Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สึนามิ

สึนามิ

Published by suthathip inkaw, 2020-03-10 13:33:44

Description: สึนามิ

Search

Read the Text Version

สึนามิ (TSUNAMI) 1 สาเหตุของสนึ ามิ 2 จดุ กาเนิดคล่ืนสึนามิ 3 16 ปี สึนามิ โศกนาฏกรรมคลืน่ ยักษ์ 5 วิธกี ารเอาชีวติ รอดจากสึนามิ 11 คาแนะนาการใช้สื่อการเรียนการสอน 22

1 สนึ ามิ (TSUNAMI) เป็นภาษาญี่ปุ่น มาจากคาว่า 津 (tsu) = ท่าเรือ 波 (nami) = คลืน่ เมือ่ รวมกนั จึงหมายถงึ “คล่ืนท่ซี ดั เขา้ สู่ท่าเรือ” ที่ ม า ข อ ง ช่ื อ น้ั น ม า จ า ก ช า ว ป ร ะ ม ง ญี่ ปุ่ น ท่ี อ อ ก ไ ป หาปลา พอกลบั มากพ็ บวา่ ท่าเรอื พงั พินาศ เพราะคล่ืนยักษ์ พดั ทาลายหมด

2 อกุ กาบาตตกกลางทะเล ภูเขาไฟปะทุใตท้ ะเล ดินถลม่ ใตท้ ะเล แผน่ เปลอื กโลก เคลื่อนทีใ่ นแนวดิ่ง ใตท้ ะเล

3 ค ล่ื น สึ น า มิ มี จุ ด ก า เ นิ ด จ า ก ศู น ย์ เ กิ ด แผ่นดินไหวบริเวณเขตมุดตัว (Subduction zone) ซ่ึงอยู่บริเวณรอยต่อของแผ่นธรณี เคลื่อนที่เข้าหากัน เม่ือแผ่นธรณีมหาสมุทร เคลื่อนปะทะกัน หรือชนเข้ากับแผ่นธรณีทวีป แผ่นมหาสมุทรซ่ึงมีความหนาแน่นจะจมตัวลง สู่ชน้ั ฐานธรณีภาค ทาให้เกิดแผ่นดินไหวอย่าง รนุ แรงทีร่ ะดับลึกดังภาพ

4 เม่ือเปลอื กโลกใต้มหาสมุทร ยบุ ตัวลง เป็นร่องลกึ ก้นสมุทร (Oceanic trench) นา้ ทะเลที่อย่ดู ้านบนก็จะไหลยุบตามลงไปดว้ ย ดงั ภาพด้านบน น้าทะเลในบริเวณข้างเคยี ง มรี ะดบั สงู กวา่ จะไหลเข้ามาแทนทีแ่ ล้วปะทะกนั ทาใหเ้ กดิ คลนื่ สะท้อนกลับในทุกทิศทุกทาง (เหมือนกับการทเ่ี ราขว้างก้อนหนิ ลงน้า)

5 ประเทศไทยไดร้ ับผลกระทบอย่างรุนแรงจากสึนามิ เมื่อ วันท่ี 26 ธันวาคม 2547 เกิดแผ่นดินไหวจาก การยุบตัวของเปลือกโลกใต้มหาสมุทรอินเดีย และ เกาะสุมาตรา ขนาด ตามมาตราริกเตอร์ ส่งผล ให้สึนามิถล่มชายฝั่งโดยรอบ รวมถึงประเทศไทย รวมผู้เสยี ชวี ติ ในหลายประเทศจากภัยพิบัติในคร้ังน้ี กว่า 230,000 คน ส่วนในประเทศไทยเองมี ผู้เสยี ชวี ติ 5,395 คน

6 ชายฝั่งทะเลนัน้ เป็นปัจจัยหนง่ึ ทบ่ี อกความรุนแรงของคลน่ื สึนามไิ ด้ดว้ ย โดยปกตแิ ล้วชายฝ่ังที่มลี กั ษณะเปน็ รูปตวั หรอื โค้ง เป็นตัว จะย่ิงทวคี วามรนุ แรงโถ้มเขา้ สู่ชายฝั่งของคลื่นสนึ ามิ หาดปา่ ตอง หาดกะรน อนั ดามัน รูปร่างท่ีโคง้ แหลมจะทาให้น้าทะเลทะลักเข้ามาในพื้นท่ี ทวปี ไดง้ ่ายขึ้น เกิดการกวาดลา้ งท่รี นุ แรง

7 ชายฝ่งั ทะเลนน้ั เป็นปจั จยั หนึ่ง ทีบ่ อกความรุนแรงของคลืน่ สึนามิไดด้ ว้ ย อา่ วไทย หวั หิน ชายฝัง่ เรียบตรง มีบริเวณน้าต้นื กว้างขวาง ส่วนมากจะเปน็ ชายฝั่งทะเลด้านอา่ วไทย อาทิ พทั ยา หวั หนิ ถา้ เกดิ สึนามิซัดใส่ชายฝงั่ คลนื่ ทโ่ี ถม้ เข้ามาจะกระจาย ตวั ออกได้งา่ ยกวา่ ความเสียหายจะถกู แบ่งเบา

เปรยี บเทยี บท่ีต้ังทะเล กบั 8 ฝ่งั ทะเลอันดามัน อ่าวไทย ชายฝ่ังด้านทะเลอันดามัน มีความเส่ียงต่อการเกิด สึนามิมากกว่าชายฝ่ังอ่าวไทย สาเหตุ เพราะฝ่ังอันดามัน อ ยู่ ใ ก ล้ กั บ แ น ว เ ป ลื อ ก โ ล ก ช น กั น ม า ก ก ว่ า ซึ่ ง คื อ แผน่ เปลอื กโลกอินเดีย และกับแผน่ เปลือกโลกยเู รเซีย ทา ให้เกิดแผ่นดินไหวและตา มมา ด้ว ย สึนา มิ แผ่ขยายออกไปรอบทะเลอันดามัน เหมือนที่เกิดข้ึน ในปี พ.ศ. 2547 ตะวนั ตกของไทยเสย่ี งตอ่ การเกิดสนึ ามติ ลอดเวลา

เปรยี บเทียบท่ตี ั้งทะเล กบั 9 ฝ่งั ทะเลอา่ วไทย อันดามนั อ่าวไทย เกาะบอรเ์ นยี ว ฝง่ั ทะเลอ่าวไทย แทบจะไม่มีความเส่ียง เพราะอยู่ ห่างไกลจากแผ่นเปลือ กโลกชน กันแถบประเทศ ฟิลิปปินส์ และปาปัว นิวกินี ต่อ ให้เกิด สึนา มิก็มี เกาะบอร์เนียว และแหลมญวนช่วยก้ันทาง ชายฝั่งด้าน อ่าวไทยจึงสามารถนิ่งนอนใจไดม้ ากกว่า

ปจั จุบันประเทศไทยมี 10 สนึ ามิ ระบบเตือนภยั คล่นื สนึ ามิในทะเลลกึ DART 3. ดาวเทียม 4. สถานีภาคพื้น พยากรณแ์ นวโนม้ ทีจ่ ะเกดิ แล้วแจ้งไปยังศูนยช์ ายฝ่ัง 2. ทนุ่ ลอย 1. เซนเซอรว์ ัดแรงสน่ั สะเทือนใตท้ ้อง มหาสมทุ ร เกบ็ ข้อมูลส่งต่อไปยงั ทนุ่ ลอย

วธิ ีการ จากสนึ ามิ 11 ส่วน 1 เตรียมตัวลว่ งหน้า 1. เข้าใจความเป็นไปได้ที่จะมีอันตรายเกิดข้ึนในอนาคต. คุณควรรู้ว่าสถานท่ีที่คุณอาศัยอยู่มีความเป็นไปได้ท่ีจะ เกดิ สนึ ามิหรือไม่ 2. โปรดระวังหากเขตชายฝั่งของคุณเคยเกิดสึนามิมาแล้ว ในอดีต. ค้นหาข้อมูลหรือถามข้อมูลจากสานักงานการ ปกครองทอ้ งถนิ่ สานักจัดการภาวะฉกุ เฉินส่วนกลาง ๏ สึนามิส่วนใหญ่จะเกิดในแนว \"วงแหวนไฟ\" ซ่ึง เปน็ รอยต่อของเปลือกโลกในมหาสมุทรแปซิฟิกท่ีอาจเกิด แผ่นดนิ ไหวได้ ชิลี ตะวนั ตกของสหรัฐอเมรกิ า ญ่ีปุ่น และ ฟิลิปปนิ สเ์ ปน็ พน้ื ท่ีเส่ียงทีส่ ุด

12 3. เตรยี มของใช้จาเป็นใหห้ ยิบใชไ้ ด้งา่ ย. หากมีสึนามิเกิดข้ึน คุณก็จะต้องมีของใช้สาหรับเอาชีวิตรอดที่หยิบได้สะดวก รวดเร็ว ซ่ึงจะช่วยได้มากหากคุณเตรียมถุงยังชีพและ อุปกรณ์เอาชีวิตรอดเอาไว้แล้ว 4. เตรียมแผนอพยพ. คุณควรเตรียมแผนอพยพไว้ ล่วงหน้าก่อนจะเกิดเหตุให้ใช้ หากไม่มีแผนอพยพและ ระบบเตือนภัยท้องถ่ิน คุณ ครอบครัว และคนในชุมชน ทั้งหมดกจ็ ะมคี วามเส่ียงสงู ที่จะบาดเจ็บหรอื เสยี ชีวิต

13 ส่วน 2 สังเกตสัญญาณของการเกิดสึนามิ 1. ระวังตัวให้มากข้ึนหลังเกิดแผ่นดินไหว. หากคุณอาศัย อยู่ในเขตชายฝั่ง การเกิดแผ่นดินไหวก็เป็นสัญญาณให้ คุณตื่นตวั และอพยพทันที 2. ระวงั เวลาทร่ี ะดับนา้ แถวชายฝ่ังขึ้นและลงอย่างรวดเร็ว. หากระดับน้าทะเลลดลงอย่างรวดเร็ว (ถอยออกจากฝ่ัง) จนเผยให้เห็นผืนทรายโล่ง มันเป็นสัญญาณเตือนสาคัญ ทบี่ อกวา่ จะเกิดคลืน่ ยกั ษซ์ ดั เข้าฝงั่ ในเร็วๆ น้ี

14 3. สงั เกตพฤตกิ รรมแปลก ๆ ที่เปล่ียนไปของสัตว์. สังเกต สัตว์ท่ีหนีออกจากพื้นท่ีหรือมีพฤติกรรมแปลกไปจากเดิม เชน่ พยายามเข้ามาหลบภยั ในบา้ นมนุษย์ หรือรวมกลุ่มกัน แบบทไี่ ม่เคยทามาก่อน 4. สังเกตการเตือนภัยจากชุมชนและหน่วยงานปกครอง. หากมีการประกาศเตือนภัยจากหน่วยงานท้องถ่ิน คุณก็ ควรสนใจฟัง คุณควรรู้ล่วงหน้าว่าหน่วยงานท้องถ่ินจะ ประกาศเตือนภัยผ่านทางไหน เพื่อท่ีคุณจะได้ไม่พลาด หรือละเลยคาเตือนเมื่อมีการประกาศ แบ่งปันข้อมูล เก่ยี วกับการเตือนภยั

15 สว่ น 3 อพยพเมอ่ื เกิดสึนามิ 1. ทิ้งสมบัติส่วนตัวไว้. หากเกิดสึนามิข้ึน ให้ท้ิงสมบัติไป รักษาชีวิตไว้ การพยายามขนสมบัติส่วนตัวไปด้วยอาจ ทาใหค้ ุณอพยพชา้ และเสียเวลาอนั มคี า่ ไป หยบิ ถุงยังชพี กับ อะไรก็ได้ท่ีให้ความอบอุ่นแก่คุณได้ รวมตัวกับสมาชิกใน ครอบครัว และอพยพทันที ผู้ที่รอดชีวิตจาก สึนามิ จะอพยพอยา่ งรวดเรว็ และมักจะไมห่ ่วงเกบ็ สมบัติสว่ นตัว

16 2. อพยพเขา้ ฝั่งและอยูบ่ นทีส่ ูง. สิ่งที่คุณควรทาเป็นอันดับ แรกหากเป็นไปได้ คือการอพยพไปให้ ไกล จากชายฝั่ง ทะเลสาบนา้ เค็ม และแหล่งน้าอื่น ๆ ม่งุ ไปยังที่สงู ซ่งึ อาจจะ เป็นหุบเขาหรือภูเขา อย่าหยุดจนกว่าคุณจะอยู่ห่างจาก ชายฝงั่ ประมาณ3กโิ ลเมตร และอย่เู หนือจากระดับน้าทะเล 100 ฟตุ (30 เมตร) 3. ปีนข้ึนท่ีสูง. หากคุณไม่สามารถอพยพเข้าฝ่ังเพราะ เส้นทางถูกปิด ให้ปีนข้ึนที่สูงแทน แม้ว่าจะไม่ใช่ตัวเลือก ท่ีดีนัก เพราะสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ อาจจะพังลงได้ แต่ถ้านี่ เปน็ ทางเลอื กเดียวของคณุ ก็ใหเ้ ลอื กอาคารสูงที่ดูแข็งแรง และทนทาน ขึ้นไปให้สูงที่สุดเท่าท่ีทาได้ คุณจะข้ึนไปถึง หลังคาเลยกไ็ ด้

17 4. ปีนขึ้นต้นไม้ที่แข็งแรงม่ังคง. วิธีนี้เป็นทางเลือกสุดท้าย หากเส้นทางอพยพถูกปิด และคุณไม่สามารถอพยพเข้าฝ่ัง หรอื ขึ้นอาคารสงู ได้ ให้หาและปีนขน้ึ ต้นไมท้ ีส่ ูงและดูมั่นคง แทน อย่างไรก็ตามการปีนข้ึนต้นไม้ก็มีความเสี่ยงท่ีต้นไม้ อาจจะถูกถอนรากถอนโคนเม่ือโดนคล่ืนสึนามิซัด ดังน้ัน วิธีน้ีจึงควรใช้ก็ต่อเม่ือคุณไม่มีทางเลือกอ่ืนแล้วเท่าน้ัน ย่งิ ตน้ ไม้แขง็ แรงเท่าไร สูงเทา่ ไร และมีกง่ิ ก้านทม่ี ั่นคงเทา่ ไร (คุณจะตอ้ งอยู่บนนัน้ หลายชัว่ โมง) โอกาสรอดของคุณก็จะ สูงข้ึนเท่านัน้

18 5. หาทางรอดให้เร็วถ้าถูกคลื่นซัด. หากคุณไม่สามารถ อพยพได้ และโดนคลื่นสึนามิซัด คุณก็ยังพอมีทางรอด ชีวิตได้อยู่ คว้าอะไรก็ได้ท่ีลอยน้าได้ ใช้ของที่ลอยน้าได้ แทนแพเพื่อไม่ให้คุณจม เช่น ขอนไม้ ประตู และส่ิงของ อืน่ ๆ ทีอ่ าจจะลอยไปตามนา้ กบั คุณ

19 ส่วน 4 เอาชีวิตรอดจากภยั ท่ีเกิดหลงั สึนามิ 1. เตรยี มเผชญิ อาฟเตอร์ชอ็ กและคลื่นซัดอกี หน. สึนามิจะมาในรูปแบบของคลื่น จะมีคลื่นหลายลูก ซัดเข้ามามากมายเป็นชั่วโมง และคล่ืนลูกที่ตามมาทีหลัง ก็อาจจะใหญก่ วา่ คลน่ื ลูกล่าสุด 2. พยายามเก็บข้อมูลจากแหล่งท่ีเช่ือถือได้. คอยฟัง รายงานสถานการณป์ ัจจุบันจากวิทยุ อย่าเชื่อส่ิงที่เล่ากัน ปากต่อปาก การรออยู่กับท่ีดีกว่าการกลับไปเร็วและโดน คล่ืนลกู ใหม่ซัด

20 3. รอจนกว่าหนว่ ยงานท้องถ่นิ จะประกาศว่า \"ปลอดภัย.\" เม่อื มีการประกาศแลว้ คณุ จงึ กลบั บ้านได้ คณุ ควรรู้ ล่วงหน้าว่าหน่วยงานท้องถ่ินจะประกาศผ่านทางไหน ถ น น อ า จ จ ะ โ ด น ค ล่ื น สึ น า มิ ซั ด จ น เ สี ย ห า ย อ ย่ า ง ห นั ก คุณอาจจะต้องใชเ้ สน้ ทางอ่ืน แผนอพยพฉกุ เฉินที่ดคี วรจะ คาดการณ์ถึงเรื่องน้ีและมีเส้นทางหรือสถานที่รวมตัว สารองดว้ ย 4. รู้ว่าการเอาชีวิตรอดจะยังไม่จบ หลังสึนามิผ่านไป. เม่ือสึนามิผ่านไปแล้ว ก็จะเหลือแต่ซากปรักหักพัง ของอาคารบา้ นเรือนท่เี สยี หาย อาจจะมีศพของผู้เสียชีวิต แหล่งนา้ สะอาดอาจถกู ทาลายหรอื ถกู ขวางกน้ั ทางน้า อาจ ไมม่ ีอาหารเหลืออยู่ อาจเกิดโรคแพรร่ ะบาด ความเครียด จากเหตุภัยพิบัติ ความเศร้าโศก ความอดอยาก และ อาการบาดเจ็บ ซ่ึงอาจจะทาให้ช่วงเวลาหลังเกิดสึนามิ มีความเส่ียงพอๆ กับช่วงท่ีเกิดสึนามิได้เลย แผนฉุกเฉิน ควรจะคาดการณ์ถึงผลที่ตามมาหลังเกิดภัยพิบัติด้วย และคุณควรจะมีแผนใช้ปกป้องตัวเอง ครอบครัว และ คนในชมุ ชนดว้ ย

21 5. ฟนื้ ฟชู ุมชนดว้ ยแผนคืนสภาพ. หากหน่วยงานท้องถ่ินไม่มีแผนฟ้ืนฟู ก็ควร เรียกร้องให้มีหรือรวมกลุ่มในชุมชนเพื่อสร้างแผนฟ้ืนฟู หลังภัยสนึ ามิ แผนการทช่ี ่วยใหอ้ ยรู่ อดหลังเกิดสึนามิอาจ มีดังน:้ี ๏ จัดหาน้าสะอาดเพ่ิม ไม่ว่าจะเป็นน้าขวดหรือน้า กรอง และควรมีน้าสาหรับใช้ยามฉุกเฉินเก็บไว้ในชุมชน ด้วย ๏ เปิดบ้านและอาคารท่ีไม่เสียหายให้คนเข้าไปอยู่ ช่วยเหลือคนเจ็บและคนป่วย โดยให้ที่พักพิงแก่พวกเขา ๏ ควรมีเคร่ืองป่ันไฟท่ีให้พลังงานมากพอที่จะปรุง อาหาร รักษาความสะอาดและสุขอนามัย รักษาคนป่วย และสรา้ งบริการขนสง่ ได้ ๏ จดั ท่พี ักพงิ ชว่ั คราวและแจกจา่ ยอาหาร ๏ รกั ษาคนป่วยและคนเจบ็ ใหเ้ รว็ ท่สี ดุ ๏ ดับเพลงิ ไหม้และแกส๊ รั่ว

22 ใชส้ ื่อการเรียนการสอน หมนุ ได้ 360 องศา สามารถดงึ บ้านลงมาได้

23 ทีมงานวกิ ิฮาว. (ม.ป.ป.).วิธีการ เอาชวี ิตรอดจากสึนามิ [Online]. เข้าถึงได้จาก : https://th.wikihow.com [2563,มนี าคม 1] ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์. (ม.ป.ป.). สึนามิ [Online]. เข้าถึงได้จาก : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological- phenomenon/tsunami [2563, มนี าคม 1] สันติ ภัยหลบล้ี 2562. ความพิเศษของ “สึนามิ” ที่คลื่นน้าอ่ืนๆ ไม่มี [Online].เข้าถึงได้จาก :http://www.mitrearth.org/4-9-tsunami [2563, มนี าคม 1] หยาดนา้ คา้ ง. (2556). DART ระบบเตือนภยั คลน่ื สึนามิในทะเลลึ [Online]. เขา้ ถึงได้จาก : http://dpm.nida.ac.th/main/index.php/articles/tsu nami-and-earthquake/item/204-dart-[2563,มนี าคม 1] 2561. ภัยธรรมชาติทชี่ อื่ วา่ “สนึ ามิ”[Online].เข้าถงึ ได้จาก : https://www.singha-r-sa.org/th [2563,มีนาคม 1]

นางสาว สุธาทพิ ย์ อนิ ขาว รหัสนักศกึ ษา 6015107001028 กลุ่มเรยี น 60013.151 สาขาสงั คมศึกษา คณะครุศาสตร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook