Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 15 ผักสวนครัว นางเอี่ยม จันทะสิงห์

15 ผักสวนครัว นางเอี่ยม จันทะสิงห์

Published by artaaa142, 2019-05-09 08:22:24

Description: 15 ผักสวนครัว นางเอี่ยม จันทะสิงห์

Search

Read the Text Version

ภมู ิปญั ญาศกึ ษา เร่ือง ผกั สวนครวั (ผกั ชีฝร่งั ) โดย 1. นายเอ่ียม จันทะสงิ ห์ (ผถู้ า่ ยทอดภมู ปิ ญั ญา) 2. นางสาวอไุ รวรรณ ศรีพาลา (ผูเ้ รียบเรยี งภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน) เอกสารภูมปิ ัญญาศกึ ษาน้ีเปน็ ส่วนหนึง่ ของการศกึ ษา ตามหลกั สูตรโรงเรียนผูส้ งู อายเุ ทศบาลเมอื งวงั น้าเยน็ ประจ้าปกี ารศึกษา 2561 โรงเรยี นผ้สู งู อายเุ ทศบาลเมืองวงั น้าเย็น สงั กดั เทศบาลเมืองวงั นา้ เยน็ จงั หวดั สระแก้ว

ค้านา้ ภมู ปิ ๎ญญาทอ๎ งถน่ิ หรอื เรียกช่อื อกี อยํางหนง่ึ วาํ ภมู ปิ ญ๎ ญาชาวบ๎าน คือองค์ความร๎ูทชี่ าวบ๎านได๎ สั่งสมจากประสบการณ์จริงท่ีเกิดข้ึนหรือจากบรรพบุรุษท่ีได๎ถํายทอดสืบกันมาตั้งแตํในอดีตมาจนถึงป๎จจุบัน เพ่ือนามาใชแ๎ กป๎ ญ๎ หาในชีวิตประจาวัน การทามาหากิน การประกอบการงานเลี้ยงชีพ หรือกิจกรรมอื่นๆ เป็น การผํอนคลายจากการทางาน หรือการย๎ายถิ่นฐานเพื่อมาต้ังถิ่นฐานใหมํแล๎วคิดค๎นหรือค๎นหาวิธีการดังกลําว เพื่อการแก๎ป๎ญหา โดยสภาพพ้ืนที่น้ัน ชุมชนวังน้าเยนนแหํงน้ี เกิดขึ้นเม่ือราวๆ 50 ปีท่ีผํานมา จากการอพยพ ถ่ินฐานของผ๎คู นมาจากทกุ ๆ ภาคของประเทศไทย แลว๎ มากํอต้งั เป็นชุมชนวงั น้าเยนน ซึ่งบางคนได๎นาองค์ความรู๎ มาจากถ่ินฐานเดิมแล๎วมีการสืบทอดสืบสานมาจนถึงป๎จจุบัน เชํนเดียวกับการปลูกผักสวนครัว(ผักชีฝร่ัง)โดย นายเอี่ยม จันทะสิงห์ ได๎รวบรวมเรียบเรียงถํายทอดประสบการณ์ให๎คนรุํนหลังได๎สืบค๎น หรือค๎นคว๎าเป็นภูมิ ปญ๎ ญาศึกษา ของเทศบาลเมืองเมอื งวงั นา้ เยนน จังหวัดสระแก๎ว ผ๎ูศึกษาขอขอบพระคุณ นายวนั ชยั นารรี กั ษ์ นายกเทศมนตรเี มอื งวังนา้ เยนน และนายคนองพล เพนชรรื่น ปลัดเทศบาลเมืองวังน้าเยนน คณะกรรมการโรงเรียนผู๎สูงอายุ กองสวัสดิการ กองสาธารณสุขและส่ิงแวดล๎อม เทศบาลเมืองวังน้าเยนน โรงเรียนมิตรสัมพันธ์วิทยา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลเมืองวังน้าเยนน หนํวยงานอ่ืนๆที่ เก่ียวข๎อง และขอขอบพระคุณ นางสาวอุไรวรรณ ศรีพาลา ท่ีได๎เป็นที่ปรึกษาดูแลรับผิดชอบด๎านงานธุรการ บันทึกเรื่องราวและจัดทารูปเลํมที่สมบูรณ์ครบถ๎วนความรู๎อันใดหรือกุศลอันใดที่เกิดจากการรํวมมือรํวมแรง รํวมใจรํวมพลงั จนเกดิ มภี ูมปิ ญ๎ ญาศึกษาฉบับนี้ ขอกุศลผลบุญน้ันจงเกิดมีแกํผู๎เกี่ยวข๎องดังท่ีกลําวมาทุกๆ ทําน เพอื่ สร๎างสังคมแหํงการเรยี นตอํ ไป เอ่ียม จันทะสิงห์ อไุ รวรรณ ศรีพาลา ผูจ๎ ัดทา

ทมี่ าและความส้าคัญของภมู ิปญั ญาศึกษา จากพระราชดารัสของพระบาทสมเดนจพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ท่วี าํ “ประชาชนนน่ั แหละ ทเ่ี ขามคี วามรู๎เขาทางานมาหลายช่ัวอายคุ น เขาทากันอยํางไรเขามีความเฉลียวฉลาด เขาร๎ูวําตรงไหนควรทา กสกิ รรมเขาร๎วู าํ ตรงไหนควรเกนบรักษาไว๎แตํที่เสียไปเพราะพวกไมํรู๎เรื่องไมํได๎ทามานานแล๎วทาให๎ลืมวําชีวิตมัน เป็นไปโดยการกระทาท่ีถูกต๎องหรือไมํ” พระราชดารัสของพระบาทสมเดนจพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท่ีสะท๎อนถึงพระปรีชาสามารถในการรับร๎ูและความเข๎าใจหยั่งลึกที่ทรงเหนนคุณคําของภูมิป๎ญญาไทยอยําง แทจ๎ รงิ พระองค์ทรงตระหนักเป็นอยาํ งยิ่งวาํ ภูมปิ ๎ญญาท๎องถิ่นเปน็ สิ่งที่ชาวบ๎านมีอยูํแล๎วใช๎ประโยชน์เพ่ือความ อยํูรอดกันมายาวนาน ความสาคัญของภูมิป๎ญญาท๎องถ่ินซึ่งความรู๎ท่ีสั่งสมจากการปฏิบัติจริงในห๎องทดลอง ทางสังคมเป็นความรู๎ด้ังเดิมท่ีถูกค๎นพบ มีการทดลองใช๎แก๎ไขดัดแปลงจนเป็นองค์ความร๎ูที่สามารถแก๎ป๎ญหา ในการดาเนนิ ชีวติ และถํายทอดสืบตอํ กนั มาภูมปิ ญ๎ ญาทอ๎ งถ่ินเปน็ ขุมทรพั ยท์ างป๎ญญาที่คนไทยทุกคนควรร๎ูควร ศึกษาปรับปรุงและพัฒนาให๎สามารถนาภูมิป๎ญญาท๎องถิ่นเหลํานั้นมาแก๎ไขป๎ญหาให๎สอดคล๎องกับบริบททา ง สังคมวัฒนธรรมของกลํุมชุมชนนั้นๆ อยํางแท๎จริง การพัฒนาภูมิป๎ญญาศึกษานับเป็นส่ิงสาคัญตํอบทบาทของ ชุมชนท๎องถิ่นที่ได๎พยายามสร๎างสรรค์เป็นน้าพักน้าแรงรํวมกันของผ๎ูสูงอายุและคนในชุมชนจ นกลายเป็น เอกลักษณ์และวัฒนธรรมประจาถ่ินท่ีเหมาะตํอการดาเนินชีวิตหรือภูมิป๎ญญาของคนในท๎องถิ่นนั้นๆ แตํภูมิ ป๎ญญาท๎องถิ่นสํวนใหญํเป็นความร๎ูหรือเป็นส่ิงที่ได๎มาจากประสบการณ์หรือเป็นความเช่ือสืบตํอกันมาแตํยัง ขาดองค์ความรหู๎ รอื ขาดหลกั ฐานยนื ยนั หนกั แนนํ การสรา๎ งการยอมรับทเี่ กดิ จากฐานภูมปิ ญ๎ ญาท๎องถิ่นจึงเป็นไป ไดย๎ าก ดงั นัน้ เพือ่ ใหเ๎ กดิ การสงํ เสรมิ พัฒนาภูมิป๎ญญาท่เี ป็นเอกลักษณ์ของท๎องถิ่นกระต๎ุนเกิดความภาคภูมิใจ ในภูมิป๎ญญาของบุคคลในท๎องถิ่น ภูมิป๎ญญาไทยและวัฒนธรรมไทยเกิดการถํายทอดภูมิป๎ญญาสํูคนรุํนหลัง โรงเรียนผู๎สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเยนนได๎ดาเนินการจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาศักยภาพ ผ๎ูสูงอายุในท๎องถิ่นท่ีเน๎นให๎ผ๎ูสูงอายุได๎พัฒนาตนเองให๎มีความพร๎อมสูํสังคมผู๎สูงอายุท่ีมีคุณภาพในอนาคต รวมทั้งสืบทอดภูมิป๎ญญาในการดารงชีวิตของนักเรียนผ๎ูสูงอายุที่ได๎ส่ังสมมา เกิดจากการสืบทอดภูมิป๎ญญา ของบรรพบรุ ุษ โดยนกั เรยี นผ๎ูสูงอายุจะเป็นผ๎ูถํายทอดองค์ความรู๎ และมีครูพี่เล้ียงซ่ึงเป็นคณะครูของโรงเรียน ในสังกดั เทศบาลเมืองวงั นา้ เยนน เปน็ ผูเ๎ รยี บเรยี งองคค์ วามรไ๎ู ปสํกู ารจดั ทาภูมปิ ๎ญญาศึกษาให๎ปรากฏออกมาเป็น รปู เลํมภูมิป๎ญญาศึกษา ใช๎เป็นสํวนหน่ึงในการจบหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียนผู๎สูงอายุ ประจาปีการศึกษา 2561 พรอ๎ มทั้งเผยแพรํและจดั เกบน คลังภมู ปิ ๎ญญาไวใ๎ นห๎องสมุดของโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา เพ่ือให๎ ภูมปิ ญ๎ ญาท๎องถ่ินเหลาํ นี้เกดิ การถํายทอดสคํู นรนํุ หลังสบื ตํอไป จากความรํวมมือในการพัฒนาบุคลากรในหนํวยงานและภาคีเครือขํายท่ีมีสํวนรํวมในการผสมผสาน องค์ความร๎ู เพอ่ื ยกระดับความรู๎ของภูมปิ ๎ญญานัน้ ๆ เพ่อื นาไปสกํู ารประยกุ ตใ์ ช๎และผสมผสานเทคโนโลยีใหมํ ๆ ให๎สอดรับกับวิถีชีวิตของชุมชนได๎อยํางมีประสิทธิภาพการนาภูมิป๎ญญาไทยกลับสูํการศึกษา สามารถสํงเสริม ใหม๎ กี ารถํายทอดภูมิป๎ญญาในโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยาและโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวังน้าเยนน เกิดการมีสํวนรํวมในกระบวนการถํายทอด เช่ือมโยงความรู๎ให๎กับนักเรียนและบุคคลท่ัวไปในท๎องถ่ิน โดยการ นาบคุ ลากรทีม่ คี วามร๎ูความสามารถในทอ๎ งถิ่นเข๎ามาเป็นวิทยากรใหค๎ วามร๎ู

กับนักเรียนในโอกาสตําง ๆหรือการท่ีโรงเรียนนาองค์ความร๎ูในท๎องถิ่นเข๎ามาสอนสอดแทรกในกระบวนการ จดั การเรยี นรู๎ สิ่งเหลําน้ีทาให๎การพฒั นาภูมิป๎ญญาทอ๎ งถิน่ นาไปสูํการสบื ทอดภูมปิ ๎ญญาศึกษา เกิดความสาเรนจ อยํางเปน็ รูปธรรมนักเรียนผ๎ูสงู อายุเกิดความภาคภูมใิ จในภูมปิ ๎ญญาของตนทีไ่ ด๎ถํายทอดสํูคนรํุนหลังให๎คงอยูํใน ท๎องถิ่น เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตประจาท๎องถิ่น เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตคํูแผํนดินไทยตราบนาน เทาํ นาน นยิ ามค้าศพั ท์ในการจัดทา้ ภมู ปิ ัญญาศึกษา ภูมิปัญญาศึกษา หมายถึง การนาภูมิป๎ญญาการดาเนินชีวิตในเร่ืองที่ผู๎สูงอายุเชี่ยวชาญท่ีสุด ของ ผส๎ู ูงอายุท่ีเข๎าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผ๎ูสูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเยนน มาศึกษาและสืบทอดภูมิป๎ญญา ในรูปแบบตาํ ง ๆ มีการสืบทอดภูมิป๎ญญาโดยการปฏิบัติและการเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษรตามรูปแบบที่ โรงเรียนผ๎ูสูงอายุกาหนดขึ้นใช๎เป็นสํวนหน่ึงในการจบหลักสูตรการศึกษาเพ่ือให๎ภูมิป๎ญญาของผู๎สูงอายุได๎รับ การถํายทอดสํคู นรุนํ หลังและคงอยูํในท๎องถ่นิ ตํอไป ซึ่งแบงํ ภูมิป๎ญญาศกึ ษาออกเป็น 3 ประเภท ได๎แกํ 1. ภมู ปิ ญ๎ ญาศกึ ษาท่ีผ๎ูสงู อายุเป็นผูค๎ ิดคน๎ ภมู ปิ ๎ญญาในการดาเนินชวี ิตในเรอ่ื งท่ีเชีย่ วชาญทส่ี ุด ดว๎ ยตนเอง 2. ภูมปิ ๎ญญาศกึ ษาทผ่ี ๎ูสงู อายเุ ปน็ ผ๎ูนาภูมิป๎ญญาท่ีสืบทอดจากบรรพบุรุษมาประยุกต์ใช๎ในการดาเนิน ชีวิตจนเกดิ ความเชยี่ วชาญ 3. ภูมิปญ๎ ญาศึกษาท่ีผ๎ูสูงอายุเป็นผู๎นาภูมิป๎ญญาท่ีสืบทอดจากบรรพบุรุษมาใช๎ในการดาเนินชีวิตโดย ไมํมกี ารเปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ จนเกิดความเชีย่ วชาญ ผถู้ า่ ยทอดภูมิปัญญา หมายถึง ผ๎ูสูงอายุที่เข๎าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผู๎สูงอายุเทศบาลเมือง วังน้าเยนนเป็นผ๎ูถํายทอดภูมิป๎ญญาการดาเนินชีวิตในเร่ืองท่ีตนเองเช่ียวชาญมากท่ีสุด นามาถํายทอดให๎แกํผู๎ เรยี บเรียงภูมิป๎ญญาทอ๎ งถิ่นไดจ๎ ัดทาขอ๎ มลู เป็นรปู เลมํ ภมู ิป๎ญญาศกึ ษา ผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ผ๎ูท่ีนาภูมิป๎ญญาในการดาเนินชีวิตในเรื่องท่ีผ๎ูสูงอายุ เช่ียวชาญที่สุดมาเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษร ศึกษาหาข๎อมูลเพิ่มเติมจากแหลํงข๎อมูลตําง ๆ จัดทาเป็น เอกสารรูปเลํม ใชช๎ ือ่ วาํ “ภมู ิป๎ญญาศกึ ษา”ตามรปู แบบท่ีโรงเรยี นผ๎สู งู อายเุ ทศบาลเมืองวงั น้าเยนนกาหนด ครูที่ปรึกษา หมายถึง ผ๎ูที่ปฏิบัติหน๎าท่ีเป็นครูพ่ีเลี้ยง เป็นผู๎เรียบเรียงภูมิป๎ญญาท๎องถ่ิน ปฏิบัติ หน๎าท่ีเปน็ ผู๎ประเมินผล เป็นผ๎ูรับรองภูมิป๎ญญาศึกษา รวมทั้งเป็นผู๎นาภูมิป๎ญญาศึกษาเข๎ามาสอนในโรงเรียน โดยบรู ณาการการจดั การเรยี นร๎ูตามหลกั สูตรท๎องถิ่นท่ีโรงเรียนจัดทาข้ึน

ภมู ปิ ัญญาศึกษาเชื่อมโยงสู่สารานกุ รมไทยส้าหรับเยาวชนฯ 1. ลกั ษณะของภมู ิปัญญาไทย ลกั ษณะของภมู ปิ ญ๎ ญาไทย มีดงั นี้ 1. ภูมิป๎ญญาไทยมลี ักษณะเป็นท้งั ความร๎ู ทักษะ ความเชื่อ และพฤตกิ รรม 2. ภมู ปิ ๎ญญาไทยแสดงถึงความสมั พนั ธร์ ะหวํางคนกับคน คนกบั ธรรมชาติ ส่ิงแวดล๎อม และคนกับสง่ิ เหนอื ธรรมชาติ 3. ภมู ปิ ญ๎ ญาไทยเปน็ องคร์ วมหรือกจิ กรรมทุกอยาํ งในวิถชี ีวิตของคน 4. ภูมปิ ญ๎ ญาไทยเปน็ เรอื่ งของการแก๎ปญ๎ หา การจดั การ การปรบั ตัว และการเรยี นรู๎ เพอ่ื ความอยูรํ อดของบุคคล ชุมชน และสังคม 5. ภมู ปิ ญ๎ ญาไทยเปน็ พืน้ ฐานสาคญั ในการมองชวี ิต เปน็ พื้นฐานความร๎ใู นเรอื่ งตาํ งๆ 6. ภมู ิปญ๎ ญาไทยมีลกั ษณะเฉพาะ หรือมเี อกลักษณ์ในตัวเอง 7. ภมู ิปญ๎ ญาไทยมกี ารเปลย่ี นแปลงเพื่อการปรบั สมดุลในพัฒนาการทางสังคม 2. คณุ สมบัตขิ องภูมปิ ัญญาไทย ผทู๎ รงภมู ิปญ๎ ญาไทยเปน็ ผ๎ูมีคุณสมบัติตามทกี่ าหนดไว๎ อยาํ งน๎อยดังตํอไปน้ี 1. เป็นคนดีมีคุณธรรม มีความรู๎ความสามารถในวิชาชีพตํางๆ มีผลงานด๎านการพัฒนา ท๎องถ่ินของตน และได๎รับการยอมรับจากบุคคลท่ัวไปอยํางกว๎างขวาง ท้ังยังเป็นผู๎ท่ีใช๎หลักธรรมคาสอนทาง ศาสนาของตนเปน็ เคร่ืองยดึ เหนย่ี วในการดารงวิถชี ีวติ โดยตลอด 2. เป็นผ๎ูคงแกํเรียนและหม่ันศึกษาหาความรู๎อยํูเสมอ ผู๎ทรงภูมิป๎ญญาจะเป็นผู๎ที่หมั่นศึกษา แสวงหาความร๎ูเพิ่มเติมอยูํเสมอไมํหยุดน่ิง เรียนรู๎ทั้งในระบบและนอกระบบ เป็นผู๎ลงมือทา โดยทดลองทา ตามทเ่ี รียนมา อกี ทั้งลองผิด ลองถูก หรือสอบถามจากผ๎ูร๎ูอ่ืนๆ จนประสบความสาเรนจ เป็นผ๎ูเช่ียวชาญ ซ่ึงโดด เดํนเป็นเอกลักษณ์ในแตํละด๎านอยํางชัดเจน เป็นที่ยอมรับการเปล่ียนแปลงความรู๎ใหมํๆ ที่เหมาะสม นามา ปรับปรงุ รบั ใชช๎ มุ ชน และสงั คมอยเํู สมอ 3. เป็นผ๎ูนาของท๎องถิ่น ผ๎ูทรงภูมิป๎ญญาสํวนใหญํจะเป็นผ๎ูท่ีสังคม ในแตํละท๎องถิ่นยอมรับให๎ เป็นผู๎นา ทั้งผ๎ูนาที่ได๎รับการแตํงต้ังจากทางราชการ และผู๎นาตามธรรมชาติ ซึ่งสามารถเป็นผ๎ูนาของท๎องถิ่น และชวํ ยเหลือผู๎อ่ืนได๎เปน็ อยํางดี 4. เป็นผู๎ที่สนใจป๎ญหาของท๎องถิ่น ผู๎ทรงภูมิป๎ญญาล๎วนเป็นผู๎ท่ีสนใจป๎ญหาของท๎องถิ่น เอา ใจใสํ ศึกษาป๎ญหา หาทางแก๎ไข และชํวยเหลือสมาชิกในชุมชนของตนและชุมชนใกล๎เคียงอยํางไมํยํอท๎อ จน ประสบความสาเรนจเป็นที่ยอมรับของสมาชิกและบุคคลท่วั ไป 5. เป็นผ๎ูขยันหมัน่ เพียร ผู๎ทรงภมู ปิ ญ๎ ญาเปน็ ผู๎ขยันหมั่นเพียร ลงมอื ทางานและผลิตผลงานอยํู เสมอ ปรับปรุงและพัฒนาผลงานใหม๎ คี ณุ ภาพมากขึน้ อกี ทงั้ มํุงทางานของตนอยาํ งตํอเน่ือง 6. เป็นนักปกครองและประสานประโยชน์ของท๎องถิ่น ผ๎ูทรงภูมิป๎ญญา นอกจากเป็นผู๎ที่ ประพฤติตนเป็นคนดี จนเป็นท่ียอมรับนับถือจากบุคคลทั่วไปแล๎ว ผลงานที่ทํานทายังถือวํามีคุณคํา จึงเป็นผู๎ที่ มีทงั้ \"ครองตน ครองคน และครองงาน\" เปน็ ผปู๎ ระสานประโยชนใ์ ห๎บุคคลเกิดความรัก ความเข๎าใจ ความเหนน ใจ และมคี วามสามคั คีกัน ซงึ่ จะทาใหท๎ อ๎ งถ่ิน หรอื สังคม มคี วามเจรญิ มีคุณภาพชีวิตสงู ขึ้นกวาํ เดมิ

7. มีความสามารถในการถาํ ยทอดความรเ๎ู ป็นเลิศ เม่ือผูท๎ รงภูมิป๎ญญามคี วามร๎ูความสามารถ และประสบการณเ์ ปน็ เลิศ มผี ลงานท่เี ป็นประโยชน์ตอํ ผ๎ูอื่นและบคุ คลทัว่ ไป ทัง้ ชาวบ๎าน นกั วชิ าการ นกั เรียน นสิ ิต/นักศกึ ษา โดยอาจเขา๎ ไปศึกษาหาความร๎ู หรือเชิญทาํ นเหลาํ น้ันไป เป็นผูถ๎ าํ ยทอดความร๎ไู ด๎ 8. เป็นผู๎มีคูํครองหรือบริวารดี ผู๎ทรงภูมิป๎ญญา ถ๎าเป็นคฤหัสถ์ จะพบวํา ล๎วนมีคํูครองท่ีดีท่ี คอยสนับสนุน ชํวยเหลือ ให๎กาลังใจ ให๎ความรํวมมือในงานท่ีทํานทา ชํวยให๎ผลิตผลงานท่ีมีคุณคํา ถ๎าเป็น นกั บวช ไมํวาํ จะเปน็ ศาสนาใด ต๎องมบี รวิ ารท่ดี ี จึงจะสามารถผลิตผลงานท่ีมคี ณุ คําทางศาสนาได๎ 9. เป็นผ๎มู ีป๎ญญารอบรู๎และเชย่ี วชาญจนไดร๎ ับการยกยอํ งวาํ เป็นปราชญ์ ผท๎ู รงภูมิป๎ญญา ต๎อง เป็นผ๎ูมีป๎ญญารอบร๎ูและเชี่ยวชาญ รวมท้ังสร๎างสรรค์ผลงานพิเศษใหมํๆ ที่เป็นประโยชน์ตํอสังคมและ มนษุ ยชาติอยํางตอํ เนื่องอยํูเสมอ 3. การจดั แบง่ สาขาภมู ปิ ัญญาไทย จากการศกึ ษาพบวาํ มีการกาหนดสาขาภูมปิ ญ๎ ญาไทยไวอ๎ ยาํ งหลากหลาย ขนึ้ อยกํู บั วัตถุประสงค์ และ หลักเกณฑ์ตํางๆ ท่ีหนํวยงาน องค์กร และนักวิชาการแตํละทํานนามากาหนด ในภาพรวมภูมิป๎ญญาไทย สามารถแบํงได๎เปน็ 10 สาขาดังน้ี 1. สาขาเกษตรกรรม หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองค์ความร๎ู ทักษะ และเทคนิคด๎าน การเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพน้ื ฐานคุณคําดงั้ เดิม ซ่ึงคนสามารถพ่ึงพาตนเองในภาวการณ์ตํางๆ ได๎ เชํน การทา การเกษตรแบบผสมผสาน วนเกษตร เกษตรธรรมชาติ ไรํนาสวนผสม และสวนผสมผสาน การ แก๎ป๎ญหาการเกษตรด๎านการตลาด การแก๎ป๎ญหาด๎านการผลิต การแก๎ไขป๎ญหาโรคและแมลง และการร๎ูจัก ปรบั ใชเ๎ ทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั การเกษตร เป็นตน๎ 2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม หมายถึง การร๎ูจักประยุกต์ใช๎เทคโนโลยีสมัยใหมํในการแปรรูป ผลิตผล เพื่อชะลอการนาเข๎าตลาด เพ่ือแก๎ป๎ญหาด๎านการบริโภคอยํางปลอดภัย ประหยัด และเป็นธรรม อัน เป็นกระบวนการท่ีทาให๎ชุมชนท๎องถ่ินสามารถพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจได๎ ตลอดทั้งการผลิต และการ จาหนาํ ย ผลิตผลทางหัตถกรรม เชํน การรวมกลุมํ ของกลมํุ โรงงานยางพารา กลุํมโรงสี กลํมุ หัตถกรรม เป็นตน๎ 3. สาขาการแพทย์แผนไทย หมายถึง ความสามารถในการจัดการปูองกัน และรักษาสุขภาพของคนใน ชุมชน โดยเน๎นให๎ชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเอง ทางด๎านสุขภาพ และอนามัยได๎ เชํน การนวดแผนโบราณ การ ดแู ลและรักษาสขุ ภาพแบบพืน้ บา๎ น การดแู ลและรักษาสขุ ภาพแผนโบราณไทย เปน็ ตน๎ 4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมายถึง ความสามารถเกี่ยวกับการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม ท้ังการอนุรักษ์ การพัฒนา และการใช๎ประโยชน์จากคุณคําของ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ๎ ม อยํางสมดุล และยั่งยืน เชนํ การทาแนวปะการงั เทียม การอนุรักษ์ปุาชาย เลน การจัดการปุาต๎นน้า และปุาชมุ ชน เป็นตน๎ 5. สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการด๎านการสะสม และ บริการกองทนุ และธรุ กิจในชุมชน ทั้งที่เปน็ เงนิ ตรา และโภคทรพั ย์ เพื่อสํงเสริมชวี ติ ความเปน็ อยูํของสมาชิกใน ชมุ ชน เชนํ การจดั การเรือ่ งกองทุนของชุมชน ในรปู ของสหกรณอ์ อมทรพั ย์ และธนาคารหมูํบา๎ น เปน็ ต๎น 6. สาขาสวัสดิการ หมายถึง ความสามารถในการจัดสวัสดิการในการประกันคุณภาพชีวิตของคน ให๎ เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เชํน การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลของชุมชน การจดั ระบบสวัสดกิ ารบริการในชมุ ชน การจัดระบบส่ิงแวดลอ๎ มในชุมชน เป็นตน๎ 7. สาขาศิลปกรรม หมายถึง ความสามารถในการผลิตผลงานทางด๎านศิลปะสาขาตํางๆ เชํน จิตรกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม ทศั นศลิ ป์ คตี ศิลป์ ศลิ ปะมวยไทย เป็นต๎น

8. สาขาการจัดการองค์กร หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการดาเนินงานขององค์กรชุมชน ตาํ งๆ ใหส๎ ามารถพัฒนา และบรหิ ารองคก์ รของตนเองได๎ ตามบทบาท และหน๎าท่ีขององค์การ เชํน การจัดการ องค์กรของกลํมุ แมบํ ๎าน กลํุมออมทรพั ย์ กลุมํ ประมงพ้นื บ๎าน เป็นต๎น 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถึง ความสามารถผลติ ผลงานเกย่ี วกับดา๎ นภาษา ท้ังภาษาถ่ิน ภาษาโบราณ ภาษาไทย และการใช๎ภาษา ตลอดท้ังด๎านวรรณกรรมทุกประเภท เชํน การจัดทา สารานกุ รมภาษาถ่นิ การปรวิ รรต หนังสอื โบราณ การฟ้นื ฟกู ารเรียนการสอนภาษาถนิ่ ของท๎องถ่ินตํางๆ เปน็ ต๎น 10. สาขาศาสนาและประเพณี หมายถึง ความสามารถประยุกต์ และปรับใช๎หลักธรรมคาสอนทาง ศาสนา ความเช่ือ และประเพณีด้ังเดิมท่ีมีคุณคําให๎เหมาะสมตํอการประพฤติปฏิบัติ ให๎บังเกิดผลดีตํอบุคคล และส่ิงแวดล๎อม เชํน การถํายทอดหลักธรรมทางศาสนา ลักษณะความสัมพันธ์ของภูมิป๎ญญาไทยภูมิ-ป๎ญญา ไทยสามารถสะทอ๎ นออกมาใน 3 ลักษณะทส่ี มั พนั ธ์ใกล๎ชิดกนั คอื 10.1 ความสัมพนั ธ์อยํางใกลช๎ ดิ กนั ระหวํางคนกบั โลก ส่งิ แวดลอ๎ ม สัตว์ พชื และธรรมชาติ 10.2 ความสมั พันธ์ของคนกบั คนอ่ืนๆ ที่อยูํรํวมกันในสงั คม หรือในชมุ ชน 10.3 ความสัมพันธ์ระหวํางคนกับสิ่งศักดิ์สิทธ์ิสิ่งเหนือธรรมชาติ ตลอดท้ังส่ิงที่ไมํสามารถสัมผัสได๎ ทั้งหลาย ทั้ง 3 ลักษณะนี้ คือ สามมิติของเร่ืองเดียวกัน หมายถึง ชีวิตชุมชน สะท๎อนออกมาถึงภูมิป๎ญญาใน การดาเนนิ ชีวิตอยาํ งมเี อกภาพ เหมือนสามมุมของรูปสามเหล่ียม ภูมิป๎ญญา จึงเป็นรากฐานในการดาเนินชีวิต ของคนไทย ซ่งึ สามารถแสดงใหเ๎ หนน ไดอ๎ ยํางชดั เจนโดยแผนภาพ ดงั น้ี ลักษณะภูมิป๎ญญาที่เกิดจากความสัมพันธ์ ระหวํางคนกับธรรมชาติส่ิงแวดล๎อม จะแสดงออกมา ในลักษณะภูมิป๎ญญาในการดาเนินวิถีชีวิตขั้นพื้นฐาน ด๎านป๎จจัยสี่ ซึ่งประกอบด๎วย อาหาร เคร่ืองนุํงหํมท่ี อยํูอาศัย และยารักษาโรค ตลอดท้ังการประกอบ อ า ชี พ ตํ า ง ๆ เ ป็ น ต๎ น ภู มิ ป๎ ญ ญ า ท่ี เ กิ ด จ า ก ความสัมพันธ์ระหวํางคนกับคนอื่นในสังคม จะแสดง ออกมาในลักษณะ จารีต ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ และนันทนาการ ภาษา และวรรณกรรม ตลอดทงั้ การสือ่ สารตาํ งๆ เปน็ ตน๎ แผนภาพแสดงความสัมพันธร์ ะหวํางคนกบั ธรรมชาติสิ่งแวดลอ๎ ม ภูมิป๎ญญาท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ระหวํางคนกับส่ิงศักด์ิสิทธิ์ ส่ิงเหนือธรรมชาติ จะแสดงออกมาใน ลกั ษณะของสิง่ ศักดส์ิ ทิ ธิ์ ศาสนา ความเช่ือตํางๆ เป็นตน๎ 4. คณุ คา่ และความสา้ คญั ของภมู ิปญั ญาไทย คุณคําของภูมิป๎ญญาไทย ได๎แกํ ประโยชน์ และความสาคัญของภูมิป๎ญญา ที่บรรพบุรุษไทย ได๎ สรา๎ งสรรค์ และสืบทอดมาอยํางตํอเน่ือง จากอดีตสํูป๎จจุบัน ทาให๎คนในชาติเกิดความรัก และความภาคภูมิใจ ท่จี ะรวํ มแรงรวํ มใจสืบสานตอํ ไปในอนาคต เชํน โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถาป๎ตยกรรม ประเพณีไทย การมี นา้ ใจ ศักยภาพในการประสานผลประโยชน์ เป็นต๎น ภมู ปิ ญ๎ ญาไทยจงึ มคี ุณคาํ และความสาคญั ดังนี้ 1. ภมู ิปญ๎ ญาไทยชํวยสร๎างชาติให๎เป็นปกึ แผนํ

พระมหากษัตริย์ไทยได๎ใช๎ภูมิป๎ญญาในการสร๎างชาติ สร๎างความเป็นปึกแผํนให๎แกํ ประเทศชาติมาโดยตลอด ตั้งแตํสมัยพํอขุนรามคาแหงมหาราช พระองค์ทรงปกครองประชาชน ด๎วยพระ เมตตา แบบพํอปกครองลูก ผ๎ูใดประสบความเดือดร๎อน กนสามารถตีระฆัง แสดงความเดือดร๎อน เพ่ือขอรับ พระราชทานความชํวยเหลือ ทาให๎ประชาชนมีความจงรักภักดีตํอพระองค์ ตํอประเทศชาติรํวมกันสร๎าง บา๎ นเรือนจนเจรญิ รุํงเรืองเปน็ ปกึ แผนํ สมเดนจพระนเรศวรมหาราช พระองค์ทรงใช๎ภูมิป๎ญญากระทายุทธหัตถี จนชนะข๎าศึกศัตรู และทรงกอบก๎ูเอกราชของชาติไทยคืนมาได๎ พระบาทสมเดนจพระเจ๎าอยูํหัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลป๎จจุบัน พระองคท์ รงใชภ๎ ูมิป๎ญญาสร๎างคุณประโยชน์แกํประเทศชาติ และเหลําพสกนิกรมากมายเหลือคณานับ ทรงใช๎ พระปรีชาสามารถ แก๎ไขวิกฤตการณ์ทางการเมือง ภายในประเทศ จนรอดพ๎นภัยพิบัติหลายครั้ง พระองค์ทรง มีพระปรีชาสามารถหลายด๎าน แม๎แตํด๎านการเกษตร พระองค์ได๎พระราชทานทฤษฎีใหมํให๎แกํพสกนิกร ท้ัง ด๎านการเกษตรแบบสมดุลและย่ังยืน ฟ้ืนฟูสภาพแวดล๎อม นาความสงบรํมเยนนของประชาชนให๎กลับคืนมา แนวพระราชดาริ \"ทฤษฎใี หมํ\" แบํงออกเปน็ 2 ขัน้ โดยเรมิ่ จาก ข้ันตอนแรก ให๎เกษตรกรรายยํอย \"มีพออยูํพอ กิน\" เป็นข้ันพ้ืนฐาน โดยการพัฒนาแหลํงน้า ในไรํนา ซ่ึงเกษตรกรจาเป็นท่ีจะต๎องได๎รับความชํวยเหลือจาก หนํวยราชการ มูลนิธิ และหนํวยงานเอกชน รํวมใจกันพัฒนาสังคมไทย ในข้ันที่สอง เกษตรกรต๎องมีความ เข๎าใจ ในการจดั การในไรํนาของตน และมีการรวมกลมํุ ในรปู สหกรณ์ เพ่ือสร๎างประสิทธิภาพทางการผลิต และ การตลาด การลดรายจํายด๎านความเป็นอยูํ โดยทรงตระหนักถึงบทบาทขององค์กรเอกชน เม่ือกลุํ มเกษตร ววิ ัฒน์มาขนั้ ที่ 2 แล๎ว กนจะมศี กั ยภาพ ในการพัฒนาไปสํูข้ันท่ีสาม ซึ่งจะมีอานาจในการตํอรองผลประโยชน์กับ สถาบันการเงินคือ ธนาคาร และองค์กรที่เป็นเจ๎าของแหลํงพลังงาน ซ่ึงเป็นป๎จจัยหน่ึงในการผลิต โดยมีการ แปรรูปผลิตผล เชนํ โรงสี เพอื่ เพ่มิ มลู คําผลติ ผล และขณะเดยี วกันมีการจัดต้ังร๎านค๎าสหกรณ์ เพ่ือลดคําใช๎จําย ในชีวิตประจาวัน อันเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลในสังคม จะเหนนได๎วํา มิได๎ทรงทอดทิ้งหลักของ ความสามัคคีในสังคม และการจัดตั้งสหกรณ์ ซึ่งทรงสนับสนุนให๎กลํุมเกษตรกรสร๎างอานาจตํอรองในระบบ เศรษฐกิจ จึงจะมีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงจัดได๎วํา เป็นสังคมเกษตรท่ีพัฒนาแล๎ว สมดังพระราชประสงค์ที่ทรงอุทิศ พระวรกาย และพระสติป๎ญญา ในการพฒั นาการเกษตรไทยตลอดระยะเวลาแหํงการครองราชย์ 2. สรา๎ งความภาคภูมใิ จ และศกั ด์ิศรี เกียรตภิ มู ิแกคํ นไทย คนไทยในอดีตท่ีมีความสามารถปรากฏในประวัติศาสตร์มีมาก เป็นที่ยอมรับของนานา อารยประเทศ เชํน นายขนมต๎มเป็นนักมวยไทย ที่มีฝีมือเกํงในการใช๎อวัยวะทุกสํวน ทุกทําของแมํไม๎มวยไทย สามารถชกมวยไทย จนชนะพมําได๎ถึงเก๎าคนสิบคนในคราวเดียวกัน แม๎ในป๎จจุบัน มวยไทยกนยังถือวํา เป็น ศิลปะช้ันเยี่ยม เป็นท่ี นิยมฝึกและแขํงขันในหมูํคนไทยและชาวตําง ประเทศ ป๎จจุบันมีคํายมวยไทยทั่วโลกไมํ ต่ากวาํ 30,000 แหํง ชาวตาํ งประเทศท่ีไดฝ๎ กึ มวยไทย จะร๎ูสกึ ยนิ ดีและภาคภูมิใจ ในการที่จะใช๎กติกา ของมวย ไทย เชํน การไหว๎ครูมวยไทย การออก คาสั่งในการชกเป็นภาษาไทยทุกคา เชํน คาวํา \"ชก\" \"นับหน่ึงถึงสิบ\" เป็นต๎น ถือเป็นมรดก ภูมิป๎ญญาไทย นอกจากน้ี ภูมิป๎ญญาไทยท่ีโดด เดํนยังมีอีกมากมาย เชํน มรดกภูมิ ป๎ญญาทาง ภาษาและวรรณกรรม โดยที่มีอักษรไทยเป็นของ ตนเองมาตั้งแตํสมัยกรุงสุโขทัย และวิวัฒนาการ มาจนถึงป๎จจุบัน วรรณกรรมไทยถือวํา เป็นวรรณกรรมที่มีความไพเราะ ได๎อรรถรสครบทุกด๎าน วรรณกรรม หลายเรอื่ งไดร๎ ับการแปลเปน็ ภาษาตํางประเทศหลายภาษา ด๎านอาหาร อาหารไทยเป็นอาหารท่ีปรุงงําย พืชท่ี ใช๎ประกอบอาหารสํวนใหญํเป็นพืชสมุนไพร ที่หาได๎งํายในท๎องถิ่น และราคาถูก มี คุณคําทางโภชนาการ และ

ยังปูองกันโรคได๎หลายโรค เพราะสํวนประกอบสํวนใหญํเป็นพืชสมุนไพร เชํน ตะไคร๎ ขิง ขํา กระชาย ใบ มะกรดู ใบโหระพา ใบกะเพรา เปน็ ตน๎ 3. สามารถปรบั ประยุกตห์ ลกั ธรรมคาสอนทางศาสนาใช๎กับวถิ ีชวี ิตได๎อยํางเหมาะสม คนไทยสํวนใหญํนับถือศาสนาพุทธ โดยนาหลักธรรมคาสอนของศาสนา มาปรับใช๎ในวิถีชีวิต ได๎อยํางเหมาะสม ทาให๎คนไทยเป็นผ๎ูอํอนน๎อมถํอมตน เอื้อเฟื้อเผ่ือแผํ ประนีประนอม รักสงบ ใจเยนน มีความ อดทน ให๎อภัยแกผํ ๎สู านึกผดิ ดารงวิถีชวี ติ อยํางเรียบงําย ปกติสุข ทาให๎คนในชุมชนพึ่งพากันได๎ แม๎จะอดอยาก เพราะ แห๎งแล๎ง แตํไมํมีใครอดตาย เพราะพ่ึงพาอาศัย กัน แบํงป๎นกันแบบ \"พริกบ๎านเหนือเกลือบ๎านใต๎\" เป็น ต๎น ทง้ั หมดนส้ี บื เน่อื งมาจากหลักธรรมคาสอนของพระพทุ ธศาสนา เป็นการใช๎ภูมิป๎ญญา ในการนาเอาหลักขอ พระพทุ ธศาสนามา ประยกุ ตใ์ ช๎กับชวี ิตประจาวนั และดาเนินกุศโลบาย ด๎านตํางประเทศ จนทาให๎ชาวพุทธท่ัว โลกยกยํอง ให๎ประเทศไทยเป็นผ๎ูนาทางพุทธศาสนา และเป็น ท่ีต้ังสานักงานใหญํองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์ แหํงโลก (พสล.) อยูํเย้ืองๆ กับอุทยานเบญจสิริ กรุงเทพมหานคร โดยมีคนไทย (ฯพณฯ สัญญา ธรรมศักดิ์ องคมนตร)ี ดารงตาแหนงํ ประธาน พสล. ตอํ จาก ม.จ.หญงิ พนู พิศมยั ดิศกลุ 4. สร๎างความสมดลุ ระหวาํ งคนในสงั คม และธรรมชาติได๎อยาํ งย่ังยืน ภูมิป๎ญญาไทยมีความเดํนชัดในเรื่องของการยอมรับนับถือ และให๎ความสาคัญแกํคน สังคม และธรรมชาติอยํางยงิ่ มเี ครือ่ งช้ที ่ีแสดงให๎เหนนไดอ๎ ยํางชดั เจนมากมาย เชํน ประเพณีไทย 12 เดือน ตลอดท้ังปี ล๎วนเคารพคุณคําของธรรมชาติ ได๎แกํ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง เป็นต๎น ประเพณีสงกรานต์ เป็นประเพณีที่ทาใน ฤดูร๎อนซึ่งมีอากาศร๎อน ทาให๎ต๎องการความเยนน จึงมีการรดน้าดาหัว ทาความสะอาด บ๎านเรือน และธรรมชาติส่ิงแวดล๎อม มีการแหํนางสงกรานต์ การทานายฝนวําจะตกมากหรือน๎อยในแตํละปี สํวนประเพณีลอยกระทง คุณคําอยํูที่การบูชา ระลึกถึงบุญคุณของน้า ท่ีหลํอเล้ียงชีวิตของ คน พืช และสัตว์ ให๎ได๎ใช๎ทั้งบริโภคและอุปโภค ในวันลอยกระทง คนจึงทาความสะอาดแมํน้า ลาธาร บูชาแมํน้าจากตัวอยําง ขา๎ งต๎น ล๎วนเป็น ความสมั พนั ธร์ ะหวํางคนกับสงั คมและธรรมชาติ ทงั้ ส้นิ ในการรักษาปุาไมต๎ ๎นนา้ ลาธาร ได๎ประยุกตใ์ ห๎มีประเพณีการบวชปุา ให๎คนเคารพส่ิงศักด์ิสิทธิ์ ธรรมชาติ และสภาพแวดล๎อม ยังความอุดมสมบูรณ์แกํต๎นน้า ลาธาร ให๎ฟ้ืนสภาพกลับคืนมาได๎มาก อาชีพ การเกษตรเป็นอาชีพหลักของคนไทย ทค่ี านงึ ถงึ ความสมดุล ทาแตํนอ๎ ยพออยํพู อกิน แบบ \"เฮนดอยูํเฮนดกิน\" ของ พอํ ทองดี นนั ทะ เม่ือเหลือกนิ กแน จกญาตพิ ีน่ อ๎ ง เพอ่ื นบ๎าน บา๎ นใกล๎เรือนเคียง นอกจากน้ี ยังนาไปแลกเปลี่ยน กบั ส่ิงของอยํางอ่ืน ที่ตนไมมํ ี เมือ่ เหลือใช๎จรงิ ๆ จงึ จะนาไปขาย อาจกลําวได๎วํา เป็นการเกษตรแบบ \"กิน-แจก- แลก-ขาย\" ทาให๎คนในสังคมได๎ชํวยเหลือเก้ือกูล แบํงป๎นกัน เคารพรัก นับถือ เป็นญาติกัน ท้ังหมํูบ๎าน จึงอยํู รวํ มกนั อยํางสงบสขุ มีความสมั พันธ์กนั อยํางแนบแนนํ ธรรมชาติไมํถูกทาลายไปมากนัก เน่ืองจากทาพออยูํพอ กนิ ไมโํ ลภมากและไมํทาลายทกุ อยาํ งผิด กบั ในปจ๎ จบุ นั ถือเป็นภมู ิป๎ญญาที่สรา๎ งความ สมดลุ ระหวํางคน สังคม และธรรมชาติ 5. เปล่ยี นแปลงปรบั ปรุงได๎ตามยุคสมัย แมว๎ ํากาลเวลาจะผํานไป ความรู๎สมยั ใหมํ จะหลั่งไหลเข๎ามามาก แตํภูมิป๎ญญาไทย กนสามารถ ปรบั เปลย่ี นให๎เหมาะสมกับยุคสมัย เชนํ การรจู๎ กั นาเครอื่ งยนตม์ าติดต้ังกับเรือ ใสํใบพัด เป็นหางเสือ ทาให๎เรือ สามารถแลํนได๎เรนวขึ้น เรียกวํา เรือหางยาว การรู๎จักทาการเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟ้ืนคืน ธรรมชาติให๎ อดุ มสมบูรณ์แทนสภาพเดิมท่ีถูกทาลายไป การร๎ูจักออมเงิน สะสมทุนให๎สมาชิกก๎ูยืม ปลดเปล้ือง

หน้ีสิน และจัดสวัสดิการแกสํ มาชกิ จนชมุ ชนมคี วามม่ันคง เขม๎ แขนง สามารถชวํ ยตนเองได๎หลายร๎อยหมํูบ๎านทั่ว ประเทศ เชํน กลํุมออมทรัพย์คีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช จัดในรูปกองทุนหมุนเวียนของชุมชน จนสามารถ ชํวยตนเองได๎ เมื่อปุาถูกทาลาย เพราะถูกตัดโคํน เพ่ือปลูกพืชแบบเด่ียว ตามภูมิป๎ญญาสมัยใหมํ ท่ีหวัง ร่ารวย แตใํ นที่สดุ กนขาดทนุ และมีหนี้สิน สภาพแวดล๎อมสูญเสียเกิดความแห๎งแล๎ง คนไทยจึงคิดปลูกปุา ท่ีกิน ได๎ มีพืชสวน พืชปุาไม๎ผล พืชสมุนไพร ซึ่งสามารถมีกินตลอดชีวิตเรียกวํา \"วนเกษตร\" บางพ้ืนที่ เมื่อปุาชุมชน ถูกทาลาย คนในชุมชนกนรวมตัวกัน เป็นกลํุมรักษาปุา รํวมกันสร๎างระเบียบ กฎเกณฑ์กันเอง ให๎ทุกคนถือ ปฏิบัติได๎ สามารถรักษาปุาได๎อยํางสมบูรณ์ดังเดิม เม่ือปะการังธรรมชาติถูกทาลาย ปลาไมํมีท่ีอยํูอาศัย ประชาชนสามารถสร๎าง \"อูหยัม\" ข้ึน เป็นปะการังเทียม ให๎ปลาอาศัยวางไขํ และแพรํพันธ์ุให๎เจริญเติบโต มี จานวนมากดงั เดมิ ได๎ ถือเป็นการใช๎ภมู ปิ ๎ญญาปรับปรุงประยุกต์ใช๎ไดต๎ ามยุคสมยั สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เลํมที่ 19 ให๎ความหมายของคาวํา ภูมิป๎ญญาชาวบ๎าน หมายถึง ความรู๎ของชาวบ๎าน ซ่ึงได๎มาจากประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ๎าน รวมทั้งความรู๎ที่ ส่งั สมมาแตํบรรพบุรษุ สบื ทอดจากคนรุํนหนึ่งไปสูํคนอีกรุํนหน่ึง ระหวํางการสืบทอดมีการปรับ ประยุกต์ และ เปล่ยี นแปลง จนอาจเกดิ เป็นความรใู๎ หมตํ ามสภาพการณ์ทางสังคมวฒั นธรรม และ สง่ิ แวดล๎อม ภมู ิป๎ญญาเป็นความรู๎ที่ประกอบไปด๎วยคุณธรรม ซึ่งสอดคล๎องกับวิถีชีวิตด้ังเดิมของชาวบ๎าน ในวถิ ดี ง้ั เดิมนั้น ชีวิตของชาวบ๎านไมํได๎แบํงแยกเป็นสํวนๆ หากแตํทุกอยํางมีความสัมพันธ์กัน การทามาหากิน การอยูํรํวมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความรู๎เป็นคุณธรรม เมื่อผ๎ูคนใช๎ความร๎ูนั้น เพ่ือสร๎างความสัมพันธ์ที่ดีระหวําง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับส่ิงเหนือธรรมชาติ ความสัมพันธ์ที่ดี เป็นความสัมพันธ์ที่มีความสมดุล ที่เคารพกันและกัน ไมํทาร๎ายทาลายกัน ทาให๎ทุกฝุายทุกสํวนอยูํรํวมกันได๎ อยํางสันติ ชุมชนด้ังเดิมจึงมีกฎเกณฑ์ของการอยูํรํวมกัน มีคนเฒําคนแกํเป็นผู๎นา คอยให๎คาแนะนาตักเตือน ตัดสิน และลงโทษหากมีการละเมิด ชาวบ๎านเคารพธรรมชาติรอบตัว ดิน น้า ปุา เขา ข๎าว แดด ลม ฝน โลก และจักรวาล ชาวบ๎านเคารพผ๎หู ลักผใ๎ู หญํ พอํ แมํ ปูุยาํ ตายาย ทัง้ ทม่ี ชี วี ติ อยูํและลํวงลับไปแล๎วภูมิป๎ญญาจึงเป็น ความร๎ูทมี่ คี ุณธรรม เป็นความรู๎ท่ีมีเอกภาพของทุกสิ่งทุกอยําง เป็นความร๎ูวํา ทุกสิ่งทุกอยํางสัมพันธ์กันอยํางมี ความสมดุล เราจึงยกยํองความรู๎ข้ันสูงสํง อันเป็นความร๎ูแจ๎งในความจริงแหํงชีวิตน้ีวํา \"ภูมิป๎ญญา\"ความคิด และการแสดงออกเพื่อจะเข๎าใจภูมิป๎ญญาชาวบ๎าน จาเป็นต๎องเข๎าใจความคิดของชาวบ๎านเก่ียวกับโลก หรือที่ เรียกวํา โลกทัศน์ และเก่ียวกับชีวิต หรือที่เรียกวํา ชีวทัศน์ สิ่งเหลําน้ีเป็นนามธรรม อันเก่ียวข๎องสัมพันธ์ โดยตรงกับการแสดงออกใน ลักษณะตํางๆ ท่ีเป็นรูปธรรม แนวคิดเร่ืองความสมดุลของชีวิต เป็นแนวคิด พืน้ ฐานของภูมิป๎ญญาชาวบ๎าน การแพทย์แผนไทย หรือท่ีเคยเรียกกันวํา การแพทย์แผนโบราณนั้นมีหลักการ วํา คนมีสุขภาพดี เม่ือรํางกายมีความสมดุลระหวํางธาตุท้ัง 4 คือ ดิน น้า ลม ไฟ คนเจนบไข๎ได๎ปุวยเพราะธาตุ ขาดความสมดุล จะมีการปรับธาตุ โดยใช๎ยาสมุนไพร หรือวิธีการอื่นๆ คนเป็นไข๎ตัวร๎อน หมอยาพื้นบ๎านจะให๎ ยาเยนน เพอ่ื ลดไข๎ เป็นต๎น การดาเนินชีวิตประจาวันกนเชํนเดียวกัน ชาวบ๎านเช่ือวํา จะต๎องรักษาความสมดุลใน ความสมั พนั ธส์ ามด๎าน คือ ความสมั พนั ธ์กับคนในครอบครัว ญาติพีน่ อ๎ ง เพื่อนบ๎านในชุมชน ความสัมพันธ์ที่ดีมี หลักเกณฑ์ ท่ีบรรพบุรุษได๎สั่งสอนมา เชํน ลูกควรปฏิบัติอยํางไรกับพํอแมํ กับญาติพ่ีน๎อง กับผู๎สูงอายุ คนเฒํา คนแกํ กับเพื่อนบ๎าน พํอแมํควรเลี้ยงดูลูกอยํางไร ความเอื้ออาทรตํอกันและกัน ชํวยเหลือเก้ือกูลกัน โดยเฉพาะในยามทุกข์ยาก หรือมีป๎ญหา ใครมีความสามารถพิเศษกนใช๎ความสามารถนั้นชํวยเหลือผ๎ูอื่น เชํน

บางคนเป็นหมอยา กนชํวยดูแลรักษาคนเจบน ปวุ ยไมํสบาย โดยไมํคิดคํารักษา มีแตํเพียงการยกครู หรือการราลึก ถงึ ครบู าอาจารย์ท่ีประสาทวิชามาให๎เทํานั้น หมอยาต๎องทามาหากิน โดยการทานา ทาไรํ เล้ียงสัตว์เหมือนกับ ชาวบ๎านอ่นื ๆ บางคนมีความสามารถพิเศษด๎านการทามาหากนิ กชน วํ ยสอนลูกหลานใหม๎ วี ิชาไปด๎วย ความสัมพันธ์ระหวํางคนกับคนในครอบครัว ในชุมชน มีกฎเกณฑ์เป็นข๎อปฏิบัติ และข๎อห๎าม อยาํ งชดั เจน มกี ารแสดงออกทางประเพณี พธิ ีกรรม และกิจกรรมตาํ งๆ เชํน การรดน้าดาหัวผ๎ูใหญํ การบายศรี สูํขวัญ เป็นต๎น ความสัมพันธ์กับธรรมชาติ ผ๎ูคนสมัยกํอนพึ่งพาอาศัยธรรมชาติแทบทุกด๎าน ตั้งแตํอาหารการ กนิ เครื่องนงํุ หมํ ที่อยอํู าศัย และยารักษาโรค วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยียังไมํพัฒนาก๎าวหน๎าเหมือนทุกวันน้ี ยังไมมํ รี ะบบการคา๎ แบบสมยั ใหมํ ไมํมีตลาด คนไปจับปลาลําสัตว์ เพ่ือเป็นอาหารไปวันๆ ตัดไม๎ เพื่อสร๎างบ๎าน และใช๎สอยตามความจาเป็นเทําน้ัน ไมํได๎ทาเพ่ือการค๎า ชาวบ๎านมีหลักเกณฑ์ในการใช๎สิ่งของในธรรมชาติ ไมํ ตัดไมอ๎ อํ น ทาใหต๎ ๎นไม๎ในปุาขึน้ แทนต๎นที่ถูกตัดไปได๎ตลอดเวลาชาวบ๎านยังไมํรู๎จักสารเคมี ไมํใช๎ยาฆําแมลง ฆํา หญา๎ ฆาํ สัตว์ ไมํใช๎ปุ๋ยเคมี ใชส๎ งิ่ ของในธรรมชาติให๎เกื้อกลู กัน ใช๎มลู สตั ว์ ใบไม๎ใบ หญ๎าทเี่ นําเป่ือยเป็นปุ๋ย ทาให๎ ดินอุดมสมบูรณ์ น้าสะอาด และไมํเหือดแห๎ง ชาวบา๎ นเคารพธรรมชาติ เช่ือวํา มีเทพมีเจ๎าสถิตอยูํในดิน น้า ปุา เขา สถานท่ีทุกแหํง จะทาอะไรต๎องขออนุญาต และทาด๎วยความเคารพ และพอดี พองาม ชาวบ๎านร๎ูคุณ ธรรมชาติ ที่ได๎ให๎ชีวิตแกํตน พิธีกรรมตํางๆ ล๎วนแสดงออกถึงแนวคิดดังกลําว เชํน งานบุญพิธี ท่ีเก่ียวกับ น้า ข๎าว ปุาเขา รวมถึงสัตว์ บ๎านเรือน เครื่องใช๎ตํางๆ มีพิธีสํูขวัญข๎าว สํูขวัญควาย สูํขวัญเกวียน ทางอีสานมีพิธี แฮกนา หรอื แรกนา เลย้ี งผตี าแฮก มงี านบุญบ๎าน เพ่ือเลีย้ งผี หรือสิ่งศกั ดิ์สิทธป์ิ ระจาหมํบู ๎าน เปน็ ต๎น ความสัมพันธ์กับส่ิงเหนือธรรมชาติ ชาวบ๎านร๎ูวํา มนุษย์เป็นเพียงสํวนเลนกๆ สํวนหนึ่ง ของ จักรวาล ซ่ึงเตนมไปด๎วยความเร๎นลับ มีพลัง และอานาจ ท่ีเขาไมํอาจจะหาคาอธิบายได๎ ความเร๎นลับดังกลําว รวมถงึ ญาตพิ ีน่ อ๎ ง และผู๎คนท่ลี ํวงลบั ไปแล๎ว ชาวบา๎ นยงั สมั พนั ธก์ บั พวกเขา ทาบญุ และราลึกถึงอยํางสม่าเสมอ ทุกวัน หรือในโอกาสสาคัญๆ นอกน้ันเป็นผีดี ผีร๎าย เทพเจ๎าตํางๆ ตามความเชื่อของแตํละแหํง ส่ิงเหลําน้ีสิง สถิตอยใูํ นสิง่ ตาํ งๆ ในโลก ในจกั รวาล และอยบํู นสรวงสวรรคก์ ารทามาหากนิ แม๎วิถีชีวิตของชาวบ๎านเมื่อกํอนจะดูเรียบงํายกวําทุกวันนี้ และยังอาศัยธรรมชาติ และ แรงงานเป็นหลัก ในการทามาหากิน แตํพวกเขากนต๎องใช๎สติป๎ญญา ที่บรรพบุรุษถํายทอดมาให๎ เพื่อจะได๎อยํู รอด ท้ังนเี้ พราะป๎ญหาตํางๆ ในอดีตกยน ังมไี มนํ ๎อย โดยเฉพาะเม่ือครอบครัวมีสมาชิกมากข้ึน จาเป็นต๎องขยายที่ ทากนิ ตอ๎ งหักร๎างถางพง บุกเบกิ พืน้ ท่ที ากินใหมํ การปรับพ้ืนที่ป้๎นคันนา เพ่ือทานา ซึ่งเป็นงานท่ีหนัก การทา ไรํทานา ปลูกพืชเล้ียงสัตว์ และดูแลรักษาให๎เติบโต และได๎ผล เป็นงานที่ต๎องอาศัยความรู๎ความสามารถ การ จับปลาลําสตั ว์กมน ีวธิ ีการ บางคนมคี วามสามารถมากรว๎ู าํ เวลาไหน ท่ีใด และวิธีใด จะจับปลาได๎ดีที่สุด คนที่ไมํ เกงํ กนตอ๎ งใช๎เวลานาน และได๎ปลานอ๎ ย การลาํ สัตว์กเน ชํนเดียวกนั การจัดการแหลํงน้า เพ่ือการเกษตร กนเป็นความร๎ูความสามารถ ที่มีมาแตํโบราณ คนทาง ภาคเหนือร๎ูจักบริหารน้า เพื่อการเกษตร และเพื่อการบริโภคตํางๆ โดยการจัดระบบเหมืองฝาย มีการจัด แบํงป๎นน้ากันตามระบบประเพณีที่ สืบทอดกันมา มีหัวหน๎าท่ีทุกคนยอมรับ มีคณะกรรมการจัดสรรน้าตาม สดั สวํ น และตามพน้ื ที่ทากนิ นบั เปน็ ความร๎ูที่ทาให๎ชุมชนตํางๆ ท่ีอาศัยอยํูใกล๎ลาน้า ไมํวําต๎นน้า หรือปลายน้า ได๎รบั การแบงํ ปน๎ น้าอยํางยตุ ธิ รรม ทุกคนไดป๎ ระโยชน์ และอยรํู ํวมกันอยาํ งสนั ติ ชาวบา๎ นรจู๎ ักการแปรรูปผลติ ผลในหลายรูปแบบ การถนอมอาหารให๎กินได๎นาน การดองการ หมัก เชนํ ปลารา๎ น้าปลา ผกั ดอง ปลาเคนม เนือ้ เคมน ปลาแห๎ง เนือ้ แหง๎ การแปรรปู ข๎าว กนทาได๎มากมายนับร๎อย

ชนิด เชํน ขนมตํางๆ แตํละพิธีกรรม และแตํละงานบุญประเพณี มีข๎าวและขนมในรูปแบบไมํซ้ากัน ตั้งแตํ ขนมจีน สังขยา ไปถึงขนมในงานสารท กาละแม ขนมครก และอ่ืนๆ ซึ่งยังพอมีให๎เหนนอยูํจานวนหน่ึง ใน ป๎จจบุ นั สํวนใหญปํ รับเปลีย่ นมาเปน็ การผลิตเพือ่ ขาย หรือเปน็ อุตสาหกรรมในครวั เรือน ความรู๎เรื่องการปรุงอาหารกนมีอยูํมากมาย แตํละท๎องถ่ินมีรูปแบบ และรสชาติแตกตํางกันไป มมี ากมายนับร๎อยนับพันชนิด แม๎ในชีวิตประจาวัน จะมีเพียงไมํก่ีอยําง แตํโอกาสงานพิธี งาน เล้ียง งานฉลอง สาคัญ จะมีการจัดเตรียมอาหารอยํางดี และพิถีพิถันการทามาหากินในประเพณีเดิมน้ัน เป็นท้ังศาสตร์และ ศิลป์ การเตรียมอาหาร การจัดขนม และผลไม๎ ไมํได๎เป็นเพียงเพ่ือให๎รับประทานแล๎วอรํอย แตํให๎ได๎ความ สวยงาม ทาให๎สามารถสัมผสั กบั อาหารนั้น ไมํเพียงแตํทางปาก และรสชาติของลิ้น แตํทางตา และทางใจ การ เตรียมอาหารเป็นงานศิลปะ ที่ปรุงแตํด๎วยความตั้งใจ ใช๎เวลา ฝีมือ และความรู๎ความสามารถ ชาวบ๎าน สมยั กอํ นสวํ นใหญจํ ะทานาเปน็ หลัก เพราะเมือ่ มีขา๎ วแลว๎ กนสบายใจ อยํางอ่ืนพอหาได๎จากธรรมชาติ เสรนจหน๎า นากนจะทางานหัตถกรรม การทอผ๎า ทาเส่ือ เลี้ยงไหม ทาเคร่ืองมือ สาหรับจับสัตว์ เคร่ืองมือการเกษตร และ อปุ กรณต์ าํ งๆ ท่จี าเปน็ หรอื เตรยี มพืน้ ท่ี เพอื่ การทานาครง้ั ตอํ ไป หัตถกรรมเป็นทรัพย์สิน และมรดกทางภูมิป๎ญญาที่ย่ิงใหญํท่ีสุดอยํางหน่ึงของบรรพบุรุษ เพราะเป็นส่ือทถี่ าํ ยทอดอารมณ์ ความร๎ูสึก ความคิด ความเช่ือ และคุณคําตํางๆ ที่สั่งสมมาแตํนมนาน ลายผ๎า ไหม ผ๎าฝาู ย ฝีมือในการทออยาํ งประณีต รปู แบบเครื่องมอื ทสี่ านด๎วยไม๎ไผํ และอุปกรณ์ เคร่ืองใช๎ไม๎สอยตํางๆ เครื่องดนตรี เครื่องเลํน สิ่งเหลําน้ีได๎ถูกบรรจงสร๎างขึ้นมา เพื่อการใช๎สอย การทาบุญ หรือการอุทิศให๎ใครคน หนึ่ง ไมํใชํเพ่ือการค๎าขาย ชาวบ๎านทามาหากินเพียงเพ่ือการยังชีพ ไมํได๎ทาเพื่อขาย มีการนาผลิตผลสํวนหน่ึง ไปแลกสิ่งของท่ีจาเป็น ที่ตนเองไมํมี เชํน นาข๎าวไป แลกเกลือ พริก ปลา ไกํ หรือเส้ือผ๎า การขายผลิตผลมีแตํ เพียงสํวนน๎อย และเม่ือมีความจาเป็นต๎องใช๎เงิน เพ่ือเสียภาษีให๎รัฐ ชาวบ๎านนาผลิตผล เชํน ข๎าว ไปขายใน เมืองใหก๎ บั พอํ ค๎า หรือขายให๎กับพํอค๎าท๎องถ่นิ เชํน ทางภาคอีสาน เรียกวํา \"นายฮ๎อย\" คนเหลํานี้จะนาผลิตผล บางอยําง เชํน ขา๎ ว ปลาร๎า ววั ควาย ไปขายในทีไ่ กลๆ ทางภาคเหนอื มพี อํ ค๎าวัวตาํ งๆ เปน็ ต๎น แม๎วําความร๎ูเร่อื งการคา๎ ขายของคนสมัยกํอน ไมํอาจจะนามาใช๎ในระบบตลาดเชํนป๎จจุบันได๎ เพราะสถานการณ์ได๎เปล่ียนแปลงไปอยํางมาก แตํการค๎าที่มีจริยธรรมของพํอค๎าในอดีต ท่ีไมํได๎หวังแตํเพียง กาไร แตํคานึงถงึ การชวํ ยเหลอื แบํงปน๎ กันเปน็ หลัก ยงั มีคณุ คําสาหรบั ปจ๎ จบุ นั นอกนั้น ในหลายพ้ืนที่ในชนบท ระบบการแลกเปลย่ี นส่งิ ของยังมีอยํู โดยเฉพาะในพ้นื ทีย่ ากจน ซ่งึ ชาวบ๎านไมํมีเงินสด แตํมีผลิตผลตํางๆ ระบบ การแลกเปลี่ยนไมํได๎ยึดหลักมาตราช่ังวัด หรือการตีราคาของสิ่งของ แตํแลกเปลี่ยน โดยการคานึงถึง สถานการณ์ของผ๎ูแลกทั้งสองฝุาย คนที่เอาปลาหรือไกํมาขอแลกข๎าว อาจจะได๎ข๎าวเป็นถัง เพราะเจ๎าของข๎าว คานงึ ถงึ ความจาเปน็ ของครอบครวั เจา๎ ของไกํ ถ๎าหากตรี าคาเปน็ เงนิ ข๎าวหนึ่งถังยํอมมคี ําสูงกวําไกหํ น่ึงตวั การอยรู่ ่วมกันในสงั คม การอยํูรํวมกันในชุมชนดั้งเดิมนั้น สํวนใหญํจะเป็นญาติพ่ีน๎องไมํก่ีตระกูล ซ่ึงได๎อพยพย๎ายถิ่น ฐานมาอยํู หรือสืบทอดบรรพบุรุษจนนับญาติกันได๎ท้ังชุมชน มีคนเฒําคนแกํท่ีชาวบ๎านเคารพนับถือเป็นผ๎ูนา หน๎าที่ของผู๎นา ไมํใชํการส่ัง แตํเป็นผ๎ูให๎คาแนะนาปรึกษา มีความแมํนยาในกฎระเบียบประเพณีการดาเนิน ชีวิต ตัดสินไกลํเกล่ีย หากเกิดความขัดแย๎ง ชํวยกันแก๎ไขป๎ญหาตํางๆ ท่ีเกิดขึ้น ป๎ญหาในชุมชนกนมีไมํน๎อย ป๎ญหาการทามาหากิน ฝนแล๎ง น้าทํวม โรคระบาด โจรลักวัวควาย เป็นต๎น นอกจากนั้น ยังมีป๎ญหาความ ขัดแยง๎ ภายในชมุ ชน หรอื ระหวํางชมุ ชน การละเมดิ กฎหมาย ประเพณี สํวนใหญํจะเป็นการ \" ผิดผี\" คือ ผีของ

บรรพบุรุษ ผู๎ซ่ึงได๎สร๎างกฎเกณฑ์ตํางๆ ไว๎ เชํน กรณีท่ีชายหนุํมถูกเน้ือต๎องตัวหญิงสาวท่ียังไมํแตํงงาน เป็นต๎น หากเกิดการผดิ ผีข้นึ มา กนต๎องมพี ิธีกรรมขอขมา โดยมีคนเฒําคนแกํเป็นตวั แทนของบรรพบุรุษ มีการวํากลําวสั่ง สอน และชดเชยการทาผิดน้ัน ตามกฎเกณฑ์ท่ีวางไว๎ ชาวบ๎านอยูํอยํางพ่ึงพาอาศัยกัน ยามเจนบไข๎ได๎ปุวย ยาม เกิดอุบัติเหตุเภทภัย ยามท่ีโจรขโมยวัวควายข๎าวของ การชํวยเหลือกันทางานท่ีเรียกกันวํา การลงแขก ทั้ง แรงกายแรงใจที่มีอยํูกนจะแบํงป๎นชํวยเหลือ เอื้ออาทรกัน การ แลกเปลี่ยนสิ่งของ อาหารการกิน และอื่นๆ จึง เกี่ยวข๎องกับวิถีของชุมชน ชาวบ๎านชํวยกันเกนบเกี่ยวข๎าว สร๎างบ๎าน หรืองานอื่นท่ีต๎องการคนมากๆ เพ่ือจะได๎ เสรนจโดยเรวน ไมํมกี ารจา๎ ง กรณตี วั อยาํ งจากการปลูกข๎าวของชาวบ๎าน ถ๎าปีหน่ึงชาวนาปลูกข๎าวได๎ผลดี ผลิตผลท่ีได๎จะใช๎เพ่ือ การบรโิ ภคในครอบครวั ทาบญุ ท่ีวดั เผื่อแผใํ หพ๎ ี่นอ๎ งทข่ี าดแคลน แลกของ และเกนบไว๎ เผื่อวําปีหน๎าฝนอาจแล๎ง น้าอาจทํวม ผลติ ผล อาจไมดํ ีในชุมชนตํางๆ จะมีผู๎มีความรค๎ู วามสามารถหลากหลาย บางคนเกํงทางการรักษา โรค บางคนทางการเพาะปลูกพืช บางคนทางการเล้ียงสัตว์ บางคนทางด๎านดนตรีการละเลํน บางคนเกํง ทางด๎านพิธีกรรม คนเหลํานี้ตํางกนใช๎ความสามารถ เพื่อประโยชน์ของชุมชน โดยไมํถือเป็นอาชีพ ที่มี คําตอบแทน อยาํ งมากกนมี \"คาํ คร\"ู แตเํ พยี งเลนกน๎อย ซึ่งปกติแล๎ว เงินจานวนน้ัน กนใช๎สาหรับเคร่ืองมือประกอบ พิธกี รรม หรอื เพอื่ ทาบญุ ที่วัด มากกวาํ ที่หมอยา หรือบุคคลผ๎ูนั้น จะเกบน ไว๎ใช๎เอง เพราะแท๎ที่จริงแล๎ว \"วิชา\" ที่ ครูถํายทอดมาให๎แกํลูกศิษย์ จะต๎องนาไปใช๎ เพ่ือประโยชน์แกํสังคม ไมํใชํเพ่ือผลประโยชน์สํวนตัว การตอบ แทนจึงไมํใชํเงินหรือส่ิงของเสมอไป แตํเป็นการชํวยเหลือเกื้อกูลกันโดยวิธีการตํางๆด๎วยวิถีชีวิตเชํนน้ี จึงมี คาถาม เพื่อเป็นการสอนคนรนุํ หลงั วํา ถา๎ หากคนหนงึ่ จับปลาชํอนตัวใหญํได๎หน่ึงตัว ทาอยํางไรจึงจะกินได๎ท้ังปี คนสมัยนี้อาจจะบอกวํา ทาปลาเคมน ปลาร๎า หรอื เกนบรกั ษาด๎วยวธิ ีการตาํ งๆ แตํคาตอบท่ีถูกต๎อง คือ แบํงป๎นให๎ พ่ีน๎อง เพื่อนบ๎าน เพราะเม่ือเขาได๎ปลา เขากนจะทากับเราเชํนเดียวกัน ชีวิตทางสังคมของหมูํบ๎าน มีศูนย์กลาง อยูํทวี่ ดั กิจกรรมของสวํ นรวม จะทากันท่วี ัด งานบุญประเพณีตาํ งๆ ตลอดจนการละเลนํ มหรสพ พระสงฆ์เป็น ผู๎นาทางจติ ใจ เป็นครูท่ีสอนลูกหลานผชู๎ าย ซง่ึ ไปรับใช๎พระสงฆ์ หรือ \"บวชเรยี น\" ทง้ั น้เี พราะกํอนน้ยี ังไมํมี โรงเรยี น วดั จึงเป็นท้ังโรงเรยี น และหอประชมุ เพื่อกจิ กรรมตํางๆ ตํอเม่ือโรงเรียนมขี นึ้ และแยกออกจากวดั บทบาทของวัด และของพระสงฆ์ จงึ เปล่ยี นไป งานบุญประเพณีในชุมชนแตํกํอนมีอยูํทุกเดือน ตํอมากนลดลงไป หรือสองสามหมํูบ๎านรํวมกันจัด หรอื ผลดั เปลีย่ นหมุนเวยี นกนั เชํน งานเทศน์มหาชาติ ซึ่งเป็นงานใหญํ หมํูบ๎านเลนกๆ ไมํอาจจะจัดได๎ทุกปี งาน เหลํานม้ี ที ั้งความเชอื่ พธิ ีกรรม และความสนุกสนาน ซึง่ ชุมชนแสดงออกรํวมกัน

ระบบคุณคา่ ความเชื่อในกฎเกณฑ์ประเพณี เป็นระเบียบทางสังคมของชุมชนด้ังเดิม ความเชื่อนี้เป็นรากฐานของ ระบบคุณคําตํางๆ ความกตัญํูรู๎คุณตํอพํอแมํ ปูุยําตายาย ความเมตตาเอื้ออาทรตํอผู๎อื่น ความเคารพตํอส่ิง ศกั ดสิ์ ิทธ์ิในธรรมชาตริ อบตัว และในสากลจักรวาล ความเช่ือ \"ผี\" หรือส่ิงศักดิ์สิทธ์ิในธรรมชาติ เป็นที่มาของการดาเนินชีวิต ท้ังของสํวนบุคคล และของ ชมุ ชน โดยรวมการเคารพในผีปุูตา หรือผีปุูยํา ซ่ึงเป็นผีประจาหมูํบ๎าน ทาให๎ชาวบ๎านมีความเป็นหน่ึงเดียวกัน เปน็ ลกู หลานของปตุู าคนเดยี วกัน รักษาปาุ ท่มี ีบ๎านเลกน ๆ สาหรับผี ปลูกอยํูติดหมูํบ๎าน ผีปุา ทาให๎คนตัดไม๎ด๎วย ความเคารพ ขออนุญาตเลือกตดั ตน๎ แกํ และปลกู ทดแทน ไมํท้ิงส่ิงสกปรกลงแมํน้า ด๎วยความเคารพในแมํคงคา กินข๎าวดว๎ ยความเคารพ ในแมํโพสพ คนโบราณกินข๎าวเสรจน จะไหวข๎ ๎าว พิธีบายศรีสูํขวัญ เป็นพิธีร้ือฟ้ืน กระชับ หรือสร๎างความสัมพันธ์ระหวํางผ๎ูคน คนจะเดินทางไกล หรือ กลับจากการเดินทาง สมาชิกใหมํ ในชุมชน คนปุวย หรือกาลังฟ้ืนไข๎ คนเหลํานี้จะได๎รับพิธีสูํขวัญ เพ่ือให๎เป็น สริ ิมงคล มีความอยูํเยนนเป็นสุข นอกนน้ั ยงั มีพิธสี บื ชะตาชีวติ ของบุคคล หรือของชุมชน นอกจากพิธีกรรมกับคนแล๎ว ยังมีพิธีกรรมกับสัตว์และธรรมชาติ มีพิธีสูํขวัญข๎าว สํูขวัญควาย สํูขวัญ เกวียน เปน็ การแสดงออกถึงการขอบคุณ การขอขมา พิธดี ังกลําวไมํได๎มีความหมายถึงวํา ส่ิงเหลํานี้มีจิต มีผีใน ตัวมันเอง แตํเป็นการแสดงออก ถึงความสัมพันธ์กับจิตและสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ อันเป็นสากลในธรรมชาติท้ังหมด ทา ให๎ผ๎ูคนมีความสัมพันธ์อันดีกับทุกสิ่ง คนขับแทนกซี่ในกรุงเทพฯ ที่มาจากหมํูบ๎าน ยังซ้ือดอกไม๎ แล๎วแขวนไว๎ที่ กระจกในรถ ไมํใชํเพื่อเซํนไหว๎ผีในรถแทนกซี่ แตํเป็นการราลึกถึงสิ่งศักด์ิสิทธิ์ ใน สากลจักรวาล รวมถึงที่สิงอยูํ ในรถคันน้ันผู๎คนสมัยกํอนมีความสานึกในข๎อจากัดของตนเอง รู๎วํา มนุษย์มีความอํอนแอ และเปราะบาง หาก ไมรํ กั ษาความสมั พนั ธอ์ นั ดี และไมคํ งความสมดุลกับธรรมชาติรอบตัวไว๎ เขาคงไมํสามารถมีชีวิตได๎อยํางเป็นสุข และยืนนาน ผู๎คนท่ัวไปจึงไมํมีความอวดกล๎าในความสามารถของตน ไมํท๎าทายธรรมชาติ และสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ มี ความออํ นน๎อมถํอมตน และรักษากฎระเบียบประเพณอี ยํางเครํงครดั ชีวิตของชาวบ๎านในรอบหนึ่งปี จึงมีพิธีกรรมทุกเดือน เพื่อแสดงออกถึงความเชื่อ และความสัมพันธ์ ระหวํางผ๎ูคนในสังคม ระหวํางคนกับธรรมชาติ และระหวํางคนกับสิ่งศักด์ิสิทธ์ิตํางๆ ดังกรณีงานบุญประเพณี ของชาวอีสานท่เี รียกวาํ ฮตี สบิ สอง คอื เดือนอ๎าย (เดือนที่หน่ึง) บุญเข๎ากรรม ให๎พระภิกษุเข๎าปริวาสกรรมเดือน ยี่ (เดือนท่ีสอง) บุญคูณลาน ให๎นาข๎าวมากองกันที่ลาน ทาพิธีกํอนนวด เดือนสาม บุญข๎าวจ่ี ให๎ถวายข๎าวจี่ (ข๎าวเหนียวป้๎นชุบไขํทาเกลือนาไปยํางไฟ)เดือนส่ี บุญพระเวส ให๎ฟ๎งเทศน์มหาชาติ คือ เทศน์เรื่องพระ เวสสันดรชาดก เดอื นหา๎ บญุ สรงน้า หรือบุญสงกรานต์ ให๎สรงน้าพระ ผเู๎ ฒําผแ๎ู กํ เดอื นหก บุญบ้ังไฟ บูชาพญา แถน ตามความเช่ือเดิม และบุญวิสาขบูชา ตามความเช่ือของชาวพุทธ เดือนเจนด บุญซาฮะ (บุญชาระ) ให๎บน บานพระภูมิเจ๎าท่ี เล้ียงผีปูุตา เดือนแปด บุญเข๎าพรรษา เดือนเก๎า บุญข๎าวประดับดิน ทาบุญอุทิศสํวนกุศลให๎ ญาติพี่น๎องผู๎ลํวงลับ เดือนสิบ บุญข๎าวสาก ทาบุญเชํนเดือนเก๎า รวมให๎ผีไมํมีญาติ (ภาคใต๎มีพิธีคล๎ายกัน คือ งานพิธีเดือนสิบ ทาบุญให๎แกํบรรพบุรุษผู๎ลํวงลับไปแล๎ว แบํงข๎าวปลาอาหารสํวนหน่ึงให๎แกํผีไมํมีญาติ พวก เดกน ๆ ชอบแยงํ กันเอาของทแ่ี บํงให๎ผีไมมํ ีญาติหรือเปรต เรยี กวาํ \"การชิงเปรต\") เดือนสิบเอดน บญุ ออกพรรษา เดอื นสิบสอง บุญกฐนิ จดั งานกฐิน และลอยกระทง ภูมิป๎ญญาชาวบ๎านในสังคมป๎จจุบันภูมิป๎ญญาชาวบ๎านได๎กํอเกิด และสืบทอดกันมาในชุมชนหมํูบ๎าน เม่ือหมูํบ๎านเปล่ียนแปลงไปพร๎อมกับสังคมสมัยใหมํ ภูมิป๎ญญาชาวบ๎านกนมีการปรับตัวเชํนเดียวกัน ความรู๎

จานวนมากได๎สูญหายไป เพราะไมํมกี ารปฏิบัตสิ ืบทอด เชนํ การรกั ษาพ้ืนบ๎านบางอยําง การใช๎ยาสมุนไพรบาง ชนิด เพราะหมอยาท่ีเกํงๆ ได๎เสียชีวิต โดยไมํได๎ถํายทอดให๎กับคนอ่ืน หรือถํายทอด แตํคนตํอมาไมํได๎ปฏิบัติ เพราะชาวบ๎านไมํนิยมเหมือนเม่ือกํอน ใช๎ยาสมัยใหมํ และไปหาหมอ ที่โรงพยาบาล หรือคลินิก งํายกวํา งาน หัตถกรรม ทอผ๎า หรือเคร่ืองเงิน เคร่ืองเขิน แม๎จะยังเหลืออยํูไมํน๎อย แตํกนได๎ถูกพัฒนาไปเป็นการค๎า ไมํ สามารถรักษาคุณภาพ และฝีมือแบบด้ังเดิมไว๎ได๎ ในการทามาหากินมีการใช๎เทคโนโลยีทันสมัย ใช๎รถไถแทน ควาย รถอีแต๋นแทนเกวียน การลงแขกทานา และปลูกสร๎างบ๎านเรือน กนเกือบจะหมดไป มีการจ๎างงานกันมากขึ้น แรงงานกนหา ยากกวําแตํกํอน ผ๎ูคนอพยพยา๎ ยถนิ่ บ๎างกเน ข๎าเมือง บ๎างกนไปทางานท่ีอ่ืน ประเพณีงานบุญ กนเหลือไมํมาก ทาได๎ กนตํอเม่อื ลูกหลานทจ่ี ากบา๎ นไปทางาน กลับมาเยี่ยมบ๎านในเทศกาลสาคัญๆ เชํน ปีใหมํ สงกรานต์ เข๎าพรรษา เป็นตน๎ สงั คมสมยั ใหมมํ รี ะบบการศึกษาในโรงเรียน มีอนามัย และโรงพยาบาล มีโรงหนัง วิทยุ โทรทัศน์ และ เครื่องบันเทิงตํางๆ ทาให๎ชีวิตทางสังคมของชุมชนหมํูบ๎านเปลี่ยนไป มีตารวจ มีโรงมีศาล มีเจ๎าหน๎าท่ีราชการ ฝาุ ยปกครอง ฝาุ ยพัฒนา และอื่นๆ เข๎าไปในหมูบํ ๎าน บทบาทของวัด พระสงฆ์ และคนเฒําคนแกํเริ่มลดน๎อยลง การทามาหากินกนเปล่ียนจากการทาเพ่ือยังชีพไปเป็นการผลิตเพ่ือการขาย ผ๎ูคนต๎องการเงิน เพื่อซื้อเคร่ือง บริโภคตํางๆ ทาให๎ส่ิงแวดล๎อม เปล่ียนไป ผลิตผลจากปุากนหมด สถานการณ์เชํนน้ีทาให๎ผู๎นาการพัฒนาชุมชน หลายคน ท่ีมีบทบาทสาคัญในระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ เริ่มเหนนความสาคัญของภูมิป๎ญญา ชาวบา๎ น หนํวยงานทางภาครัฐ และภาคเอกชน ให๎การสนับสนุน และสํงเสริมให๎มีการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ประยุกต์ และค๎นคดิ สง่ิ ใหมํ ความรใู๎ หมํ เพอ่ื ประโยชน์สุขของสงั คม

ความเป็นมาและความส้าคัญของ ผกั ผักเปน็ อาหารประจาวนั ของมนุษย์ เป็นแหลงํ อาหารใหแ๎ รํธาตุวิตามนิ ทีม่ คี ุณคําทางอาหารสูงมี ราคาถูก เม่ือเปรยี บเทยี บกับเนือ้ สตั ว์จากข๎อมูลวิจัยกลาํ ววํา มนษุ ย์เราควรบรโิ ภคผกั วนั ละประมาณ 200 กรัม เพอื่ ใหร๎ ํางกายได๎รับแรธํ าตุและวติ ามินอยํางเพียงพอ ผลการวิจัยของศนู ยว์ จิ ัยและพฒั นาพืชผกั แหํงเอเชีย ช้ใี ห๎เหนน วาํ ประชากรของประเทศไทย โดยเฉพาะ สตรมี ีครรภแ์ ละพวกเดนกๆ มกั ขาดแคลนแรธํ าตุวิตามนิ กนั มาก ประกอบกับปญ๎ หาด๎านเศรษฐกจิ ทสี่ ํงผลกระทบ ทาใหม๎ ีคําครองชีพสูงขนึ้ ดังน้ันกรมสงํ เสรมิ การเกษตร จึงได๎มีการรณรงค์ให๎มีการปลูกผักสวนครัวไว๎ รบั ประทานเองในครอบครัว โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือให๎มพี ชื ผักเพียงพอแกํการบริโภคในครัวเรอื น ทาใหไ๎ ด๎รบั สารอาหารครบตามความต๎องการของราํ งกาย และชวํ ยลดภาวะคําครองชีพ การปลกู พืชสวนครัวน้ันไมยํ ากเลย ถ๎ามองไปรอบด๎านภมู ภิ าค ไมวํ ําจะเป็นบา๎ นในเมอื งใหญํ เมือง หลวง หรอื บา๎ นในหมูบํ ๎าน ตาบล อาเภอ ล๎วนละลานตาไปด๎วย \"บ๎านไทย\" ซึง่ ไมตํ ๎องอาศัยเคร่อื งปรับอากาศ ไมํต๎องอาศัยเทคโนโลยเี หมอื นทุกวันน้ี ซึง่ ฝรง่ั ทีต่ ง้ั ใจ มาเมอื งไทยเพราะต๎องการ ดูการ\"บรรยากาศไทยๆ\" ดงั ท่ีเคยเหนน ในหนงั สอื ตอนนี้เขาบอกวํา บรรยากาศอยาํ งนี้ ต๎องไปดู ท่ีลาว ทเ่ี ขมรแทน เพราะเมืองไทยไมํตํางจากเมืองเขาเทําไหรํนัก บางแหงํ ดูจะยง่ิ กวาํ ด๎วยซ้า ฝรัง่ คนนั้นจงึ ตอ๎ งกลบั ไปเทยี่ ว-นอนที่เขมร ลาวแทน เขาบอกวาํ บา๎ นไทย ย๎ายไปอยูํ ท่ีน่ัน ด๎วย เหตุน้จี งึ เกดิ ความคิดวํา นําจะบอกเลาํ เร่ืองนี้ใหเ๎ กษตรกรไทยฟ๎ง ให๎เขารื้อฟ้นื ความเปน็ ไทยกลบั ขน้ึ มาใหมํเพือ่ เป็นทางออก พ๎นจากความเป็นหนี้ นั่นคือเรอ่ื ง \"รว้ั กินได๎-สวนครัวทาเอง\" ท่ีเราเคยพบเคยเหนน ความเปน็ มา แล๎วในอดีตสมยั เดนกๆ เพื่อลา๎ งและปูองกันนสิ ัยชอบไปซื้อกิน เอาอยํางความเจรญิ ด๎านวัตถุ คือแทนที่ จะปลกู เอง ทั้งๆ ท่มี ีท่ีดินเพาะปลกู อยํูแลว๎ กลบั นิยมไปซื้อตามห๎าง ศูนยก์ ารค๎า ฯลฯ ทารว้ั อัลลอยด์ ร้วั เหลกน รั้วปนู ฯลฯ แทนรัว้ ไม๎ รวั้ พืชยนื ตน๎ พชื กนิ ได๎ ผกั สวนครัว หรือพชื สวนครวั เชนํ พรกิ กระเพรา โหระพา แมงลัก ตะไคร๎ มะกรดู พริกไทย มะอึก มะนาว (กะปิ น้าปลา นา้ ตาล) รัว้ กนิ ไดเ๎ ชํน ตาลงึ ขจร โสน ถ่ัวพู มันปู กระถนิ มะขามเทศ บวบ ฟก๎ เขียว มะระ มะเขือเครือ ไผํ น้าเต๎า ฟ๎กขา๎ ว ผกั แป๋ม การปลูกพืชสวนครวั เหลาํ น้ี คอื แนวทางประกอบการพิจารณาเลือกปลูกพชื ผสม พืชหลายชนิดใชท๎ าประโยชนไ์ ด๎มากกวําหน่ึงอยาํ งหรือ เอนกประสงค์ หากเลอื กปลกู พชื ผสมหลายอยํางในพ้นื ท่เี ดียวกันตอ๎ งอาศยั คาแนะนาทางวชิ าการ และ ประสบการณ์ หรือภมู ปิ ๎ญญาชาวบา๎ น เพราะพืชบางชนิดจะปลูกรวํ มกนั ได๎ บางชนดิ ไมํได๎ การประกอบอาชีพ แบบเศรษฐกจิ พอเพียง ปลกู ผกั สวนครวั ลดรายจาํ ยดา๎ นอาหารในครอบครวั เศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นกาดาเนนิ ชวี ิตทางสาย กลาง ยดึ หลักการพ่ึงพาตนเองการเกษตรดง้ั เดิมของไทย ท่ีปฏบิ ัตกิ ันมานานชวั่ ลกู หลาน กนคือ การเกษตร ธรรมชาติ การเกษตรอินทรีย์ การเกษตรชวี ภาพ การวนเกษตร ซึง่ อาํ นดูชอื่ แล๎วเราอาจจะไมํคนุ๎ เคย หรือไมํ เข๎าใจ จงึ ขอสรุปใหท๎ ราบวาํ เป็นการเกษตรแบบโบราณเรานน่ั เอง คือ ใชแ๎ รงงานจากคน จากสตั วเ์ ลยี้ ง ปยุ๋ ที่ ได๎กนเกิดจากมูลสตั ว์ ใบไม๎ใบตองนามากองสมุ หมักไว๎เม่ือเนําเปื่อยกนน าไปใสตํ ๎นไม๎ หรือไรํนา สํวนพชื ทปี่ ลกู กนคือ พชื ทเี่ ป็นอาหารประจาวนั เชํน ขา๎ ว ข๎าวโพด ถวั่ งา การปลกู ผักสวนครวั รัว้ กนิ ได๎

ความส้าคัญของพืชผกั สวนครวั 1. ความสาคัญในดา๎ นคุณคาํ ทางอาหาร เปน็ แหลงํ อาหารที่สาคญั ของมนุษย์ ให๎สิ่งตํางๆทจี่ าเป็นตํอราํ งกายซึง่ อาหารชนิดอ่ืนๆมีไมํเพียงพอหรือไมํมี ผักสวนครัวมคี ณุ สมบตั ิชวํ ยให๎ระบบยํอยอาหารของราํ งกายลดสภาพความ โดยสาเหตจุ ากยํอยอาหารประเภทเนอ้ื สตั ว์ เนย และอื่นๆ เยอื่ ใยของพชื ผักสวนครัว ชวํ ยระบบขบั ถาํ ยเปน็ ไปอยาํ งปกติ ลดการเปน็ โรคลาไส๎ และมะเรนงในลาไส๎ ลดปริมาณคลอเรสตอรอล ลดความอว๎ น ผกั สวนครวั อุดมไปดว๎ ยธาตแุ คลเซยี ม และธาตุเหลนก ผกั สีเขยี วและเหลอื งให๎ วติ ามินเอ ซี สาหรับถั่วตาํ งๆจะให๎โปรตีน ประเภทหัว เชํน มันฝรง่ั มันเทศ ใหค๎ ารโ์ บไฮเดรต 2. ความสาคัญในด๎านคุณคําทางเศรษฐกิจ เพ่ือใชป๎ ระโยชน์ในด๎านการบรโิ ภคการอตุ สาหกรรมเกษตรและการผลติ เมลนดพันธ์ุ ซงึ่ มีทั้งใชบ๎ ริโภคภายใน และสํงไปจาหนําย จงึ ทาให๎พชื ผักสวนครัวมีแนวโนม๎ ทีจ่ ะเปน็ เศรษฐกจิ ในอนาคต ความหมายและประเภทผกั พชื ผักสวนครัว หมายถึง พืชผกั ท่ปี ลูกในพน้ื ทวี่ าํ งในบรเิ วณบ๎านหรอื หนวํ ยงาน อาจปลกู ลงแปลงหรอื ใน ภาชนะตําง ๆ เพ่ือใช๎บริโภคในครอบครวั หากมีจานวนมากเหลอื จากการบริโภค กนสามารถนาไปจาหนาํ ยได๎ การแบํงประเภทของพชื ผกั สวนครวั 1. ผักกินใบกนิ ต๎น เชนํ คะน๎า ผกั บุ๎ง กะหลา่ ปลี ผกั กาดขาว ( ทีม่ า : https://sites.google.com/a/bswschool.ac.th/phak-swn-khraw/khwam-sakhay-khxng-phak )

2. ผักกนิ ฝก๎ กนิ ผล เชนํ พริก มะเขอื ถวั่ ฝก๎ ยาว ถัว่ แขก ถ่ัวพู ( ทมี่ า : https://sites.google.com/a/bswschool.ac.th/phak-swn-khraw/khwam-sakhay-khxng-phak )

3. ผกั กินหวั กินราก เชํน ผกั กาดหัว กระเทยี ม กระชาย ขม้นิ (ที่มา : https://sites.google.com/a/bswschool.ac.th/phak-swn-khraw/khwam-sakhay-khxng-phak )

ผักชีฝร่ัง ( ทมี่ า : https://www.thai-thaifood.com › Home ) ผักชีฝรง่ั (Culantro) มีหลายช่อื ท่ีใช๎เรยี กกัน ผกั ชใี บเลอ่ื ย เป็นพืชผกั สมุนไพร ที่เป็นที่ร๎ูจกั กันดี เป็นพืช ลม๎ ลกุ ลาตน๎ เตีย้ ตดิ ดิน มีถนิ่ กาเนดิ มาจากประเทศเมนกซิโก และทวปี อเมรกิ าใต๎ เป็นทนี่ ยิ มปลูกกนั ทว่ั ไปๆ ใน เมอื งร๎อน เป็นพืชสมุนไพรท่ีมีมาแตโํ บราณ มปี ระโยชน์และสรรพคุณทางยา ใชน๎ ามารักษาโรคตาํ งๆ ไดห๎ ลาย อยาํ ง ผกั ชฝี รั่งจะมีกลนิ่ หอมเฉพาะตัว และสามารถนามาประกอบ ปรงุ อาหารเมนูตํางๆ ได๎มากมาย หลากหลายเมนู เป็นผกั ทจี่ ะใช๎ใบเป็นผักสด กนิ กบั อาหารจาพวกลาบ หรอื กินแกล๎มกนจะเข๎ากันดี ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Eryngium foetidum L. อยใํู นวงค์ : Apiaceae ผักชีฝรง่ั (pak-chee-farang) เปน็ พืชผักสมนุ ไพร ที่เจรญิ เตบิ โตได๎งาํ ยๆ มีลาต๎นกลมๆ อยํเู หนือดิน เลนกน๎อย ต๎นของผักชีมสี ีเขยี ว ลาตน๎ จะถูกหํอหมุ๎ ไปดว๎ ยใบโดยรอบๆ ใบมีลักษณะยาวรี ใบจะมรี อยหยักคลา๎ ย ฟน๎ เลอ่ื ยรอบนอก มสี ีเขยี วสด ดอกออกเปน็ ชอํ ดอกมีลักษณะเปน็ กระจุกกลม สขี าวอมเขยี ว ( ท่มี า : https://www.thai-thaifood.com › Home )

ลา้ ตน้ มีลักษณะกลมๆ ลาตน๎ เต้ยี ติดดิน จะถูกหอํ ห๎ุมไปดว๎ ยใบ โดยรอบๆโคนต๎น ไมมํ ีก๎านใบ ตน๎ ของผักชีฝรัง่ จะมีสีเขยี ว และมีกล่นิ หอม ราก ระบบรากแก๎ว รากมีลกั ษณะกลมเลนกๆ จะมรี ากแขนง มรี ากฝอยรอบๆ จะมีสนี า้ ตาล มีกลน่ิ หอมมี กลิ่นเฉพาะตวั ใบ มลี ักษณะใบรูปหอก ยาวรี มใี บออกรอบโคนตน๎ ไมมํ ีกา๎ นใบ โคนใบสอบลง มีรอยหยกั รอบนอกของ ขอบใบคลา๎ ยฟน๎ เล่ือย มสี ีเขยี วสด มีหนามอํอนๆ ใบมรี สจืด มกี ล่ินหอมแรง ทาให๎กลนิ่ อาหารหอม ชวนให๎นํา รบั ประทานมากย่งิ ขน้ึ ดอก ออกเปน็ ชํอ ก๎านชํอดอกยาว แตกกิ่งชอํ ดอกตรงปลาย ดอกมลี กั ษณะเป็นกระจุกกลม สขี าวอม เขียว ตรงโคนชอํ ดอกมีใบประดับรปู ดาวมรี อยหยกั รองรบั ชํอดอกไว๎ ผล อยเูํ ป็นชอํ ผลมลี ักษณะกลมๆ ผลออํ นจะมสี ีเขียว เม่ือผลแกจํ ัดเปลีย่ นไปเป็นนา้ ตาล เม่ือผลแหง๎ จะปริแตก ออกเป็น 2 ซีก จะมีเมลนดเลนกๆ อยํขู า๎ งในจานวนมาก เมลด็ อยขูํ า๎ งในผล เมื่อผลแห๎งจะปริแตกออกเป็น 2 ซกี มลี ักษณะกลมๆ เลนกๆ มีสีดา ประโยชนแ์ ละสรรพคุณผักชีฝรง่ั มแี คลเซียม มีเสน๎ ใย มีเหลกน มีเบตาแคโรทนี มีวติ ามินเอ มีวติ ามนิ บี1 มีวิตามินบี2 มวี ติ ามนิ บี3 มไี นอา ซนิ มวี ติ ามินซี มีวติ ามินอแี กแ๎ มลงสตั วก์ ดั ตํอย แก๎อาหารเป็นพษิ แกป๎ วดศรษี ะ เป็นยาขับป๎สสาวะ แก๎แผล เร้ือรงั แก๎แผลบวม แกไ๎ ข๎ ชวํ ยปอู งกนั หวดั ชวํ ยขับเหงื่อ ชํวยขับปส๎ สาวะ ชวํ ยระบาย ชํวยปอู งกันความดัน โลหิตสูง ชํวยปอู งกนั เบาหวาน ชวํ ยบารงุ ผวิ พรรณ ชํวยขับลม ชํวยบารุงฟ๎น ชํวยบารงุ กระดกู ( ท่ีมา : https://www.thai-thaifood.com › Home ) การปลกู และขยายพนั ธผ์ุ ักชีฝรั่ง ผกั ชฝี รง่ั เป็นพืชทช่ี อบดินรํวนซยุ เจรญิ ไดใ๎ นดินแทบทุกชนิด การปลกู จะนิยมปลกู โดยใช๎เมลดน พนั ธ์ุ และ สามารถปลกู โดยใช๎แขนงกนได๎ การปลกู โดยใช๎เมลดน พนั ธ์ุ เราจะหวํานเมลดน ลงใน แปลงดนิ ที่เตรียมไว๎ ใช๎เวลาประมาณ 15 วนั เมลนดจะเริม่ งอก เม่ืออายไุ ด๎ประมาณ 1 เดอื น แลว๎ เราจะแยกต๎นทเ่ี บยี ดกันออก ลงปลูกในแปลงดินทเ่ี ตรียมไว๎ จะปลูก ไมํให๎เบียดกันมาก จะทาใหผ๎ ักชีฝรัง่ โตไดเ๎ ตนมที่

วิธีดแู ลรักษาผักชีฝร่ัง ผักชฝี รัง่ เป็นพชื ท่ีชอบน้า ต๎องระบายนา้ ดี น้าไมํขัง ไมํชอบแสงแดด ต๎องดูแลรดน้าเสมอ ตอ๎ งหมัน่ รดน้า ใหช๎ มุํ โดยรดนา้ เชา๎ เยนน จะทาให๎ผกั ชฝี ร่ังโตไดเ๎ รนว ( ทม่ี า : https://www.thai-thaifood.com › Home ) การเกบ็ เกยี่ วผลผลติ ผกั ชีฝร่ัง เมื่อผกั ชฝี ร่งั โตเตนมท่ี ใชเ๎ วลาปลูกประมาณ 2 เดอื น เรากนจะเกบน ผลผลติ ผกั ชีฝร่ังได๎ โดยจะถอนทงั้ ตน๎ ออกมา แล๎วนามาล๎างน้าให๎สะอาด แลว๎ ตดั รากออก ตดั แตํงนาใบทแ่ี กํออก แลว๎ นาใสํภาชนะที่เตรยี มไว๎ วิธีเก็บรักษาผกั ชีฝร่ัง จะนาตน๎ ผกั ชฝี ร่งั แล๎วนามาลา๎ งให๎สะอาด ให๎แชนํ า้ พักไว๎ แลว๎ นามาลา๎ งน้าให๎สะอาด กา๎ นใบต๎องเดนด ออกมาลา๎ งทีละกา๎ น ผกั ชีฝรงั่ เปน็ ผักทเ่ี หี่ยวงําย เราจะมีวิธเี กบน รักษาใหส๎ ดนานๆ คือให๎ลา๎ งนา้ ใหส๎ ะอาดดี แลว๎ ใหส๎ ะเดนดนา้ ออกให๎หมด แลว๎ นามาหํอด๎วยกระดาษหรือผ๎าขาวบาง แลว๎ ใสถํ งุ หรือกลอํ งพลาสตกิ แลว๎ นาไปแชํ ตเ๎ู ยนน จะเกบน ไว๎ใช๎ได๎นาน ประโยชนข์ องพืชผักสวนครัว 1. ประโยชนโ์ ดยตรง มโี ปรตีน แปูง ไขมนั แรํธาตุ ( ท่ีมา : https://www.thai-thaifood.com › Home )

2. ประโยชน์ทางอ๎อม เปน็ อาหารชรู ส เพราะมรี ูปราํ ง สี กลน่ิ และรสตาํ งๆ ทาให๎เลือกรบั ประทาน ตามใจชอบ ทาใหเ๎ กดิ ความอยากอาหารและรบั ประทานได๎มาก เป็นยาเจรญิ อาหาร ยิ่งกวําน้นั กากและ โครงสร๎างของผักมสี ํวนหยาบออํ น เหมาะแกกํ ารชาระล๎างลาไส๎ ชวํ ยปูองกนั ท๎องผูก ภาพผกั สวนครวั รวั้ กนิ ได้ 1. มะเขือ 2. ผักกาดแก๎ว 3. กะหล่าปลี 4. ผกั กาดขาว (ทม่ี า : https://sites.google.com/a/bswschool.ac.th/phak-swn-khraw/khwam-sakhay-khxng-phak )

5. ผกั ตาลงึ 6. ผักบุ๎ง 7. หวั ไชเทา๎ 8. มะเขือมวํ งยาว 9. พริก 10. ถวั่ ฟก๎ ยาว (ที่มา : https://sites.google.com/a/bswschool.ac.th/phak-swn-khraw/khwam-sakhay-khxng-p)

การนา้ ภมู ิปัญญาการปลูกผักสวนครวั (ผักชีฝรง่ั )ไปใชใ้ นการดา้ เนนิ ชีวิต 1. เพ่ือสืบสานภมู ปิ ๎ญญาท๎องถ่นิ เร่ืองการปลูกผกั สวนครัว (ผักชฝี ร่งั ) สํลู ูกหลานสบื ตอํ ไป 2. เพื่อนาความรู๎ท่ไี ด๎มาประกอบอาชีพ 3. ทาให๎ผู๎สูงอายไุ ดใ๎ ช๎เวลาวาํ งให๎เกดิ ประโยชน์

ภาคผนวก - ประวตั ิผจู้ ัดท้าภูมิปญั ญาศึกษา - ภาพประกอบ

ประวัติผู้ถา่ ยทอดภมู ิปญั ญา ชอื่ : นายเอ่ียม จนั ทะสงิ ห์ เกดิ : 31 พฤษภาคม 2484 อายุ 77 ปี ภมู ลิ า้ เนา : 38 ม. 5 ตาบลชีวาน อาเภอพมิ าย จงั หวดั นครราชสีมา ทอ่ี ยปู่ ัจจบุ นั : บา๎ นเลขที่ 2 หมูํ 5 ตาบลวังน้าเยนน อาเภอวังนา้ เยนน จงั หวัดสระแกว๎ สถานภาพ : สมรส กบั นางเมฆ จนั ทะสิงห์ มีบุตรด๎วยกนั จานวน 3 คน ดังนี้ 1. นายพทุ ธา จนั ทะสิงห์ 2. นายปรชี า จนั ทะสงิ ห์ 3. นายสญั ญา จนั ทะสิงห์ การศกึ ษา : ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นวัดสวํางโพธิย์ าราม ตาบลชวี าน อาเภอประทาย จังหวดั นครราชสีมา ปัจจบุ นั ประกอบอาชีพ : เกษตรกร ประวัตผิ ้เู รียบเรยี งภูมปิ ัญญาศกึ ษา ชื่อ : นางสาวอุไรวรรณ ศรีพาลา เกดิ : 13 สิงหาคม 2522 อายุ 39 ปี ภมู ิลา้ เนา : 126 ม. 5 ตาบลโนนเมอื ง อาเภอโนนสัง จงั หวัดหนองบัวลาภู ทอ่ี ยู่ปัจจบุ นั : 7/7 ม. 2 ตาบลวงั น้าเยนน อาเภอวังนา้ เยนน จงั หวดั สระแกว๎ สถานภาพ : โสด การศึกษา : ปริญญาโท ปัจจุบันประกอบอาชีพ : รบั ราชการครู

ภาพประกอบการจดั ท้าภูมิปัญญาศกึ ษา เรื่อง ผักสวนครวั ( ผักชีฝรง่ั )

ศกึ ษาหาขอ๎ มลู ของแหลํงภมู ปิ ๎ญญากบั คุณตาเอี่ยม จนั ทะสิงห์

เร่มิ วธิ ีการปลูกผักชฝี รัง่ โดยการไถํเตรียมดิน เมอื่ เตรยี มดนิ เสรจน แลว๎ หวํานเมลดน ผกั ชฝี ร่งั และรดนา้

นาฝางขา๎ วคมุ ตน๎ ผักชีฝรง่ั เพ่ือเลยี่ งตอํ แสงแดดท่มี ากเกนิ ไป เรม่ิ บารงุ ต๎นผักชฝี ร่งั ใสํ ปุ๋ย รดนา้

เร่มิ มหี ญา๎ หรอื วัชพชื ให๎ถอนออกเผื่อไมํใหแ๎ ยงํ สารอาหารจากผักชฝี ร่งั

ผกั ชฝี รั่งเร่มิ โตไดข๎ นาดพอดกี นสามารถนามาขายและสรา๎ งรายไดใ๎ หก๎ ับครอบครวั

เอกสารอ้างองิ ความส้าคัญของผัก - ผักสวนครัว - Google Sites https://sites.google.com/a/bswschool.ac.th/phak-swn-khraw/khwam-sakhay-khxng- phak.{Online}. ผกั ชฝี รัง่ | Thai Food https://www.thai-thaifood.com › Home › พชื สมุนไพร.{Online}.{Accessed:22/07/2559


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook