ้มข้อมูลตามประเภทของงานหรือแยกตามการ ปฏบิ ตั งิ าน โดยสว่ นใหญข่ ้อมลู และโปรแกรมมกั รวมอยดู่ ้วยกันเปน็ แฟม้ ข้อมูล โปรแกรมบญั ชี การขาย ลูกค้า โปรแกรมการขาย การขาย สนิ คา้ ลกู คา้ โปรแกรมบุคคล พนกั งาน ภาพที่ 1.18 การจัดเกบ็ ขอ้ มลู ระบบแฟ้มข้อมลู ที่มา: ผเู้ ขยี น จากภาพท่ี 1.18 พบวา่ ระหว่างโปรแกรมบัญชี โปรแกรมการขาย โปรแกรมบุคคล แยกกัน ทางานมีการใชง้ านแฟม้ ขอ้ มูลทแี่ ยกออกจากกนั ตามโปรแกรม ซึ่งทงั้ ทโี่ ปรแกรมท้ัง 3 ตอ้ งทางาน การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพ่อื งานธุรกิจ

16 | บทท่ี 1 แนวคดิ เบือ้ งตน้ เกย่ี วกับฐานข้อมูล รว่ มกนั เพราะ เมอื่ มีลกู ค้ามาสั่งซ้อื สนิ คา้ จะต้อง สง่ ต่อขอ้ มูลใหก้ ับบญั ชีในการออกใบเสร็จ ทาให้เกดิ ข้อมูลมีความซ้าซ้อน ซึ่งเปน็ ขอ้ จากัดของการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมูล หรือเมอ่ื ลูกค้าแจง้ เปลย่ี นท่ีอยู่กบั ฝา่ ยขายข้อมลู ทอี่ ยูใ่ นแฟ้มลูกค้าเปลยี่ น สว่ นข้อมลู ท่อี ย่ใู น แฟม้ ลูกค้า ของโปรแกรมบัญชไี มเ่ ปลี่ยนทาให้รปู แบบข้อมูลไมต่ รงกนั กอ่ ให้เกดิ ความผิดพลาดในการดาเนนิ การกบั ข้อมลู 3 ลักษณะ ได้แก่ ความผดิ พลาดจากการเพิ่มขอ้ มูล (Insertion anomalies) ความผดิ พลาดจากการลบขอ้ มูล (Deletion anomalies) ความผดิ พลาดจากการปรบั ปรงุ ขอ้ มลู (Modification anomalies) 1.6 ระบบฐานข้อมลู Peter Rob and Carlos Coronel (2005:14) กล่าวว่า ระบบฐานข้อมูล หมายถึง ระบบ การรวบรวมและเช่ือมแฟ้มข้อมูลหลายๆ แฟ้มข้อมูลเข้าด้วยกัน เพ่ือกาจัดความซ้าซ้อนของข้อมูล โดยเก็บข้อมูลไว้ที่ศูนย์กลาง เพื่อการใช้งานร่วมกัน โดยมีโปรแกรมประยุกต์ท่ีสร้างข้ึนเพื่อเชื่อมโยง และใช้งานข้อมูลในฐานข้อมูล (database) มีการดูแลรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเหล่าน้ัน และ ควรมีการกาหนดสิทธขิ องผู้ใช้งานแต่ละคนใหแ้ ตกต่างกนั ตามแตค่ วามตอ้ งการในการใช้งาน เรียกว่า โปรแกรมระบบจดั การฐานข้อมลู (Database Management System) ภาพท่ี 1.19 ระบบจดั การฐานขอ้ มูล ท่มี า: Database Systems: Design, Implementation, and Management (2009 : 7) การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอื่ งานธุรกิจ

บทท่ี 1 แนวคดิ เบอื้ งต้นเกย่ี วกบั ฐานขอ้ มูล | 17 จากภาพท่ี 1.19 จะแสดงให้เห็นว่าโครงสร้างของข้อมูลจะถูกแยกออกจากโปรแกรมประยกุ ต์ และเก็บเอาไว้ในส่วนที่เรียกว่า ฐานข้อมูล โดยมีโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System) ทาหน้าที่บริหารจัดการฐานข้อมูล โปรแกรมประยุกต์ต่างๆจะทาหน้าที่ เชื่อมต่อกับโปรแกรมระบบจัดการฐานขอ้ มูล ก่อนส่งคาร้องขอไปยังโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล เพ่อื ดาเนนิ การกับข้อมูลในฐานขอ้ มลู ท่ีตอ้ งการ เชน่ เพ่มิ ข้อมลู คน้ หาข้อมลู ปรับปรุงข้อมูล ลบขอ้ มูล เป็นต้น โดยจะใช้ข้อมูลจากแหล่งเดียวกันซึ่งทาให้การซ้าซอ้ นของข้อมูลไม่เกิดขึน้ อีกท้ังเป็นการแยก ระหวา่ ง โปรแกรมประยุกต์ และฐานขอ้ มลู ออกจากกัน 1.7 ประโยชนข์ องระบบฐานข้อมูล 1. ลดความซ้าซอ้ นของข้อมลู หลกั การทางานของระบบฐานข้อมูลน้ันมีการดึงข้อมูลจาก แหลง่ ข้อมูลเดียวกัน เพราะฉะน้ันไมว่ ่าผู้ใชจ้ ะกระทาการใดๆ เช่น การเพ่ิม ลบ หรือ แก้ไขข้ ้อมูล ข้อมูลที่ไดน้ นั้ กจ็ ะเหมือนกนั ท้ังหมด 2. รกั ษาความถกู ต้องของขอ้ มูล ระบบจัดการฐานข้อมูลสามารถกาหนดรูปแบบของข้อมลู และมรี ะบบตรวจสอบความถูกต้องของข้อมลู ให้ได้ แต่ถ้าเป็นระบบแฟ้มข้อมูลผู้พฒั นาโปรแกรมต้อง เขียนโปรแกรมเพื่อควบคมุ กฎระเบียบต่างๆ 3. มีความเป็นอิสระของข้อมูล ระบบฐานขอ้ มลู สามารถแกไ้ ขโครงสรา้ งข้อมูลได้และจะไม่ กระทบถึงโปรแกรม 4. มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง ถ้าหากทุกคนสามารถเรียกดูและเปลี่ยนแปลงข้อมูลใน ฐานข้อมูลท้ังหมดได้ อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อข้อมูลได้ และข้อมูลบางส่วนอาจเป็นข้อมูลท่ีไม่ อาจเปิดเผยได้ ระบบฐานข้อมูลส่วนใหญ่จะมีการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เช่น มีรหัสผู้ใช้และ รหสั ผ่าน การกาหนด สทิ ธิในการเขา้ ใช้งาน เป็นตน้ 1.8 บทสรุป ข้อมูล คือ สิ่งๆต่างที่สามารถรับรู้ได้ โดย อาจรับรู้ได้หลากหลายรูปแบบ เช่นการมองเห็น การสัมผสั หรือการได้ยิน โดยลักษณะของข้อมลู ก็มีหลากหลายรูปแบบเช่นกัน เช่น ตัวหนังสอื ภาพ หรือเสยี ง โดยข้อมลู เหลา่ น้นั อาจจะเป็นความจริง หรอื เทจ็ กไ็ ด้ สารสนเทศคือ การนาข้อมูลต่าง ๆ ท่ีได้รับรู้มาประมวลผล โดยการประมวลผลนั้นสามารถ ทาไดห้ ลายแบบ เช่น การวเิ คราะหห์ าข้อเท็จจริง การคานวณหรอื การหาผลลัพธ์ เพื่อทาให้ข้อมลู นนั้ มี ความน่าเชอื่ ถอื มากข้ึน และสามารถนาสารสนเทศนน้ั ไปเผยแพร่ได้ การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพื่องานธุรกิจ

18 | บทที่ 1 แนวคดิ เบอื้ งต้นเกยี่ วกบั ฐานขอ้ มูล และเม่ือนาข้อมูลมาประมวลผลจนได้เป็นสารสนเทศแล้ว จะถูกเก็บไว้ในอุปกรณ์จัดเก็บ ข้อมูลซ่ึงอปุ กรณ์เหล่านี้ก็มีการพฒั นาให้มปี ระสิทธิภาพท่ีดขี นึ้ อย่างตอ่ เน่อื งทาให้อุปกรณ์จดั เก็บขอ้ มูล ในปัจจุบันน้ีสามารถบรรจุข้อมูลได้เป็นจานวนมาก และยังสามารถอ่าน - เขียนข้อมูลได้รวดเร็วมาก ขึ้น ระบบแฟ้มข้อมูล เปน็ การจดั เกบ็ เอกสารหรือข้อมูลตา่ ง ๆ ไวใ้ นเคร่ืองคอมพิวเตอร์โดย จดั เก็บแยกเปน็ แฟ้มข้อมูลตามประเภทของงานหรือแยกตามการปฏบิ ัติงาน โดยสว่ นใหญข่ ้อมลู และ โปรแกรมมักรวมอยู่ด้วยกันเป็นแฟม้ ขอ้ มูล ระบบฐานข้อมูล หมายถึง ระบบการรวบรวมแฟ้มข้อมูลหลายๆ แฟ้มข้อมูลเข้าด้วยกัน เพ่ือ กาจัดความซ้าซ้อนของข้อมูลออก แล้วเก็บข้อมูลไว้ที่ศูนย์กลาง เพ่ือการใช้งานร่วมกัน ภายในระบบ ตอ้ งมีส่วนที่เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่สร้างข้ึนเพื่อเชื่อมโยงและใช้งานข้อมูลในฐานข้อมูล (database) จะต้องมกี ารดูแลรกั ษาความปลอดภัยของขอ้ มลู เหล่าน้ัน และควรมีการกาหนดสิทธิของผู้ใชง้ านแตล่ ะ คนใหแ้ ตกต่างกนั ตามแต่ความตอ้ งการในการใช้งาน การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื งานธุรกิจ

บทท่ี 1 แนวคดิ เบือ้ งต้นเก่ยี วกับฐานขอ้ มูล | 19 คาถามทา้ ยบท 1. ข้อมลู หมายถึงอะไร 2. สารสนเทศหมายถึงอะไร 3. หนว่ ยเก็บขอ้ มูลมีกปี่ ระเภท แตล่ ะประเภทแตกต่างกันอยา่ งไร 4. หลกั การทางานของเทปแมเ่ หล็กในการเข้าถึงข้อมลู เป็นอย่างไร 5. แผ่นซีดี (Compact Disc) และ แผ่นดีวีดี (Digital Versatile Disc) แตกตา่ งกนั อย่างไร 6. ให้นักศึกษาวเิ คราะหแ์ นวโน้มของหนว่ ยเกบ็ ข้อมูลในอนาคตนา่ จะเปน็ เช่นไร 7. ให้นักศึกษาอธิบายหนว่ ยในการจัดเก็บข้อมลู จดั เก็บในคอมพวิ เตอร์ 8. ระบบแฟม้ ข้อมูลด้วยเครื่องคอมพวิ เตอรม์ ีขอ้ ด้อยอยา่ งไรบ้าง การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพือ่ งานธุรกิจ

20 | บทที่ 1 แนวคิดเบอื้ งตน้ เกยี่ วกบั ฐานข้อมูล เอกสารอา้ งอิง ณัฏฐพนั ธ์ เขจรนันทน์และไพบูลยเ์ กยี รตโิ กมล. (2545). ระบบสารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจ. กรงุ เทพฯ : ส.เอเชยี เพรส. ทมี งานทรูปลูกปญั ญา. (2559). ขอ้ มูลคืออะไร. สบื คน้ เม่ือ 27 พฤษภาคม 2561, จากเว็บไซต:์ http://www.trueplookpanya.com/new/asktrueplookpanya/ questiondetail/16686 ประทีป เมธาคุณวฒิ. (2544). เทคโนโลยสารสนเทศเพ่อื การบรหิ ารสถาบนั อุดมศกึ ษา. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . วิกิพเี ดีย สารานุกรมเสร.ี สารสนเทศ. สบื ค้นเม่ือ 29 พฤษภาคม 2561, จากเวบ็ ไซต์: https://th.wikipedia.org/wiki/สารสนเทศ โอภาส เอยี่ มสริ วิ งศ.์ (2551). ระบบฐานข้อมลู (Database Systems). กรงุ เทพฯ : ซีเอ็ดยูเคช่ัน. Peter Rob and Carlos Coronel. (2009). Database Systems: Design, Implementation, and Management. Massachusetts: Course Technology. การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพอื่ งานธุรกจิ

บทท่ี 2. ระบบการจัดการฐานขอ้ มูล | 21 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 2 ระบบการจดั การฐานขอ้ มูล หัวข้อเน้อื หา 2.1 ระบบการจัดการฐานข้อมลู 2.2 หนา้ ทร่ี ะบบการจดั การฐานข้อมลู 2.3 องค์ประกอบของระบบจัดการฐานขอ้ มูล 2.4 ประเภทของระบบจดั การฐานข้อมลู 2.5 ขอ้ ดแี ละข้อเสยี ระบบการจดั การฐานข้อมลู 2.6 ตวั อยา่ งระบบการจดั การฐานข้อมลู 2.7 แนวโน้มของระบบการจดั การฐานข้อมูล บทสรุป คาถามทา้ ยบท เอกสารอา้ งอิง วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. อธิบายความหมายระบบการจดั การฐานขอ้ มลู ได้ 2. อธิบายหน้าทรี่ ะบบการจดั การฐานข้อมลู ได้ 3. อธิบายองค์ประกอบของระบบจัดการฐานข้อมูลได้ 4. อธบิ ายประเภทของระบบจัดการฐานขอ้ มลู ได้ 5. อธบิ ายแนวโน้มของระบบการจัดการฐานขอ้ มูลได้ 6. สามารถยกตัวอย่างระบบการจดั การฐานข้อมลู ได้ 7. อธบิ ายถึงประโยชน์ของการนาระบบการจดั การฐานข้อมลู มาใชใ้ นการทาธุรกจิ ได้ 8. อธบิ ายถงึ ปัญหาของการนาระบบการจดั การฐานข้อมูลมาใชใ้ นการทาธรุ กจิ ได้ การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลเพือ่ งานธุรกิจ

22 | บทท่ี 2 ระบบการจัดการฐานขอ้ มูล วิธสี อนและกิจกรรมการเรียนการสอน 1. วธิ สี อน 1.1 นาเข้าสบู่ ทเรยี นโดยวดี ิทศั น์ 1.2 ใช้วธิ สี อนบรรยายแบบมีสว่ นร่วม 1.3 ใชว้ ธิ สี อนแบบกระบวนการกล่มุ 2 กจิ กรรมการเรียนการสอน 2.1 เปดิ วดิ ีทศั นเ์ น้อื หาระบบจดั การฐานขอ้ มูล พร้อมทั้งตัง้ โจทย์ประเด็นคาถาม กอ่ นเรยี น 2.2 การบรรยายโดยใช้ PowerPoint 2.3 ใชก้ ระบวนการกลมุ่ โดยแต่ละกล่มุ ให้คน้ ควา้ ข้อมูลและอภิปลายหน้าห้อง 2.4 นักศกึ ษาตอบคาถามท้ายบทเปน็ การบา้ น ส่อื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอื่ งานธรุ กจิ บทท่ี 2 ระบบการจัดการฐานข้อมลู 2. PowerPoint 3. เวบ็ ไซต์ YouTube 4. ใบงาน การวัดและประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤติกรรมของนักศึกษาการมีส่วนรว่ มในการถามตอบการบรรยาย 2. ตรวจผลการอภปิ รายกลมุ่ สงั เกตพฤติกรรมการนาเสนอผลการศึกษาหน้าชน้ั เรียน 3. ตรวจการตอบคาถามท้ายบท การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มูลเพ่อื งานธุรกิจ

บทที่ 2 ระบบการจัดการฐานขอ้ มลู เนื่องจากข้อมูลมีจานวนมากมายมหาศาล ในการบริหารจัดการข้อมูลจานวนมากจึง จาเป็นตอ้ งมีซอฟต์แวรท์ ที่ าหน้าที่บริหารจัดการข้อมลู โดยเฉพาะ เรยี กวา่ ระบบจดั การฐานขอ้ มูล หรือ DBMS ซึ่งในบทน้ีจะพูดถึงซอฟต์แวร์ระบบจัดการฐานข้อมูล หน้าท่ีของระบบการจัดการฐานข้อมูล องค์ประกอบระบบจัดการฐานข้อมูล คุณสมบัติของระบบการจัดการฐานข้อมูล อีกท้ังกล่าวถึงข้อดี ข้อดอ้ ยของการนาระบบจดั การฐานข้อมูลมาใชง้ านในองคก์ ร ที่ต้องมีการปรบั กระบวนการทางานของ องค์กร งบประมาณในการปรับเปลีย่ นระบบ และตัวอย่างของการใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลที่มีความ หลากหลายของแต่ละสาขาอาชีพในปัจจุบัน และแนวโน้มจะมีการใช้ระบบการจัดการฐานข้อมูลเพื่อ มากข้ึน 2.1 ระบบการจดั การฐานข้อมูล (DBMS) DBMS ยอ่ มาจาก Database Management System DB คอื Database หมายถึง ฐานข้อมูล M คือ Management หมายถึง การจัดการ S คือ System หมายถึง ระบบ วิเชียร เปย่ี มชัยสวัสดิ์ (2547:13) ได้นยิ ามความหมายของ ระบบจดั การฐานข้อมูล หมายถึง ซอฟต์แวร์ระบบท่ีใช้ในการจัดการฐานข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์หลักคือการสร้างสภาวะแวดล้อมท่ี สะดวกและมีประสิทธิภาพในการเข้าถึงและจัดเก็บข้อมูลของฐานข้อมูลระบบจัดการฐานข้อมูลจะทา หน้าท่ีในการแปลงความต้องการของผู้ใช้ให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถทางานได้กับฐานข้อมูลตาม วตั ถปุ ระสงค์ของผใู้ ช้ โอภาส เอ่ียมสิริวงศ์ (255 1:37) ได้กล่าวว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล Database Management System หรือมักเรียกย่อๆว่า DBMS คือซอฟต์แวร์ที่ใช้เป็นเครื่องมือของผู้ใช้เพ่ือ โต้ตอบกับฐานข้อมูลซ่ึง DBMS ประกอบไปด้วยฟังก์ชันหน้าท่ีต่าง ๆ ในการจัดการกับข้อมูลรวมทั้ง ภาษาที่จะใช้ทางานกับข้อมูลซ่ึงมักใช้ภาษาเอสคิวแอลในการโต้ตอบระหว่างกันกับผู้ใช้ด้วยการสร้าง การเรียกดู การบารุงรักษาฐานข้อมูล นอกจากนี้ DBMS ยังทาหน้าที่ในการรักษาความมั่นคงและ ความปลอดภัยของข้อมูล ด้วยการป้องกันไม่ให้ผู้ไม่มีสิทธ์ิการใช้งานเข้ามาละเมิดข้อมูลในฐานข้อมูล ทเ่ี ปน็ ส่วนกลางไดร้ วมถึงการสารองข้อมูลและการกู้คืนข้อมูลในกรณีข้อมลู ความเสียหายเปน็ ต้น การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพอื่ งานธุรกิจ นิรนั ดร ผานจิ

24 | บทท่ี 2 ระบบการจัดการฐานขอ้ มูล วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ได้ให้ความหมาย ระบบการจัดการฐานข้อมูลว่า ระบบจัดการ ฐานข้อมูล (Database Management System) หรือที่เรียกว่า ดีบีเอ็มเอส (DBMS) เป็นกลุ่ม โปรแกรมที่ทาหน้าท่ีเป็นตัวกลางในระบบติดต่อระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล เพื่อจัดการและควบคุม ความถูกต้อง ความซ้าซ้อน และความสัมพนั ธ์ระหวา่ งข้อมลู ต่างๆ ภายในฐานขอ้ มูล ซง่ึ ต่างจากระบบ แฟ้มข้อมูลทหี่ นา้ ที่เหล่านี้จะเป็นหน้าทีข่ องโปรแกรมเมอร์ ในการติดต่อกับขอ้ มูลในฐานข้อมูลไม่วา่ จะ ดว้ ยการใช้คาส่ังในกลุ่มดีเอ็มแอล (DML) หรือ ดีดีแอล (DDL) หรือจะด้วยโปรแกรมต่างๆ ทุกคาสั่งท่ี ใช้กระทากับข้อมูลจะถูกดีบีเอ็มเอส นามาแปล (คอมไพล์) เป็นการปฏิบัติการ (Operation) ต่างๆ ภายใตค้ าส่งั นั้นๆ เพ่อื นาไปกระทากบั ตวั ข้อมูลภายในฐานข้อมลู ต่อไป DBMS ถกู พัฒนาข้ึนเพ่ือแกไ้ ขปัญหาด้าน Data Independence ที่ไม่มีในระบบแฟ้มข้อมูล ทาให้มีความเป็นอิสระจากทั้งส่วนของฮาร์ดแวร์ และข้อมูลภายในฐานข้อมูลกล่าวคือโปรแกรม DBMS นี้จะมีการทางานที่ไม่ข้ึนอยู่กับรูปแบบ (Platform) ของตัวฮาร์ดแวร์ ท่ีนามาใช้กับระบบ ฐานข้อมูลรวมทงั้ มีรปู แบบในการอ้างถึงข้อมูลที่ไม่ขึ้นอยู่กับโครงสรา้ งทางกายภาพของข้อมูลด้วยการ ใช้ Query Language ในการติดต่อกับข้อมูลในฐานข้อมูลแทนคาส่ังภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคท่ี 3 ส่งผลให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลได้โดยไม่จาเป็นต้องทราบถึงประเภทหรือขนาดของ ข้อมูลนั้นหรือสามารถกาหนดลาดับที่ของฟลิ ด์ ในการกาหนดการแสดงผลไดโ้ ดยไม่ต้องคานึงถงึ ลาดับ ที่จรงิ ของฟลิ ด์ นน้ั สรปุ ไดว้ ่า ระบบการจดั การฐานข้อมูลคอื โปรแกรมท่ีทาหน้าทใ่ี นการกาหนดลักษณะ ขอ้ มลู ทจ่ี ะเก็บไว้ในฐานขอ้ มลู อานวยความสะดวกในการบนั ทึกขอ้ มลู ลงในฐานข้อมูล กาหนดผู้ ทไ่ี ดร้ ับอนญุ าตให้ใชฐ้ านข้อมลู ได้ พร้อมกบั กาหนดด้วยว่าใหใ้ ชไ้ ดแ้ บบใด เช่น ใหอ้ า่ นข้อมูลได้ อย่างเดยี วหรอื ให้แก้ไขขอ้ มลู ได้ดว้ ย นอกจากนั้นยงั อานวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูล และ การแก้ไขปรบั ปรุงขอ้ มูล ทาใหผ้ ้ใู ช้สามารถเขา้ ถึงข้อมูลไดง้ ่าย สะดวกและมปี ระสทิ ธภิ าพเปรียบ เสมอื นเปน็ ตัวกลางระหวา่ งผู้ใชก้ ับฐานข้อมูลให้สามารถติดตอ่ กันได้ ภาพท่ี 2.1 การจัดเกบ็ ขอ้ มูลในสมยั ก่อน และการจัดเกบ็ โดยใชค้ อมพิวเตอร์ ทีม่ า : ผูเ้ ขียน การบรหิ ารจัดการระบบฐานข้อมูลเพือ่ งานธุรกจิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook