Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 ขนมเทียน นางอารี ชัยชนะสมบัติ

1 ขนมเทียน นางอารี ชัยชนะสมบัติ

Published by artaaa142, 2019-05-10 04:48:41

Description: 1 ขนมเทียน นางอารี ชัยชนะสมบัติ

Search

Read the Text Version

ภูมปิ ญั ญาศึกษา เร่ือง ขนมเทยี น โดย 1. นางอารี ชัยชนะสมบตั ิ (ผถู้ า่ ยทอดภมู ปิ ญั ญา) 2. นางสาวรชั ฎาพร รลิ า (ผูเ้ รียบเรียงภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น) เอกสารภมู ปิ ญั ญาศกึ ษาน้ีเปน็ ส่วนหน่ึงของการศกึ ษา ตามหลักสูตรโรงเรียนผู้สงู อายุเทศบาลเมืองวงั นา้ เยน็ ประจา้ ปีการศึกษา 2561 โรงเรยี นผสู้ งู อายุเทศบาลเมอื งวงั นา้ เยน็ สงั กัดเทศบาลเมืองวงั นา้ เยน็ จงั หวดั สระแกว้

ค้าน้า ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ หรอื เรียกชื่ออกี อย่างหนึง่ วา่ ภมู ิปญั ญาชาวบ้าน คอื องคค์ วามรทู้ ่ชี าวบ้านได้ ส่ังสมจากประสบการณ์จริงท่ีเกิดข้ึนหรือจากบรรพบุรุษท่ีได้ถ่ายทอดสืบกันมาต้ังแต่ในอดีตมาจนถึงปัจจุบัน เพอื่ นามาใชแ้ กป้ ัญหาในชวี ิตประจาวนั การทามาหากิน การประกอบการงานเล้ียงชีพ หรือกจิ กรรมอืน่ ๆ เป็น การผ่อนคลายจากการทางาน หรือการย้ายถิ่นฐานเพื่อมาต้ังถ่ินฐานใหม่แล้วคิดค้นหรือค้นหาวิธีการดังกล่าว เพื่อการแก้ปัญหา โดยสภาพพ้ืนท่ีน้ัน ชุมชนวังน้าเย็นแห่งน้ี เกิดข้ึนเมื่อราว ๆ 50 ปีท่ีผ่านมา จากการอพยพ ถ่ินฐานของผู้คนมาจากทุก ๆ ภาคของประเทศไทย แล้วมาก่อตั้งเป็นชุมชนวังน้าเย็น ซ่ึงบางคนได้นาองค์ ความรมู้ าจากถนิ่ ฐานเดมิ แล้วมกี ารสบื ทอดสืบสานมาจนถงึ ปัจจุบัน เชน่ เดยี วกับ ขนมเทยี น นางอารี ชัยชนะสมบตั ิ ไดร้ วบรวมเรียบเรียงถ่ายทอดประสบการณใ์ ห้คนรนุ่ หลังไดส้ ืบคน้ หรอื คน้ คว้าเป็น ภมู ปิ ญั ญาศกึ ษา ของเทศบาลเมอื งเมืองวังน้าเยน็ จงั หวดั สระแกว้ ผู้ศึกษาขอขอบพระคุณ นายวันชัย นารีรักษ์ นายกเทศมนตรีเมืองวังน้าเย็น (ใส่ตาแหน่งอ่ืนท่ี เกี่ยวข้องกับโรงเรียนผู้สูงอายุ เช่น ผู้ก่อตั้ง ผู้คิดรูปแบบ ประธานอุปถัมภ์ เป็นต้น) นายคนองพล เพ็ชรร่ืน ปลัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น คณะกรรมการโรงเรียนผู้สูงอายุ กองสวัสดิการสังคม กองสาธารณสุขและ สิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองวังน้าเยน็ โรงเรียนเทศบาลมิตรสมั พันธ์วทิ ยา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลเมือวังนา้ เย็น หน่วยงานอื่น ๆ ที่เก่ียวข้อง และขอขอบพระคุณ นางสาวรัชฎาพร ริลา ดูแลรับผิดชอบงานด้านธุรการ บันทึกเร่ืองราวและจัดทาเป็นรูปเล่มที่สมบูรณ์ครบถ้วน ความรู้อันใดหรือกุศลอันใดที่เกิดจากการร่วมมือร่วม แรงร่วมใจร่วมพลังจนเกิดมีภูมิปัญญาศึกษาฉบับน้ี ขอกุศลผลบุญนั้นจงเกิดมีแก่ผู้เก่ียวข้องดังท่ีกล่าวมาทุก ๆ ทา่ นเพ่อื สร้างสงั คมแหง่ การเรียนตอ่ ไป นางอารี ชัยชนะสมบัติ นางสาวรัชฎาพร ริลา ผู้จัดทา

ทมี่ าและความสาคญั ของภูมปิ ัญญาศกึ ษา จากพระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทวี่ า่ “ประชาชนน่ันแหละ ทเี่ ขามีความรูเ้ ขาทางานมาหลายชวั่ อายคุ น เขาทากันอย่างไร เขามีความเฉลียวฉลาด เขารู้วา่ ตรงไหน ควรทากสกิ รรม เขารูว้ า่ ตรงไหนควรเกบ็ รกั ษาไว้ แตท่ ี่เสียไปเพราะพวกไม่รู้เรื่อง ไม่ได้ทามานานแล้ว ทาให้ ลมื วา่ ชีวติ มันเปน็ ไปโดยการกระทาท่ีถูกต้องหรือไม่”พระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา- ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทีส่ ะทอ้ นถึงพระปรีชาสามารถในการรับรแู้ ละความเขา้ ใจหยัง่ ลกึ ท่ที รงเหน็ คุณค่าของ ภมู ปิ ญั ญาไทยอยา่ งแทจ้ ริง พระองค์ทรงตระหนักเปน็ อย่างยิ่งวา่ ภูมปิ ัญญาท้องถ่ินเป็นสง่ิ ท่ชี าวบ้าน มอี ยู่แลว้ ใชป้ ระโยชน์เพือ่ ความอย่รู อดกนั มายาวนาน ความสาคญั ของภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ซ่ึงความรทู้ ่สี ง่ั สม จากการปฏบิ ัตจิ ริงในห้องทดลองทางสังคม เป็นความรูด้ ั้งเดิมที่ถูกค้นพบ มีการทดลองใช้ แกไ้ ข ดัดแปลง จนเป็นองค์ความร้ทู ส่ี ามารถแก้ปัญหาในการดาเนนิ ชีวติ และถา่ ยทอดสบื ต่อกันมา ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน เป็นขุมทรัพยท์ างปัญญาท่ีคนไทยทุกคนควรรู้ ควรศึกษา ปรับปรุง และพฒั นาใหส้ ามารถนาภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ เหล่านั้นมาแก้ไขปัญหาให้สอดคลอ้ งกบั บริบททางสงั คม วฒั นธรรมของกลุ่มชมุ ชนน้ัน ๆ อยา่ งแท้จริง การพฒั นาภูมปิ ัญญาศึกษานบั เปน็ สิ่งสาคัญตอ่ บทบาทของชุมชนท้องถ่ินทไ่ี ด้พยายาม สรา้ งสรรค์ เปน็ น้าพกั นา้ แรงร่วมกนั ของผ้สู งู อายุและคนในชมุ ชนจนกลายเป็นเอกลักษณ์และวัฒนธรรม ประจาถน่ิ ทีเ่ หมาะต่อการดาเนินชีวิต หรือภูมิปญั ญาของคนในทอ้ งถน่ิ นัน้ ๆ แต่ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นสว่ นใหญ่เปน็ ความรู้ หรือเปน็ ส่ิงท่ีได้มาจากประสบการณ์ หรอื เปน็ ความเชอื่ สบื ต่อกนั มา แต่ยงั ขาดองค์ความรู้ หรือขาด หลักฐานยนื ยนั หนกั แนน่ การสรา้ งการยอมรับทีเ่ กิดจากฐานภูมิปญั ญาท้องถิน่ จึงเปน็ ไปได้ยาก ดังน้ัน เพอื่ ให้เกิดการส่งเสริมพฒั นาภูมปิ ัญญาทีเ่ ปน็ เอกลกั ษณ์ของท้องถิ่น กระตุ้นเกดิ ความ ภาคภมู ิใจในภมู ปิ ญั ญาของบุคคลในท้องถิ่น ภมู ิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย เกดิ การถา่ ยทอดภมู ิปญั ญาสู่ คนรนุ่ หลงั โรงเรียนผ้สู งู อายเุ ทศบาลเมืองวังน้าเยน็ ได้ดาเนินการจดั ทาหลักสตู รการเรยี นการสอนเพ่ือ พฒั นาศักยภาพผสู้ ูงอายใุ นท้องถิน่ ท่ีเน้นใหผ้ สู้ ูงอายุได้พัฒนาตนเองให้มคี วามพรอ้ มสู่สงั คมผ้สู งู อายทุ ี่มีคณุ ภาพ ในอนาคต รวมทั้งสืบทอดภมู ิปญั ญาในการดารงชีวติ ของนักเรยี นผู้สงู อายุที่ไดส้ ั่งสมมา เกิดจากการสืบทอด ภูมปิ ญั ญาของบรรพบุรุษ โดยนักเรียนผสู้ ูงอายุจะเปน็ ผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ และมีครูพี่เล้ยี งซ่ึงเป็นคณะครู ของโรงเรียนในสังกดั เทศบาลเมอื งวงั น้าเยน็ เป็นผ้เู รยี บเรยี งองค์ความรูไ้ ปสู่การจดั ทาภูมิปญั ญาศึกษา ใหป้ รากฏออกมาเปน็ รปู เล่มภูมิปญั ญาศึกษา ใชเ้ ป็นสว่ นหนง่ึ ในการจบหลักสตู รการศึกษาของโรงเรียน ผู้สงู อายุ ประจาปีการศึกษา 2561 พรอ้ มท้งั เผยแพร่และจดั เก็บคลังภูมิปัญญาไว้ในห้องสมุดของโรงเรียน เทศบาลมิตรสมั พันธ์วิทยา เพอ่ื ใหภ้ มู ปิ ัญญาท้องถนิ่ เหลา่ นี้เกดิ การถ่ายทอดสคู่ นรุ่นหลังสบื ต่อไป จากความรว่ มมือในการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงานและภาคีเครือข่ายท่ีมีสว่ นร่วมในการผสมผสาน องค์ความรู้ เพือ่ ยกระดับความรขู้ องภูมิปญั ญานน้ั ๆ เพ่อื นาไปสกู่ ารประยกุ ต์ใช้ และผสมผสานเทคโนโลยี ใหม่ ๆ ใหส้ อดรับกบั วิถีชวี ติ ของชุมชนได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การนาภูมปิ ญั ญาไทยกลบั ส่กู ารศึกษา สามารถส่งเสรมิ ใหม้ ีการถ่ายทอดภมู ิปญั ญาในโรงเรยี นเทศบาลมติ รสัมพนั ธ์วทิ ยา และโรงเรียนในสังกดั เทศบาลเมืองวังน้าเยน็ เกิดการมีสว่ นร่วมในกระบวนการถ่ายทอด เช่อื มโยงความร้ใู ห้กบั นกั เรยี นและบุคคล ท่ัวไปในท้องถน่ิ โดยการนาบุคลากรทมี่ ีความรู้ความสามารถในท้องถิ่นเขา้ มาเป็นวทิ ยากรให้ความรู้

กับนักเรียนในโอกาสตา่ ง ๆ หรือการทโ่ี รงเรียนนาองค์ความรูใ้ นท้องถ่นิ เข้ามาสอนสอดแทรกในกระบวนการ จัดการเรียนรู้ สิง่ เหลา่ น้ีทาใหก้ ารพัฒนาภูมิปญั ญาท้องถ่ิน นาไปส่กู ารสบื ทอดภูมิปญั ญาศกึ ษา เกดิ ความสาเร็จอยา่ งเปน็ รปู ธรรม นกั เรียนผ้สู ูงอายุเกิดความภาคภูมใิ จในภมู ิปัญญาของตนทไ่ี ด้ถ่ายทอดสคู่ น รนุ่ หลงั ใหค้ งอยู่ในท้องถ่ิน เป็นวัฒนธรรมการดาเนนิ ชีวติ ประจาท้องถนิ่ เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวติ คู่ แผน่ ดินไทยตราบนานเทา่ นาน นิยามคาศัพทใ์ นการจดั ทาภูมิปญั ญาศกึ ษา ภูมิปญั ญาศึกษา หมายถึง การนาภมู ปิ ญั ญาการดาเนินชวี ติ ในเร่ืองท่ผี สู้ ูงอายุเช่ยี วชาญที่สุด ของ ผู้สงู อายุที่เข้าศกึ ษาตามหลกั สูตรของโรงเรียนผูส้ งู อายุเทศบาลเมืองวังนา้ เยน็ มาศึกษาและสืบทอดภูมิปัญญา ในรูปแบบตา่ ง ๆ มีการสืบทอดภมู ปิ ญั ญาโดยการปฏิบตั ิและการเรียบเรียงเป็นลายลกั ษณอ์ ักษรตามรูปแบบที่ โรงเรียนผู้สูงอายุกาหนดข้นึ ใช้เปน็ สว่ นหนงึ่ ในการจบหลกั สูตรการศกึ ษา เพ่ือใหภ้ ูมิปัญญาของผูส้ งู อายุได้รบั การถา่ ยทอดสูค่ นรนุ่ หลังและคงอยู่ในทอ้ งถน่ิ ต่อไป ซึ่งแบ่งภมู ปิ ัญญาศึกษาออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. ภมู ปิ ัญญาศกึ ษาที่ผู้สงู อายเุ ป็นผู้คิดค้นภมู ปิ ัญญาในการดาเนินชวี ติ ในเรื่องที่เชีย่ วชาญทส่ี ดุ ดว้ ยตนเอง 2. ภูมปิ ญั ญาศึกษาทผี่ ู้สูงอายเุ ปน็ ผนู้ าภมู ปิ ญั ญาท่สี ืบทอดจากบรรพบุรุษมาประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ ชีวติ จนเกดิ ความเชย่ี วชาญ 3. ภูมิปัญญาศกึ ษาทผ่ี สู้ ูงอายุเปน็ ผู้นาภูมิปัญญาท่ีสบื ทอดจากบรรพบุรุษมาใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ โดย ไมม่ ีการเปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ จนเกดิ ความเชี่ยวชาญ ผ้ถู า่ ยทอดภมู ปิ ัญญา หมายถึง ผสู้ ูงอายุทีเ่ ขา้ ศึกษาตามหลกั สูตรของโรงเรียนผสู้ ูงอายเุ ทศบาลเมือง วงั นา้ เย็น เปน็ ผถู้ ่ายทอดภูมิปัญญาการดาเนินชวี ติ ในเรื่องท่ีตนเองเชย่ี วชาญมากท่สี ุด นามาถา่ ยทอดให้แกผ่ ู้ เรียบเรยี งภูมปิ ัญญาท้องถิ่นได้จัดทาข้อมลู เป็นรูปเลม่ ภูมิปญั ญาศึกษา ผู้เรยี บเรียงภมู ิปัญญาท้องถิ่น หมายถงึ ผ้ทู นี่ าภูมิปญั ญาในการดาเนนิ ชวี ติ ในเรื่องทผี่ ู้สงู อายุ เช่ยี วชาญทส่ี ดุ มาเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อกั ษรศกึ ษาหาข้อมลู เพิ่มเติมจากแหลง่ ข้อมลู ตา่ ง ๆ จดั ทาเปน็ เอกสารรปู เล่ม ใชช้ ่ือวา่ “ภูมิปญั ญาศึกษา”ตามรูปแบบท่โี รงเรียนผูส้ งู อายุเทศบาลเมืองวงั น้าเยน็ กาหนด ครูที่ปรึกษา หมายถงึ ผู้ท่ีปฏบิ ัตหิ นา้ ทเี่ ปน็ ครูพ่ีเลยี้ งเป็นผูเ้ รยี บเรยี งภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นปฏิบัตหิ นา้ ที่ เปน็ ผู้ประเมินผล เปน็ ผู้รบั รองภูมปิ ัญญาศึกษารวมทงั้ เป็นผู้นาภมู ิปญั ญาศึกษาเขา้ มาสอนในโรงเรียนโดยบรู ณา การการจัดการเรียนรู้ตามหลักสตู รทอ้ งถ่นิ ท่ีโรงเรยี นจัดทาข้ึน

ง ภูมิปญั ญาศึกษาเช่ือมโยงสู่สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชนฯ 1. ลักษณะของภมู ปิ ัญญาไทย ลกั ษณะของภูมิปญั ญาไทย มีดังน้ี 1. ภูมปิ ัญญาไทยมลี ักษณะเป็นทง้ั ความรู้ ทักษะ ความเช่อื และพฤติกรรม 2. ภูมิปัญญาไทยแสดงถึงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคนกบั คน คนกับธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม และคนกบั ส่งิ เหนือธรรมชาติ 3. ภมู ิปัญญาไทยเปน็ องคร์ วมหรือกิจกรรมทกุ อยา่ งในวถิ ชี ีวิตของคน 4. ภมู ปิ ัญญาไทยเปน็ เร่ืองของการแก้ปญั หา การจดั การ การปรับตวั และการเรยี นรู้ เพอ่ื ความอยูร่ อดของบุคคล ชุมชน และสังคม 5. ภูมปิ ญั ญาไทยเป็นพืน้ ฐานสาคัญในการมองชีวติ เป็นพ้ืนฐานความรู้ในเรอ่ื งตา่ งๆ 6. ภูมิปัญญาไทยมลี ักษณะเฉพาะ หรือมเี อกลกั ษณใ์ นตัวเอง 7. ภมู ิปัญญาไทยมกี ารเปลย่ี นแปลงเพื่อการปรบั สมดลุ ในพัฒนาการทางสังคม 2. คณุ สมบัติของภูมิปญั ญาไทย ผูท้ รงภมู ิปญั ญาไทยเป็นผมู้ ีคุณสมบัติตามทีก่ าหนดไว้ อยา่ งนอ้ ยดังต่อไปนี้ 1. เป็นคนดีมีคุณธรรม มีความรคู้ วามสามารถในวชิ าชีพตา่ งๆ มผี ลงานด้านการพัฒนาท้องถ่ิน ของตน และได้รับการยอมรบั จากบุคคลทัว่ ไปอย่างกวา้ งขวาง ท้งั ยังเป็นผทู้ ่ีใช้หลักธรรมคาสอนทางศาสนาของ ตนเปน็ เครอื่ งยดึ เหน่ียวในการดารงวิถชี วี ิตโดยตลอด 2. เป็นผู้คงแก่เรียนและหมั่นศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ ผู้ทรงภูมิปัญญาจะเป็นผู้ที่หมั่นศึกษา แสวงหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอไม่หยุดน่ิง เรียนรู้ทั้งในระบบและนอกระบบ เป็นผู้ลงมือทา โดยทดลองทา ตามที่เรียนมา อีกท้ังลองผิด ลองถูก หรือสอบถามจากผู้รู้อื่นๆ จนประสบความสาเรจ็ เป็นผู้เชี่ยวชาญ ซ่ึงโดด เด่นเป็นเอกลักษณ์ในแต่ละด้านอย่างชัดเจน เป็นท่ียอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ใหม่ๆ ท่ีเหมาะสม นามา ปรบั ปรงุ รับใช้ชมุ ชน และสังคมอยเู่ สมอ 3. เป็นผู้นาของท้องถิ่น ผู้ทรงภูมิปัญญาส่วนใหญ่จะเป็นผู้ท่ีสังคม ในแต่ละท้องถ่ินยอมรับให้ เป็นผู้นา ทั้งผู้นาที่ได้รับการแต่งต้ังจากทางราชการ และผู้นาตามธรรมชาติ ซึ่งสามารถเป็นผู้นาของท้องถ่ิน และช่วยเหลอื ผู้อ่ืนไดเ้ ป็นอย่างดี 4. เป็นผทู้ ่ีสนใจปญั หาของทอ้ งถ่นิ ผทู้ รงภูมปิ ญั ญาล้วนเปน็ ผู้ทีส่ นใจปัญหาของท้องถ่ิน เอาใจ ใส่ ศึกษาปัญหา หาทางแก้ไข และช่วยเหลือสมาชิกในชุมชนของตนและชุมชนใกล้เคียงอย่างไม่ย่อท้อ จน ประสบความสาเรจ็ เป็นท่ยี อมรบั ของสมาชิกและบุคคลทวั่ ไป 5. เป็นผู้ขยันหมัน่ เพยี ร ผู้ทรงภมู ิปญั ญาเปน็ ผูข้ ยนั หม่ันเพยี ร ลงมอื ทางานและผลติ ผลงานอยู่ เสมอ ปรับปรุงและพัฒนาผลงานให้มคี ุณภาพมากขนึ้ อกี ทง้ั ม่งุ ทางานของตนอยา่ งต่อเนื่อง 6. เป็นนักปกครองและประสานประโยชน์ของท้องถ่ิน ผู้ทรงภูมิปัญญา นอกจากเป็นผู้ที่ ประพฤติตนเป็นคนดี จนเป็นทย่ี อมรับนับถอื จากบคุ คลทัว่ ไปแลว้ ผลงานทท่ี ่านทายงั ถอื ว่ามีคุณคา่ จงึ เปน็ ผูท้ ี่มี

ท้ัง \"ครองตน ครองคน และครองงาน\" เป็นผู้ประสานประโยชน์ให้บุคคลเกิดความรัก ความเข้าใจ ความเหน็ ใจ และมีความสามคั คีกนั ซงึ่ จะทาใหท้ อ้ งถ่นิ หรือสังคม มคี วามเจริญ มคี ุณภาพชวี ิตสูงขึ้นกวา่ เดมิ 7. มคี วามสามารถในการถ่ายทอดความรเู้ ป็นเลศิ เม่ือผทู้ รงภูมิปญั ญามคี วามรู้ความสามารถ และประสบการณ์เป็นเลิศ มีผลงานทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้อื่นและบคุ คลทว่ั ไป ทง้ั ชาวบ้าน นักวิชาการ นักเรยี น นิสิต/นักศึกษา โดยอาจเขา้ ไปศึกษาหาความรู้ หรือเชญิ ท่านเหลา่ น้ันไป เป็นผถู้ ่ายทอดความรไู้ ด้ 8. เป็นผู้มีคู่ครองหรือบริวารดี ผู้ทรงภูมิปัญญา ถ้าเป็นคฤหัสถ์ จะพบว่า ล้วนมีคู่ครองท่ีดีที่ คอยสนับสนุน ช่วยเหลือ ให้กาลังใจ ให้ความร่วมมือในงานท่ีท่านทา ช่วยให้ผลิตผลงานที่มีคุณค่า ถ้าเป็น นักบวช ไม่ว่าจะเปน็ ศาสนาใด ต้องมีบริวารท่ีดี จึงจะสามารถผลิตผลงานท่มี ีคณุ คา่ ทางศาสนาได้ 9. เป็นผมู้ ปี ญั ญารอบรู้และเช่ียวชาญจนได้รบั การยกย่องว่าเป็นปราชญ์ ผ้ทู รงภูมิปญั ญา ต้อง เป็นผู้มีปัญญารอบรู้และเชี่ยวชาญ รวมท้ังสร้างสรรค์ผลงานพิเศษใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและ มนุษยชาตอิ ย่างตอ่ เนื่องอยเู่ สมอ 3. การจดั แบง่ สาขาภูมิปัญญาไทย จากการศึกษาพบวา่ มีการกาหนดสาขาภูมปิ ัญญาไทยไวอ้ ย่างหลากหลาย ข้นึ อยูก่ ับวตั ถปุ ระสงค์ และ หลักเกณฑ์ต่างๆ ท่ีหน่วยงาน องค์กร และนักวิชาการแต่ละท่านนามากาหนด ในภาพรวมภูมิปัญญาไทย สามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 10 สาขา ดงั นี้ 1. สาขาเกษตรกรรม หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ และ เทคนิคด้านการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคุณค่าด้ังเดิม ซึ่งคนสามารถพึ่งพาตนเองใน ภาวการณ์ต่างๆ ได้ เช่น การทา การเกษตรแบบผสมผสาน วนเกษตร เกษตรธรรมชาติ ไร่นาสวนผสม และ สวนผสมผสาน การแก้ปัญหาการเกษตรด้านการตลาด การแก้ปัญหาด้านการผลิต การแก้ไขปัญหาโรคและ แมลง และการรู้จกั ปรับใชเ้ ทคโนโลยที ี่เหมาะสมกับการเกษตร เปน็ ต้น 2. สาขาอตุ สาหกรรมและหัตถกรรม หมายถงึ การรู้จกั ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการ แปรรปู ผลติ ผล เพ่อื ชะลอการนาเขา้ ตลาด เพอื่ แกป้ ัญหาด้านการบริโภคอยา่ งปลอดภัยประหยัดและเป็นธรรม อันเป็นกระบวนการท่ีทาให้ชุมชนท้องถ่ินสามารถพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจได้ ตลอดทั้งการผลิต และการ จาหน่าย ผลิตผลทางหตั ถกรรม เชน่ การรวมกลุม่ ของกลมุ่ โรงงานยางพารา กลุ่มโรงสี กลุ่มหตั ถกรรม เป็นต้น 3. สาขาการแพทย์แผนไทย หมายถึง ความสามารถในการจัดการป้องกัน และรักษา สุขภาพของคนในชุมชน โดยเน้นให้ชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเอง ทางด้านสุขภาพ และอนามัยได้ เช่น การนวด แผนโบราณ การดูแลและรกั ษาสุขภาพแบบพ้ืนบ้าน การดแู ลและรักษาสขุ ภาพแผนโบราณไทย เป็นต้น 4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมายถึง ความสามารถเกี่ยวกับ การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ทงั้ การอนรุ ักษ์ การพฒั นา และการใช้ประโยชนจ์ ากคุณค่าของ ทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม อย่างสมดุล และย่ังยนื เช่น การทาแนวปะการังเทยี ม การอนุรกั ษป์ ่าชาย เลน การจัดการปา่ ต้นน้า และป่าชุมชน เป็นต้น 5. สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการ สะสม และบริการกองทุน และธุรกิจในชุมชน ทั้งท่ีเป็นเงินตรา และโภคทรัพย์ เพ่ือส่งเสริมชีวิตความเป็นอยู่ ของสมาชกิ ในชุมชน เชน่ การจดั การเรอ่ื งกองทุนของชมุ ชน ในรปู ของสหกรณ์ออมทรัพย์ และธนาคารหมู่บ้าน เป็นตน้

6. สาขาสวัสดิการ หมายถึง ความสามารถในการจัดสวัสดิการในการประกันคุณภาพชีวิต ของคน ให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เช่น การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาล ของชมุ ชน การจัดระบบสวสั ดิการบรกิ ารในชมุ ชน การจดั ระบบสง่ิ แวดล้อมในชุมชน เป็นตน้ 7. สาขาศิลปกรรม หมายถึง ความสามารถในการผลิตผลงานทางด้านศิลปะสาขาต่าง ๆ เชน่ จติ รกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม ทัศนศิลป์ คีตศลิ ป์ ศิลปะมวยไทย เปน็ ตน้ 8. สาขาการจัดการองค์กร หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการดาเนินงานของ องค์กรชุมชนต่างๆ ให้สามารถพัฒนาและบริหารองค์กรของตนเองได้ตามบทบาทและหน้าท่ีขององค์การ เชน่ การจดั การองค์กรของกลุม่ แม่บ้าน กลมุ่ ออมทรัพย์กลมุ่ ประมงพ้ืนบ้าน เปน็ ตน้ 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถงึ ความสามารถผลติ ผลงานเกี่ยวกับด้านภาษา ทั้งภาษาถ่ิน ภาษาโบราณ ภาษาไทย และการใช้ภาษา ตลอดทั้งด้านวรรณกรรมทุกประเภท เช่น การจัดทา สารานกุ รมภาษาถ่ิน การปริวรรต หนงั สือโบราณ การฟ้นื ฟกู ารเรยี นการสอนภาษาถิ่นของท้องถิ่นต่าง ๆ เป็นตน้ 10. สาขาศาสนาและประเพณี หมายถึง ความสามารถประยุกต์ และปรับใช้หลักธรรมคา สอนทางศาสนา ความเชอื่ และประเพณีดั้งเดิมท่ีมีคุณค่าให้เหมาะสมต่อการประพฤตปิ ฏิบัติ ให้บังเกิดผลดีต่อ บุคคล และสิ่งแวดล้อม เช่น การถ่ายทอดหลักธรรมทางศาสนา ลักษณะความสัมพันธ์ของภูมิปัญญาไทยภูมิ- ปญั ญาไทยสามารถสะทอ้ นออกมาใน 3 ลกั ษณะท่ีสมั พันธ์ใกลช้ ดิ กนั คือ ธรรมชาติ 10.1 ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกันระหว่างคนกับโลก ส่ิงแวดล้อม สัตว์ พืช และ 10.2 ความสมั พนั ธข์ องคนกับคนอ่ืนๆ ท่อี ยูร่ ่วมกนั ในสังคม หรือในชุมชน 10.3 ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับส่ิงศักดิ์สิทธ์ิสิ่งเหนือธรรมชาติ ตลอดทั้งสิ่งที่ไม่ สามารถสัมผัสได้ท้ังหลาย ท้ัง 3 ลักษณะนี้ คือ สามมิติของเรื่องเดียวกัน หมายถึง ชีวิตชุมชน สะท้อนออก มาถงึ ภูมิปญั ญาในการดาเนินชีวิตอย่างมีเอกภาพ เหมอื นสามมมุ ของรูปสามเหล่ียม ภมู ปิ ัญญา จงึ เปน็ รากฐาน ในการดาเนนิ ชวี ติ ของคนไทย ซ่งึ สามารถแสดงใหเ้ ห็นไดอ้ ย่างชัดเจนโดยแผนภาพ ดังน้ี ลักษณะภูมิปัญญาท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ ระหว่างคนกับธรรมชาติสิ่งแวดล้อม จะแสดงออกมา ในลักษณะภูมิปัญญาในการดาเนินวิถีชีวิตข้ันพ้ืนฐาน ด้านปัจจัยสี่ ซ่ึงประกอบด้วย อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ท่ี อยู่อาศัย และยารักษาโรค ตลอดท้ังการประกอบ อ า ชี พ ต่ า ง ๆ เ ป็ น ต้ น ภู มิ ปั ญ ญ า ท่ี เ กิ ด จ า ก ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนอ่ืนในสังคม จะแสดง ออกมาในลักษณะ จารีต ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ และนันทนาการ ภาษา และวรรณกรรม ตลอด ทง้ั การส่อื สารตา่ งๆ เปน็ ตน้ ภูมปิ ญั ญาท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ ส่งิ เหนือธรรมชาติ จะ แสดงออกมาในลักษณะของส่ิงศักด์ิสทิ ธ์ิ ศาสนา ความเชอื่ ต่างๆ เปน็ ต้น

4. คณุ ค่าและความสาคัญของภมู ปิ ญั ญาไทย คุณค่าของภูมิปัญญาไทย ได้แก่ ประโยชน์ และความสาคัญของภูมิปัญญา ท่ีบรรพบุรุษไทย ได้ สร้างสรรค์ และสืบทอดมาอย่างต่อเนื่อง จากอดีตสู่ปัจจุบัน ทาให้คนในชาติเกิดความรัก และความภาคภูมิใจ ที่จะร่วมแรงร่วมใจสืบสานต่อไปในอนาคต เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถาปัตยกรรม ประเพณีไทย การมี นา้ ใจ ศักยภาพในการประสานผลประโยชน์ เป็นต้น ภูมปิ ัญญาไทยจึงมคี ณุ ค่า และความสาคญั ดังน้ี 1. ภมู ปิ ัญญาไทยช่วยสรา้ งชาติใหเ้ ปน็ ปึกแผ่น พระมหากษัตริย์ไทยได้ใช้ภูมิปัญญาในการสร้างชาติ สร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่ ประเทศชาติมาโดยตลอด ตั้งแต่สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระองค์ทรงปกครองประชาชน ด้วยพระ เมตตา แบบพ่อปกครองลูก ผู้ใดประสบความเดือดร้อน ก็สามารถตีระฆัง แสดงความเดือดร้อน เพ่ือขอรับ พระราชทานความช่วยเหลือ ทาให้ประชาชนมีความจงรักภักดีต่อพระองค์ ต่อประเทศชาติร่วมกันสร้าง บ้านเรอื นจนเจริญรงุ่ เรืองเป็นปึกแผ่น สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค์ทรงใชภ้ มู ิปัญญากระทายุทธหัตถี จนชนะขา้ ศึกศัตรูและ ทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทยคืนมาได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน พระองค์ทรงใช้ภูมิปัญญาสร้างคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติ และเหล่าพสกนิกรมากมายเหลือคณานับ ทรงใช้ พระปรีชาสามารถ แก้ไขวิกฤตการณ์ทางการเมือง ภายในประเทศ จนรอดพ้นภัยพิบัติหลายคร้งั พระองค์ทรง มีพระปรีชาสามารถหลายด้าน แม้แต่ด้านการเกษตร พระองค์ได้พระราชทานทฤษฎีใหม่ให้แก่พสกนิกร ทั้ง ด้านการเกษตรแบบสมดุลและยั่งยืน ฟื้นฟูสภาพแวดล้อม นาความสงบร่มเย็นของประชาชนให้กลับคืนมา แนวพระราชดาริ \"ทฤษฎใี หม่\" แบ่งออกเปน็ 2 ขัน้ โดยเริม่ จาก ข้ันตอนแรก ใหเ้ กษตรกรรายย่อย \"มพี ออยู่พอ กิน\" เป็นข้ันพื้นฐาน โดยการพัฒนาแหล่งน้า ในไร่นา ซึ่งเกษตรกรจาเป็นท่ีจะต้องได้รับความช่วยเหลือจาก หนว่ ยราชการ มูลนิธิ และหน่วยงานเอกชน ร่วมใจกนั พัฒนาสงั คมไทย ในขัน้ ท่ีสอง เกษตรกรตอ้ งมคี วามเข้าใจ ในการจัดการในไร่นาของตน และมีการรวมกลุ่มในรูปสหกรณ์ เพื่อสร้างประสิทธิภาพทางการผลิต และ การตลาด การลดรายจ่ายด้านความเป็นอยู่ โดยทรงตระหนักถึงบทบาทขององค์กรเอกชน เมื่อกลุ่มเกษตร วิวัฒน์มาขั้นท่ี 2 แล้ว ก็จะมีศักยภาพ ในการพัฒนาไปสขู่ ้ันที่สาม ซึ่งจะมีอานาจในการต่อรองผลประโยชน์กบั สถาบันการเงินคือ ธนาคาร และองค์กรที่เป็นเจ้าของแหล่งพลังงาน ซ่ึงเป็นปัจจัยหนึ่งในการผลิต โดยมีการ แปรรปู ผลติ ผล เช่น โรงสี เพื่อเพมิ่ มลู ค่าผลิตผล และขณะเดียวกนั มีการจดั ตงั้ รา้ นค้าสหกรณ์ เพื่อลดค่าใช้จ่าย ในชีวิตประจาวัน อันเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลในสังคม จะเห็นได้ว่า มิได้ทรงทอดทิ้งหลักของ ความสามัคคีในสังคม และการจัดต้ังสหกรณ์ ซึ่งทรงสนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกรสร้างอานาจต่อรองในระบบ เศรษฐกิจ จึงจะมีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงจัดได้ว่า เป็นสังคมเกษตรที่พัฒนาแล้ว สมดังพระราชประสงค์ที่ทรงอุทศิ พระวรกาย และพระสตปิ ญั ญา ในการพัฒนาการเกษตรไทยตลอดระยะเวลาแห่งการครองราชย์ 2. สรา้ งความภาคภมู ิใจ และศักดศ์ิ รี เกยี รติภูมิแกค่ นไทย คนไทยในอดีตท่ีมีความสามารถปรากฏในประวัติศาสตร์มีมาก เป็นท่ียอมรับของนานา อารยประเทศ เช่น นายขนมต้มเป็นนักมวยไทยที่มีฝีมือเก่งในการใช้อวัยวะทุกส่วนทุกท่าของแม่ไม้มวยไทย สามารถชกมวยไทย จนชนะพม่าได้ถึงเก้าคนสิบคนในคราวเดียวกัน แม้ในปัจจุบัน มวยไทยก็ยังถือว่า เป็น

ศิลปะชั้นเย่ียม เป็นที่ นิยมฝึกและแข่งขันในหมู่คนไทยและชาวต่าง ประเทศ ปัจจุบันมีค่ายมวยไทยทั่วโลกไม่ ตา่ กว่า 30,000 แหง่ ชาวต่างประเทศท่ีไดฝ้ กึ มวยไทย จะรู้สึกยินดแี ละภาคภูมิใจ ในการท่จี ะใชก้ ติกา ของมวย ไทย เช่น การไหว้ครูมวยไทย การออก คาส่ังในการชกเป็นภาษาไทยทุกคา เช่น คาว่า \"ชก\" \"นับหนึ่งถึงสิบ\" เป็นต้น ถือเป็นมรดก ภูมิปัญญาไทย นอกจากน้ี ภูมิปัญญาไทยที่โดด เด่นยังมีอีกมากมาย เช่น มรดกภู มิ ปัญญาทาง ภาษาและวรรณกรรม โดยท่ีมีอักษรไทยเป็นของ ตนเองมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย และวิวัฒนาการ มาจนถึงปัจจุบัน วรรณกรรมไทยถือว่า เป็นวรรณกรรมที่มีความไพเราะ ได้อรรถรสครบทุกด้าน วรรณกรรม หลายเรอ่ื งไดร้ ับการแปลเป็นภาษาตา่ งประเทศหลายภาษา ดา้ นอาหาร อาหารไทยเป็นอาหารท่ปี รุงง่าย พืชท่ี ใช้ประกอบอาหารส่วนใหญ่เป็นพืชสมุนไพร ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น และราคาถูก มี คุณค่าทางโภชนาการ และ ยังป้องกันโรคได้หลายโรค เพราะส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นพืชสมุนไพร เช่น ตะไคร้ ขิง ข่า กระชาย ใบ มะกรูด ใบโหระพา ใบกะเพรา เปน็ ต้น 3. สามารถปรบั ประยุกตห์ ลกั ธรรมคาสอนทางศาสนาใช้กบั วถิ ีชีวติ ได้อย่างเหมาะสม คนไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยนาหลักธรรมคาสอนของศาสนา มาปรับใช้ในวิถชี วี ิต ได้อย่างเหมาะสม ทาให้คนไทยเป็นผู้อ่อนน้อมถ่อมตน เอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่ ประนีประนอม รักสงบ ใจเย็น มีความ อดทน ใหอ้ ภยั แกผ่ ู้สานึกผดิ ดารงวิถีชวี ติ อย่างเรียบง่าย ปกติสขุ ทาให้คนในชุมชนพึ่งพากันได้ แมจ้ ะอดอยาก เพราะ แห้งแล้ง แต่ไม่มีใครอดตาย เพราะพึ่งพาอาศัย กัน แบ่งปันกันแบบ \"พริกบ้านเหนือเกลือบ้านใต้\" เป็น ตน้ ท้ังหมดนี้สืบเนื่องมาจากหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา เป็นการใชภ้ ูมปิ ัญญา ในการนาเอาหลักขอ พระพุทธศาสนามา ประยกุ ตใ์ ช้กับชีวิตประจาวัน และดาเนนิ กุศโลบาย ด้านตา่ งประเทศ จนทาให้ชาวพุทธท่ัว โลกยกย่อง ให้ประเทศไทยเป็นผู้นาทางพุทธศาสนา และเป็น ท่ีตั้งสานักงานใหญ่องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์ แห่งโลก (พสล.) อยู่เย้ืองๆ กับอุทยานเบญจสิริ กรุงเทพมหานคร โดยมีคนไทย (ฯพณฯ สัญญา ธรรมศักดิ์ องคมนตรี) ดารงตาแหนง่ ประธาน พสล. ต่อจาก ม.จ.หญงิ พนู พิศมัย ดิศกุล 4. สรา้ งความสมดลุ ระหวา่ งคนในสังคม และธรรมชาติได้อย่างย่งั ยนื ภูมิปัญญาไทยมีความเด่นชัดในเร่ืองของการยอมรับนับถือ และให้ความสาคัญแก่คน สังคม และธรรมชาตอิ ยา่ งยง่ิ มเี ครอื่ งช้ที ่แี สดงให้เห็นได้อยา่ งชดั เจนมากมาย เชน่ ประเพณไี ทย 12 เดอื น ตลอดทั้งปี ลว้ นเคารพคุณคา่ ของธรรมชาติ ไดแ้ ก่ ประเพณสี งกรานต์ ประเพณีลอยกระทง เปน็ ต้น ประเพณีสงกรานต์เป็น ประเพณีที่ทาใน ฤดูร้อนซ่ึงมีอากาศร้อน ทาให้ต้องการความเย็น จึงมีการรดน้าดาหัว ทาความสะอาด บ้านเรือน และธรรมชาติสิ่งแวดล้อม มีการแห่นางสงกรานต์ การทานายฝนว่าจะตกมากหรือน้อยในแต่ละปี ส่วนประเพณลี อยกระทง คณุ คา่ อยทู่ ่กี ารบูชา ระลกึ ถึงบุญคณุ ของนา้ ท่หี ล่อเลีย้ งชวี ิตของ คน พืช และสตั ว์ ให้ ได้ใช้ท้ังบริโภคและอุปโภค ในวันลอยกระทง คนจึงทาความสะอาดแม่น้า ลาธาร บูชาแม่น้าจากตัวอย่าง ข้างต้น ลว้ นเป็น ความสัมพนั ธ์ระหว่างคนกบั สงั คมและธรรมชาติ ท้ังสนิ้ ในการรักษาป่าไม้ต้นน้าลาธาร ได้ประยกุ ตใ์ ห้มีประเพณีการบวชป่า ให้คนเคารพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ธรรมชาติ และสภาพแวดล้อม ยังความอุดมสมบูรณ์แก่ต้นน้า ลาธาร ให้ฟ้ืนสภาพกลับคืนมาได้มาก อาชีพ การเกษตรเปน็ อาชีพหลักของคนไทย ท่ีคานงึ ถงึ ความสมดุล ทาแต่น้อยพออยู่พอกนิ แบบ \"เฮด็ อย่เู ฮ็ดกิน\" ของ พ่อทองดี นันทะ เม่อื เหลือกิน ก็แจกญาตพิ นี่ ้อง เพ่อื นบา้ น บ้านใกล้เรอื นเคียง นอกจากนี้ ยังนาไปแลกเปล่ียน

กบั สิ่งของอยา่ งอน่ื ที่ตนไมม่ ี เมอ่ื เหลือใช้จรงิ ๆ จึงจะนาไปขาย อาจกล่าวไดว้ า่ เปน็ การเกษตรแบบ \"กิน-แจก- แลก-ขาย\" ทาให้คนในสังคมได้ช่วยเหลือเกื้อกูล แบ่งปันกัน เคารพรัก นับถือ เป็นญาติกัน ทั้งหมู่บ้าน จึงอยู่ ร่วมกันอย่างสงบสุข มคี วามสัมพนั ธ์กนั อยา่ งแนบแนน่ ธรรมชาตไิ ม่ถูกทาลายไปมากนัก เน่อื งจากทาพออยู่พอ กิน ไมโ่ ลภมากและไมท่ าลายทกุ อยา่ งผิด กับในปัจจุบนั ถอื เป็นภูมปิ ัญญาที่สร้างความ สมดลุ ระหว่างคน สงั คม และธรรมชาติ 5. เปลย่ี นแปลงปรบั ปรงุ ไดต้ ามยคุ สมัย แม้วา่ กาลเวลาจะผา่ นไป ความรูส้ มัยใหม่ จะหลงั่ ไหลเข้ามามาก แตภ่ ูมิปญั ญาไทย ก็สามารถ ปรับเปลยี่ นใหเ้ หมาะสมกบั ยุคสมัย เช่น การรจู้ กั นาเครื่องยนต์มาตดิ ต้ังกับเรือ ใส่ใบพัด เป็นหางเสอื ทาให้เรือ สามารถแล่นได้เร็วข้ึน เรียกว่า เรือหางยาว การรู้จักทาการเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟื้นคืน ธรรมชาติให้ อุดมสมบูรณ์แทนสภาพเดิมท่ีถูกทาลายไป การรู้จักออมเงิน สะสมทุนให้สมาชกิ กู้ยืม ปลดเปลื้อง หนี้สนิ และจัดสวัสดิการแกส่ มาชกิ จนชุมชนมีความม่นั คง เข้มแขง็ สามารถช่วยตนเองไดห้ ลายร้อยหมบู่ ้านทั่ว ประเทศ เช่น กลุ่มออมทรัพย์คีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช จัดในรูปกองทุนหมุนเวียนของชุมชน จนสามารถ ช่วยตนเองได้ เมื่อป่าถูกทาลาย เพราะถูกตัดโค่น เพ่ือปลูกพืชแบบเด่ียว ตามภูมิปัญญาสมัยใหม่ ท่ีหวัง ร่ารวย แต่ในที่สุด ก็ขาดทุน และมีหน้ีสิน สภาพแวดล้อมสูญเสยี เกิดความแห้งแล้ง คนไทยจึงคิดปลูกป่า ท่ีกิน ได้ มีพืชสวน พืชป่าไม้ผล พืชสมุนไพร ซึ่งสามารถมีกินตลอดชีวิตเรียกว่า \"วนเกษตร\" บางพื้นที่ เมื่อป่าชุมชน ถูกทาลาย คนในชมุ ชนก็รวมตัวกัน เป็นกล่มุ รกั ษาปา่ ร่วมกันสรา้ งระเบียบ กฎเกณฑก์ ันเอง ให้ทกุ คนถือปฏิบัติ ได้ สามารถรักษาป่าได้อย่างสมบูรณ์ดังเดิม เม่ือปะการังธรรมชาติถูกทาลาย ปลาไม่มีท่ีอยู่อาศัย ประชาชน สามารถสร้าง \"อูหยัม\" ข้ึน เป็นปะการังเทียมให้ปลาอาศัยวางไข่และแพร่พันธุ์ให้เจริญเติบโต มีจานวนมาก ดังเดมิ ได้ ถือเป็นการใช้ภูมิปัญญาปรบั ปรุงประยุกตใ์ ช้ได้ตามยุคสมัย สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เล่มท่ี 19 ให้ความหมายของคาว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ความรู้ของชาวบ้าน ซึ่งได้มาจากประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ้าน รวมท้ังความรู้ที่ ส่ังสมมาแต่บรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุ่นหน่ึงไปสู่คนอีกรุ่นหน่ึง ระหว่างการสืบทอดมีการปรับ ประยุกต์ และ เปลยี่ นแปลง จนอาจเกิดเป็นความรูใ้ หมต่ ามสภาพการณ์ทางสงั คมวฒั นธรรม และ ส่งิ แวดล้อม ภูมิปัญญาเป็นความรู้ที่ประกอบไปด้วยคุณธรรมซ่ึงสอดคล้องกับวิถีชีวิตด้ังเดิมของชาวบ้าน ในวิถีด้ังเดิมนั้น ชีวิตของชาวบ้านไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วนๆ หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กัน การทามาหากิน การอยู่ร่วมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณีความรู้เป็นคุณธรรม เมื่อผู้คนใช้ความรู้นั้น เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ความสัมพันธ์ที่ดี เป็นความสัมพันธ์ท่ีมีความสมดุล ที่เคารพกันและกัน ไม่ทาร้ายทาลายกัน ทาให้ทุกฝ่ายทุกส่วนอยู่ร่วมกันได้ อย่างสันติ ชุมชนด้ังเดิมจึงมีกฎเกณฑ์ของการอยู่ร่วมกัน มีคนเฒ่าคนแก่เป็นผู้นา คอยให้คาแนะนาตักเตือน ตัดสิน และลงโทษหากมีการละเมิด ชาวบ้านเคารพธรรมชาติรอบตัว ดิน น้า ป่า เขา ข้าว แดด ลม ฝน โลก และจักรวาล ชาวบ้านเคารพผู้หลักผู้ใหญ่ พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ท้ังที่มีชีวิตอยู่และล่วงลับไปแล้ว ภูมิปัญญาจึง เป็นความรู้ท่ีมีคุณธรรม เป็นความรู้ท่ีมีเอกภาพของทุกสิ่งทุกอย่าง เป็นความรู้ว่า ทุกสิ่งทุกอย่างสัมพันธ์กัน

อย่างมีความสมดุล เราจึงยกย่องความรู้ขั้นสูงส่ง อันเป็นความรู้แจ้งในความจริงแห่งชีวิตนี้ว่า \"ภูมิปัญญา\" ความคิดและการแสดงออก เพื่อจะเข้าใจภูมิปัญญาชาวบ้าน จาเป็นต้องเข้าใจความคิดของชาวบ้านเกี่ยวกับ โลก หรือท่ีเรียกว่า โลกทัศน์ และเก่ียวกับชีวิต หรือที่เรียกว่า ชีวทัศน์ ส่ิงเหล่านี้เป็นนามธรรม อันเกี่ยวข้อง สัมพันธ์โดยตรงกับการแสดงออกใน ลักษณะต่างๆ ที่เป็นรูปธรรม แนวคิดเรื่องความสมดุลของชีวิต เป็น แนวคิดพื้นฐานของภูมิปัญญาชาวบ้าน การแพทย์แผนไทย หรือท่ีเคยเรียกกันว่า การแพทย์แผนโบราณน้ันมี หลักการว่า คนมีสุขภาพดี เมื่อร่างกายมีความสมดุลระหว่างธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน น้า ลม ไฟ คนเจ็บไข้ได้ป่วย เพราะธาตุขาดความสมดุล จะมีการปรับธาตุ โดยใช้ยาสมุนไพร หรือวิธีการอ่ืนๆ คนเป็นไข้ตัวร้อน หมอยา พ้ืนบา้ นจะให้ยาเย็น เพ่ือลดไข้ เปน็ ต้น การดาเนนิ ชวี ิตประจาวันก็เช่นเดยี วกัน ชาวบ้านเช่ือวา่ จะตอ้ งรักษา ความสมดุลในความสัมพันธ์สามด้าน คือ ความสัมพันธ์กับคนในครอบครัว ญาติพ่ีน้อง เพ่ือนบ้านในชุมชน ความสมั พนั ธ์ท่ีดมี หี ลักเกณฑ์ ท่บี รรพบรุ ุษไดส้ งั่ สอนมา เช่น ลูกควรปฏบิ ัติอย่างไรกบั พ่อแม่ กบั ญาติพน่ี อ้ ง กับ ผู้สูงอายุ คนเฒ่าคนแก่ กับเพ่ือนบ้าน พ่อแม่ควรเลี้ยงดูลูกอย่างไร ความเอื้ออาทรต่อกันและกัน ช่วยเหลือ เก้ือกูลกัน โดยเฉพาะในยามทุกข์ยาก หรือมีปัญหา ใครมีความสามารถพิเศษก็ใช้ความสามารถนั้นช่วยเหลือ ผู้อื่น เชน่ บางคนเปน็ หมอยา กช็ ว่ ยดูแลรักษาคนเจ็บป่วยไม่สบาย โดยไม่คิดคา่ รักษา มแี ต่เพียงการยกครู หรอื การราลึกถึงครูบาอาจารย์ท่ีประสาทวิชามาให้เท่าน้ัน หมอยาต้องทามาหากิน โดยการทานา ทาไร่ เล้ียงสัตว์ เหมือนกบั ชาวบ้านอนื่ ๆ บางคนมีความสามารถพเิ ศษดา้ นการทามาหากิน กช็ ว่ ยสอนลูกหลานให้มวี ชิ าไปด้วย ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนในครอบครัว ในชุมชน มีกฎเกณฑ์เป็นข้อปฏิบัติ และข้อห้ามอย่าง ชดั เจน มีการแสดงออกทางประเพณี พิธกี รรม และกิจกรรมต่างๆ เชน่ การรดนา้ ดาหัวผู้ใหญ่การบายศรีสู่ขวัญ เป็นต้น ความสัมพันธ์กับธรรมชาติ ผู้คนสมัยก่อนพึ่งพาอาศัยธรรมชาติแทบทุกด้าน ต้ังแต่อาหารการกิน เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยียงั ไม่พัฒนาก้าวหน้าเหมือนทุกวันนี้ ยัง ไม่มีระบบการค้าแบบสมัยใหม่ ไม่มีตลาด คนไปจับปลาล่าสัตว์ เพ่ือเป็นอาหารไปวันๆ ตัดไม้เพื่อสร้างบ้าน และใช้สอยตามความจาเป็นเทา่ น้นั ไม่ไดท้ าเพ่อื การคา้ ชาวบ้านมหี ลักเกณฑ์ในการใช้สงิ่ ของในธรรมชาติ ไมต่ ัด ไม้อ่อน ทาให้ต้นไม้ในป่าขึ้นแทนต้นท่ีถูกตัดไปได้ตลอดเวลาชาวบ้านยังไม่รู้จักสารเคมี ไม่ใช้ยาฆ่าแมลง ฆ่า หญา้ ฆา่ สัตว์ ไมใ่ ช้ปุย๋ เคมี ใชส้ ่ิงของในธรรมชาตใิ ห้เกือ้ กลู กนั ใชม้ ลู สตั ว์ ใบไม้ใบ หญา้ ทเี่ น่าเป่ือยเป็นปุ๋ย ทาให้ ดินอุดมสมบูรณ์ น้าสะอาดและไม่เหือดแห้งชาวบ้านเคารพธรรมชาติเช่ือว่ามีเทพมีเจ้าสถิตอยู่ในดิน น้า ป่า เขา สถานที่ทุกแห่งจะทาอะไรต้องขออนุญาตและทาด้วยความเคารพ และพอดี พองาม ชาวบ้านรู้คุณ ธรรมชาติ ท่ีได้ให้ชีวิตแก่ตนพิธีกรรมต่างๆ ล้วนแสดงออกถึงแนวคิดดังกล่าว เช่น งานบุญพิธี ที่เก่ียวกับ น้า ข้าว ป่าเขา รวมถึงสัตว์บ้านเรือนเครื่องใช้ต่างๆ มีพิธีสู่ขวัญข้าวสู่ขวัญควายสู่ขวัญเกวียน ทางอีสานมีพิธีแฮก นาหรือแรกนา เลยี้ งผตี าแฮก มงี านบุญบา้ น เพอ่ื เลยี้ งผี หรอื สิ่งศกั ดส์ิ ทิ ธ์ปิ ระจาหมู่บ้าน เปน็ ตน้ ความสัมพันธ์กับสิ่งเหนือธรรมชาติ ชาวบ้านรู้ว่ามนุษย์เป็นเพียงส่วนเล็กๆ ส่วนหนึ่ง ของ จักรวาล ซ่ึงเต็มไปด้วยความเร้นลับ มีพลัง และอานาจ ที่เขาไม่อาจจะหาคาอธิบายได้ ความเร้นลับดังกล่าว รวมถึงญาติพ่ีน้อง และผู้คนที่ล่วงลับไปแล้ว ชาวบ้านยังสัมพันธ์กับพวกเขาทาบุญและราลึกถึงอย่างสม่าเสมอ ทุกวัน หรือในโอกาสสาคัญๆ นอกนั้นเป็นผีดีผีร้ายเทพเจ้าต่างๆ ตามความเชื่อของแต่ละแห่งส่ิงเหล่าน้ีสิงสถติ อยใู่ นส่งิ ต่างๆ ในโลก ในจกั รวาล และอยบู่ นสรวงสวรรค์การทามาหากิน

แม้วิถีชีวิตของชาวบ้านเม่ือก่อนจะดูเรียบง่ายกว่าทุกวันน้ี และยังอาศัยธรรมชาติ และ แรงงานเป็นหลัก ในการทามาหากิน แต่พวกเขาก็ต้องใช้สติปัญญา ที่บรรพบุรุษถ่ายทอดมาให้ เพื่อจะได้อยู่ รอด ท้ังนเ้ี พราะปัญหาตา่ งๆ ในอดีตก็ยังมไี ม่น้อย โดยเฉพาะเมอ่ื ครอบครวั มีสมาชิกมากข้ึน จาเปน็ ต้องขยายที่ ทากนิ ตอ้ งหกั ร้างถางพง บกุ เบกิ พน้ื ทที่ ากนิ ใหม่ การปรับพื้นท่ีป้ันคันนา เพอ่ื ทานา ซึ่งเป็นงานที่หนัก การทา ไร่ทานา ปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ และดูแลรักษาให้เติบโต และได้ผล เป็นงานท่ีต้องอาศัยความรู้ความสามารถ การ จบั ปลาล่าสัตวก์ ็มวี ิธีการ บางคนมคี วามสามารถมากรู้ว่า เวลาไหน ท่ใี ด และวธิ ีใด จะจบั ปลาได้ดีที่สุด คนที่ไม่ เกง่ ก็ตอ้ งใช้เวลานาน และไดป้ ลาน้อย การล่าสตั วก์ ็เช่นเดยี วกัน การจัดการแหล่งน้า เพ่ือการเกษตร ก็เป็นความรู้ความสามารถ ท่ีมีมาแต่โบราณ คนทาง ภาคเหนือรู้จักบริหารน้า เพื่อการเกษตร และเพื่อการบริโภคต่างๆ โดยการจัดระบบเหมืองฝาย มีการจัด แบ่งปันน้ากันตามระบบประเพณีท่ี สืบทอดกันมา มีหัวหน้าที่ทุกคนยอมรับ มีคณะกรรมการจัดสรรน้าตาม สัดส่วน และตามพื้นที่ทากิน นับเป็นความรทู้ ่ีทาใหช้ ุมชนต่างๆ ท่ีอาศัยอยู่ใกล้ลาน้า ไม่ว่าต้นน้า หรือปลายน้า ไดร้ บั การแบ่งปันน้าอย่างยตุ ิธรรม ทุกคนได้ประโยชน์ และอยูร่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ติ ชาวบ้านรู้จักการแปรรูปผลิตผลในหลายรปู แบบ การถนอมอาหารให้กินได้นาน การดองการ หมกั เชน่ ปลารา้ นา้ ปลา ผกั ดอง ปลาเค็ม เนือ้ เค็ม ปลาแห้ง เน้ือแห้ง การแปรรูปข้าว ก็ทาไดม้ ากมายนับร้อย ชนิด เช่น ขนมต่างๆ แต่ละพิธีกรรม และแต่ละงานบุญประเพณี มีข้าวและขนมในรูปแบบไม่ซ้ากัน ตั้งแต่ ขนมจีน สังขยา ไปถึงขนมในงานสารท กาละแม ขนมครก และอื่นๆ ซึ่งยังพอมีให้เห็นอยู่จานวนหนึ่ง ใน ปจั จุบนั ส่วนใหญป่ รบั เปลยี่ นมาเปน็ การผลิตเพื่อขาย หรอื เป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน ความรู้เร่ืองการปรุงอาหารก็มีอยู่มากมาย แต่ละท้องถ่ินมีรูปแบบ และรสชาติแตกต่างกันไป มีมากมายนับร้อยนับพันชนิด แม้ในชีวิตประจาวัน จะมีเพียงไม่ก่ีอย่าง แต่โอกาสงานพิธี งาน เล้ียง งานฉลอง สาคัญ จะมีการจัดเตรียมอาหารอย่างดี และพิถีพิถัน การทามาหากินในประเพณีเดิมนั้น เป็นทั้งศาสตร์และ ศิลป์ การเตรียมอาหาร การจัดขนม และผลไม้ ไม่ได้เป็นเพียงเพ่ือให้รับประทานแล้วอร่อย แต่ให้ได้ความ สวยงาม ทาให้สามารถสัมผสั กับอาหารนั้น ไม่เพียงแต่ทางปาก และรสชาติของลิ้น แต่ทางตา และทางใจ การ เตรียมอาหารเป็นงานศิลปะ ที่ปรุงแต่ด้วยความต้ังใจ ใช้เวลา ฝีมือ และความรู้ความสามารถ ชาวบ้าน สมยั ก่อนส่วนใหญ่จะทานาเป็นหลัก เพราะเมอ่ื มีขา้ วแล้ว กส็ บายใจ อย่างอน่ื พอหาไดจ้ ากธรรมชาติ เสรจ็ หน้า นาก็จะทางานหัตถกรรม การทอผ้า ทาเส่ือ เล้ียงไหม ทาเครื่องมือ สาหรับจับสัตว์ เคร่ืองมือการเกษตร และ อุปกรณ์ตา่ งๆ ทจ่ี าเปน็ หรือเตรยี มพื้นท่ี เพ่อื การทานาครั้งต่อไป หัตถกรรมเป็นทรัพย์สิน และมรดกทางภูมิปัญญาท่ีย่ิงใหญ่ท่ีสุดอย่างหน่ึงของบรรพบุรุษ เพราะเป็นส่ือท่ีถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความเชื่อ และคุณค่าต่างๆ ที่ส่ังสมมาแต่นมนาน ลายผา้ ไหม ผ้าฝ้าย ฝีมือในการทออย่างประณตี รูปแบบเคร่ืองมือ ทสี่ านดว้ ยไมไ้ ผ่ และอปุ กรณ์ เครื่องใช้ไม้สอยต่างๆ เครื่องดนตรี เคร่ืองเล่น ส่ิงเหล่านี้ได้ถูกบรรจงสร้างข้ึนมา เพื่อการใช้สอย การทาบุญ หรือการอุทิศให้ใครคน หน่ึง ไมใ่ ชเ่ พือ่ การคา้ ขาย ชาวบา้ นทามาหากินเพียงเพอ่ื การยังชีพ ไมไ่ ด้ทาเพอ่ื ขาย มกี ารนาผลิตผลสว่ นหน่ึง ไปแลกส่ิงของที่จาเป็น ที่ตนเองไม่มี เช่น นาข้าวไป แลกเกลือ พริก ปลา ไก่ หรือเส้ือผ้า การขายผลิตผลมีแต่ เพียงส่วนน้อย และเม่ือมีความจาเป็นต้องใช้เงิน เพื่อเสียภาษีให้รัฐ ชาวบ้านนาผลิตผล เช่น ข้าว ไปขายใน

เมืองใหก้ ับพ่อค้า หรอื ขายใหก้ ับพ่อค้าท้องถ่ิน เช่น ทางภาคอีสาน เรยี กวา่ \"นายฮ้อย\" คนเหลา่ น้ีจะนาผลิตผล บางอย่าง เช่น ขา้ ว ปลาร้า ววั ควาย ไปขายในทีไ่ กลๆ ทางภาคเหนือมีพอ่ คา้ วัวต่างๆ เป็นตน้ แม้วา่ ความรู้เรื่องการค้าขายของคนสมัยก่อน ไมอ่ าจจะนามาใช้ในระบบตลาดเช่นปัจจุบันได้ เพราะสถานการณ์ได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก แต่การค้าที่มีจริยธรรมของพ่อค้าในอดีต ท่ีไม่ได้หวังแต่เพียง กาไร แต่คานึงถงึ การชว่ ยเหลอื แบง่ ปันกนั เป็นหลกั ยังมีคุณคา่ สาหรับปัจจุบัน นอกน้นั ในหลายพนื้ ทีใ่ นชนบท ระบบการแลกเปลี่ยนสงิ่ ของยงั มีอยู่ โดยเฉพาะในพ้ืนท่ียากจน ซ่ึงชาวบ้านไมม่ เี งนิ สด แตม่ ผี ลติ ผลตา่ งๆ ระบบ การแลกเปล่ียนไม่ได้ยึดหลักมาตราช่ังวัด หรือการตีราคาของสิ่งของ แต่แลกเปลี่ยน โดยการคานึงถึง สถานการณ์ของผู้แลกทั้งสองฝ่าย คนที่เอาปลาหรือไก่มาขอแลกข้าว อาจจะได้ข้าวเป็นถัง เพราะเจ้าของข้าว คานึงถงึ ความจาเป็นของครอบครัวเจา้ ของไก่ ถ้าหากตรี าคาเปน็ เงนิ ขา้ วหนึง่ ถังย่อมมคี ่าสูงกวา่ ไก่หนึง่ ตวั การอยรู่ ว่ มกันในสังคม การอยู่ร่วมกันในชุมชนด้ังเดิมน้ัน ส่วนใหญ่จะเป็นญาติพ่ีน้องไม่กี่ตระกูล ซ่ึงได้อพยพย้ายถ่ินฐานมา อยู่ หรือสืบทอดบรรพบุรุษจนนับญาติกันได้ท้ังชุมชน มีคนเฒ่าคนแก่ที่ชาวบ้านเคารพนับถือเป็นผู้นาหน้าท่ี ของผู้นา ไม่ใช่การส่ัง แต่เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษา มีความแม่นยาในกฎระเบียบประเพณีการดาเนินชีวิต ตดั สนิ ไกลเ่ กลย่ี หากเกดิ ความขดั แย้ง ช่วยกนั แก้ไขปญั หาตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ปญั หาในชุมชนกม็ ไี ม่นอ้ ย ปัญหาการ ทามาหากิน ฝนแล้ง น้าท่วม โรคระบาด โจรลักวัวควาย เป็นต้น นอกจากน้ัน ยังมีปัญหาความขัดแย้งภายใน ชุมชน หรือระหว่างชุมชน การละเมิดกฎหมาย ประเพณี ส่วนใหญ่จะเป็นการ \" ผิดผี\" คือ ผีของบรรพบุรุษ ผู้ ซ่ึงได้สร้างกฎเกณฑ์ต่างๆ ไว้ เช่น กรณีท่ีชายหนุ่มถูกเน้ือต้องตัวหญิงสาวท่ียังไม่แต่งงาน เป็นต้น หากเกิดการ ผิดผีขึ้นมา ก็ต้องมีพิธีกรรมขอขมา โดยมีคนเฒ่าคนแก่เป็นตัวแทนของบรรพบุรุษ มีการว่ากล่าวส่ังสอน และ ชดเชยการทาผิดน้ัน ตามกฎเกณฑ์ท่ีวางไว้ ชาวบ้านอยู่อย่างพึ่งพาอาศัยกัน ยามเจ็บไข้ได้ป่วย ยามเกิด อุบัติเหตุเภทภยั ยามท่ีโจรขโมยวัวควายข้าวของ การช่วยเหลือกันทางานท่ีเรยี กกันว่า การลงแขก ทั้งแรงกาย แรงใจท่มี ีอยู่ก็จะแบ่งปันช่วยเหลือ เออ้ื อาทรกัน การ แลกเปลยี่ นส่ิงของ อาหารการกิน และอ่ืนๆ จงึ เกีย่ วข้อง กับวิถีของชุมชน ชาวบ้านช่วยกันเก็บเก่ียวข้าว สร้างบ้าน หรืองานอื่นท่ีต้องการคนมากๆ เพื่อจะได้เสร็จ โดยเร็ว ไมม่ ีการจา้ ง กรณตี วั อยา่ งจากการปลูกขา้ วของชาวบ้าน ถ้าปหี น่งึ ชาวนาปลูกข้าวได้ผลดี ผลติ ผลที่ไดจ้ ะใชเ้ พ่ือการ บริโภคในครอบครวั ทาบุญทว่ี ัด เผือ่ แผใ่ หพ้ น่ี ้องทีข่ าดแคลน แลกของ และเก็บไว้ เผ่ือว่าปีหนา้ ฝนอาจแล้ง น้า อาจทว่ ม ผลติ ผล อาจไมด่ ใี นชมุ ชนต่างๆ จะมีผูม้ ีความรคู้ วามสามารถหลากหลาย บางคนเก่งทางการรักษาโรค บางคนทางการเพาะปลูกพืช บางคนทางการเลี้ยงสัตว์ บางคนทางด้านดนตรีการละเล่น บางคนเก่งทางด้าน พิธีกรรม คนเหล่าน้ตี า่ งก็ใช้ความสามารถ เพื่อประโยชน์ของชมุ ชน โดยไมถ่ อื เป็นอาชีพ ท่ีมีค่าตอบแทน อย่าง มากกม็ ี \"คา่ คร\"ู แต่เพียงเล็กนอ้ ย ซึ่งปกติแล้ว เงนิ จานวนนนั้ ก็ใชส้ าหรับเครื่องมือประกอบพิธีกรรม หรือ เพื่อ ทาบุญที่วัด มากกว่าที่หมอยา หรือบุคคลผู้น้ัน จะเก็บไว้ใช้เอง เพราะแท้ที่จริงแล้ว \"วิชา\" ที่ครูถ่ายทอดมา ให้แก่ลูกศิษย์ จะต้องนาไปใช้ เพื่อประโยชน์แก่สังคม ไม่ใช่เพ่ือผลประโยชน์ส่วนตัว การตอบแทนจึงไม่ใช่เงิน หรือส่ิงของเสมอไป แต่เป็นการช่วยเหลือเก้ือกูลกันโดยวิธีการต่าง ๆ ด้วยวิถีชีวิตเช่นน้ี จึงมีคาถาม เพื่อเป็น การสอนคนรุ่นหลังว่า ถ้าหากคนหน่ึงจับปลาช่อนตัวใหญ่ได้หนึ่งตัว ทาอย่างไรจึงจะกินได้ท้ังปี คนสมัยน้ี

อาจจะบอกว่า ทาปลาเค็ม ปลาร้า หรือเก็บรักษาด้วยวิธีการต่างๆ แต่คาตอบที่ถูกต้อง คือ แบ่งปันให้พี่น้อง เพ่อื นบ้าน เพราะเม่อื เขาไดป้ ลา เขากจ็ ะทากับเราเช่นเดียวกนั ชวี ิตทางสังคมของหมบู่ ้าน มศี ูนยก์ ลางอยู่ที่วัด กจิ กรรมของสว่ นรวม จะทากันท่วี ดั งานบญุ ประเพณตี ่างๆ ตลอดจนการละเล่นมหรสพ พระสงฆเ์ ป็น ผู้นาทางจติ ใจ เป็นครูทสี่ อนลูกหลานผู้ชาย ซง่ึ ไปรับใช้พระสงฆ์ หรอื \"บวชเรยี น\" ทั้งนี้เพราะก่อนน้ยี ังไม่มี โรงเรียน วัดจึงเป็นทั้งโรงเรยี น และหอประชมุ เพ่ือกิจกรรมต่างๆ ต่อเม่ือโรงเรยี นมขี นึ้ และแยกออกจากวัด บทบาทของวดั และของพระสงฆ์ จงึ เปล่ียนไป งานบุญประเพณีในชุมชนแต่ก่อนมีอยู่ทุกเดือน ต่อมาก็ลดลงไป หรือสองสามหมู่บ้านร่วมกันจัด หรือ ผลัดเปล่ียนหมุนเวียนกัน เช่น งานเทศน์มหาชาติ ซ่ึงเป็นงานใหญ่ หมู่บ้านเล็กๆ ไม่อาจจะจัดได้ทุกปี งาน เหล่านีม้ ีทัง้ ความเชือ่ พธิ กี รรม และความสนุกสนาน ซง่ึ ชมุ ชนแสดงออกร่วมกัน ระบบคณุ ค่า ความเช่ือในกฎเกณฑ์ประเพณี เป็นระเบียบทางสังคมของชุมชนด้ังเดิม ความเช่ือนี้เป็นรากฐานของ ระบบคุณค่าต่างๆ ความกตัญญูรู้คุณต่อพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ความเมตตาเอ้ืออาทรต่อผู้อื่น ความเคารพต่อสิ่ง ศักดส์ิ ทิ ธใ์ิ นธรรมชาติรอบตัว และในสากลจกั รวาล ความเชื่อ \"ผี\" หรือส่ิงศักด์ิสิทธ์ิในธรรมชาติ เป็นท่ีมาของการดาเนินชีวิต ทั้งของส่วนบุคคล และของ ชุมชน โดยรวมการเคารพในผีปู่ตา หรือผีปู่ย่า ซ่ึงเป็นผีประจาหมู่บ้าน ทาให้ชาวบ้านมีความเป็นหน่ึงเดียวกัน เป็นลกู หลานของปู่ตาคนเดียวกนั รกั ษาปา่ ทม่ี ีบ้านเล็กๆ สาหรบั ผี ปลกู อย่ตู ดิ หมู่บ้าน ผปี า่ ทาให้คนตดั ไม้ด้วย ความเคารพ ขออนญุ าตเลอื กตัดตน้ แก่ และปลูกทดแทน ไมท่ ง้ิ ส่ิงสกปรกลงแมน่ า้ ดว้ ยความเคารพในแม่คงคา กินข้าวดว้ ยความเคารพ ในแม่โพสพ คนโบราณกินข้าวเสรจ็ จะไหว้ข้าว พิธีบายศรีสู่ขวัญ เป็นพิธีร้ือฟื้น กระชับ หรือสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้คน คนจะเดินทางไกล หรือ กลับจากการเดินทาง สมาชิกใหม่ ในชุมชน คนป่วย หรือกาลังฟื้นไข้ คนเหล่านี้จะได้รับพิธีสู่ขวัญ เพ่ือให้เป็น สิริมงคล มคี วามอยเู่ ยน็ เป็นสขุ นอกนั้นยงั มีพธิ สี บื ชะตาชีวิตของบุคคล หรอื ของชมุ ชน นอกจากพิธีกรรมกับคนแล้ว ยังมีพิธีกรรมกับสัตว์และธรรมชาติ มีพิธีสู่ขวัญข้าว สู่ขวัญควาย สู่ขวัญ เกวียน เปน็ การแสดงออกถึงการขอบคุณ การขอขมา พธิ ีดงั กล่าวไมไ่ ดม้ ีความหมายถึงว่า สิ่งเหลา่ น้มี ีจติ มีผีใน ตัวมันเอง แต่เป็นการแสดงออก ถึงความสัมพันธ์กับจิตและส่ิงศักด์ิสิทธิ์ อันเป็นสากลในธรรมชาติทั้งหมด ทา ให้ผู้คนมีความสัมพันธ์อันดีกับทุกส่ิง คนขับแท็กซ่ีในกรุงเทพฯ ที่มาจากหมู่บ้าน ยังซ้ือดอกไม้ แล้วแขวนไว้ท่ี กระจกในรถ ไม่ใช่เพื่อเซ่นไหว้ผีในรถแท็กซ่ี แต่เป็นการราลึกถึงสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ ใน สากลจักรวาล รวมถึงท่ีสิงอยู่ ในรถคันนั้น ผู้คนสมัยก่อนมีความสานึกในข้อจากัดของตนเอง รู้ว่า มนุษย์มีความอ่อนแอ และเปราะบาง หากไม่รักษาความสัมพันธ์อันดี และไม่คงความสมดุลกับธรรมชาติรอบตัวไว้ เขาคงไม่สามารถมีชีวิตได้อย่าง เป็นสุข และยืนนาน ผู้คนท่ัวไปจึงไม่มีความอวดกล้าในความสามารถของตน ไม่ท้าทายธรรมชาติ และส่ิง ศกั ด์ิสิทธ์ิ มีความอ่อนน้อมถอ่ มตน และรักษากฎระเบยี บประเพณอี ยา่ งเคร่งครดั ชีวิตของชาวบ้านในรอบหนึ่งปี จึงมีพิธีกรรมทุกเดือน เพ่ือแสดงออกถึงความเชื่อ และความสัมพันธ์ ระหว่างผู้คนในสังคม ระหว่างคนกับธรรมชาติ และระหว่างคนกับส่ิงศักด์ิสิทธิ์ต่างๆ ดังกรณีงานบุญประเพณี ของชาวอีสานท่ีเรียกว่า ฮีตสิบสอง คือ เดือนอ้าย (เดือนท่ีหนึ่ง) บุญเข้ากรรม ให้พระภิกษุเข้าปริวาสกรรม

เดือนย่ี (เดือนที่สอง) บุญคูณลาน ให้นาข้าวมากองกันที่ลาน ทาพิธีก่อนนวด เดือนสาม บุญข้าวจ่ี ให้ถวาย ขา้ วจ่ี (ขา้ วเหนียวปั้นชบุ ไข่ทาเกลือนาไปยา่ งไฟ) เดอื นส่ี บญุ พระเวส ใหฟ้ งั เทศน์มหาชาติ คือ เทศนเ์ ร่อื งพระ เวสสันดรชาดก เดือนห้า บุญสรงน้า หรือบุญสงกรานต์ ให้สรงน้าพระ ผู้เฒ่าผู้แก่ เดือนหก บุญบ้ังไฟ บูชา พญาแถน ตามความเชอื่ เดิม และบญุ วสิ าขบชู า ตามความเชือ่ ของชาวพทุ ธ เดือนเจ็ด บญุ ซาฮะ (บุญชาระ) ให้ บนบานพระภมู เิ จ้าท่ี เลี้ยงผปี ูต่ า เดือนแปด บญุ เข้าพรรษา เดอื นเก้า บญุ ข้าวประดบั ดนิ ทาบุญอุทศิ ส่วนกุศล ให้ญาตพิ ี่น้องผ้ลู ่วงลับ เดอื นสิบ บญุ ขา้ วสาก ทาบุญเชน่ เดือนเกา้ รวมให้ผีไม่มญี าติ (ภาคใตม้ ีพธิ คี ล้ายกนั คือ งานพิธีเดือนสิบ ทาบุญให้แก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว แบ่งข้าวปลาอาหารส่วนหน่ึงให้แก่ผีไม่มีญาติ พวก เดก็ ๆ ชอบแย่งกนั เอาของท่ีแบง่ ให้ผีไม่มีญาติหรือเปรต เรียกวา่ \"การชิงเปรต\") เดอื นสบิ เอด็ บญุ ออกพรรษา เดอื นสบิ สอง บญุ กฐิน จัดงานกฐิน และลอยกระทง ภูมปิ ญั ญาชาวบา้ นในสงั คมปจั จุบัน ภูมปิ ญั ญาชาวบ้านได้ก่อเกิด และสืบทอดกันมาในชมุ ชนหมู่บ้าน เมื่อหมู่บ้านเปล่ียนแปลงไปพร้อมกับสังคมสมัยใหม่ ภูมิปัญญาชาวบ้านก็มีการปรับตัวเช่นเดียวกัน ความรู้ จานวนมากได้สญู หายไป เพราะไมม่ กี ารปฏิบตั ิสืบทอด เช่น การรกั ษาพนื้ บา้ นบางอย่าง การใช้ยาสมนุ ไพรบาง ชนิด เพราะหมอยาที่เก่งๆ ได้เสียชีวิต โดยไม่ได้ถ่ายทอดให้กับคนอื่น หรือถ่ายทอด แต่คนต่อมาไม่ได้ปฏิบัติ เพราะชาวบ้านไม่นิยมเหมือนเมื่อก่อน ใช้ยาสมัยใหม่ และไปหาหมอ ที่โรงพยาบาล หรือคลินิก ง่ายกว่า งาน หันตถกรรม ทอผ้า หรือเครื่องเงิน เครื่องเขิน แม้จะยังเหลืออยู่ไม่น้อย แต่ก็ได้ถูกพัฒนาไปเป็นการค้า ไม่ สามารถรักษาคุณภาพ และฝีมือแบบดั้งเดิมไว้ได้ ในการทามาหากินมีการใช้เทคโนโลยีทันสมัย ใช้รถไถแทน ควาย รถอีแต๋นแทนเกวียน การลงแขกทานา และปลูกสร้างบ้านเรือน ก็เกือบจะหมดไป มีการจ้างงานกันมากข้ึน แรงงานก็หา ยากกว่าแตก่ ่อน ผคู้ นอพยพย้ายถิ่น บ้างก็เขา้ เมือง บา้ งกไ็ ปทางานที่อืน่ ประเพณงี านบุญ ก็เหลือไมม่ าก ทาได้ ก็ต่อเมื่อ ลูกหลานท่ีจากบ้านไปทางาน กลับมาเย่ียมบ้านในเทศกาลสาคัญๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์ เข้าพรรษา เป็นต้น สังคมสมัยใหมม่ ีระบบการศึกษาในโรงเรียน มีอนามัย และโรงพยาบาล มีโรงหนงั วทิ ยุ โทรทศั น์ และ เครื่องบันเทิงต่างๆ ทาให้ชีวิตทางสังคมของชุมชนหมู่บ้านเปล่ียนไป มีตารวจ มีโรงมีศาล มีเจ้าหน้าที่ราชการ ฝ่ายปกครอง ฝ่ายพัฒนา และอน่ื ๆ เขา้ ไปในหมบู่ ้าน บทบาทของวดั พระสงฆ์ และคนเฒ่าคนแก่เร่ิมลดน้อยลง การทามาหากินก็เปลี่ยนจากการทาเพ่ือยังชีพไปเป็นการผลิตเพ่ือการขาย ผู้คนต้องการเงิน เพ่ือซ้ือเคร่ือง บริโภคต่างๆ ทาให้ส่ิงแวดล้อม เปลี่ยนไป ผลิตผลจากป่าก็หมด สถานการณ์เช่นนี้ทาให้ผู้นาการพัฒนาชุมชน หลายคน ที่มีบทบาทสาคัญในระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ เร่ิมเห็นความสาคัญของภูมิปัญญา ชาวบ้าน หน่วยงานทางภาครัฐ และภาคเอกชน ให้การสนับสนุน และส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ประยุกต์ และคน้ คิดสง่ิ ใหม่ ความรู้ใหม่ เพ่ือประโยชน์สุขของสังคม

ความเปน็ มาและความสาคัญของการทาขนมเทียน ขนมเทียน เปน็ ขนมไทยดง้ั เดิมทเี่ ข้าใจวา่ ดดั แปลงมาจากขนมเขง่ ของชาวจนี เช้ือสายไทยทีน่ ยิ มทาในวันสารท จนี แตจ่ ะหอ่ ดว้ ยใบตองเป็นรูปสาเหลย่ี ม และใส่ด้วยไส้ตา่ งๆ สว่ นชาวอีสานจะเรยี กขนมเทียนนวี้ ่า ขนมหมก ท่ีนยิ มทากันในชว่ งเทศกาลงานบุญ โดยเนอ้ื ขนมถกู ห่อด้วยใบตองเปน็ รูปสามเหลี่ยม เน้อื ขนมเหนยี ว ใส่ไส้ ดว้ ยรสหวานมนั ขนมเทยี นมีชอ่ื เรียกแตกตา่ งกันในแตล่ ะท้องถ่ิน แต่ชื่อหลกั และนยิ มใช้จะเปน็ ขนมเทยี น ส่วนช่อื ทีม่ ักเรียกตา่ ง ได้แก่ ขนมจอ๊ ก ทางภาคเหนือ สว่ นทางภาคกลางเรียก ขนมนมสาว และภาคอีสาน เรียก ขนมหมก ทัง้ น้ี ขนมเทียนจะมีวิธที าคลา้ ยกบั ขนมเข่งท่ีชาวจนี ไว้ไหวเ้ จ้า แต่จะแตกต่างกันที่การห่อ โดย ขนมเทยี นจะหอ่ ทบั ด้วยใบตองเปน็ รปู สามเหล่ยี ม แต่ขนมเขง่ จะห่อใบตองเป็นเข่ง แล้วค่อยเทน้าแป้งลงก่อน นาไปนึง่ ขนมชนิดน้ี มักนิยมทาในภาคอสี านเช่นกัน โดยเฉพาะงานบุญอทุ ิศกศุ ลให้แกค่ นตาย และงานวนั ออก พรรษา ซ่งึ มลี กั ษณะเดยี วกับขนมเทียน ซงึ่ ชาวอสี านเรียกว่า ขนมหมก ซึ่งจะห่อดว้ ยใบตองเป็นรูปสามเหล่ยี ม เนือ้ ขนมทาจากแป้งข้าวเหนียว ใส่ไสด้ ้วยเครื่องผสมของทั้งไสเ้ ค็ม และไสห้ วานคนไทยเชื้อสายจนี มกั มีสตู รลบั ในการนวดแปง้ ใหน้ ุ่มเหนียว คือ การใส่นา้ ต้มของหญ้าชิวคักลงผสมขณะนวดแปง้ ซ่ึงจะช่วยใหเ้ น้ือขนมเทยี น นุ่มมากข้นึ อีกท้ังชว่ ยเพิ่มกลิ่นหอมใหแ้ กข่ นมเทยี น หญา้ น้ี จะพบขายตามร้านขายสมนุ ไพรจนี โบราณหรือใน กลมุ่ ของชาวจนี เปน็ สว่ นใหญ่ ประวัติ ขนมเทียน ซ่ึงเปน็ ขนมท่ีนยิ มใชใ้ นงานบุญมีการทาขนมเทียนมาต้งั แต่สมยั โบราณ เปน็ ประเพณขี อง คนโบราณที่มักจะทาขนมเทียนไปทาบุญหรือทาเพ่ือประเพณตี ่างๆ ซึ่งวิธีการทาขนมเปน็ วิธีการดัง่ เดมิ และเป็น ทเ่ี ลอื่ งลอื ทางรสชาตคิ วามอร่อยแตเ่ ดิมมไี ส้มะพร้าวและไส้ถัว่ เขียว แตใ่ นปจั จบุ นั มีการดัดแปลงไส้ขนมเทยี น ออกไปหลากหลายมาก ชาวจีนใชข้ นมเทียนในการไหว้บรรพบรุ ษุ ช่วงวันตรุษและวันสารท ไส้เป็นถ่วั เขยี วกวน บด ถ้าแบบเค็มจะใส่พรกิ ไทยและเกลือ แบบหวานใสม่ ะพร้าวและนา้ ตาลลงไปเพมิ่ ถ้าตวั แป้งทาด้วยแปง้ ถว่ั เรยี กขนมเทียนแกว้ ในพธิ ีกรรมของชาวยองจะใช้ขนมเทียนในพิธีไหวผ้ ีห้งิ ดว้ ย ชาวอสี านจะเรยี กขนมเทียนน้ี วา่ ขนมหมก ทีน่ ยิ มทากนั ในชว่ งเทศกาลงานบุญ โดยเน้ือขนมถูกหอ่ ดว้ ยใบตองเป็นรปู สามเหล่ียม เนอ้ื ขนม เหนยี ว ใส่ไส้ด้วยรสหวานมนั ขนมเทยี นมชี ่ือเรียกแตกตา่ งกันในแต่ละท้องถิ่น แตช่ ่อื หลัก และนยิ มใช้จะเป็น ขนมเทียน สว่ นช่ือทม่ี ักเรยี กต่าง ได้แก่ ขนมจ๊อก ทางภาคเหนือ สว่ นทางภาคกลางเรยี ก ขนมนมสาว และ ภาคอีสานเรียก ขนมหมก ทั้งนี้ ขนมเทยี นจะมีวธิ ีทาคลา้ ยกับขนมเข่งที่ชาวจนี ไวไ้ หว้เจา้ แตจ่ ะแตกต่างกันท่ี การห่อ โดยขนมเทียนจะห่อทับด้วยใบตองเป็นรปู สามเหล่ยี ม แตข่ นมเข่งจะห่อใบตองเป็นเขง่ แล้วค่อยเทน้า แป้งลงก่อนนาไปน่ึง ขนมชนิดนมี้ ักนยิ มทาในภาคอีสานเช่นกัน โดยเฉพาะงานบญุ อุทิศกศุ ลใหแ้ ก่คนตาย และ งานวนั ออกพรรษา ซึ่งมลี ักษณะเดียวกบั ขนมเทยี น ซึง่ ชาวอีสานเรยี กวา่ ขนมหมก ซ่ึงจะห่อดว้ ยใบตองเป็นรปู สามเหลี่ยม เนอื้ ขนมทาจากแปง้ ขา้ วเหนยี ว ใส่ไส้ด้วยเครอ่ื งผสมของทั้งไส้เค็ม และ

หญ้าซวิ คกั หรอื บางครัง้ เรียกวา่ หญา้ ขนมเทยี น มชี ื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Gnaphalium polycaulon Pers. วงศ์ Asteraceae Dumort จัดเป็น พืชล้มลุกท่ีพบได้ในทุกภาค โดยเฉพาะภาคกลางท่ีพบได้ทั่วไปตามสวนไร่ นา ลาต้นมักแทงกอในช่วงปลายฝนถึงต้นหนาวประมาณเดือนตุลาคม- พฤศจิกายนหญ้าซิวคักมีลาต้นเป็นเน้ือเยื่ออ่อน เปราะหักง่าย ลาต้นกลม เล็ก ต้นอ่อนมีสีเขียว เมื่อโตเต็มท่ีจะมีขนสีขาวอมเทาเป็นเส้นใยยาวปก คลมุ ทว่ั ลาต้นแตกก่ิงแขนงออกจานวนมากทาให้กลายเปน็ กอใหญ่ ส่วนใบ มีรูปเรียวรี ใบของต้นอ่อนมีสีเขียวอ่อน และเม่ือแก่มีสีเขียวเงิน และมีขนส้ันๆปกคลมุ ทั่ว ส่วนดอกออกเป็นชอ่ ตรงส่วนปลายของกิ่ง ดอกมีขนาดเล็ก และมีจานวนมาก หญ้าซิวคักที่นามาจะได้จากต้นแก่ท่ีออกดอกแล้ว และนามาตากแหง้ กอ่ นจะนาหญ้าซิวคกั มาบดคัน้ เอาน้าสาหรบั ผสมกบั แปง้ ข้าวเหนียวเปน็ ตัวขนมเทียน 1. ขนมเทียนไสห้ วาน อุปกรณ์ที่ใช้ในการทาขนมเทียนไสห้ วาน อุปกรณ์ 1. ชามผสม 2. ใบตอง หรอื กระดาษแก้ว 3. ไมพ้ าย และอปุ กรณ์การตัก 4. แป้งข้าวเหนยี ว 1 กโิ ลกรัม 5. แปง้ เท้ายายม่อม ครงึ่ กโิ ลกรมั 6. น้ากะทิ 1 ถ้วย 7. นา้ ตม้ หญ้าซวิ คกั 1 ถว้ ย (อาจไมใ่ ชก้ ็ได้ แตห่ ากใชค้ วรใหม้ ีใบของหญ้าซวิ คักผสมมากับน้าต้มดว้ ย) หรือน้าคน้ั จากพืช 1 ถว้ ย เช่น ใบเตย และดอกอญั ชัน เปน็ ตน้ (สาหรบั ตอ้ งการใหต้ ัวขนมมีสี) สว่ นผสมไส้หวานขนมเทียน 1. เมล็ดธญั พืชสุก และบด 3 ถว้ ย (ถั่วเหลอื ง ถั่วลิสง เมล็ดบัว เผอื ก ฯลฯ ทั้งนี้ อาจไม่ต้องบดกไ็ ด้) 2. นา้ ตาลทรายแดง 0.3 กิโลกรัม 3. น้าหวั กะทิ ครง่ึ ถ้วย 4. ฝอยมะพร้าวออ่ นขูดเสน้ ขนาดเลก็ 1 ถว้ ย 5. เกลือป่น 1 ช้อนชา

ขัน้ ตอนการทาไส้ขนมเทียน 1. นาน้าตาลป๊ีบและน้าเปลา่ ใสภ่ าชนะต้งั ไฟเคี่ยวจนแตกฟอง ใช้ไฟปานกลาง ใสม่ ะพรา้ วทนึ ทกึ ลงไปเค่ยี ว ดว้ ย จนเหนียว และแหง้ ทจ่ี ะป้ันได้ ประมาณ 10-15 นาที แล้วพักไว้ 2. นาไส้มะพร้าวกวน ท่พี ักไว้จนหายรอ้ นได้ ปน้ั แบ่งในสัดส่วนตามชอบ ใสถ่ าดรอปน้ั ใส่ตวั แปง้

สว่ นผสมของแป้ง 1. แป้งขา้ วเหนยี ว 200 กรมั 2. น้ากะทิ 2 ถ้วย 3. นา้ ตาลป๊ีบ 100 กรมั ขั้นตอนการผสมแป้งขนมเทียน 1. กะทแิ บง่ มาคร่ึงหนึ่งค่อยๆ ผสมกับแปง้ ให้เขา้ กันแลว้ พักไว้ 2. ผสมน้าตาลทราย น้าตาลป๊บี และกะทิอกี ครง่ึ ทเ่ี หลือ เทลงในกระทะทองเหลือง ยกข้ึนตั้งไฟอ่อน คนนา้ ตาลละลายดแี ล้วยกลงพกั ไว้ การหอ่ ขนมเทียน 1. นาใบตองผึ่งแดดเพ่ือไม่ให้ใบตองแตกเวลาหอ่

2. นาใบตองผ่ึงแดด เพื่อไม่ใหแ้ ตกขณะห่อขนม 3. ตดั ใบตองเปน็ ส่ีเหล่ยี ม ตัดมุมให้มนเล็กนอ้ ยเชด็ ดว้ ยน้ามนั พืชเลก็ น้อย ขนมจะได้ไม่ติดใบตอง 4. ปน้ั ไสข้ นมขนาดพอดีคา แลว้ นาแปง้ ท่นี วดไว้ห้มุ ไส้ขนมอีกที

4. นาใบตองมาจบั จบี ใหเ้ ปน็ รูปกรวย แลว้ ใสข่ นมลงไป 5. พบั เกบ็ สอดเหลย่ี มมมุ ของใบตองให้เรียบร้อย เป็นรปู สามเหล่ียม 6. นาขนมไปนึง่ โดยใชไ้ ฟแรงประมาณ 30 นาที พกั ใหเ้ ย็น พรอ้ มเสริ ์ฟ

2. ขนมเทยี นไสม้ ะพรา้ วถั่วเหลอื ง อปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการทาขนมเทียนมะพรา้ วถ่ัวเหลือง 1. แป้งข้าวเหนียว 1 ถุง 2. น้าตาลปบี 1/2 กก. 3. มะพรา้ วทึนทึก 2 ลูก 4. ถ่ัวเหลอื ง 1/2 ถุง 5. น้ามนั พืช 6. ใบตอง 7. ใบเตย ขน้ั ตอนการทาขนมเทียนไสม้ ะพร้าวถั่วเหลือง 1. ก่อนทานาถ่วั เหลอื แชน่ ้า1คืน แชต่ อนเย็นทาตอนเชา้ นึ่งจนสุกแลว้ นามาตาหรือบดให้ ละเอียด 2. ขดู มะพร้าวด้วยมอื เสือ

3. นามะพรา้ วท่ีขดู แล้ว ถว่ั เหลอื งบด น้าตาลบี๊บ ไปผัดจนสว่ นผสมทกุ อยา่ งเขา้ กัน จนหอม เหลืองได้ท่ี เหนยี วพอท่จี ะปน้ั ไดแ้ ล้วยกลงพักใหเ้ ย็น 4. ตัดใบตองเป็นรปู วงกลมแล้วทาน้ามันให้ทว่ั เพ่ือไมใ่ หแ้ ป้งติดใบตอง 5. นวดแป้งกับน้าใบเตยหรือนา้ เปลา่ ใสใ่ บเตยเพื่อให้กลนิ่ หอม พอแปง้ ได้ที่แล้วพักไว้สกั พกั ปั้นไสข้ นมรอ

6. วิธีห่อขนม ป้นั แปง้ เป็นกลมๆแล้วบบี ใหแ้ ปง้ แบนๆใส่ไสแ้ ลว้ ทาให้เป็นกลมๆเหมอื เดมิ เสรจ็ แลว้ พับใบตองจบั จบี เป็นคล้ายๆรปู กรวย 7. ใส่กอ้ นแปง้ ที่มไี สแ้ ลว้ ลงไป แล้วกพ็ บั ทางซ้ายลงตามด้วยขวาตามภาพนะคะ แลว้ เอา ปลายท่ีเหลือสอดเข้าขา้ งล่างฐานขนม 8. นึง่ ขนมประมาณ30นาทีด้วยไฟแรง

3. ขนมเทยี นไส้เคม็ อุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการทาขนมเทียนไส้เค็ม 1. แปง้ ข้าวเหนยี วประมาณ 400 กรมั 2. นา้ ตาลปบ๊ี 150 กรมั (ปรับลดเพิม่ ตามความชอบ) 3. กะทิ 150-170 กรัม (ใชก้ ะทแิ ทนน้าเปล่า จะทาใหแ้ ป้งนุม่ ไม่ตดิ มือและใบตอง) วธิ ที าแปง้ 1. เอานา้ ตาลปบี๊ มาละลายกับกะทิ พอนา้ ตาลละลาย ไมถ่ ึงกับเดือด 2. นาแป้งข้าวเหนยี วใสภาชนะ คอ่ ย ๆเทกะทที ีผ่ สมนา้ ตาลลงไป นวดไปเติมไป และนวดจน แป้งเหนียว ป้ันก้อนได้ ชอบน่ิมแค่ไหนก็เติมเอา ระวงั อยา่ ใหเ้ หลว จะแกไ้ ขยาก พักแปง้ ไว้สักพัก วตั ถุดบิ ไส้เค็ม 1. ถ่วั เขยี วซีก 500 กรัม ลา้ งน้าใหใ้ ส และแช่นา้ ทง้ิ ไวอ้ ย่างน้อย 4 ชว่ั โมง 2. หอมแดงซอย 1 ถ้วยเล็ก 3. หมูสามชั้นไมเ่ อาหนัง สับละเอียด 150-200 กรัม 4. เกลือปน่ 3/4 – 1 ช้อนโตะ๊ 5. พรกิ ไทยเมด็ เอามาป่นไมต่ ้องละเอียดมาก 2 ชอ้ นโต๊ะ 6. น้ามันพืช 7. เกลอื 1ชอ้ นโตะ๊ (กระเทยี ม พริกไทย รากผกั ชี ตาละเอียด) วิธีทาไส้เคม็ 1. นาถ่ัวทแ่ี ชน่ า้ จนพอง มานึ่งให้สุก 2. ตาถว่ั ให้ละเอยี ด 3. นาเกลอื ปน่ ใสล่ งในถว่ั ทต่ี าพรอ้ มพรกิ ไทยปน่ คนใหเ้ ข้ากัน ชมิ รสออกเคม็ ตามชอบ 4. เจยี วหอมแดงใหเ้ หลอื ง ตกั พักให้สะเด็ดน้ามัน 5. เทน้ามันออก ให้เหลอื ประมาณ 3-4 ช้อนโต๊ะ แล้วเอาสามเกลอลงผัดให้เหลอื ง หอม 6. ใส่หมูสับลงผัดให้สุก แล้วเอาถ่ัวป่นที่คลุกไว้ลงใส่ พร้อมหอมเจียวผัดไปเรื่อย ๆ ด้วยไฟ ออ่ น ชมิ รสตามชอบ ผัดจนน้ามนั จบั ตวั จนหมดและป้ันกอ้ นได้ ตกั พักให้พออนุ่ ปั้นเป็นก่อนขนาดตามชอบ 4. ขนมเทียนสมี ว่ ง อุปกรณท์ ่ีใช้ในการทาขนมเทียนสีม่วง 1. แป้งข้าวเหนียว 1 กิโลกรมั 2. ถัว่ เขยี วซีกเลาะเปลือก 500 กรมั 3. น้า 2-3 ถว้ ยตวง 4. หอมแดง 1 ชอ้ นโตะ๊ 5. พริกไทย 1 ช้อนชา 6. น้าตาลมะพร้าว 1/2 กิโลกรัม 7. กระทงขนมเทยี นสาเรจ็ รูป 1 แพค็ (100 ใบ) 8. มนั มว่ งน่ึงสกุ 100 กรัม 9. กะทิ 1 กโิ ลกรัม

ขน้ั ตอนการทาไส้ขนมเทยี น 1. ล้างถ่ัวเขียวซกี เลาะเปลอื กให้สะอาด (สงั เกตว่านา้ จะมสี เี หลอื งอ่อนมากๆ) แล้วแช่น้าทิง้ ไว้ 1 คนื 2. ลา้ งถว่ั เขยี วซกี เลาะเปลือกอกี ครง้ั แล้วนาลงไปนง่ึ ไฟแรง 45 นาที เมอื่ สกุ แลว้ ใหต้ ักใส่กะละมงั พัก 3. นาถ่ัวเขียวซีกเลาะเปลือกที่พักไวม้ าตาหรือป่นั ให้ละเอยี ด 4. ตง้ั กระทะใหร้ อ้ น ใส่นา้ มนั ลงไป 5. เจียวหอมแดงใหห้ อมและมีสีเหลืองออ่ นๆ จากน้ันใสถ่ ่วั เขยี วซกี เลาะเปลอื กท่ตี าหรือป่นั ละเอยี ด แลว้ ลงไปผดั 6. ปรุงรสดว้ ยเกลอื พรกิ ไทยดาปน่ นา้ ตาลมะพร้าว ตามชอบ 7. ผัดจนส่วนผสมทั้งหมดเข้ากนั ดแี ล้วนามาพกั ไว้ รอใหเ้ ย็น ข้นั ตอนการทาไส้แปง้ ขนมเทยี น 1. นามันม่วงลา้ งใหส้ ะอาด ปอกเปลือก แลว้ นาไปนึง่ ใหส้ ุก 2. นามันมว่ งทส่ี กุ แล้วมาบดให้เป็นเนือ้ เดียวกนั 3. ใสแ่ ปง้ ข้าวเหนยี วลงไป 4. ใส่กะทิลงไป จากนนั้ ผสมให้เขา้ กนั จนสามารถป้ันเปน็ ก้อนได้ (ถา้ ยังไม่สามารถป้ันได้ ใหใ้ สน่ ้าลงไป ผสมจนแปง้ สามารถป้ันได้) 5. บิดกอ้ นแป้งออกมาทีละนอ้ ย (ขนาดเหรยี ญ5) จากน้นั กดก้อนแปง้ ใหแ้ ผ่ออก 6. ป้ันไส้ขนมเทยี นท่เี ยน็ แลว้ ให้มขี นาดเลก็ กวา่ ตัวแปง้ ขนมเทียน 7. หอ่ ไสด้ ว้ ยแปง้ ขนมเทียน 8. นาไปใส่กระทงขนมเทียนสาเรจ็ รูป (มีขายตามรา้ นขายของชา) ทาน้ามนั บางๆลงบนกระทง 9. เมือ่ ทาเสร็จหมดแล้ว ให้นาไปนงึ่ ไฟแรง 10 นาที 5. ขนมเทียนแกว้ ไส้หวาน ( แป้งสาคู ) ส่วนผสมแป้งขนมเทยี นแกว้ ( แปง้ สาคู ) 1. สาคู 400 กรมั 2. น้าตาลทราย 1/2 กโิ ลกรัม 3. เกลอื 1/2 ช้อนชา 4. น้าสะอาด สว่ นผสมไส้ขนมเทียนไสห้ วาน 1. ถั่วเขยี วเลาะเปลือก น่งึ สุก 200 กรัม 2. น้ามันพืช 2 ช้อนโต๊ะ 3. รากผักชี 2-3 ตน้ 4. กระเทียม 7-8 กลีบ 5. พรกิ ไทยเม็ด 1 ช้อนชา 6. พรกิ ไทยปน่ 1/2 ชอ้ นชา 7. หอมแดงซอย 1/2 ถว้ ยตวง 8. น้าตาลมะพร้าว 1/2 ถว้ ยตวง 9. น้าตาลทราย 2 ชอ้ นโต๊ะ 10. เกลอื 1 ช้อนชา 11. แบะแซ 2 ช้อนโต๊ะ

ขน้ั ตอนการทาไส้แป้งขนมเทียนไสห้ วาน 1. นาเมด็ สาคูไปลา้ งน้าสกั 2-3 รอบ และแช่นา้ ไวป้ ระมาณ 10 นาที ครบแลว้ เทนา้ ออก พกั ไวใ้ นตะแกรงใหส้ ะเดด็ น้า ดใู ห้นา้ แห้งดี 2. เตรยี มทาไส้ขนม ตารากผักชี กระเทียม พรกิ ไทยใหล้ ะเอียด ตกั ใส่ถ้วยผักไวก้ ่อน 3. นาถวั่ เขยี วที่นง่ึ สุกมาป่ันให้ละเอียดถ้าไมม่ ีเคร่ืองป่นั ใชก้ ารบดมอื หรือใสค่ รกตา 4. ตง้ั กระทะใส่นา้ มนั พชื ลงไป ใสร่ ากผกั ชีกระเทยี มพรกิ ไทย ผดั ให้หอม เตมิ พริกป่นลงไปผดั พอมกี ล่นิ หอมฉุน จากนั้นใสห่ อมแดงซอยลงไป ผดั ให้หอมแดงสกุ เติมน้าตาลป๊ีบลงไป ผัดให้ละลาย เพ่ิมน้าตาลทรายลงเลก็ น้อย ใสเ่ กลอื ใส่แบะแซ ผัดให้ทุกอยา่ งละลายดี นา้ ตาลเดือดฟเู ปน็ ฟองๆ ใส่ถั่วบดลง ไป คลกุ เคลา้ ให้เขา้ กันดี ผัดจนแห้ง ปรุงรสใหไ้ ด้ตามชอบ ปดิ แก๊สแลว้ พักไว้ให้พออุ่นๆ นามาปั่นเป็นก้อนๆ ขนาดเลก็ ใหญ่ตามชอบ ป้นั จนเสร็จแล้วพักไว้ก่อน 5.เตรียมชามผสมใส่เมด็ สาคูท่ีสะเด็ดน้าไว้ ใสน่ ้าตาลทราย ใสเ่ กลอื เล็กน้อย นวดใหท้ ุกอย่างเข้ากันดี แลว้ พกั ไว้ก่อน 6. เตรยี มใบตองตดั หัวทา้ ย เชด็ ใหส้ ะอาด ทานา้ มันพืชบนใบตองกันขนมติดใบตอง แลว้ หอ่ ขนมเป็น ทรงสามเหลย่ี ม 7. ต้งั ซึ้งต้มนา้ ให้เดือด นาขนมเทียนที่ห่อเสรจ็ แลว้ วางเรียงในซึง้ อย่าวางแน่นเกินไป เดย่ี วจะสุกไม่ ทว่ั ถึงค่ะ เว้นพอให้มีชอ่ งไอน้าขน้ึ มาด้วยค่ะ ปิดฝาใช้เวลาน่งึ ประมาณ 40-50 นาที ขนึ้ อยู่กบั ขนาดห่อขนมและ เตาซ้ึงดว้ ย 6. ขนมเทยี นแกว้ สว่ นผสมแปง้ ขนมเทียนแกว้ 1. แปง้ ถ่วั เขยี ว 1 ถว้ ย 2. น้าตาลทราย 1/2 ถ้วย 3. น้าลอยดอกมะลิ 5 ถว้ ย 4. ใบตอง สาหรับหอ่ ขนม ขัน้ ตอนการทาขนมเทยี นแก้ว 1. ใสน่ ้าตาลทรายและน้าลอยดอกมะลลิ งในหมอ้ นาขน้ึ ตัง้ ไฟ เคยี่ วจนเป็นนา้ เชื่อม ปดิ ไฟ ยกลงจากเตา พักทงิ้ ไว้จนเยน็ 2. ผสมแป้งถ่ัวเขียวและนา้ ลอยดอกมะลิใหเ้ ข้ากัน กรองด้วยตะแกรง จากน้ันเทใส่กระทะ ทองเหลือง ใสน่ า้ เชือ่ มที่เตรียมไว้ ยกข้ึนตั้งไฟอ่อน กวนจนสว่ นผสมแปง้ สุกและใส ปดิ ไฟ ยกลงจากเตาพกั ไว้ 3. ตักสว่ นผสมแป้งลงในกรวยใบตอง ตามดว้ ยไส้ ห่อเป็นทรงสามเหลี่ยมใหส้ วยงาม สว่ นผสม ไสข้ นมเทียน (เคม็ ) 1. ถวั่ เขยี วซีกเลาะเปลือก 1 กโิ ลกรัม 2. หอมแดง 3. พรกิ ไทย 4. น้ามันพืช (สาหรบั ผดั ) 5. เกลือป่น สาหรับปรุงรส 6. น้าตาลทราย สาหรับปรงุ รส

ขนั้ ตอนการทาไสข้ นมเทยี น 1. ลา้ งถ่ัวเขยี วซกี เลาะเปลือกให้สะอาด แชท่ ง้ิ ไว้อยา่ งน้อย 2 ชัว่ โมง หรือขา้ มคืน จากนน้ั นาไปนง่ึ จน สุก พักทิ้งไว้จนเยน็ สนทิ 2. โขลกหอมแดงกับพรกิ ไทยเขา้ ด้วยกันจนละเอียด ใส่ถวั่ เขียวน่ึงลงโขลกพอหยาบ 3. ใส่น้ามันพชื ลงในกระทะ ใสส่ ว่ นผสมไสล้ งผดั จนหอม ปรงุ รสด้วยเกลอื ป่น และน้าตาลทรายชิมรส ตามชอบ ใหม้ ีรสหวาน เคม็ เผด็ ปดิ ไฟ ยกลงจากเตา พกั ท้ิงไว้จนเย็น ป้ันเป็นก้อนกลม เตรียมไว้ ขน้ั ตอนการหอ่ ทาไสข้ นมเทียน 1. เตรยี มใบตองตัดหวั ท้าย เชด็ ใหส้ ะอาด ทาน้ามันพชื บนใบตองกันขนมติดใบตอง แล้วห่อขนมเปน็ ทรงสามเหลีย่ ม 2. ตง้ั ซง้ึ ต้มนา้ ใหเ้ ดือด นาขนมเทยี นท่ีห่อเสร็จแลว้ วางเรียงในซ้งึ อย่าวางแน่นเกนิ ไป เดยี่ วจะสุกไม่ ทั่วถงึ ค่ะ เวน้ พอให้มชี ่องไอน้าขึน้ มาดว้ ยค่ะ ปดิ ฝาใช้เวลานึ่งประมาณ 40-50 นาที ขึ้นอยู่กับขนาดหอ่ ขนมและ เตาซง้ึ ดว้ ย 7. ขนมเทยี นกระทง สว่ นผสมแป้งขนมเทียนกระทง 1. แปง้ ถว่ั เขยี ว 1 ถ้วย 2. นา้ ตาลทราย 1/2 ถ้วย 3. นา้ ลอยดอกมะลิ 5 ถว้ ย 4. ใบตอง สาหรับหอ่ ขนม ส่วนผสมไส้ขนมเทียนกระทง (เคม็ ) 1. ถ่ัวเขยี วซีกเลาะเปลือก 1 กิโลกรัม 2. หอมแดง 3. พรกิ ไทย 4. น้ามันพืช (สาหรับผัด) 5. เกลอื ป่น สาหรบั ปรงุ รส 6. น้าตาลทราย สาหรบั ปรุงรส ข้นั ตอนการทาไส้ขนมเทยี นกระทง 1. ต้ังกระทะใส่นา้ มันพืชเลก็ น้อย นาหอมแดงซอยลงเจียวใหเ้ กอื บสุก ใส่กระเทยี มพรกิ ไทยบดลงเจยี ว ตามจนหอม ใส่ถั่วเขยี วบด น้าตาลทราย นา้ ตาลมะพร้าว เกลอื ชมิ รสตามชอบใจ ผัดจนไส้เข้ากัน เหนยี วจบั ตวั เปน็ กอ้ น 2. นาข้นึ มาพักสกั ครู่แลว้ ลงมือปนั้ เปน็ ก้อนกลมโดยเอากระทงมาวดั ขนาด ขัน้ ตอนการทาขนมเทียนกระทง 1. นาแปง้ ขา้ วเหนียว น้าตาลทราย น้าตาลมะพร้าว นา้ เปล่า หากมหี ญา้ ฉวิ คักจดั ใสล่ งไปเพ่มิ ความอร่อยและสสี ัน ความหวานตวั แปง้ แลว้ แตค่ วามชอบ 2. นาแป้งขา้ วเหนยี วผสมนา้ ตาลทั้ง 2 ชนิด และน้าเปลา่ เลก็ นอ้ ยค่อยๆ เติมนา้ คนแป้งให้นา้ ตาล ละลายหากมีหญ้าฉิวคักก็ใส่ตอนแปง้ คนเข้ากนั แลว้ เตรยี มหยอด 3. นาแป้งขา้ วเหนียวผสมน้าตาลท้ัง 2 ชนิด และน้าเปล่าเล็กนอ้ ยค่อยๆ เติมนา้ คนแป้งใหน้ ้าตาล ละลายหากมหี ญ้าฉวิ คักก็ใสต่ อนแป้งคนเข้ากนั แลว้ เตรยี มหยอด

4. นากระทงมาทานา้ มันพชื วางไสท้ ป่ี น้ั ไวใ้ สก่ ระทง ตง้ั รังถึงใสน่ ้ารอไว้ หยอดแปง้ ลงในกระทงที่ เตรยี มไวจ้ นเต็มกระทง 5. นาไปนึ่งราวๆ 15-20 นาทีกส็ ุก ทง้ิ ไวใ้ หเ้ ยน็ รับประทานไดแ้ ลว้ 7. ขนมเทยี นไส้หวานฟัก สว่ นผสมแป้งขนมเทียนกระทง 1. แปง้ ถ่วั เขียว 1 ถ้วย 2. นา้ ตาลทราย 1/2 ถว้ ย 3. น้าลอยดอกมะลิ 5 ถว้ ย 4. ใบตอง สาหรับห่อขนม วิธผี สมแป้ง 1. เค่ยี วน้าตาลกบั นา้ นานประมาณ ½ ชม. แล้วทง้ิ ไว้ให้เยน็ 2. นามานวดกับแปง้ โดยค่อย ๆ ใส่น้าตาลจนหมด นวดจนเข้ากนั ดี สว่ นผสมขนมเทียนไส้หวานฟกั 1. มันหมแู ขง็ หั่นส่เี หล่ียมเลก็ 1/2ถว้ ยตวง 2. ฟักเชือ่ มหนั่ สเี่ หล่ยี มเลก็ 1/2 ถว้ ยตวง 3. ถั่วลิสงควั่ ปอกเปลอื กบดหยาบ 1/2ถ้วยตวง 4. หอมซอยเจียว 1/2ถ้วยตวง 5. งาคว่ั 2 ช้อนโตะ๊ 6. น้าตาลทราย 1 ถว้ ยตวง 7. เกลอื 1/8 ชอ้ นชา 8. น้ามนั พชื 1/4 ถว้ ยตวง ขั้นตอนการทาไสข้ นมเทยี นหวานฟัก 1. มันหมูแข็งใส่กระทะต้ังไฟเคยี่ วใหน้ ้ามันออกเล็กน้อย เติมนา้ มนั พืช 2. ใส่ฟกั เช่อื ม ถัว่ ลิสงค่ัว งาค่ัว น้าตาลทราย และเกลือ ผดั ใหเ้ ขา้ กัน ใช้ไฟอ่อน 3. ปั้นไสพ้ อดีคาตามชอบ วธิ หี ่อเทียนไส้หวานฟกั 1. นาใบตองทเี่ ชด็ สะอาดแลว้ มาเจียนให้เป็นวงกลมเส้นผา่ ศนู ย์กลาง 6-7 นิว้ ทาดว้ ยนา้ มัน ทาเปน็ รูปกรวย 2. ตักตวั แปง้ ใส่ ใสไ่ ส้ ใสแ่ ปง้ แล้วหอ่ พบั ชายทัง้ 4 ด้าน โดยสอดใบตองไวข้ ้างใตใ้ ห้เปน็ ยอดแหลม ทรงสูง คล้ายสามเหลย่ี ม 3. นาไปนง่ึ ในน้าเดือด นานประมาณ 20 นาที

การนาไปใช้ พิธกี รรมไหว้ผีหิง้ เปน็ พธิ กี รรมไหวบ้ รรพบรุ ุษการทาขนมเทยี นมีการทาขนมเทียนมาต้งั แตส่ มัย โบราณ เปน็ ประเพณขี องคนโบราณที่มักจะทาขนมเทียนไปทาบญุ หรือทา เพื่อประเพณีต่างๆ ซง่ึ วิธกี ารทาขนม เป็นวิธกี ารดง่ั เดิมและเปน็ ทเี่ ลื่องลอื ทางรสชาตคิ วามอรอ่ ย เทศการตรุษจีน วนั สาคัญของพีน่ ้องชาวไทยเชอื้ สายจีนท่ีเสมอื นวนั ข้นึ ปใี หม่ของจนี มกี ารเซน่ ไหว้ บรรพบรุ ุษท่ีลว่ งลับไปแลว้ ดว้ ยอาหารคาวหวานหลากหลายชนิด ลกู หลานลว้ นจะเลือกสรรหาของไหวต้ รง ตามใจต้องการอ่มิ บุญในเทศกาลวันตรษุ จนี ซึง่ ขนมเทียนเป็นขนมชนดิ หนง่ึ ที่ขาดไมไ่ ด้ “ความหมายของขนม เทียนแสดงถึงความสว่างไสว รงุ่ เรอื ง ความหวานชน่ื ความอุดมสมบูรณ์และความราบร่นื ในชีวติ ”

บทสัมภาษณ์ ประวัติ - นางอารี ชยั ชนะสมบตั ิ อายุ 64 ปี - วันเกดิ องั คาร ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497 - ตาบล บางเลน อาเภอบางเลน จงั หวดั นครปฐม - บ้านเลขท่ี 1799 หมู่ 1 ตาบลวังนา้ เย็น อาเภอวงั น้าเยน็ จังหวดั สระแก้ว - สมรส หม้าย มบี ุตร ดว้ ยกนั 2 คน 1. นายเอกภพ จินตนา อายุ 34 ปี จบการศึกษา ปวส. 2. นาวงสาวนฏกร จินตนา อายุ 32 ปี จบการศึกษา ปริญญาตรี - การศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นบ้านห้วยมว่ ง ตาบลหนองมะเขือ อาเภอพล จังหวัดขอนแก่น - ประกอบอาชีพค้าขาย การสัมภารษณ์ ผสู้ มั ภาษณ์ : คุณยายประกอบอาชพี อะไรคะ คุณยาย : ยายคา้ ขาย ชว่ งเวลาเชา้ ยายจะทาขนมไปขายทต่ี ลาดเชา้ ผู้สมั ภาษณ์ : คุณยายขายขนมอะไรคะ คณุ ยาย : ขนมเทยี นและขนมไทย เช่น ขนมตาล ขนมช้ัน ผู้สมั ภาษณ์ : ขนมเทยี นส่วนมากจะทาช่วงไหนบา้ งคะ คุณยาย : ยายจะทาช่วงเทศกาลงานบญุ เปน็ สว่ นใหญ่ ไม่ได้ทาประจาทุกวันเพราะขนมเทยี นเป็นขนมไทย เดก็ ๆ สมัยน้ไี มค่ ่อยนยิ มกนิ ถา้ ทาทุกวันจะขายหมดยาก ยายจะทาช่วงเทศกาลเปน็ สว่ นใหญ่ ผสู้ ัมภาษณ์ : แล้วเวลาว่างคุณยายทาอะไรคะ คณุ ยาย : ยายกท็ อดลูกช้ินทาแคปหมูไปขายบา้ ง ผู้สมั ภาษณ์ : ทาไมคุณยายต้องทาภมู ิปัญญาขนมเทยี นคะ คณุ ยาย : เพราะยายมีความถนัดเรือ่ งการทาขนมเทยี น และไมอ่ ยากใหข้ นมเทยี นเลือนหายไปจาก ลกู หลานๆอยากให้คนรุ่นหลังได้รจู้ ักและทาเป็นสืบทอดต่อกันไป ผู้สัมภาษณ์ : คณุ ยายคิดว่าภูมิปัญญาของคณุ ยายมีประโยชนอ์ ย่างไรคะ คุณยาย : ให้คนรนุ่ หลังหรือผ้ทู ม่ี ีความสนใจในการทาขนมเทยี นได้นาไปศึกษาวธิ กี ารทาขนมเทยี นหรอื นาไป ต่อยอดทาเปน็ ไสต้ า่ งๆ ใหม้ นั ดูทนั สมยั มากข้นึ

ภาคผนวก - ประวตั ผิ ู้จัดทา้ ภูมิปญั ญาศกึ ษา - ภาพประกอบ

ประวตั ผิ ู้ถ่ายทอดภมู ปิ ญั ญา ชอื่ : นางอารี ชัยชนะสมบตั ิ อายุ 64 ปี เกิด : วัน อังคาร ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497 ภมู ิลาเนาเดิม : ตาบล บางเลน อาเภอบางเลน จังหวัด นครปฐม อยู่ปัจจุบัน : บา้ นเลขท่ี 1799 หมู่ 1 ตาบลวังนา้ เยน็ อาเภอวังน้าเย็น จงั หวัดสระแกว้ สถานภาพ : สมรส หมา้ ย มบี ตุ ร ดว้ ยกัน 2 คน 1. นายเอกภพ จินตนา อายุ 34 ปี จบการศึกษา ปวส. 2. นาวงสาวนฏกร จินตนา อายุ 32 ปี จบการศึกษา ปริญญาตรี การศกึ ษา : ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรยี นบา้ นห้วยมว่ ง ตาบลหนองมะเขือ อาเภอพล จังหวดั ขอนแก่น ประกอบอาชีพ : ทานา จากประสบการณ์ : การทาขนมเทยี น ไดเ้ รยี นรู้ จากบรรพบุรุษจากครอบครัวการทาขนมเทียนท่ีมีทาสบื ทอดมาอย่างยาวนาน โดยงานบุญ หรือประเพณีตา่ งๆจะขาดไมไ่ ด้ เชน่ งานบุญเข้าพรรษา งานวันตรุษจีน งานแตง่ เน้อื ขนมถูกห่อดว้ ยใบตองเป็น รูปสามเหล่ยี ม เน้ือขนมเหนยี ว ยัดไสด้ ้วยรสหวานมัน เปน็ ขนมทขี่ าดไมไ่ ด้ตอนงานบุญต่างๆ ประวัติผู้เรียบเรียงภมู ิปัญญา ชอื่ : นางสาวรชั ฎาพร รลิ า อายุ 27 ปี เกดิ : วนั องั คาร ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2534 ภมู ิลาเนาเดิม : บา้ นสุขสาราญ ตาบล หนองแวง อาเภอ โคกสูง จงั หวดั สระแกว้ อยู่ปัจจุบัน : บา้ นเลขที่ 306/7 หมู่ 1 ตาบลวังนา้ เยน็ อาเภอวงั น้าเยน็ จังหวัดสระแกว้ สถานภาพ : หย่ารา้ ง การศึกษา : ปริญญาตรี จากมหาวทิ ยาลัยราชภัฎราชนครินทร์ ประกอบอาชีพ : รบั ราชการครู

ภาพประกอบการจัดทา้ ภูมิปญั ญาศกึ ษา เร่อื ง ขนมเทยี น

ภาพประกอบการจัดทาภูมิปัญญาศึกษา เรอ่ื ง ขนมเทยี น ประชมุ อภิปรายชแ้ี นะแนวทางการทาภมู ิปัญญาศึกษา พบคณุ ยายผ้จู ัดทาภมู ปิ ัญญาศกึ ษา และสมั ภาษณ์เบอ้ื งตน้

ขนมเทียนไสห้ วานฟัก ขนมเทียนม่วง

21 ขนมเทียนกระทง ขนมเทยี นแกว้

ขนมเทียนแกว้

ขนมเทียนไส้ถงั่ เหลืองมะพรา้ วอ่อน ขนมเทียนไส้ถัง่ เหลืองมะพรา้ วอ่อน

ขนมเทยี นไสห้ วาน

เอกสารอ้างอิง กิตติพงษ์ หว่ งรกั ษ์. 2535 เอกสารประกอบการสอนการแปรรูปอาหาร.ภาควชิ าอุตสาหกรรม คณะ เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารฯ ลาดกระบัง.กรุงเทพ ฯ. 11 หน้า อบเชย วงศ์ทอง. 2535 เอกสารประกอบการสอนการผลิตขนมไทย.ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร,์ กรุงเทพ ฯ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook