ปัจจยั ทางภูมิศาสตร์กบั การต้งั ถิ่นฐาน อารยธรรม โรมันกาเนดิ ใน บรเิ วณ คาบสมทุ ร อติ าลี ซ่ึงตัง้ อยู่ ทางตอนใตข้ อง ทวปี ยโุ รป โดย มลี กั ษณะเป็น แหลมยน่ื ลงไป ในทะเล เมดิเตอร์ เรเนยี น
ลกั ษณะภูมิประเทศ ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและเนินเขา ไดแ้ ก่ เทือกเขาแอลป์ ทาง ทิศเหนือ และเทือกเขาแอเพนไนน์ ซ่ึงเป็นแกนกลางของคาบสมุทร
ส่วนบริเวณท่ีราบมีนอ้ ย ที่ราบสาคญั ไดแ้ ก่ ท่ีราบชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ท่ีราบลุ่มแม่น้าไทเบอร์ ซ่ึงเป็นที่ต้งั ของกรุงโรมปัจจุบนั และที่ราบลุ่มน้าโปซ่ึง อยทู่ างเหนือ
เน่ืองจากลกั ษณะภูมิประเทศ บริเวณตอนกลางของ คาบสมุทรเป็นท่ีราบเลก็ ๆ จึง ทาใหก้ ารต้งั ถ่ินฐานของ ชุมชนอยอู่ ยา่ งกระจดั กระจาย เป็นชุมชนเลก็ ๆ พ้ืนที่ การเกษตรมีไม่มาก และเมื่อ ประชากรเพิม่ ข้ึน จึงเป็น สาเหตุใหช้ าวโรมนั ขยาย ดินแดนไปยงั ดินแดนอ่ืนๆ
คาบสมุทรอิตาลีมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน สภาพอากาศอบอุ่น มีฝนตก ในฤดูหนาว และอากาศแหง้ แลง้ ในฤดูแลง้
เป็นดินแดนท่ีมีทรัพยากรแร่อุดมสมบูรณ์ เช่น เหลก็ สงั กะสี เงิน หินอ่อน ยปิ ซมั เกลือ และโพเทซ นอกจากน้ียงั มีทรัพยากรป่ าไม้ ส่วนทรัพยากรดินมี จานวนจากดั เน่ืองจากลกั ษณะภูมิประเทศมีพ้นื ท่ีไม่เพยี งพอต่อการต้งั ถิ่นฐาน และตอ้ งแยง่ ชิงกบั ชนกลุ่มอื่นๆ ดว้ ย นอกจากน้ีดินแดนคาบสมุทรอิตาลี ยงั สามารถเดินเรือคา้ ขายในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไดส้ ะดวก
ปัจจยั ทางภูมิศาสตร์ส่งผลใหช้ าวโรมนั เป็นคนขยนั อดทน มีระเบียบวินยั ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบอยา่ งเคร่งครัด สามารถขยายอาณาเขตยดึ ครองดินแดน อื่นๆ ไดส้ าเร็จ เช่น ดินแดนของพวกอิทรัสกนั ดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เร เนียน ทาใหช้ าวโรมนั ไดร้ ับอารยธรรมจากดินแดนอ่ืนๆ ท่ึยดึ ครองมา ผสมผสานกบั อารยธรรมของตนเอง
ประวตั ิชนชาติโรมนั กรุงโรมสร้างโดยชาวเมืองทรอย ที่ช่ือวา่ “อีเนียต” (Aeneid) ซ่ึง มาจากมหากาพยอ์ ีเนียตของเวอร์จิล (Virgil) นกั ประพนั ธ์ผู้ ยงิ่ ใหญ่ของโรม ไดก้ ล่าวถึงตานานการสร้างกรุงโรมวา่ โอรส แฝด 2 พระองคข์ องนางซิลเวยี ไดถ้ ูกอมูลิอุสนาใส่ตะกร้าลอยน้า ไปติดอยตู่ รงเนินพาลาไตน์ แลว้ มีหมาใน (หมาป่ า) ตวั หน่ึงเอา นมของตนใหก้ ิน จากน้นั กม็ ีชายเล้ียงแกะมานาโอรส ท้งั 2 ไปเล้ียง
โดยใหช้ ่ือวา่ “โรมิวลสุ และ เรมุส” ซ่ึงต่อมาท้งั สองไดช้ ่วยกนั สร้างกรุงโรมข้ึนในปี 753 B.C. ดว้ ยเหตุน้ีคนอิตาลีที่ไม่ชอบโรมนั จึงเรียกพวกโรมนั วา่ “พวกลูกหมาใน”
ประวตั ิศาสตร์โรมนั อารยธรรมโรมนั เป็นอารยธรรมของพวกอินโด – ยโู รเปี ยน ท่ี อพยพเขา้ มาต้งั ถ่ินฐานในคาบสมุทรอิตาลี เม่ือประมาณ 2000 – 1000 B.C. ต่อมาบริเวณน้ีจึงไดช่ือวา่ “ท่ีราบละติอุม” โดยพวก ละตินกลุ่มน้ีไดส้ ร้างกรุงโรม ข้ึนบนฝ่ังแม่น้า ไทเบอร์เม่ือ 753 B.C. และทาใหช้ าวละตินกลุ่มน้ี มีชื่อเรียกอีกชื่อหน่ึงวา่ “โรมนั ” หรือ “อารยธรรมละติน”
ประวตั ิศาสตร์การปกครองของโรมนั จะแบ่ง 3 ยคุ ไดแ้ ก่ 1. ยุคกษตั ริย์/อมิ พเิ รียล (753 – 509 B.C) ในศตวรรษท่ี 8 B.C. ไดม้ ีชุมชนของชาวละติน ซ่ึงสนั นิษฐานวา่ เป็นคนพ้นื เมืองในแหลมอิตาลี ต้งั อยู่ รอบเนินเขาต่างๆ ในแถบลุ่มแม่น้าไทเบอร์ (Tiber) และต้งั สถานท่ี ชุมนุม เรียกวา่ “ฟอรัม” (Forum) ในบริเวณท่ีต้งั ของกรุงโรม ใน ค.ศ. 625 B.C. ชุมชนละตินไดถ้ ูกพวกอิทรัสกนั (Etruscan) ซ่ึงเป็นกลุ่มทหารรับจา้ งจากเอเชียนอ้ ย ไดเ้ ขา้ ยดึ ครองภาคเหนือและ ภาค ตต.ของแหลมอิตาลี รวมท้งั เขา้ ยดึ ครองกรุงโรมและทาการ ปกครองในระบอบกษตั ริย์
ส่ิงที่ชาวโรมนั ไดร้ ับมรดกจากพวกอีทรัสกนั มีดงั น้ี 1. การก่อสร้างโดยใชห้ ิน 2. การก่อสร้างประตูโคง้ (Arches), อโุ มงค์ (Vaults) และรูป โดมหรือวงกลม (Dome) 3. วธิ ีเกบ็ กกั น้า และการทาท่อระบายน้า 4. วธิ ีการทานาย โดยการตรวจดูร่างกายสตั ว์ หรือสงั เกตการบินของนก 5. วธิ ีเดินทพั แบบฟาแลง็ ซ์ 6. การต่อสูแ้ บบกลาดิเอเตอร์
เทคนิคการสร้างซุม้ ประตูโคง้ (arch)
จากการที่กษตั ริยอ์ ีทรัสกนั ปกครองโรมนั อยา่ งกดข่ี ทาใหพ้ วกแพททริเซียน ซ่ึงเป็นกลุ่มชนช้นั สูงชาวโรมนั ขบั ไล่ พวกอีทรัสกนั ออกไปจากกรุงโรมไดส้ าเร็จในปี 509 B.C. จากน้นั จึงต้งั คณะรัฐบาลของตนแลว้ เปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบ กษตั ริย์ มาเป็นระบอบสาธารณรัฐ และดารงอยตู่ ่อ มานานถึง 500 ปี
2. สาธารณรัฐโรมัน (509 – 27 B.C) แบ่งออกเป็น 2 ยคุ คือ 2.1 สมยั สาธารณรัฐตอนต้น หวั ใจของการปกครองจะอยทู่ ่ีสภาขนุ นาง (Senate) โดยแบ่งรูปแบบการปกครอง ไดด้ งั น้ี 1) สภาขุนนาง (Senate) เป็นสถาบนั ทางการเมืองท่ี สาคญั ท่ีสุด โดยมีสมาชิกประมาณ 300 คน ส่วนใหญ่ มาจากพวกแพทริเซียน สภาน้ีมีหนา้ ท่ีใหค้ าแนะนา แก่ฝ่ ายบริหาร รวมท้งั มีสิทธิท่ีจะอนุมตั ิหรือโตแ้ ยง้ ขอ้ เสนอของเจา้ ท่ีบริหารไดท้ ุกฝ่ าย
2) กงสุล (Consul) เป็นประมุขของเจา้ หนา้ ท่ีฝ่ ายบริหาร ซ่ึงมี 2 คน เลือกต้งั โดยสภาขนุ นางและสภาสามญั 3) ผู้เผดจ็ การทหาร (Dictatior) เป็นตาแหน่งท่ีเกิดข้ึน เฉพาะในยามท่ีบา้ นเมืองมีเหตุร้ายเร่งด่วนหรือในช่วงสงคราม และจะสลายไปเม่ือเหตุการณ์กลบั เขา้ สู่ภาวะปกติ โดยจะอยใู่ น ตาแหน่งไม่เกิน 6 เดือน 4) สภาสามญั (Centuriate Assembly) ทาหนา้ ท่ีในการเลือกกงสุล และเจา้ หนา้ ที่ ฝ่ ายบริหารทุกตาแหน่ง แต่ไม่มีสิทธิที่จะ เขา้ รับตาแหน่งน้นั ๆ
ราษฎรของโรมนั แบ่งออกเป็น 2 ชนช้นั คือ 1) แพทรีเซียน (Patrician) คือ ชนช้นั สูง หรือ พวกขนุ นางมง่ั คง่ั เป็นเจา้ ของที่ดิน และเป็นพวกเดียวที่มีสิทธิทางการเมือง และการบริหารของรัฐ 2) พลเี บียน (Plepians) คือ สามญั ชน ชาวนา พอ่ คา้ ช่างฝีมือ เสมียน ฯลฯ ซ่ึงเป็นพวกท่ีไม่มีสิทธิทางการเมือง และ ตอ้ งข้ึนอยกู่ บั พวกแพทริเซียน
พวกพลีเบียนมกั ถูกเอาเปรียบท้งั ดา้ นการเมืองและสงั คม ซ่ึงความเหล่ือมล้าระหวา่ ง 2 ชนช้นั ทาใหพ้ วกพลีเบียนไม่พอใจ จึงรวมตวั กนั เพื่อเรียกร้องสิทธิความเป็นพลเมืองใหเ้ ท่าเทียมกบั แพทริเซียน โดยใชเ้ วลานานกวา่ 2 ศตวรรษ จนในท่ีสุด พวกพลี เบียนกป็ ระสบชยั ชนะอยา่ งสมบูรณ์ในช่วงประมาณ 363 B.C.
ในปี 470 B.C. พวกพลีเบียนไดร้ ้องขอสิทธ์ิในการ ปกครองจากพวกแพทริเซียนดว้ ยการจดั ต้งั คณะทรีบูนข้ึน ซ่ึงเป็น พวกพลีเบียน 2 คน ที่เขา้ ไปนงั่ ควบคุมสภาซีเนท เพ่ือคอยดูแล และปกป้องผลประโยชนใ์ หก้ บั พลีเบียนในศาล โดยสามารถวโี ต้ (Veto) หรือคดั คา้ นกฎหมายท่ีจะออกมาขดั ผลประโยชน์ของเขา ได้ ซ่ึงชยั ชนะคร้ังน้ีไดน้ ามาซ่ึงความสาเร็จในการเรียกร้องใหพ้ วก แพทริเซียนรวบรวมกฎหมายของโรมนั เป็นลายลกั ษณ์อกั ษรเป็ น คร้ังแรกเม่ือปี 449 B.C. โดยมีการจารึกลงบนแผน่ ทองแดง 12 แผน่ แลว้ นาไปติดที่ฟอรัม เพือ่ ประกาศใหร้ าษฎรทุกคนทราบ เรียกวา่ “กฎหมาย 12 โตะ๊
กฎหมายน้ีถือวา่ มีความสาคญั ยง่ิ เพราะทาใหท้ ้งั พวกพาทรีเชียน และเพลเบียนอยภู่ ายใตก้ ฎหมายเดียวกนั มีการแผยแพร่แผน่ จารึก ในฟอรัม และเดก็ ๆ ชาวโรมนั ถูกบงั คบั ใหท้ ่องจามาตราต่างๆ จนข้ึนใจ
สภาเผา่ (Tribal Assernbly) คือ สภาของพวกพลีเบียน โดยเฉพาะ เพื่อใหเ้ ป็นสภาท่ีมีสิทธิในการออกกฎหมายและแต่ ต้งั ทรีบูน ซ่ึงมีสมาชิก 10 คน ชยั ชนะข้นั สุดทา้ ยของพวกพลีเบียนเกิดข้ึนในปี 287 B.C. ดว้ ยการผา่ น พรบ. “Hortensian Law” ซ่ึงไดก้ าหนดวา่ ระเบียบ หรือขอ้ บงั คบั ต่างๆ ที่ออกโดยสามญั ชน (พลีเบียน/ชนช้นั ต่า) ไม่ จาเป็นตอ้ งใหส้ ภาซีเนท (แพทริเซียน/ชนช้นั สูง) เห็นชอบดว้ ย ก็ เท่ากบั วา่ สภาซีเนทไม่มีอานาจยบั ย้งั อีกต่อไป ซ่ึงแสดงใหเ้ ห็นถึง ความเท่าเทียมอยา่ งสมบูรณ์ และถือวา่ เป็น การสิ้นสุดการต่อสู้ระหวา่ งชนช้นั ของอาณาจกั รโรมนั ดว้ ย
การขยายอานาจของโรมนั ในแหลมอิตาลี พวกโรมนั ไดท้ าสงครามขยายอานาจลงไปทางตอนใตข้ องแหลม อิตาลี ซ่ึงเป็นเขตยดึ ครองของพวกกรีก ดงั น้นั กรีกจึงขอความ ช่วยเหลือจากกษตั ริยไ์ พรัสแห่งเอปิ รัส ซ่ึงเป็นกษตั ริยแ์ ห่งนครรัฐ กรีก โดยในระยะแรกกษตั ริยไ์ พรัสทรงไดร้ ับ ชยั ชนะ แต่กองทพั ของพระองคก์ ไ็ ดร้ ับ ค.เสียหาย อยา่ งมาก จนเกิดเป็นสานวนที่วา่ “Pyrrhic Victiory” หมายถึง ชยั ชนะที่ไดม้ าอยา่ งท่ีตวั เอง ตอ้ งเสียหายอยา่ งยบั เยนิ ภายหลงั โรมกม็ า เป็นฝ่ ายชนะ และสามารถยดึ ครองอิตาลี ไดท้ ้งั หมดนบั ต้งั แต่ปี 265 B.C. เป็นตน้ มา
ความขดั แยง้ ระหวา่ งโรมนั กบั คาร์เทจ คาร์เทจเป็นดินแดนที่อยใู่ นภาคเหนือของแอฟริกา โดยเป็นอาณา นิคมของชาวฟิ นิเซียนมาก่อน เม่ือฟิ นิเซียนหมดอานาจ คาร์เทจไดต้ ้งั ตนเป็นอิสระ มีความเจริญ มากทางการคา้ และเป็นผผู้ กู ขาดการคา้ ในแถบทะเล เมดิเตอร์เรเนียน
สงครามฟิ วนิค เป็นสงครามในการแยง่ ชิงชิชิลีระหวา่ งโรมกบั คาร์เทจ ผลของ สงครามในคร้ังน้ีทาใหโ้ รมเป็นมหาอานาจในทะเลเมดิเตอร์เร เนียน ในฐานะเป็นผชู้ นะแทนท่ีคาร์เทจ ซ่ึงหมดอานาจลง นบั ต้งั แต่ปี 146 B.C. เป็นตน้ มา หลงั จากน้นั โรมยงั ไดค้ รอบครองรัฐ เฮเลนิสติกทาง ตอ. และดินแดนฝ่ังทะเล เมดิเตอร์เรเนียน ทาใหโ้ รมมีอานาจ สูงสุดในขณะน้นั
2.2 สมัยสาธารณรัฐตอนปลาย • ในสมยั จูเลียส ซีซาร์ ไดช้ ่ือวา่ เป็นสมยั ที่ยงุ่ ยากท่ีสุดใน ปวศ. โรมนั ในสมยั น้ีรัฐบาลจะตอ้ งทาหนา้ ท่ีในการหาสิ่งบนั เทิงใหก้ บั ประชาชน ดงั น้นั รัฐจึงไดต้ ้งั โคลอสเซียม ซ่ึงสามารถจุผชู้ มได้ หลายหม่ืนคน เพอ่ื ใชเ้ ป็นสถานที่แสดงการต่อสูร้ ะหวา่ ง คนกบั คน หรือ คนกบั สตั ว์ รวมถึงการแสดงส่ิงบนั เทิง อื่นๆ
2.2 สมยั สาธารณรัฐตอนปลาย • ในช่วงปี 73 ก่อนคริสตกาล สปาร์ตาคสั ทาสชาวเธรซ ไดเ้ ป็น ผนู้ าในการรวบรวมทาสจากชนชาติต่างๆ ที่ถูกโรมนั กดข่ีข่มเหง ประมาณ 70,000 คน ก่อการกบฏข้ึน ผลปรากฏวา่ สปาร์ตาคสั ถูก ฆ่าตายในสนามรบ ส่วนพวกทาสท่ีเหลืออีกประมาณ 6,000 คน ถกู จบั และถูกนาไปตรึงไวบ้ นไมก้ างเขน
การปกครองในสมยั ของซีซาร์ ซีซาร์ไดย้ กเลิกการปกครองตามระบอบสาธารณรัฐ โดยรวม อานาจท้งั จากกงสุล ตรีบูน และหวั หนา้ พระช้นั สูง มาอยทู่ ี่ตวั เขา แต่เพยี งผเู้ ดียว นอกจากน้ียงั แต่งต้งั คนของตนไปเป็นสมาชิก ของสภาซีเนทและขยายสิทธิความเป็ นพลเมือง โรมนั ไปยงั ดินแดนต่างๆ ทวั่ แหลมอิตาลี เพอ่ื ให้ อาณาจกั รโรมนั เป็นจกั รวรรดิของชนทกุ ชาติ ภายใตก้ ารปกครองของโรม
สาหรับทางดา้ นเศรษฐกิจและสังคม ซีซาร์ไดใ้ ชว้ ธิ ีขจดั ปัญความ ยากจนและการวา่ งงาน 4 วธิ ี ไดแ้ ก่ - ใชจ้ ่ายเงินส่วนตวั ใหร้ าษฎรท่ียากจน - ประกาศลดหน้ีสิน - หางานสาธารณะใหท้ าโดยจดั ใหม้ ีการ ก่อสร้างสาธารณูปโภคต่างๆ - จดั สรรที่ดินที่ไม่ไดใ้ ชป้ ระโยชนใ์ หแ้ ก่ คนวา่ งงานและทหารผา่ นศึก เพอ่ื ใชใ้ นการ ประกอบอาชีพ
ซีซาร์ยงั ไดท้ าการปรับปรุงปฏิทินใหม่ตามแบบปฏิทินสุริยคติ ของอียปิ ต์ มีช่ือวา่ “ปฏิทินจูเลียน” และใหช้ ่ือเดือน กรกฎาคม วา่ “July” ตามช่ือของเขา คือ “Julias”
3. สมัยจกั รวรรดิ เป็นช่วงหลงั จากการปกครองแบบสาธารณรัฐโรมนั สิ้นสุดลง โดยการยดึ อานาจของออคเตเวยี น ซ่ึงต่อมาไดส้ ถาปนาพระองคเ์ ป็น จกั รพรรดิพระองคแ์ รกของจกั รวรรดิโรมนั ทรงพระนามวา่ “ออกสั ตสั ซีซาร์” โดยทรงมีตาแหน่งเป็นผบู้ ญั ชาการสูงสุด ท้งั น้ีพระองคท์ รง ปฏิเสธที่จะเป็นผเู้ ผดจ็ การหรือคนสาคญั ของประเทศ ทรงเรียกพระองคเ์ องวา่ “ปรินเซปส์” (Princeps) หรือ ประชาชนคนท่ีหน่ึงของรัฐ สมยั น้ีจึงไดช้ ่ือวา่ “ปรินซิเปท” หรือยคุ ตน้ ของจกั รวรรดิโรมนั
ประติมากรรมรูปจกั รพรรดิออกสั ตสั
สมยั สนั ติโรมนั สมยั ออกสั ตสั เป็นสมยั ท่ีโรมนั เจริญรุ่งเรืองท่ีสุด เรียกวา่ “สมยั สนั ติโรมนั ” (Pax Romana) ซ่ึงเป็นยคุ ที่จกั รวรรดิโรมนั แผข่ ยาย อิทธิพลอยา่ งกวา้ งขวาง โดยรวมเอาประชากรหลายเช้ือชาติเขา้ ไว้ ดว้ ยกนั รวมท้งั ถือวา่ เป็นยคุ ที่มีความ สงบสุขและมีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุด ท้งั ทางดา้ นการเมือง เศรษฐกิจ และสงั คม ซ่ึงเป็นระยะเวลาถึง 200 ปี
วรรณคดี ลกั ษณะวรรณกรรมของโรมนั เป็นการ เลียนแบบมาจากกรีก ซ่ึงวรรณคดีของ โรมนั เจริญสูงสุดในสมยั จกั รพรรดิ ออกสั ตสั โดยไดช้ ่ือวา่ เป็น “ยคุ ทองของ วรรณกรรมโรมนั ” ในยคุ น้ีจึงมีนกั ประพนั ธ์ที่เด่น ๆ หลายคน เช่น
ชิเชโร เป็นบุคคลที่มีความสามารถหลายอยา่ ง โดยเป็นท้งั นกั เขียน นกั พดู ทนายความ นกั ปกครอง นกั ปรัชญา และเป็นผทู้ ี่ เรียบเรียงบทร้อยแกว้ เป็นภาษาละติน ซ่ึงมีท้งั ในรูปแบบของจดหมาย สุนทรพจน์ และเรียงความท่ีมีการใช้ ภาษาไพเราะสละสลวย โดยงานนิพนธ์ ของเขาไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็นตวั อยา่ ง ของบทร้อยแกว้ ท่ีดีท่ีสุด
กาโต เป็นนกั เขียนประเภทร้อยแกว้ ท่ีเขียนประวตั ิศาสตร์เป็น ภาษาละตินเป็ นคนแรก ซีซาร์ ซีซาร์ไดเ้ ขียนหนงั สือเกี่ยวกบั การปราบปราม พวกโกลไวใ้ น Commentaries on the Gallic War
โฮเรซ เป็นนกั ประพนั ธ์ท่ีมีผลงานคลา้ ยกบั เวอร์จิล ซ่ึงจะพรรณนา เก่ียวกบั ชีวติ ชาวไร่ชาวนา และชนบทของโรม ผลงานเด่นของ เขาคือ มหากาพยอ์ ีเนียต ซ่ึงมีความยาวประมาณ 12 เล่ม โดยเป็น มหากาพยท์ ่ีเขียนข้ึนเพือ่ เทิดทูนจกั รพรรดิออกสั ตสั แทกซิตุส ไดเ้ ขียนเร่ือง Germania ซ่ึงเล่าเก่ียวกบั ชีวติ ของคนเผา่ เยอรมนั วา่ ดารงชีวติ อยา่ งง่ายๆ
ศาสนา ในสมยั สาธารณรัฐโรมนั ไดม้ ีการรับเอาความเช่ือทางศาสนาใน เร่ืองเทพเจา้ ของกรีกเขา้ มา โดยชาวโรมนั ไดแ้ ปลงช่ือเทพเจา้ ของ กรีกมาเป็นเทพเจา้ ของโรมนั เช่น
เทพเจา้ กรีก : ซีอุส (Zeus) เทพเจา้ โรมนั : จูปี เตอร์ (Jupiter) ความสาคญั : เป็นหวั หนา้ เทพเจา้ , เทพเจา้ แห่งทอ้ งฟ้า
เทพเจา้ กรีก : เฮอร์มีส (Hermes) เทพเจา้ โรมนั : เมอร์คิวรี (Mercury) ความสาคญั : เทพเจา้ แห่งโจร, พอ่ คา้
เทพเจา้ กรีก : แอโฟรไดรที (Aphrodite) เทพเจา้ โรมนั : วนี สั (Venus) ความสาคญั : เทพีแห่งความรักและความงาม
เทพเจา้ กรีก : ดิมิเตอร์ (Demeter) เทพเจา้ โรมนั : ซีริส (Ceres) ความสาคญั : เทพีแห่งการเกบ็ เก่ียวพนั ธุ์
เทพเจา้ กรีก : อะธีนา (Athena) เทพเจา้ โรมนั : มิเนอร์วา (Minerva) ความสาคญั : เทพแี ห่งสติปัญญาและการคา้
เทพเจา้ กรีก : เฮอร์คิวลี (Heracles/Hercules) เทพเจา้ โรมนั : เฮสสิโอ (Heseules) ความสาคญั : โอรสของจูปี เตอร์/เทพแห่งความแขง็ แกร่ง
เทพเจา้ กรีก : โพไซดอน (Poseidon) เทพเจา้ โรมนั : เนปจูน (Neptune) ความสาคญั : เทพแห่งทอ้ งทะเล
กฎหมาย กฎหมายถือวา่ เป็นมรดกชิ้นสาคญั ที่สุดท่ีโรมนั ไดใ้ หไ้ วแ้ ก่โลก โดยมีพฒั นาการเริ่มจากกฎหมายลกั ษณะแพง่ และกฎหมาย มหาชนตามลาดบั จนกระทงั่ ในปี 449 B.C. พวกแพทริเซียนไดร้ วบรวมกฎหมาย ท้งั สองเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรเป็นคร้ังแรก ซ่ึงเรียกวา่ “กฎหมาย 12 โตะ๊ ” หลงั จากน้นั ไดม้ ีการปรับปรุงแกไ้ ขกฎหมายใหม้ ี ความกา้ วหนา้ และทนั สมยั เร่ือยมา จนมาถึง กฎหมายฉบบั สุดทา้ ยของจกั รพรรดิจสั ติเนียน เรียกวา่ “ประมวลกฎหมายจสั ติเนียน”
กฎหมายโรมนั จึงไดช้ ื่อวา่ มีความเที่ยงตรง ยตุ ิธรรม ใหเ้ สรีภาพ และมีมนุษยธรรม โดยหลกั ใหญ่ที่ถือเป็นแนวปฏิบตั ิอยทู่ ่ีวา่ “บุคคลยอ่ มเป็นผบู้ ริสุทธ์ิอยเู่ สมอ จนกวา่ จะไดม้ ีการพิสูจนแ์ ลว้ ” ซ่ึงเป็นท่ียอมรับมาจนถึงทุกวนั น้ี ซ่ึงกฎหมายโรมนั มีอิทธิพล อยา่ งมากต่อกฎหมายของประเทศฝร่ังเศส อิตาลี และสเปน
การแพทย์ ชาวโรมนั มีความสามารถทางดา้ นการแพทยเ์ ป็นอยา่ งมาก โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ทางดา้ นสูติกรรม นน่ั คือ การผา่ ตดั ทาคลอด ทางหนา้ ทอ้ ง ซ่ึงเช่ือกนั วา่ “จูเลียส ซีซาร์” เป็นทารกคนแรกที่ คลอดดว้ ยวธิ ี ดงั น้นั จึงเรียกการผา่ ตดั แบบน้ีวา่ “การผา่ ตดั แบบซีซาร์”
ภาษา ภาษาราชการของจกั รวรรดิโรมนั คือ ภาษาละติน ซ่ึงต่อมาภาษา น้ีไดก้ ลายเป็นตน้ กาเนิดของภาษาโรมานซ์สมยั ใหม่ ไดแ้ ก่ - ภาษาอิตาลี - ภาษาฝร่ังเศส - ภาษาสเปน - ภาษาโปรตุเกส - ภาษาโรมาเนีย
สิ่งก่อสร้าง ถนน และสถาปัตยกรรม ชาวโรมนั เป็นชาติท่ีมีความเจริญในเร่ืองสุขาภิบาล ซ่ึงจะเห็นได้ จากที่มีการสร้างที่อาบน้าสาธารณะข้ึนเป็นจานวนมาก รวมท้งั มีการจดั ระบบระบายน้าเสีย และมีการทาท่อส่งน้าเพ่ือเป็น เสน้ ทางยทุ ธศาสตร์ทางทหาร ช่วยใหก้ ารเดินทางมีความสะดวก รวดเร็ว ช่วยในการติดต่อส่ือสารของรัฐบาล และเพื่อประโยชน์ ในการคา้ ขาย
Search