Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จุฑาลักษณ์

จุฑาลักษณ์

Published by koonmario, 2021-02-22 16:28:52

Description: จุฑาลักษณ์

Search

Read the Text Version

สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 นางสาว จฑุ าลกั ษณ์ เงินยวง เลขที่ 19 ศึกษาชนั้ ม.6/7

คานา หนงั สอื ออนไลนเ์ ลม่ นจี้ ำทำขน้ึ เพื่อเป็ นสว่ นหนงึ่ ของวิชำเหตกุ ำรณ์ ปัจจบุ นั 2 ส30262 ชนั้ มธั ยมศึกษำปี ท่ี 6 เพ่ือศึกษำองคค์ วำมรใู้ นเร่ือง สงครำมโลกครง้ั ท่ี 2 เพ่ือนำไปตอ่ ยอดเป็ นประโยชนต์ อ่ กำรเรียน ดฉิ นั หวงั วำ่ หนงั สอื ออนไลนเ์ ลม่ นจี้ ะเป็ นประโยชนต์ อ่ ผอู้ ่ำน หรือ อำจำรยแ์ ละนกั เรียนทก่ี ำลงั ศึกษำในหวั ขอ้ นอี้ ยู่ หำกมขี อ้ ผดิ พลำดประกำรใด ดฉิ นั ขอนอ้ มรบั และขออภยั มำ ณ ท่นี ้ี

สารบญั 01 ความเป็ นมาของสงคราม 02 ฝ่ ายทางสงคราม 03 ผลกระทบของสงคราม 04 ผจู้ ดั ทา และอา้ งอิง

บทที่ 1 ความเป็ นมาของสงคราม

World War II สงครำมโลกครง้ั ทีส่ อง (องั กฤษ : World War II หรือ Second World War มกั ย่อเป็ น WWII หรือ WW2) เป็ นสงครำมทวั่ โลกกินเวลำต้ังแต่ ประวตั โิ ดยย่อสงครำมโลกครงั้ ที่ 2 ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเก่ียวขอ้ ง รวมทั้งรัฐ มหำอำนำจท้ังหมด แบ่งเป็ นพันธมิตรทำงทหำรคู่สงครำมสองฝ่ ำย คือ ฝ่ ำยสัมพันธมิตรและฝ่ ำยอักษะ เป็ นสงครำมท่ีกว้ำงขวำงที่สดุ ใน ประวัติศำสตร์ มีทหำรกว่ำ 100 ลำ้ นนำยจำกกว่ำ 30 ประเทศเขำ้ ร่วม โดยตรง สงครำมนี้มีลักษณะเป็ น \"สงครำมเบ็ดเสร็จ\" คือ ประเทศผรู้ ่วม สงครำมหลักทุ่มขีดควำมสำมำรถทำงเศรษฐกิจ อุตสำหกรรมและ วิทยำศำสตร์ท้ังหมดเพ่ือควำมพยำยำมของสงครำม โดยลบเสน้ แบ่ง ระหว่ำงทรัพยำกรของพลเรือนและทหำร ประเมินกันว่ำสงครำมมีมลู ค่ำ รำว 1 ลำ้ นลำ้ นดอลลำรส์ หรฐั ประเมินกนั ว่ำมีผเู้ สียชีวิตระหว่ำง 50 ถึง 8 5 ลำ้ นคน ดว้ ยประกำรท้ังปวง สงครำมโลกครั้งท่ีสองจึงนับว่ำเป็ น สงครำมขนำดใหญ่ท่ีสุด ใชเ้ งินทุนมำกที่สดุ และมีผูเ้ สียชีวิตสูงสุดใน ประวตั ศิ ำสตรม์ นษุ ยชำติ

ภมู ิหลงั สงคราม สงครำมโลกครงั้ ที่หนง่ึ นำมำซึ่งกำรเปลยี่ นแปลงดนิ แดนอย่ำงใหญ่หลวงในยโุ รป ดว้ ยควำมพ่ำยแพข้ องฝ่ ำยมหำอำนำจกลำง รวมทั้งกำรล่มสลำย ของรฐั จกั รวรรดทิ สี่ ำคญั ไดแ้ ก่ จกั รวรรดเิ ยอรมนั จกั รวรรดิออสเตรีย-ฮงั กำรี และจกั รวรรดิออตโตมนั ตลอดจนจกั รวรรดริ ัสเซีย ขณะเดียวกัน ควำมสำเร็จของ ฝ่ ำยสมั พนั ธมติ ร ซ่ึงประกอบดว้ ยสหรำชอำณำจกั ร ฝรงั่ เศส สหรฐั อเมริกำ อติ ำลี เซอรเ์ บียและโรมำเนยี รวมไปถงึ กำรก่อตง้ั รัฐใหมห่ ลงั จกั รวรรดอิ อสเตรีย-ฮังกำรี รสั เซียและออตโตมนั ลม่ สลำย หลงั สงครำม ชำตนิ ยิ มอดุ มกำรณเ์ รียกรอ้ งดนิ แดน (irredentism) และลทั ธิแกแ้ คน้ (revanchism) กลำยมำมีควำมสำคญั ในหลำยประเทศ ยโุ รป อดุ มกำรณเ์ รียกรอ้ งดนิ แดนและลทั ธแิ กแ้ คน้ แรงกลำ้ มำกในเยอรมนี เพรำะเยอรมนบี งั คบั ตำมสนธสิ ญั ญำแวรซ์ ำย เป็ นผลใหเ้ ยอรมนเี สยี ดินแดนของประเทศไป รอ้ ยละ 13 รวมทง้ั อำณำนคิ มโพน้ ทะเลทง้ั หมด กำรรวมเยอรมนเี ขำ้ กบั ประเทศอ่นื ถกู หำ้ ม ซำ้ ตอ้ งแบกภำระชำระคำ่ ปฏิกรรมสงครำมมหำศำล และถกู จำกัดขนำดและ ขดี ควำมสำมำรถของกองทัพอย่ำงมำก[7] ขณะเดียวกัน สงครำมกลำงเมอื งรัสเซียไดน้ ำไปส่กู ำรก่อต้งั สหภำพโซเวียต นำโดยพรรคบอลเชวิค ภำยใตก้ ำรปกครอง ระบอบคอมมวิ นสิ ต์ จกั รวรรดเิ ยอรมนั สน้ิ สภำพไปจำกกำรปฏิวตั เิ ยอรมนั ค.ศ. 1918-1919 และรัฐบำลประชำธิปไตยถกู ตง้ั ขน้ึ ซ่ึงภำยหลงั รจู้ กั กันว่ำ สำธำรณรัฐไว มำร์ ในเยอรมนรี ะหวำ่ งสงครำมโลกไดเ้ กดิ ควำมขดั แยง้ ภำยในขนึ้ ระหวำ่ งผสู้ นบั สนนุ สำธำรณรัฐใหมแ่ ละผคู้ ดั คำ้ นท่ยี ดึ มนั่ ทำงฝ่ ำยขวำและฝ่ ำยซำ้ ย พรรคนำซี นำโดย อดอลฟ์ ฮิตเลอร์ เจริญรอยตำมกำรจัดต้ังรัฐบำลฟำสซิสตต์ ำมอย่ำงอิตำลีในเยอรมนี ท่ำมกลำงภำวะเศรษฐกิจตกตำ่ คร้ังใหญ่ ทำใหก้ ำรสนับสนนุ พรรคนำซี ภำยในประเทศเพมิ่ ขนึ้ และใน ค.ศ. 1933 ฮิตเลอรไ์ ดร้ บั แตง่ ตงั้ เป็ นนำยกรัฐมนตรี หลงั เหตเุ พลงิ ไหมไ้ รชสท์ ำค ฮิตเลอรส์ ถำปนำรัฐเผด็จกำรเบ็ดเสร็จพรรคกำรเมือง เดยี วนำโดยพรรคนำซี[9] สถำนกำรณค์ ลำ้ ยกนั นย้ี งั ไดเ้ กิดขน้ึ ในอิตำลี แมว้ ำ่ อติ ำลจี ะเป็ นพนั ธมติ รฝ่ ำยไตรภำคีและไดร้ บั ดนิ แดนอย่บู ำ้ ง แตพ่ วกชำตนิ ยิ มอิตำลีรสู้ ึกโกรธแคน้ ที่ คำมัน่ สัญญำของอังกฤษและฝรัง่ เศสใหไ้ วเ้ พ่ือใหอ้ ิตำลีเขำ้ ส่สู งครำมในสนธิสัญญำลอนดอน ไม่เป็ นไปตำมกำรตกลงสันติภำพ นับจำก ค.ศ. 1922 ถึง 1925 ขบวนกำรฟำสซิสต์ นำโดยเบนโิ ต มสุ โสลนิ ี ยึดอำนำจในอิตำลดี ว้ ยวำระชำตนิ ยิ ม เผด็จกำรเบ็ดเสร็จและควำมรว่ มมอื ระหวำ่ งชนชน้ั ซึ่งยกเลกิ ระบอบประชำธิปไตยแบบ มผี แู้ ทน สงั คมนยิ มใชอ้ ำนำจบังคบั กำลงั ฝ่ ำยซำ้ ยและเสรีนิยม และดำเนินนโยบำยตำ่ งประเทศแบบกำ้ วรำ้ วโดยมเี ป้ ำหมำยเพื่อสถำปนำอิตำลเี ป็ นมหำอำนำจของโลก โดยใชก้ ำลงั คือ \"จกั รวรรดโิ รมนั ใหม\"่

เสน้ ทางของสงคราม สงครามปะท ุ 1 กนั ยายน ค.ศ.1939 17 กนั ยายน ค.ศ.1939 เดือนเมษายน ค.ศ. 1940 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1940 เยอรมนแี ละรฐั บริวำร สโลวำเกีย แ ละบุก หลังจำกสงบศึกชั่วครำวกับ ด้ำนสหภำพโซเวียต น ำ ไ ป สู่ ก ำ ร เ ป ล่ี ย น ตั ว ปกครองโปแลนด์ ญ่ีป่ ุนแลว้ สหภำพโซเวียตก็ได้ และเยอรมนีไดบ้ รรลุ น ำ ย ก รัฐ ม น ต รี แ ห่ ง ส ห ร ำ ช เร่ิมกำรบุกครองโปแลนด์ของ สน ธิ สัญ ญ ำ ก ำร ค้ำ อ ำ ณ ำ จั ก ร จ ำ ก เ น วิ ล เ ช ม ตน ระหวำ่ งกนั เบอรล์ ิน เป็ นวินสตนั เชอรช์ ลิ ล์

รายช่ือปฏบิ ตั ิการทางทหารระหว่างสงครามโลกครง้ั ท่ีสอง ป ฏิ บั ติ ก ำ ร นี้ เ ป็ น ป ฏิ บั ติ ก ำ ร เป็ นปฏิบัติกำรที่กองทัพนำซีใช้ในกำร สำหรับกำรยกพลขึ้นเกำะอังกฤษของกองทัพนำซี รกุ รำนสหภำพโซเวียตเมื่อวันที่ 22 มิถนุ ำยน ค.ศ. 1941 เยอรมัน ซึ่งกำรจะยกพลขึน้ ไดน้ นั้ ตอ้ งทำกำรถล่ม ซ่ึงหลงั จำกท่ีฝรัง่ เศสไดล้ งนำมยอมแพต้ ่อกองทพั นำซีครบ กองทพั เรือและกองทพั อำกำศขององั กฤษใหส้ ิ้นซำก 1 ปี พอดี โดยปฏิบัติกำรน้ีกองทัพฝ่ ำยอักษะใชก้ ำลังทหำร เสียก่อนแล้วค่อยทำกำรยกพลข้ึนบก แม้ว่ำ ประมำณ 5,600,000 คน สว่ นสหภำพโซเวียตมีกำลงั ทหำร กองทพั อำกำศของเยอรมนจี ะถลม่ กรงุ ลอนดอนและ ในกำรป้ องกันในช่วงนั้นประมำณ 2,900,000 คน โดย อีกหลำยๆ เมืองในอังกฤษจนไดร้ ับควำมเสียหำย ปฏิบตั กิ ำรครั้งนแ้ี บ่งออกเป็ น 3 สำย คือ สำยที่ 1 มงุ่ ตรงไป อย่ำงหนัก แต่ก็ไม่สำมำรถทำใหอ้ ังกฤษยอมแพไ้ ด้ ยงั เมืองเลนินกรำดเพื่อตดั เสน้ ทำงกำรลำเลยี งอำวธุ และยัง แ ล ะ อั ง ก ฤ ษ ยั ง ไ ด้รั บ ก ำ ลั ง เ ส ริ ม เ พิ่ ม เ ติ ม จ ำ ก ทำใหส้ หภำพโซเวียตถกู ตัดขำดจำกโลกภำยนอก สำยที่ 2 สหรัฐอเมริ กำ และประเทศเครื อจักรภพอีก ยึดเมอื งทำงตอนกลำงแลว้ มงุ่ ตรงไปยงั กรงุ มอสโก และส่วน จ น ก ร ะ ทั่ง วั น ที่ 3 1 ตุล ำ ค ม ค . ศ . 1 9 4 0 ที่ 3 มุ่งตรงไปยังเมืองเคียฟ (เมืองหลวงของยูเครนใน กองทัพอำกำศเยอรมนีไดย้ ตุ ิกำรถล่มเกำะอังกฤษ ปัจจบุ นั ) แลว้ มงุ่ ตรงไปยงั ลมุ่ แมน่ ำ้ วอลกำเพื่อยดึ เมอื งสตำลิ สิ่งท่ีทำใหอ้ ังกฤษสำมำรถต่อสกู้ ับกองทัพอำกำศ นกรำด ซ่ึงในตอนตน้ ของปฏิบตั กิ ำรนที้ ำงกองทพั ฝ่ ำยอักษะ เยอรมนีไดเ้ พรำะว่ำอังกฤษไดม้ ีกำรพัฒนำระบบเร เกือบประสบควำมสำเร็จในกำรยึดครองสหภำพโซเวียต ดำหใ์ นกำรคน้ หำเครื่องบินของกองทพั เยอรมนั จึง เนื่องจำกอย่หู ่ำงจำกนครหลวงมอสโกเพียง 40 ไมลเ์ ท่ำนัน้ ทำใหอ้ งั กฤษมกี ำรเตรียมตวั เพื่อ รับมอื กำรโจมตไี ด้ และกองทพั แดงของโซเวยี ตในชว่ งตน้ ๆ ตอ้ งเสยี ทหำรไปกวำ่ ทนั ทว่ งที 5 ลำ้ นคน ส่วนที่เมืองสตำลินกรำดนนั้ กองทพั ฝ่ ำยอกั ษะไม่ สำมำรถท่ีจะตีแตกไดเ้ พรำะกำรป้ องกันอันเขม้ แข็งของ กองทพั แดง ซึ่งในเมอื งนี้จะเป็ นจดุ ชชี้ ะตำแห่งชยั ชนะระหว่ำง กองทพั แดงและกองทพั นำซี

บทที่ 2 ฝ่ ายทางสงคราม

ประเทศค่สู งครามในสงครามโลกครงั้ ที่ 2 แบ่งออกเป็ น 2 ฝ่ าย ไดแ้ กอ่ ะไรบา้ ง ป ร ะ เ ท ศ คู่ส ง ค ร ำ ม ใ น สงครำมโลกครั้งท่ี 2 แบ่งออกเป็ น 2 ฝ่ ำย ไดแ้ ก่ ฝ่ ำยอักษะ (Axis) ประกอบดว้ ย เยอรมนี อิตำลี และญี่ป่ ุน ซึ่งมีนโยบำยต่ำงประเทศใน ทิศทำงเดียวกัน คือ กำรรุกรำนและขยำย อ ำ น ำ จ แ ล ะ ฝ่ ำ ย สั ม พั น ธ มิ ต ร ( Allies) ประกอบดว้ ย อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย ระยะแรกของสงครำมสหรัฐอเมริกำยังไม่เขำ้ ร่วมสงครำม จนกระทัง่ ค.ศ. 1941 ญี่ป่ ุนได้ โจมตฐี ำนทัพเรือของสหรัฐอเมริกำท่ี เพิร์ล ฮำ เบอร์ สหรัฐอเมริกำจึงประกำศสงครำมต่อ ญ่ีป่ ุน หลังจำกนั้นอิตำลีและเยอรมนีประกำศ สงครำมต่อสหรัฐอเมริกำ เนื่องจำกเป็ น พันธมิตรกับญ่ีป่ ุน จึงเป็ นกำรผลักดั นให้ สหรฐั อเมริกำเขำ้ ร่วมกบั ฝ่ ำยสมั พนั ธมิตร

ฝ่ ายอกั ษะ ฝ่ ายอกั ษะ (องั กฤษ : Axis Powers; เยอรมนั : Achsen mächte; อิตำลี : Potenze dell'Asse; ญี่ป่ ุน : 枢軸国 Sūjikukoku) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอรล์ ิน-โตเกียว (อังกฤษ : Rome-Berlin-Toky o Axis; ย่อว่ำ โรเบอรโ์ ต Roberto) เป็ นกลมุ่ ประเทศมหำอำนำจทำง กำรทหำรซึ่งสู้รบกับฝ่ ำยสัมพันธมิตรในสงครำมโลกคร้ังที่ สอง ประกอบดว้ ยสำมประเทศหลัก คือ นำซีเยอรมนี อิตำลีและ จักรวรรดิญ่ีป่ ุน ซ่ึงทั้งสำมร่วมลงนำมกติกำสัญญำไตรภำคี เมื่อ เดือนกันยำยน ค.ศ. 1940 ฝ่ ำยอักษะขยำยอิทธิพลของตนในช่วง สงครำมโลกครั้งที่สอง ครอบคลุมพ้ืนท่ีหลำยส่วนของทวีป ยโุ รป ทวีปแอฟริกำ เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ มหำสมทุ รแปซิฟิ ก ทวำ่ สงครำมโลกคร้ังที่สองยตุ ิลงดว้ ยควำมพ่ำย แพข้ องฝ่ ำยอกั ษะ ทำใหฝ้ ่ ำยอกั ษะตอ้ งสญู เสียอำนำจและพ้ืนท่ีจำนวน มำกท่ียึดครองมำได้ เชน่ เดยี วกบั ฝ่ ำยสมั พนั ธมิตร สมำชิกภำพของ กลมุ่ ประเทศฝ่ ำยอกั ษะมีกำรเปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดชว่ งสงครำม

ฝ่ ายสมั พนั ธมิตร ฝ่ ายสมั พันธมิตรในสงครามโลกครง้ั ท่ีสอง ( อังกฤษ : Allies; ฝรงั่ เศส : Alliés; รัสเซีย : Союзники, Soyuzni ki; จีน : 同盟國, Tóngméngguó) เป็ นกล่มุ ประเทศท่ีตอ่ สกู้ ับฝ่ ำย อักษะช่วงสงครำมโลกครั้งท่ีสอง ฝ่ ำยสัมพันธมิตรเขำ้ มำพัวพันใน สงครำมโลกคร้ังที่สองเพรำะประเทศเหล่ำนี้ถกู รกุ รำนก่อน ถูก คกุ คำมโดยตรงจำกกำรรกุ รำนของฝ่ ำยอักษะหรือเพรำะประเทศ เหลำ่ นกี้ งั วลว่ำฝ่ ำยอกั ษะจะควบคมุ โลกอยำ่ งใดอย่ำงหน่ึง แนวร่วมต่อสู้เยอรมนีช่วงสงครำมเริ่มต้น (1 กันยำยน ค.ศ. 1939) ประกอบดว้ ยฝรัง่ เศส โปแลนด์ สหรำช อำณำจักร ชำติเครือจักรภพอังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และ สหภำพแอฟริกำใต้ (กำลังสหภำพแอฟริกำใตส้ ่วนใหญ่สรู้ บภำยใต้ กำรบญั ชำของเครือจกั รภพแมจ้ ะเป็ นชำตอิ ธปิ ไตยนบั แต่ ค.ศ. 1931 )หลัง ค.ศ. 1941 ผนู้ ำสหรำชอำณำจักรและเครือจักรภพอังกฤษ , สหรัฐอเมริกำและสหภำพโซเวียต ซึ่งรจู้ ักกันในช่ือ \"สำมผยู้ ่ิงใหญ่ \" ถือควำมเป็ นผนู้ ำฝ่ ำยสัมพันธมิตร ในขณะนั้น จีนเองก็เป็ นฝ่ ำย สมั พันธมิตรหลกั เช่นกนั ฝ่ ำยสัมพันธมิตรอื่นมีเบลเยียม บรำซิล เช โกสโลวำเกีย เอธิโอเปี ย กรีซ อินเดีย เม็กซิโก เนเธอรแ์ ลนด์ นอรเ์ วย์ และยโู กสลำเวีย

บทท่ี 3 ผลกระทบของสงคราม

ความสญู เสียและอาชญากรรมสงคราม Insert the title of your subtitle Here ไดม้ ีกำรประมำณว่ำมีผเู้ สียชีวิตจำกสงครำมโลกคร้ังท่ีสองไวอ้ ย่ำงหลำกหลำย แต่ส่วนใหญ่ไดเ้ สนอว่ำคิดเป็ นจำนวนมำกกว่ ำ 60 ลำ้ นคน ประกอบไปดว้ ยทหำรอยำ่ งนอ้ ย 22 ลำ้ นคน และพลเรือนอยำ่ งนอ้ ย 40 ลำ้ นคน] สำเหตเุ สียชวี ิตของพลเรือนส่วนใหญ่นน้ั มำจำกโรคระบำด กำรอดอำหำร กำรฆำ่ ฟัน และกำรทำลำยพืชพันธ์ุ ดำ้ นสหภำพโซเวียตสญู เสียประชำกรรำว 27 ลำ้ นคนระหว่ำงช่วงสงครำม คิดเป็ นเกือบคร่ึงหนึ่งของควำมสญู เสียท้ังหมดระหว่ำง สงครำมโลกครงั้ ทสี่ อง

ไดม้ กี ำรประมำณว่ำมผี เู้ สียชวี ิตจำกสงครำมโลกคร้ังทสี่ องไวอ้ ย่ำงหลำกหลำย แตส่ ว่ นใหญไ่ ดเ้ สนอว่ำคิดเป็ น นกั โทษผทู้ รมานในคา่ ยกกั กนั เมานธ์ ิวเซน- จำนวนมำกกว่ำ 60 ลำ้ นคน ประกอบไปดว้ ยทหำรอย่ำงนอ้ ย 22 ลำ้ นคน และพลเรือนอย่ำงนอ้ ย 40 ลำ้ นคนสำเหตเุ สียชวี ิตของ กเู ซน ประเทศออสเตรยี ในปี ค.ศ. 1945 พลเรือนสว่ นใหญน่ นั้ มำจำกโรคระบำด กำรอดอำหำร กำรฆำ่ ฟัน และกำรทำลำยพืชพนั ธ์ุ ดำ้ นสหภำพโซเวียตสญู เสยี ประชำกรรำว 27 ลำ้ นคนระหว่ำงชว่ งสงครำม คดิ เป็ นเกอื บครึ่งหนงึ่ ของควำมสญู เสียทง้ั หมดระหว่ำงสงครำมโลกครั้งที่สองจำกควำมสญู เสีย ภาพทหารกองโจรของ รอ้ ยละ 85 เป็ นของฝ่ ำยสมั พนั ธมติ ร (ส่วนใหญ่เป็ นชำวจนี และชำวโซเวียต) และรอ้ ยละ 15 เป็ นของฝ่ ำยอกั ษะ มีกำรประมำณว่ำมี โซเวียตในแนวรบดา้ น พลเรือนรำว 12 ลำ้ นคนเสียชวี ิตในค่ำยกกั กนั นำซี 1.5 ลำ้ นคนจำกกำรทง้ิ ระเบิด และสำเหตอุ ่นื ๆ ในยโุ รปอกี 7 ลำ้ นคน รวมไปถึง อีก 7.5 ลำ้ นคนในจีน] โดยเหตกุ ำรณ์ท่ีโด่งดัง ไดแ้ ก่ กำรสังหำรหม่ทู ่ีนำนกิงโดยสำเหตทุ ่ีตวั เลขควำมสญู เสียมคี วำมแตกต่ำงกัน ตะวนั ออก มำกนนั้ มสี ำเหตมุ ำจำกว่ำกำรตำยสว่ นใหญ่ไมไ่ ดม้ กี ำรจดบนั ทึกเอำไว้ จำนวนกำรเสียชีวิตจำนวนมำกเป็ นผลมำจำกกำรลำ้ งชำติพันธท์ุ ่ีเกดิ ข้นึ ในดินแดนภำยใตก้ ำรยึดครองของ ฝ่ ำยอักษะ และอำชญำกรรมสงครำมอ่ืน ๆ ซึ่งถกู กระทำโดยชำวเยอรมันและชำวญ่ีป่ ุน โดยเหตกุ ำรณ์ที่เป็ นที่รู้จักกันดีของ อำชญำกรรมสงครำมชำวเยอรมนั ไดแ้ ก่ ฮอโลคอสต์ ซ่ึงเป็ นกำรลำ้ งชำตอิ ย่ำงเป็ นระบบในเขตยึดครองของเยอรมนแี ละพันธมิตร โดยนอกจำกชำวยวิ แลว้ ยงั มกี ล่มุ ชำตพิ นั ธห์ุ รือกล่มุ ควำมคิดอ่นื ๆ ถกู สงั หำรอีกเป็ นจำนวนกว่ำ 5 ลำ้ นคน และดำ้ นทหำรญี่ป่ ุนก็ ไดส้ งั หำรพลเรือนรำว 3 - 10 ลำ้ นคน ซ่ึงสว่ นใหญเ่ ป็ นชำวจีน ระหว่ำงสงครำมโลกคร้งั ทีสอง] นอกจำกน้ัน เรื่องของกำรใชอ้ ำวธุ ชีวภำพและอำวธุ เคมียังไดถ้ กู นำมำตัดสินดว้ ย ทหำรอิตำลีได้ใชแ้ ก๊ส มสั ตำรด์ ในกำรบกุ ครองเอธิโอเปี ย ส่วนญ่ปี ่ ุนไดใ้ ชอ้ ำวธุ ดงั กล่ำวในสงครำมจีน-ญ่ีป่ ุนครั้งที่สอง] และในสงครำมชำยแดนโซเวียต- ญ่ปี ่ ุน] โดยทงั้ เยอรมนแี ละญปี่ ่ ุนไดม้ กี ำรทดลองอำวธุ กบั พลเรือนและเชลยสงครำมจำนวนมำก ขณะที่กำรตดั สินคดีควำมอำชญำกรรมสงครำมของฝ่ ำยอักษะถกู ชำระควำมในศำลชำระควำมระหว่ำง ประเทศแห่งแรก] แตว่ ่ำอำชญำกรรมของฝ่ ำยสัมพนั ธมติ รกลบั ตรงกนั ขำ้ ม ตวั อย่ำงอำชญำกรรมสงครำม เชน่ กำรถ่ำยเทพล เรือนในสหภำพโซเวียต] คำ่ ยใชแ้ รงงำนของโซเวียต] กำรกกั กนั ชำวญป่ี ่ ุน-อเมริกนั ในสหรฐั อเมริกำ ปฏบิ ตั กิ ำรคีลฮำล (Operation K eelhaul)] กำรขบั ไล่ชำวเยอรมันหลังสงครำมโลกครั้งท่ีสอง กำรข่มขนื ระหว่ำงกำรยึดครองเยอรมนี กำรสังหำรหม่คู ำตินของ สหภำพโซเวียต นอกจำกน้ี ในสงครำมยังมีผเู้ สียชีวิตเป็ นอนั มำกจำกทพุ ภิกขภัย เช่น ทพุ ภิกขภยั แควน้ เบงกอล ค.ศ. 1943 และ ทพุ ภกิ ขภยั เวียดนำม ค.ศ. 1944-45[ นกั ประวัติศำสตร์บำงคนเสนอว่ำ กำรทิ้งระเบิดขนำนใหญ่ในเขตพลเรือนในดินแดน ขำ้ ศึกของสมั พนั ธมติ รตะวันตก รวมทงั้ โตเกยี ว และทโ่ี ดดเดน่ ทสี่ ดุ คอื นครเดรสเดิน ฮัมบวร์ค และโคโลญของเยอรมนี อนั เป็ นผล ใหน้ ครกว่ำ 160 แห่งถกู ทำลำยลำ้ ง และพลเรือนชำวเยอรมนั เสียชีวิตกว่ำ 600,000 คน ควรถกู พิจำรณำว่ำเป็ นอำชญำกรรม สงครำมดว้ ย

ค่ายกกั กนั และการใชแ้ รงงานทาส ฮอโลคอสตไ์ ดส้ งั หำรชำวยิวในทวีปยโุ รปเป็ นจำนวนอยำ่ งนอ้ ย 6 ลำ้ นคน รวมไปถึงเชอื้ ชำตอิ ่นื ๆ อีกท่ีถกู พวกนำซีลงควำมเห็นว่ำเป็ นพวกท่ี \"ไมค่ ่คู วร\" หรือ \"ตำ่ กว่ำมนษุ ย์\" (รวมไปถึงผทู้ ี่ทพุ พลภำพ ผทู้ ่ีมอี ำกำรป่ วยทำงจติ เชลยสงครำมโซเวียต พวกรักร่วมเพศ สมำคมฟรีเมสนั ผนู้ บั ถือลทั ธิพยำนพระเยโฮวำหแ์ ละชำวยิปซี) โดยเป็ นส่วนหนึ่งของถอนรำกถอนโคน อย่ำงจงใจ และไดร้ ับกำรดำเนนิ กำรโดยรัฐบำลฟำสซิสตน์ ำซี นำโดยอดอลฟ์ ฮิตเลอร์ มกี รรมกรและคนงำนรำว 12 ลำ้ นคน ซ่ึงโดยส่วนมำกมำจำกยโุ รปตะวันออก ไดถ้ กู ว่ำจำ้ งให้มำทำงำนให้ เศรษฐกจิ สงครำมของนำซีเยอรมนี] นอกเหนอื จำกค่ำยกักกนั ของนำซีแลว้ ยังมีค่ำยกลู ักหรือค่ำยแรงงำนของสหภำพโซเวียต ซ่ึงไดน้ ำไปส่คู วำมตำยของพลเรือนจำนวนมำกในดินแดนยึ ดครองของฝ่ ำยนำซี เยอรมนแี ละสหภำพโซเวียต ไดแ้ ก่ โปแลนด์ ลทิ วั เนยี ลตั เวีย และเอสโตเนยี รวมไปถึงเชลยสงครำมของเยอรมนี และยงั มชี ำวโซเวียตบำงส่วนที่คำดว่ำเป็ นผสู้ นบั สนนุ ของฝ่ ำยนำซี[317] จำกหลักฐำน พบว่ำเชลยสงครำมของโซเวียตกว่ำ 60% ของทั้งหมดไดเ้ สียชีวิตระหว่ำงสงครำม] ริชำรด์ โอเวรีไดบ้ นั ทึกตวั เลขเชลยศึกชำวโซเวียตไว้ 5.7 ลำ้ นคน ซึ่งในจำนวนน้ี 57% เสียชวี ิต คิดเป็ น 3.6 ลำ้ นคน[] เชลยศกึ โซเวียตท่รี อดชวี ิตและหลบหนเี ขำ้ ส่มู ำตภุ มู จิ ะถกู ตรำหนำ้ ว่ำเป็ นคนทรยศ (ดูเพ่มิ : คำส่ังหมำยเลข 270) คำ่ ยเชลยสงครำมของญ่ีป่ ุนเองก็มผี เู้ สยี ชวี ิตเป็ นจำนวนมำก และยงั มกี ำรตงั้ เป็ นค่ำยแรงงำน ภำยหลงั จำกกำรตดั สินของศำลทหำรระหว่ำงประเทศสำหรับตะวันออกไกล ( เดิมชอ่ื ศำลพิเศษโตเกยี ว) ไดล้ งมติว่ำอตั รำกำรเสียชวี ิตของเชลยศึกฝ่ ำยสัมพันธมิตรคิดเป็ น 27.1% (ในจำนวนนี้เป็ นทหำรสหรัฐอเมริกำ 37%) คิดเป็ นเจ็ดเท่ำของอัตรำเดียวกนั ของค่ำย แรงงำนของนำซีเยอรมนแี ละอิตำลี[] แตจ่ ำนวนดงั กลำ่ วนน้ั มสี งู มำก โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเชลยศึกชำวจนี ซึ่งจำกคำสงั่ ทีไ่ ดร้ ับกำรอนมุ ตั เิ มอื่ วันที่ 5 สงิ หำคม ค.ศ. 1937 โดยจกั รพรรดิฮโิ รฮิโตไดร้ ะบุ ว่ำ ชำวจีนไมอ่ ยภู่ ำยใตก้ ำรคมุ้ ครองของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ] หลงั จำกสงครำมโลกคร้ังที่สอง ทหำรสหรำชอำณำจักรไดร้ ับกำรปล่อยตวั 37,853 นำย ทหำรเนเธอร์แลนด์ 28,500 นำย ทหำรสหรัฐอเมริกำ 14,473 นำย แตพ่ บว่ำทหำรจีนถกู พบว่ำไดร้ ับกำรปลอ่ ยตวั เพยี ง 56 นำย อำ้ งองิ จำกกำรศึกษำร่วมกนั ของนกั ประวัติศำสตร์ ไดส้ รปุ ว่ำ มีชำวจีนมำกกว่ำ 10 ลำ้ นคนถกู เกณฑโ์ ดยกองทพั ญ่ีป่ ุน และถกู ใชแ้ รงงำนอย่ำงทำส เพื่อวงไพบลู ยร์ ่วมแห่ง มหำเอเชยี บรู พำ ทง้ั ในแมนจกู วั และทำงภำคเหนอื ของประเทศจีน[] หอ้ งสมดุ รัฐสภำแห่งสหรัฐอเมริกำไดป้ ระมำณว่ำในเกำะชวำว่ำชำวอินโดนเี ซียกว่ำ 4 ถึง 10 ลำ้ นคนตอ้ งถกู บังคับใหท้ ำงำนแก่ กองทพั ญปี่ ่ ุนระหว่ำงสงครำม ชำวอนิ โดนเี ซียบนเกำะชวำกว่ำ 270,000 คนไดถ้ กู สง่ ไปทำงำนในดินแดนท่ญี ่ีป่ ุนยึดครองอยใู่ นเอเชยี อำคเนย์ ซึ่งมเี พียง 52,000 คนเท่ำนนั้ ที่สำมำรถกลบั คืนส่ถู ิ่น เดมิ ได้ เมอื่ วนั ท่ี 19 กมุ ภำพนั ธ์ ค.ศ. 1942 ประธำนำธิบดโี รสเวลตไ์ ดล้ งนำมในคำสงั่ ฝ่ ำยบริหำรท่ี 9066 ซ่ึงไดท้ ำกำรกกั ตวั ชำวญี่ป่ ุน อิตำลี และเยอรมนั และผอู้ พยพบำงส่วนจำก หมเู่ กำะฮำวำย ซ่ึงหลบหนหี ลงั จำกกำรโจมตที ี่ฐำนทพั เรือเพิรล์ ในชว่ งเวลำระหว่ำงสงครำมเป็ นจำนวนมำก ชำวญป่ี ่ ุน-อเมริกนั ถกู กกั ตวั โดยรฐั บำลสหรฐั อเมริกำและแคนำดำเป็ นจำนวนกว่ำ 150 ,000 คน รวมไปถึงชำวเยอรมนั และชำวอติ ำลซี ่ึงอำศยั อยใู่ นสหรัฐอเมริกำเกอื บ 11,000 คน ขณะเดยี วกนั ก็กำรใชแ้ รงงำนโดยฝ่ ำยสมั พนั ธมติ รเชน่ กนั สว่ นใหญ่แลว้ จะเกดิ ขน้ึ ในดินแดนตะวันออก อย่ำงเช่นในโปแลนดแ์ ตย่ งั มผี ใู้ ชแ้ รงงำนอีกกว่ำลำ้ นคนในตะวันตก ใน เดือนธนั วำคม ค.ศ. 1945 หลกั ฐำนของฝรงั่ เศสไดร้ ะบวุ ่ำมเี ชลยสงครำมชำวเยอรมนั กว่ำ 2,000 คน ตำยหรือพกิ ำรทกุ เดอื นในอบุ ตั เิ หตกุ ำรเก็บกวำดทนุ่ ระเบิด

แนวหลงั และอตุ สาหกรรม ในทวีปยโุ รป ชว่ งสงครำมเริ่มขนึ้ ใหม่ ๆ นนั้ ฝ่ ำยสมั พนั ธมติ รนน้ั มคี วำมไดเ้ ปรียบทง้ั ทำงดำ้ นจำนวนประชำกรและควำมมนั่ คงทำง เศรษฐกิจ ในปี 1938 ฝ่ ำยสมั พนั ธมิตรมีประชำกรมำกกว่ำฝ่ ำยอกั ษะ 30% และอตั รำผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศมำกกว่ำฝ่ ำยอักษะ 30% ซึ่ง ทำใหฝ้ ่ ำยสมั พนั ธมติ รไดเ้ ปรียบทำงยทุ ธศำสตรม์ ำกกว่ำ 5:1 ในดำ้ นจำนวนประชำกรและอตั รำผลิตภณั ฑม์ วลรวมคดิ เป็ น 2:1] ในทวีปเอเชีย จีนนน้ั มีประชำกรเป็ นหกเท่ำของญี่ป่ ุน และมีอตั รำผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศมำกกว่ำญี่ป่ ุนไป 89% แตถ่ ำ้ หำก รวมเอำอำณำนคิ มของญ่ีป่ ุนเขำ้ ไปดว้ ย ควำมแตกตำ่ งของจำนวนประชำกรจะลดลงเหลือเพียงสำมเท่ำและควำมกำ้ วหนำ้ ของผลิตภณั ฑ์มวลรวม ในประเทศลดลงเหลือ 38%[ แมค้ วำมแตกตำ่ งระหว่ำงทงั้ สองฝ่ ำยจะมมี ำก แตฝ่ ่ ำยอกั ษะก็สำมำรถตดั กำลงั ฝ่ ำยสมั พนั ธมติ รไดด้ ว้ ยบลิทซครีกของเยอรมนแี ละ ญี่ป่ ุนหลำยคร้ัง ทว่ำควำมไดเ้ ปรียบทำงเศรษฐกิจและประชำกรของฝ่ ำยสัมพันธมิตรไดก้ ลำยมำเป็ นปัจจัยแตกหักจนถึง ค .ศ. 1942 หลัง สหรัฐอเมริกำและสหภำพโซเวียตเขำ้ ส่สู งครำม โดยสงครำมไดเ้ ปล่ียนไปเป็ นสงครำมแห่งควำมสญู เสีย ช่วงปลำยสงครำม ฝ่ ำยสัมพันธ มิตร สำมำรถชว่ งชิงควำมไดเ้ ปรียบทำงเศรษฐกิจไดด้ ว้ ยกำรเขำ้ ยึดแหลง่ ทรัพยำกรธรรมชำติ และปัจจัยอื่น ๆ ไดแ้ ก่ ควำมไมเ่ ต็มใจขอ งเยอรมนแี ละ ญ่ีป่ ุนท่ีจะเกณฑแ์ รงงำนสตรี] และกำรเปล่ียนแปลงไปส่เู ศรษฐกิจสงครำมในตอนปลำย] เยอรมนีและญี่ป่ ุนนน้ั แทจ้ ริงแลว้ ไม่ไดเ้ ตรียมกำรอย่ำง เหมำะสมสำหรับสงครำมยืดเย้ือและไม่มีขีดควำมสำมำรถใด ๆ เลยที่จะทำเช่นนั้น เพื่อท่ีจะเพิ่มกำรผลิต เยอรมนีและญี่ป่ ุนจำเป็ นตอ้ งอำศัย แรงงำนจำกประเทศท่ีตนเองสำมำรถยึดครองไดม้ ำใชแ้ รงงำนนบั ลำ้ น โดยพบว่ำเยอรมนไี ดม้ ีกำรใชแ้ รงงำนทำสกว่ำ 12 ลำ้ นคน ซ่ึงสว่ นใหญ่มำ จำกยโุ รปตะวนั ออก และญ่ีป่ ุนไดม้ ีกำรใชแ้ รงงำนทำสเอเชียตะวนั ออกไกลกว่ำ 18 ลำ้ นคน

บทที่ 4 ผจู้ ดั ทา และอา้ งอิง

จดั ทาโดย นำงสำว จฑุ ำลกั ษณ์ เงนิ ยวง เลขท่ี 9 ศึกษำชน้ั ม.6/7 โรงเรียนดอนเมืองทหำรอำกำศบำรงุ

อำ้ งอิง 1. th.wikipedia.org/wiki/สงครำมโลกครงั้ ทสี่ อง#หลงั สงครำม 2. th.wikipedia.org/wiki/รำยชอ่ื ปฏิบตั กิ ำรทำงทหำรระหวำ่ งสงครำมโลกครง้ั ที่สอง

ขอขอบคณุ มำ ณ ทนี่ ี้ สำหรับผทู้ ่มี สี ว่ นร่วมในกำร สรำ้ งหนงั สอื ออนไลนเ์ ลม่ น้ี และขอบคณุ ผอู้ ำ่ นทกุ ทำ่ น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook