Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 14 หน่วยที่ 5 ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ (ใหม่)

14 หน่วยที่ 5 ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ (ใหม่)

Published by jidayadum, 2022-01-26 01:13:25

Description: 14 หน่วยที่ 5 ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ (ใหม่)

Search

Read the Text Version

❖ ❖ ❖ ❖ ❖ ❖ ❖ ❖





❖ ❖ ❖ ❖

❖ ❖

❖ ❖ ❖ กองทัพรัสเซียพยายามรวมพลสู้รบกับกองทัพเยอรมัน อีกในปี ค.ศ. 1916 แตก่ เ็ ปน็ ฝา่ ยพา่ ยแพ้อกี

❖ ❖ ฝ่ายมหาอานาจกลางในปี ค.ศ. 1915 กองทัพมหาอานาจกลางกส็ ามารถเขา้ ยดึ ครองประเทศเซอร์เบีย แอลเบเนีย และมอนเตเนโกรไดใ้ นเวลาต่อมา

❖ ❖ ❖ ❖

โทรเลขซมิ เมอรม์ านน์ เป็นขอ้ เสนอทางการทูตระหว่างจกั รวรรดิ เยอรมันและเมก็ ซโิ กในปี พ.ศ. 2460 ท่ีเสนอให้เมก็ ซโิ กเข้ารว่ ม เปน็ พนั ธมติ รกบั เยอรมนีในกรณีทส่ี หรฐั อเมริกาเข้าร่วมกบั ฝ่าย ไตรภาคี ซึ่งเปน็ ฝ่ายทต่ี อ่ ตา้ นเยอรมนใี นสงครามโลกครั้งที่ หน่ึง ข้อเสนอดงั กล่าวถกู ดกั จบั และถอดรหสั โดยหนว่ ยสืบราชการ ลับของสหราชอาณาจักร เนอ้ื ความของขอ้ เสนอทีถ่ กู เปดิ เผยในเวลา ตอ่ มาสรา้ งความไมพ่ อใจใหแ้ กส่ าธารณชนชาวอเมริกันเป็นอยา่ ง มาก ประธานาธบิ ดวี ูดโรว์ วิลสัน ตอบสนองด้วยการตดิ ยุทโธปกรณส์ งครามแกเ่ รอื พาณิชย์อเมรกิ ันเพอ่ื เปน็ การป้องกัน เรอื ดา้ น้าของเยอรมนั หลงั จากที่ถูกโจมตีบ่อยครั้ง และยงั สง่ ผลให้สหรัฐอเมรกิ าประกาศสงคราม ตอ่ เยอรมนใี นเดอื นเมษายนของปีเดียวกัน[1]

❖ ❖ ❖ ❖

❖ ❖ ❖

สงครามโลกครั้งที่ 1 มีทหารทั้งฝ่ายสัมพันธมิตรและ ฝา่ ยมหาอานาจกลางเขา้ ร่วมประมาณ 65 ล้านคน การรบทเ่ี กดิ ความสูญเสียครั้งสาคัญ คือ ยุทธการที่ แวร์เดงิ และยทุ ธการที่ซอม ทาใหท้ หารทัง้ สองฝา่ ยเสียชีวติ บาดเจบ็ และถูกจับเป็นเชลยกวา่ 1.5 ลา้ นคน นอกจากนีย้ ังทาให้สูญเสยชีวิตพลเรือนนับลา้ นคน ทา ให้เกดิ ปัญหาชนพลัดถ่นิ ปัญหาโรคจติ ทีเ่ กดิ จากความกลัวภัย สงคราม และปัญหาผบู้ าดเจบ็ และทุพพลภาพเปน็ จานวนมาก

ยุโรปอ่อนแอลงประเทศมหาอานาจกลาง เช่น เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และตุรกี ซง่ึ เป็นฝ่ายแพส้ งคราม ต้องล่มสลาย โดยตอ้ งเสียอาณานิคม ดนิ แดนในครอบครอง อิทธพิ ลทางการคา้ และถูกลดกาลังทหารและอาวุธลง ประเทศ ที่ชนะสงครามในยุโรปกป็ ระสบปัญหาจากสงครามเช่นกัน เพราะสมรภูมิรบอยใู่ นอยูย่ โุ รป และเปน็ ผลให้เกดิ มหาอานาจ ใหม่ขึน้ สหรัฐอเมรกิ า และ ญีป่ ุ่น

ดินแดนของจักรวรรดอิ อสเตรีย-ฮังการี แบง่ แยก ออกเปน็ ประเทศออสเตรีย และ ประเทศฮังการี บางสว่ นแยก เปน็ ประเทศใหม่ ไดแ้ ก่ ประเทศเชโกสโลวาเกยี และ ยูโกสลาเวีย จักรวรรดริ ัสเซียแยกเป็นประเทศเอกราช ได้แก่ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย และ ลิทัวเนีย จักรวรรดอิ อตโตมัน แยกเป็นประเทศแอลเบเนีย

เชน่ ปืนใหญ่ ปืนกล แก๊สพิษ รถถัง เรอื ดาน้า โดยเฉพาะเครือ่ งบนิ ประเภทตา่ งๆ นาปไปสู่การประดิษฐ์ เครือ่ งบนิ โดยสารในเวลาต่อมา

ออสเตรีย เปลีย่ นการปกครองเปน็ สาธารณรัฐ เรียกว่า “สาธารณรัฐออสเตรียที่ 1” เยอรมนี เปลีย่ นการปกครองเป็นสาธารณ ตอ่ มาเรียกวา่ “สาธารณรัฐไวมาร์” (Weimar Republic) รัสเซีย เปลี่ยนการปกครองเป็นระบอบสังคมนยิ ม โดย เปลี่ยนชือ่ ประเทศเปน็ “สหภาพสาธารณรัฐสังคมนยิ มโซเวียต” เมือ่ ค.ศ. 1918 เนื่องจากการทาสงครามยาวนานทาให้เกดิ ภาวะขาดแคลน และรัฐบาลไม่สามารถแก้ไข ได้ ประกอบกับการพ่ายแพ้ในการรบบอ่ ยๆ ชาวรัสเซียจึงกอ่ การปฏิวัติข้นึ กอ่ นสงครามโลกจะยุตลิ ง อียิปต์ ปาเลสไตน์ จอร์แดน และอริ ัก เปลี่ยนเปน็ รัฐในอารักขาของอังกฤษ ซีเรีย และ เลบานอน อยู่ในอารักขาของฝรัง่ เศส

ประเทศผแู้ พส้ งครามเมือ่ ถูกลงโทษดว้ ย การเสียดนิ แดน สูญเสียแหล่งทรัพยากร และ ตอ้ งจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามอย่างหนัก สรา้ ง ความไมพ่ อใจเปน็ อยา่ งยิง่ วา่ ไม่ไดร้ ับความเปน็ ธรรม และเปน็ สาเหตุหนงึ่ ทท่ี าใหเ้ กิด สงครามโลกครั้งที่ 2 ขึ้น

ประเทศทั้งหลายตระหนักถงึ ความหายนะของ สงคราม และพยายามที่จะหาทางไม่ให้เกิดสงครามอีก ผูน้ าแต่ละประเทศตา่ งต้องการเจรจาทาสัญญาสันตภิ าพ โดยจัดตั้งองคก์ ารระหว่างประเทศ “สันนิบาตชาติ” ขน้ึ

เปน็ องคก์ ารระหว่างประเทศจัดตัง้ ขึน้ เพื่อแก้ไขความขัดแยง้ ระหว่างประเทศ ปอ้ งกัน มิให้เกดิ สงครามโลกครัง้ ใหม่ และจรรโลงสันตภิ าพของโลก จัดตั้งขน้ึ ตามหลักการ 14 ขอ้ ของประธานาธบิ ดีวูดโรว์ วิลสัน แหง่ สหรัฐอเมริกา เมื่อ ค.ศ. 1918 โดยมีสมาชกิ เปน็ ฝา่ ยชนะ ในสงครามโลกครัง้ ที่ 1 ยกเว้น สหรัฐอเมรกิ า สว่ นประเทศผูแ้ พส้ งครามก็ได้ทยอย เขา้ เปน็ สมาชิก

องคก์ ารสันตบิ าตชาตไิ ดแ้ ก้ไขข้อขัดแยง้ ระหวา่ งประเทศไดส้ าเร็จหลายกรณี ไดแ้ ก่ 1. กรณหี มูเ่ กาะโอลันต์ เป็นความขัดแยง้ ระหวา่ ง สวีเดน กับ ฟินแลนด์ ทแ่ี ย่งกันครอบครอง หมูเ่ กาะโอลันต์ ซง่ึ เกาะโอลันตเ์ ปน็ เกาะทีอ่ ยูใ่ นทะเลบอลตกิ ระหว่างสวีเดนกับฟนิ แลนด์ สวีเดนเรียกรอ้ งท่จี ะผนวกเข้าเปน็ สว่ นหนึง่ ของสวีเดน โดยอา้ งว่าเปน็ ความตอ้ งการของ ทอ้ งถิน่ แตอ่ งค์การสันนบิ าตชาติพิจารณาให้ฟินแลนดค์ รอบครองหมู่เกาะโอลันต์ โดยให้ รัฐบาลฟนิ แลนดใ์ หส้ ทิ ธปิ กครองตนเองแต่คนทอ้ งถน่ิ ส่วนใหญ่สืบเชื้อสายจากชาวสวีเดน

2. กรณพี ิพาทระหว่างกรีซกับบัลแกเรีย ใน ค.ศ. 1925 ทีเ่ กิด จากกองโจรมาซโิ ดเนียในบรเิ วณพรมแดนของประเทศทัง้ สอง ซึ่งทาใหเ้ จา้ หน้าที่ของกรีซเสียชีวติ 1 คน กรีซจงึ ส่งกองทัพบุก บัลแกเรยี องค์การสันนิบาตชาติจึงไกลเ่ กล่ยี ยุติการส้รู บได้ สาเร็จ 3. กรณพี พิ าทระหว่างยูโกสลาเวียกับแอลเบเนีย ใน ค.ศ. 1921 4. กรณพี ิพาทระหวา่ งโคลัมเบียกับเปรู ใน ค.ศ. 1933

ความลม้ เหลวขององค์การสันตบิ าตชาติ เกดิ จากการที่องค์การสันนิบาตชาติไม่ สามารถแก้ไขปัญหาทม่ี ีชาติมหาอานาจเข้ามาเกี่ยวขอ้ ง และมีผลประโยชน์อยูด่ ว้ ย องคก์ าร สันนิบาตชาติไมม่ ีอานาจบังคับใหป้ ระเทศสมาชิกปฏบิ ัตติ าม รวมทัง้ ไม่มีกาลังทหารทีจ่ ะแกไ้ ข ความขัดแย้ง กรณีที่องค์การสันนบิ าตชาตไิ ม่สามารถดาเนินการยุตขิ ้อขัดแยง้ ได้ ได้แก่ 1. เหตุการณ์รนุ แรงทีเ่ กาะคอรฟ์ ู ในปี ค.ศ. 1923 2. เหตุการณ์ญี่ปุ่นรุกรานแควน้ แมนจูเรียของจีน ใน ค.ศ. 1931 3. สงครามอะบสิ ซิเนีย 4. การรุกรานของเยอรมนีต่อประเทศในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก

1. ประเทศมหาอานาจไมไ่ ดเ้ ปน็ สมาชิก ไดแ้ ก่ สหรัฐอเมรกิ า เน่อื งจาก สภาคองเกรส ไมย่ อมให้สัตยาบันที่จะให้สหรัฐอเมริกาเป็นสมาชกิ องคก์ ารสันนิบาตชาติ ส่วนสหภาพโซเวียต หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 กเ็ กดิ ความวุน่ วายทางการเมือง เพ่งิ เขา้ เป็นสมาชิกองค์การ สันนบิ าตชาติ ใน ค.ศ. 1934 สาหรับเยอรมนี แมจ้ ะเปน็ สมาชิก แต่เมือ่ มีปัญหาขัดแยง้ กับ ประเทศตา่ งๆ ก็ถอนตัวจากการเป็นสมาชกิ ซึง่ ญป่ี ุ่น และ อิตาลี ก็เช่นเดียวกัน 2. ประเทศมหาอานาจแตล่ ะชาตมิ ักคานงึ ผลประโยชนข์ องประเทศตนเหนือกว่า บทบาททจ่ี ะตอ้ งร่วมมือกับองค์การสันนิบาตชาติ 3. ประเทศมหาอานาจรุกรานประเทศอื่นๆ เสียเอง



สงครามโลกครั้งที่ 2 เปน็ สงคราม ทีเ่ กิดขน้ึ ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เพียงยีส่ ิบปี สงครามครั้งนีข้ ยายไปทัว่ โลก ทัง้ ยโุ รป แอฟริกา และ เอเชีย และใช้เวลา ยาวนานถึง 6 ปี ได้ทาลายลา้ งผูค้ นและ ทรัพย์สินเปน็ จานวนมหาศาล

❖ ❖ ❖ ❖ ❖ ❖







❖ ❖

❖ ❖ ❖

❖ ❖ ❖

❖ ❖

❖ ❖ ❖

❖ ❖ ❖

❖ ❖ ❖

❖ ❖ ❖ ❖

❖ ❖ ❖ ❖

❖ ❖ ❖



ในระหวา่ งสงครามโลกครั้งที่ 2 ผูน้ าฝ่ายสัมพันธมิตรไดร้ ว่ มประชุม กันหลายครัง้ เพือ่ หาแนวทางปฏบิ ัติเมือ่ สงครามยุติ และมีความเห็น ร่วมกันทีจ่ ะสถาปนาองคก์ ารระหว่างประเทศ เพื่อทาหนา้ ทีแ่ ทนองค์การ สันนิบาตชาติทีล่ ม่ สลาย ฝา่ ยสัมพันธมติ รได้รว่ มลงนามในกฎบัตรแอตแลนตกิ ต่อมาผูแ้ ทน สหรัฐอเมรกิ า อังกฤษ จีน และสหภาพโซเวียต ได้ร่วมกันร่างกฎบัตรสหประชาชาติ และลงนาม รับรองในวันที่ 24 ตุลาคม 1945

องค์การสหประชาชาตปิ ระกอบด้วย 6 องค์กร คือ 1. สมัชชาใหญ่ มีหน้าที่กาหนดทิศทางการดาเนนิ นโยบาย 2. คณะมนตรีความมั่นคง ประกอบด้วยสมาชิก 2 ประเภท คือ สมาชิกถาวร 6 ประเทศ และสมาชกิ ที่มาจากการเลือกตั้งอกี 10 ประเทศ มีหนา้ ทีร่ ักษาสันติภาพ และระงับขอ้ พพิ าทที่จะนาไปสู่ความขัดแยง้ ระหว่างประเทศ 3. คณะมนตรเี ศรษฐกิจและสังคม มีหน้าที่ประสานงานเพือ่ ให้เกดิ ความร่วมมือดา้ นเศรษฐกิจและ สังคม 4. คณะมนตรีภาวะทรัสตี มีหนา้ ทีใ่ หค้ าปรึกษาและดูแลดนิ แดนที่ยังปกครองตนเองไมไ่ ด้ 5. ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือศาลโลก มีหน้าทีพ่ ิจารณาคดพี ิพาททางกฎหมายระหวา่ ง ประเทศ 6. สานักเลขาธกิ าร มีหน้าทีด่ ูแลงานด้านบรหิ ารและธุรการขององคก์ รต่างๆ ในสหประชาชาติ

1. การลดการแข่งขันดา้ นอาวุธ ได้พบปะเจรจาเพือ่ ลดความตึงเครียดระหวา่ งประเทศ และตั้งคณะกรรมาธิการหรือทาสนธสิ ัญญาเกีย่ วกับการควบคุมมาตรการใชก้ าลังอาวุธ โดยเฉพาะอาวุธนวิ เคลยี ร์ของ 2 ชาติมหาอานาจ 2. การส่งเสริมความกา้ วหนา้ ทางเศรษฐกจิ และสังคม ไดก้ ่อตัง้ หน่วยงานระดับโลก และ ภูมภิ าคเพื่อพัฒนาดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ประเทศที่กาลังพัฒน เช่น ธนาคารโลก, องคก์ ารคา้ โลก, กองทุนสงเคราะหเ์ ด็กแห่งสหประชาชาติ เป็นต้น 3. การสง่ เสริมดา้ นสิทธิมนุษยชน 4. การสง่ เสริมดา้ นกฎหมาย 5. การแกไ้ ขปัญหาความขัดแย้ง เช่น กรณเี ขาพระวหิ าร, การเจรจาไกล่เกลี่ยระหว่าง อินโดนีเซีย และเนเธอรแ์ ลนด์ เป็นตน้



❖ ❖

❖ ❖

❖ ❖ ❖


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook