Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book-เล่มที่-4-ทำCode

E-book-เล่มที่-4-ทำCode

Published by suthathip inkaw, 2020-03-26 08:02:32

Description: E-book-เล่มที่-4-ทำCode

Search

Read the Text Version

สถาบันการเงินแต่ละประเภทย่อมมีบทบาท หน้าที่ แตกตา่ งกัน และมีความสาคญั ตอ่ เศรษฐกิจของประเทศ ส 3.2 ม.1/1 วิเคราะห์บทบาท หน้าที่ และความแตกต่างของสถาบัน การเงนิ แต่ละประเภท และธนาคารกลาง 1. เพื่อให้นักเรียนวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค และสถาบนั การเงินได้ (K) 2. เพื่อให้นักเรียนนาเสนอ และเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภคและสถาบนั การเงนิ ได้ (P) 3. เพ่ือให้นักเรียนปฏิบัติตามภาระงานท่ีมอบหมายได้ อย่างถกู ตอ้ ง เรียบรอ้ ย และสวยงาม (A)

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 1. ขอ้ ความเก่ยี วกบั ความสัมพันธ์ระหวา่ งผผู้ ลติ ผบู้ รโิ ภค และสถาบัน การเงิน ข้อใดถูกต้อง ก. มีการหารายได้ การใชจ้ ่ายรว่ มกัน ข. มีการลงทุน และการนาเงนิ มาใช้ในการลงทุนรว่ มกัน ค. มกี ารระดมเงินออมมาเพอื่ การลงทุน เปน็ ประโยชน์ทกุ ฝา่ ย ง. มกี ารหารายได้ การใชจ้ า่ ย การออม การลงทุน ทม่ี คี วามสมั พันธ์กนั 2. หากสถาบันการเงินไดร้ ับเงนิ ออมหรอื สามารถระดมเงินฝากได้มาก จะสง่ ผลดีต่อระบบเศรษฐกจิ ของประเทศอยา่ งไร ก. ทาใหร้ ัฐบาลรวยขนึ้ ข. ทาใหต้ ่างชาติเข้ามาลงทุนมากขึ้น ค. ทาให้สถาบันการเงนิ มีเงนิ ทนุ ทจ่ี ะปล่อยก้ใู ห้กบั ภาคธรุ กจิ มากขึ้น ง. ทาให้เงินหมุนเวยี นในระบบนอ้ ย และภาคธุรกิจขาดสภาพคล่อง ทางการเงนิ 3. เพราะเหตุใดจึงจดั หน่วยครอบครัวเปน็ ท้ังผ้ผู ลติ และผู้บริโภค ก. หน่วยครอบครัวเปน็ ผใู้ ชป้ ัจจยั การผลติ ข. หน่วยครอบครวั เป็นผู้ใชท้ รัพยากรทงั้ หมด ค. หน่วยครอบครวั เปน็ ท้งั ผูผ้ ลิตและผูบ้ ริโภค ง. หนว่ ยครอบครวั เป็นผ้ผู ลิตสินค้าและบริการ 4. สถาบนั การเงินจะเจรญิ เติบโตอย่างดี ถ้าเงินฝากกบั เงนิ กู้เป็นไปแบบใด ก. สถาบนั การเงินแบบหดตัว ข. สถาบันการเงินแบบก่ึงผสม ค. สถาบนั การเงนิ แบบขยายตวั ง. สถาบันการเงินแบบบังคับโดย รฐั บาล 5. หากเงนิ ออมในระบบเศรษฐกจิ มีมากเกนิ ไป จะส่งผลกระทบต่อ ระบบเศรษฐกิจของประเทศอยา่ งไร ก. เกดิ ภาวะเงินฝดื ข. เกิดภาวะเงนิ เฟ้อ ค. มกี ารจา้ งงานเพิม่ มากข้นึ ง. มเี งินบรหิ ารประเทศมากข้ึน

ความสมั พันธ์ระหวา่ งผ้ผู ลติ ผู้บรโิ ภค และสถาบันการเงนิ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค และสถาบันการเงินในระบบ เศรษฐกิจ ผู้ผลิต ผู้บริโภค และสถาบันการเงิน ล้วนมีความเก่ียวข้อง สัมพันธ์กนั ทางดา้ นการหารายได้ การมีรายจา่ ยเพ่ือการอุปโภค และมกี าร เก็บเงินบางส่วนไว้เพื่อการออม หรือนาไปลงทุนเพื่อให้มีรายได้เพ่ิมข้ึน ซงึ่ เราสามารถอธิบายความสมั พนั ธไ์ ด้ ดังนี้ 1. ผู้ผลิต ผู้ผลิตจะมีรายได้มาจากการขายสินค้า ดังน้ัน ผู้ผลิต จึงต้องมีการลงทุนเพื่อผลิตสินค้า โดยอาจจะนาเงินบางส่วนท่ีตนเก็บ สะสมไว้ไปลงทุนหรือไปติดต่อขอกู้ยืมเงินมาจากสถาบันการเงินต่าง ๆ เพ่ือไปซ้ือเครื่องจักร ท่ีดิน วัตถุดิบ ว่าจ้างแรงงานมาผลิตสินค้าของตน สินค้าท่ีผลิตออกมาจะถูกนาไปจาหน่ายให้กับผู้บริโภค เป็นรายได้กลับ เขา้ มาสูผ่ ้ผู ลิต

ขณะเดียวกัน ผู้ผลิตก็จะต้องมีรายจ่าย อันได้แก่ เงินต้นและ ดอกเบ้ียที่จะต้องจ่ายให้กับสถาบันการเงินที่ตนไปขอสินเช่ือมา รวมทั้ง ค่าจ้างแรงงาน ค่าวัตถุดิบ ค่าจัดการต่าง ๆ ซ่ึงเม่ือคานวณต้นทุนเทียบ กับรายได้ท่ีเข้ามาแล้ว ส่วนท่ีเหลือจะเป็นรายรับสุทธิหรือผลกาไร อันเป็นรายได้ของผู้ผลิต ซึ่งผู้ผลิตอาจเก็บเป็นเงินออมไว้กับสถาบัน การเงินหรอื นาไปลงทนุ ขยายการผลิตเพิ่มขึน้ หรือซ้อื หลักทรัพย์ตา่ ง ๆ ในระบบเศรษฐกิจการลงทุนของผู้ผลิตนับว่ามีความสาคัญอย่าง มากตอ่ การขยายตวั ทางเศรษฐกิจ เพราะทาให้เงินออมท่ีเก็บไว้ในสถาบัน การเงินมีการหมุนเวียนนาออกมาใช้ มีการว่าจ้างแรงงาน มีการผลิต สินค้าออกมาวางจาหน่าย เกิดการติดต่อทางธุรกรรมซ้ือขาย แต่ละส่วน ย่อมมีรายได้ทาให้มีฐานะทางเศรษฐกิจดี ย่ิงลงทุนมาก เศรษฐกิจของ ประเทศกจ็ ะยงิ่ เขม้ แขง็

2. ผู้บรโิ ภค ผู้บรโิ ภคจะแสวงหารายไดด้ ้วยการไปทางานเพือ่ ให้มี รายได้เข้ามา ซ่ึงส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของเงินเดือน ดังนั้น ถ้าหากมีการ ลงทุนผลิตสินค้ามาก ก็จะทาให้แรงงานซึ่งมีสถานะเป็นผู้บริโภคด้วย ไดร้ บั การวา่ จา้ งมาก มีรายไดส้ งู ขึน้ รายไดข้ องผ้บู รโิ ภค สว่ นหนงึ่ จะถูกนาไปใชจ้ ่าย หรอื เปน็ รายจ่ายสาหรบั ซอ้ื สินคา้ และบริการ เพอื่ การดารงชีพ เช่น ซอ้ื หาอาหารมารบั ประทาน ค่าเส้ือผ้า ค่ายารักษาโรค ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ เป็นต้น ขณะเดียวกัน รายได้บางส่วนอาจถูกเก็บไว้เป็นเงินออมนาไปฝากไว้กับ สถาบันการเงิน ซ่ึงจะช่วยทาให้มีรายได้เพิ่มเข้ามาในรูปของดอกเบ้ีย หรืออาจนาไปลงทุนซื้อพันธบัตร ซื้อหลักทรัพย์ หรือซื้อทรัพย์สินมีค่า ตา่ ง ๆ เก็บไว้เพอื่ การลงทนุ สาหรับอนาคต อย่างไรก็ตาม ผบู้ รโิ ภคบางสว่ นอาจมรี ายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย ในการดารงชีพก็จาเป็นตอ้ งไปขอสนิ เชอื่ กบั สถาบันการเงิน เพื่อนาเงิน มาใชจ้ า่ ยหรือนาเงินไปลงทุนซื้อทรัพย์สินต่าง ๆ เช่น บ้าน ท่ีดิน รถยนต์ ซ่ึงก็จะต้องมีรายจา่ ยเพิ่มขน้ึ ในรปู ของเงินตน้ และดอกเบ้ยี

สาหรับผู้บริโภคนับว่ามีความสาคัญต่อฐานะทางเศรษฐกิจของ ประเทศเช่นกัน เพราะถ้าจานวนผู้บริโภคมีมาก ผู้บริโภคน้ันมีกาลังซ้ือสูง ก็ย่อมจะส่งผลให้ผู้ผลิตกล้าตัดสินใจลงทุนหรือขยายการลงทุนเพ่ิมขึ้น ปริมาณสินค้าก็จะมีจานวนเพ่ิมข้ึนและหลากหลาย เช่น ถ้าผู้บริโภคมี รายได้น้อย แม้อากาศจะร้อนก็อาจพึงพอใจกับการระบายร้อนจาก กระแสลมตามธรรมชาติ แต่ “มีรายได้เพ่ิมข้ึน อาจไปซ้ือพัดลมมาใช้งาน หรือถ้ามีรายได้เพิ่มมากข้ึนอีก ก็อาจไปซื้อเครื่องปรับอากาศมาใช้แทน เป็นต้น ทัง้ น้รี ายไดข้ องผ้บู รโิ ภคจะมคี วามสัมพันธก์ บั การออม กล่าวคือถา้ ผู้บริโภคมรี ายได้เข้ามามาก แนวโนม้ การออมกจ็ ะมีมากตามมาด้วย 3. สถาบันการเงิน มีความสัมพันธ์ในฐานะเป็นแหล่งเงินทุน สาคัญของผู้ผลิตและผู้บริโภค โดยสถาบันการเงินจะทาหน้าท่ีรับฝาก เงินออมจากผู้ออม เงินออมท่ีสถาบันการเงินรับฝากไว้ ส่วนหนึ่งสถาบัน การเงินจะนาไปปล่อยให้กู้ยืมที่เรียกว่าการให้สินเชื่อกับผู้ผลิต ซ่ึงเป็น วิธีการหารายได้หลักของสถาบันการเงิน โดยจะมีรายได้เข้ามาในรูปของ ดอกเบ้ีย อีกส่วนหน่ึงสถาบันการเงินก็จะนาไปลงทุนซ้ือตราสาร หรือ ลงทุนทางดา้ นหลักทรพั ย์ มรี ายได้เขา้ มาในรูปของเงนิ ปันผล สาหรับรายจ่ายของสถาบันการเงินเม่ือมีรายได้เข้ามาท่ีสาคัญก็คือ จ่ายเป็นค่าดอกเบ้ียเงินฝากให้กับผู้ออม ค่าบริหารจัดการ และค่าหนี้เสีย อันเกิดจากการปล่อยกู้แล้วอาจไม่ได้รับเงินต้นกลับคืนเข้ามาเต็มจานวน หรือโครงการทีใ่ ห้สินเช่ือไปเกดิ การขาดทุน

ดังน้ัน ถ้าสถาบันการเงินได้รับเงินออมหรือสามารถระดมเงินฝาก ได้มาก การให้สินเช่ือแก่ผู้ผลิตมีคุณภาพและปล่อยสินเชื่อได้มาก ผลประกอบการของสถาบันการเงินนั้น ๆ ก็จะดี แต่ถ้าด้านใดด้านหน่ึงมี ปัญหา เช่น ถ้าเงินฝากเงินออมมีน้อย สถาบันการเงินก็ย่อมมีเงินน้อย ถ้าผู้ผลิตต้องการขอสินเช่ือ สถาบันการเงินก็จะปล่อยได้น้อย ซึ่งจะมี แนวโน้มทอี่ ัตราดอกเบยี้ อาจสงู ข้นึ ซึง่ ก็จะไปเพมิ่ ต้นทนุ ใหก้ บั ผู้ผลติ ในทางกลับกัน ถ้าสถาบันการเงินสามารถระดมเงินฝากได้มาก แต่ผู้ผลิตไม่ขอสินเชื่อ เพราะผู้บริโภคมีรายได้น้อยหรือจากัดการบริโภค สถาบันการเงินก็จะมีเงินล้น และต้องแบกรับค่าดอกเบี้ยที่จะต้องจ่ายคืน ให้แก่ผู้ฝาก อย่างน้ีก็มีแนวโน้มท่ีอัตราดอกเบ้ียเงินฝากอาจลดลง ซ่ึงจะ ทาใหผ้ บู้ ริโภคท่ฝี ากเงินออมเสียประโยชน์ จากท่ีกล่าวมาทั้งหมด จะเห็นว่าการหารายได้ การใช้จ่าย การออม และการลงทุนท้ังของผู้ผลิต ผู้บริโภค และสถาบันการเงิน ล้วนมี ความสัมพันธ์กันเป็นวงจรทางเศรษฐกิจ ถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งเกิด ปัญหาก็จะส่งผลกระทบโยงใยเป็นลูกโซ่ ดังนั้น การทาให้ผู้ผลิต ผู้บริโภค สถาบันการเงินมีความเข้มแข็ง มีรายได้สูงขึ้น จึงมีความจาเป็น เพราะจะช่วยทาให้เศรษฐกิจมีการขยายตัว อันจะส่งผลดีถึงฐานะและ ความมน่ั คงทางเศรษฐกิจของประเทศด้วย

กล่าวโดยสรุป สถาบันการเงินในปัจจุบันมีความหลากหลายและ พัฒนามากข้ึนเร่ือย ๆ โดยมีบทบาทสาคัญในฐานะท่ีเป็นตัวกลางในการ ระดมเงินออมจากประชาชน เพ่ือเป็นเงินทุนสาหรับนักลงทุนที่ต้องการ กู้เงินไปประกอบกิจการและลงทุนเพ่ือการผลิต ดังน้ัน ความคล่องตัวและ ความเข้มแข็งของสถาบนั การเงนิ จงึ มีความสาคญั ในการสง่ เสริมให้ประชาชน มีแรงจูงใจในการออมทรัพย์มากข้ึน รวมท้ังทาให้ผู้ประกอบการได้รับเงินกู้ โดยเสียค่าดอกเบี้ยที่ไม่สูงมากนัก อันจะเป็นผลดีต่อการขยายตัวทางการ ผลิตของประเทศ นอกจากนี้ ในระบบเศรษฐกิจ ผู้ผลิต ผู้บริโภค และ สถาบันการเงินยังมีความสัมพันธ์เช่ือมโยงกันเป็นวงจรซึ่งถ้าทุกส่วนมีความ เขม้ แข็ง เศรษฐกจิ ของประเทศกจ็ ะเข้มแขง็ ตามไปด้วย

สถาบันการเงนิ ในประเทศไทย ลำดบั ท่ี รายชื่อ หน่วยงานกากับดแู ล กฎหมายทใ่ี ช้บังคับ 1 ธนำคำรแหง่ ประเทศไทย กระทรวงกำรคลัง พระรำชบัญญัติธนำคำร 2 ธนำคำรพำณิชย์ ธนำคำรแหง่ ประเทศไทย แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย พ.ศ. 2485 3 บรษิ ัทเงนิ ทุน ธนำคำรแหง่ ประเทศไทย พ ร ะ ร ำ ช บั ญ ญั ติ ธุ ร กิ จ 4 บริษทั เครดติ ฟองซิเอร์ สถำบนั กำรเงนิ พ.ศ. 2551 5 ธนำคำรออมสิน กระทรวงกำรคลัง พ ร ะ ร ำ ช บั ญ ญั ติ ธุ ร กิ จ สถำบนั กำรเงิน พ.ศ. 2551 ธนำคำรแห่งประเทศไทย พระรำชบัญญัติธนำคำร 6 ธนำคำรเพ่ือกำรเกษตรและ กระทรวงกำรคลัง ออมสนิ พ.ศ. 2489 พ ร ะ ร ำ ช บั ญ ญั ติ เ พื่ อ สหกรณก์ ำรเกษตร (ธ.ก.ส) ธนำคำรแหง่ ประเทศไทย ธ น ำ ค ำ ร ธ น ำ ค ำ ร เ พ่ื อ ก ำ ร เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ 7 ธนำคำรอำคำรสงเครำะห์ ธนำคำรแห่งประเทศไทย กำรเกษตร พ.ศ. 2509 (ธอส.) พระรำชบัญญัติธนำคำร อ ำ ค ำ ร ส ง เ ค ร ำ ะ ห์ 8 ธนำคำรเพ่ือกำรส่งออกและ กระทรวงกำรคลงั พ.ศ. 2496 น ำ เ ข้ ำ แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ธนำคำรแหง่ ประเทศไทย พระรำชบัญญัติธนำคำร (ธสน.) เพื่อกำรส่งออกและนำเข้ำ แห่งประเทศไทย พ .ศ. 9 ธนำคำรพัฒนำวิสำหกิจขนำด กระทรวงกำรคลงั 2536 พระรำชบัญญัติธนำคำร กลำงและขนำดย่อมแห่ง ธนำคำรแหง่ ประเทศไทย พัฒนำวิสำหกิจขนำดกลำง แ ล ะ ข น ำ ด ย่ อ ม แ ห่ ง ประเทศไทย (ธพว.) กระทรวงอตุ สำหกรรม ประเทศไทย พ.ศ. 2545 พระรำชบัญญัติธนำคำร 10 ธนำคำรอิสลำมแห่งประเทศ กระทรวงกำรคลงั อิสลำมแห่งประเทศไทย ไทย ธนำคำรแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545

ลำดบั ท่ี รายช่ือ หน่วยงานกากบั ดแู ล กฎหมายท่ีใชบ้ ังคบั 11 บรรษทั ประกนั สนิ เช่ือ กระทรวงกำรคลัง พ ร ะ ร ำ ช บั ญ ญั ติ บ ร ร ษั ท ประกนั สินเชอื่ อุตสำหกรรม อุตสำหกรรมขนำดยอ่ ม กระทรวงอตุ สำหกรรม ขนำดยอ่ มพ.ศ. 2534 พ ร ะ ร ำ ช ก ำ ห น ด บ ร ร ษั ท (บสย.) ตลำดรองรับสินเชื่อเพ่ือที่ อยูอ่ ำศัย พ.ศ. 2540 12 บรรษัทตลำดรองรับสินเชื่อ กระทรวงกำรคลัง พ ร ะ ร ำ ช ก ำ ห น ด บ ร ร ษั ท บริหำรสินทรัพย์ไทย พ.ศ. เพอื่ ทอี่ ยอู่ ำศัย ธนำคำรแห่งประเทศไทย 2544 พ ร ะ ร ำ ช ก ำ ห น ด บ ริ ษั ท 13 บรรษทั บรหิ ำรสินทรพั ย์ไทย กระทรวงกำรคลงั บริ ห ำ ร สิ น ทรั พ ย์ พ .ศ . 2541 14 บรษิ ทั บรหิ ำรสนิ ทรพั ย์ กระทรวงกำรคลัง พระรำชบญั ญัติควบคุมกำร ธนำคำรแหง่ ประเทศไทย แลกเปล่ยี นเงิน พ.ศ. 2485 15 บริษัทแลกเปล่ียนเงินตรำ กระทรวงกำรคลงั ระหวำ่ งประเทศ ธนำคำรแห่งประเทศไทย 16 บริษทั หลกั ทรัพย์ คณะกรรมกำรกำกบั พระรำชบัญญัติหลักทรัพย์ 17 บรษิ ทั หลักทรพั ยจ์ ัดกำร หลกั ทรพั ยแ์ ละตลำด และตลำดหลักทรัพย์ พ.ศ. กองทนุ รวม 18 บรษิ ทั ประกนั ชีวิต หลักทรพั ย์ 2535 19 สหกรณก์ ำรเกษตร กระทรวงกำรคลัง พระรำชบัญญัติประกันชวี ิต 20 สหกรณ์ออมทรัพย์ 21 กองทนุ สำรองเลีย้ งชพี สำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับ พ .ศ .2535 แ ล ะ ท่ี แ ก้ ไ ข 22 กองทุนประกันสงั คม และส่งเสริมกำรประกอบธุรกิจ เพม่ิ เตมิ 23 โรงรบั จำนำ ประกันภัย กรมส่งเสริมสหกรณ์และกรม พระรำชบัญญัติสหกรณ์ ตรวจบญั ชีสหกรณ์ พ.ศ. 2511 และที่แก้ไข กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพ่มิ เติม ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร ก ำ กั บ พระรำชบัญญัติกองทุน ห ลั ก ท รั พ ย์ แ ล ะ ต ล ำ ด สำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 หลักทรพั ย์ กระทรวงแรงงำน พ ร ะ ร ำ ช บั ญ ญั ติ ประกนั สงั คม พ.ศ. 2533 กระทรวงมหำดไทย พระรำชบัญญัตโิ รงรับจำนำ พ.ศ. 2505 และที่แก้ไข เพม่ิ เติม

แบบทดสอบหลังเรยี น 1. ขอ้ ความเกี่ยวกบั ความสมั พันธร์ ะหว่างผู้ผลติ ผู้บรโิ ภค และสถาบัน การเงนิ ข้อใดถูกต้อง ก. มีการหารายได้ การใชจ้ า่ ยรว่ มกัน ข. มกี ารลงทุน และการนาเงนิ มาใชใ้ นการลงทนุ รว่ มกัน ค. มกี ารระดมเงนิ ออมมาเพอ่ื การลงทนุ เปน็ ประโยชนท์ กุ ฝ่าย ง. มกี ารหารายได้ การใชจ้ ่าย การออม การลงทนุ ท่ีมีความสัมพันธ์กนั 2. หากสถาบนั การเงินไดร้ บั เงินออมหรือสามารถระดมเงนิ ฝากได้มาก จะส่งผลดตี อ่ ระบบเศรษฐกิจของประเทศอย่างไร ก. ทาให้รฐั บาลรวยข้ึน ข. ทาให้ตา่ งชาติเข้ามาลงทุนมากขึน้ ค. ทาให้สถาบนั การเงนิ มีเงนิ ทนุ ทจ่ี ะปลอ่ ยก้ใู หก้ ับภาคธรุ กิจมากขึ้น ง. ทาใหเ้ งนิ หมุนเวียนในระบบนอ้ ย และภาคธรุ กิจขาดสภาพคล่อง ทางการเงนิ 3. เพราะเหตใุ ดจงึ จดั หน่วยครอบครวั เปน็ ทั้งผผู้ ลิตและผบู้ ริโภค ก. หนว่ ยครอบครวั เป็นผูใ้ ช้ปจั จยั การผลติ ข. หน่วยครอบครวั เป็นผใู้ ชท้ รพั ยากรทง้ั หมด ค. หน่วยครอบครัวเป็นท้ังผู้ผลิตและผบู้ รโิ ภค ง. หนว่ ยครอบครวั เปน็ ผผู้ ลิตสนิ ค้าและบริการ 4. สถาบนั การเงินจะเจริญเติบโตอยา่ งดี ถ้าเงนิ ฝากกบั เงนิ กู้เปน็ ไปแบบใด ก. สถาบันการเงนิ แบบหดตวั ข. สถาบนั การเงนิ แบบกงึ่ ผสม ค. สถาบันการเงนิ แบบขยายตัว ง. สถาบันการเงินแบบบังคับโดย รัฐบาล 5. หากเงนิ ออมในระบบเศรษฐกจิ มมี ากเกนิ ไป จะสง่ ผลกระทบตอ่ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศอยา่ งไร ก. เกิดภาวะเงินฝดื ข. เกดิ ภาวะเงนิ เฟ้อ ค. มีการจ้างงานเพมิ่ มากข้นึ ง. มเี งินบรหิ ารประเทศมากข้ึน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook