Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 34 ขนมเทียน นางคานศรีสุพรรณ

34 ขนมเทียน นางคานศรีสุพรรณ

Published by artaaa142, 2019-05-10 03:11:00

Description: 34 ขนมเทียน นางคานศรีสุพรรณ

Search

Read the Text Version

ภูมิปัญญาศกึ ษา เร่อื ง การทาขนมเทียนพ้ืนบา้ น โดย 1. นางคาน ศรีสุพรรณ (ผถู้ า่ ยทอดภูมปิ ัญญา) 2. นางกาญจนา อุทามนตรี (ผูเ้ รียบเรยี งภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ) เอกสารภูมิปญั ญาศึกษานเี้ ปน็ ส่วนหนึ่งของการศกึ ษา ตามหลักสูตรโรงเรยี นผู้สงู อายเุ ทศบาลเมอื งวงั น้าเยน็ ประจาปีการศกึ ษา 2561 โรงเรยี นผสู้ งู อายเุ ทศบาลเมืองวังนา้ เย็น สงั กัดเทศบาลเมืองวงั นา้ เย็น จังหวดั สระแก้ว

คานา ภูมิปัญญาชาวบ้านของคนไทยเราน้ันมีอยู่จานวนมาก ล้วนแต่มีคุณค่าและมีประโยชน์ เป็นการบอก เล่าถึงวฒั นธรรมไทยได้เป็นอย่างดี แต่ปัจจบุ นั ภูมิปญั ญาเหลา่ นน้ั กาลังสูญหายไปพร้อม ๆ กับชีวิตของคน ซึ่ง ดับสูญไปตามกาลเวลา เทศบาลเมืองวังน้าเย็นได้เล็งเห็นคุณค่าและความสาคัญในเรื่องดังกล่าว จึงจัดต้ัง โรงเรียนผู้สูงอายุข้ึน เพื่อให้ผู้สูงอายุในเขตตาบลวังน้าเย็นได้มารวมตัวกัน เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งกันและ กัน ก่อนจบการศึกษา นักเรียนผู้สูงอายุทุกคนต้องจัดทาภูมิปัญญาศึกษาคนละ ๑ เร่ือง เพ่ือเก็บไว้ให้อนุชน รุ่นหลังไดศ้ ึกษา เป็นการสบื ทอด มิให้ภูมปิ ัญญาสญู ไป ภมู ิปัญญาฉบับนี้สาเร็จได้ เพราะรับความกรุณาและการสนับสนุน จากผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ได้แก่ นาง กาญจนา อุทามนตรี ซึ่งเป็นพี่เลี้ยงให้คาปรึกษา แนะนาในการจัดทาภูมิปัญญา ได้ให้ความรู้และ ประสบการณ์ต่าง ๆ ในช่วงเวลาท่ีเรียนอยู่เป็นเวลา ๒ ปี คณะกรรมการบริหารโรงเรียนผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองวังน้าเย็นทุกท่าน ท่ีให้การดูแลและช่วยเหลือตลอดมา และท่ี สาคัญได้แก่ นายวันชัย นารีรักษ์ นายกเทศมนตรีเมืองวังน้าเย็น และ นายคนองพล เพ็ชรรื่น ปลัดเทศบาล เมืองวังน้าเย็น ซึ่งเปน็ ผกู้ ่อตง้ั โรงเรยี นผสู้ งู อายุ และให้การสนับสนุน ดูแลนกั เรียนผสู้ ูงอายุเปน็ อย่างดี ขอขอบคุณทุกทา่ นไว้ ณ โอกาสนี้ นางคาน ศรีสุพรรณ นางกาญจนา อุทามนตรี ผ้จู ดั ทา

ที่มาและความสาคัญของภมู ปิ ัญญาศึกษา จากพระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทวี่ า่ “ประชาชนน่ันแหละ ทเ่ี ขามีความรู้เขาทางานมาหลายช่ัวอายุคน เขาทากันอยา่ งไร เขามีความเฉลียวฉลาด เขารู้วา่ ตรงไหน ควรทากสิกรรม เขารวู้ ่าตรงไหนควรเกบ็ รกั ษาไว้ แต่ท่เี สยี ไปเพราะพวกไม่รู้เร่ือง ไม่ได้ทามานานแล้ว ทาให้ ลืมว่าชีวิตมันเป็นไปโดยการกระทาที่ถูกต้องหรือไม่” พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหา- ภมู ิพลอดลุ ยเดช ท่สี ะทอ้ นถึงพระปรชี าสามารถในการรบั รแู้ ละความเขา้ ใจหย่งั ลึก ที่ทรงเห็นคณุ คา่ ของ ภมู ปิ ัญญาไทยอยา่ งแท้จรงิ พระองคท์ รงตระหนักเปน็ อยา่ งย่ิงว่า ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ เป็นส่งิ ทช่ี าวบ้าน มอี ยแู่ ล้ว ใชป้ ระโยชนเ์ พ่ือความอย่รู อดกันมายาวนาน ความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถ่ิน ซ่ึงความรู้ที่สั่งสม จากการปฏิบัติจริงในห้องทดลองทางสังคม เป็นความรู้ด้ังเดิมท่ีถูกค้นพบ มีการทดลองใช้ แก้ไข ดัดแปลง จนเป็นองคค์ วามรู้ท่สี ามารถแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตและถ่ายทอดสบื ต่อกันมา ภูมิปัญญาท้องถนิ่ เปน็ ขมุ ทรพั ยท์ างปัญญาท่ีคนไทยทุกคนควรรู้ ควรศึกษา ปรับปรุง และพัฒนาให้สามารถนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน เหล่านน้ั มาแกไ้ ขปัญหาใหส้ อดคลอ้ งกับบริบททางสงั คม วัฒนธรรมของกลุ่มชมุ ชนนนั้ ๆ อย่างแท้จริง การพฒั นาภูมิปัญญาศกึ ษานับเปน็ สิง่ สาคญั ตอ่ บทบาทของชุมชนท้องถิ่นท่ีได้พยายามสร้างสรรค์ เปน็ นา้ พกั นา้ แรงรว่ มกนั ของผ้สู ูงอายุและคนในชุมชนจนกลายเปน็ เอกลักษณ์และวัฒนธรรม ประจาถนิ่ ทเ่ี หมาะตอ่ การดาเนนิ ชีวติ หรอื ภมู ปิ ัญญาของคนในท้องถ่ินนน้ั ๆ แต่ภูมิปัญญาท้องถิ่นส่วนใหญ่เป็น ความรู้ หรือเป็นสิ่งท่ีได้มาจากประสบการณ์ หรือเป็นความเช่ือสืบต่อกันมา แต่ยังขาดองค์ความรู้ หรือขาด หลกั ฐานยืนยันหนกั แน่น การสร้างการยอมรบั ท่เี กดิ จากฐานภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นจึงเป็นไปได้ยาก ดังนั้น เพ่ือให้เกิดการส่งเสริมพัฒนาภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น กระตุ้นเกิดความ ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของบุคคลในท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย เกิดการถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่ คนรุ่นหลัง โรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็น ได้ดาเนินการจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอน เพ่ือ พฒั นาศกั ยภาพผสู้ ูงอายใุ นทอ้ งถน่ิ ท่เี น้นให้ผ้สู งู อายุได้พฒั นาตนเองให้มีความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ ในอนาคต รวมทั้งสืบทอดภูมิปัญญาในการดารงชีวิตของนักเรียนผู้สูงอายุท่ีได้ส่ังสมมา เกิดจากการสืบทอด ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ โดยนักเรียนผู้สูงอายุจะเป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ และมีครูพ่ีเล้ียงซึ่งเป็นคณะครู ของโรงเรยี นในสงั กัดเทศบาลเมอื งวังนา้ เย็น เปน็ ผเู้ รียบเรียงองค์ความรไู้ ปส่กู ารจดั ทาภมู ปิ ญั ญาศึกษา ให้ปรากฏออกมาเป็นรูปเล่มภูมิปัญญาศึกษา ใช้เป็นส่วนหน่ึงในการจบหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียน ผู้สูงอายุ ประจาปีการศึกษา 2561 พร้อมทั้งเผยแพร่และจัดเก็บคลังภูมิปัญญาไว้ในห้องสมุดของโรงเรียน เทศบาลมิตรสัมพนั ธ์วทิ ยา เพื่อให้ภูมิปัญญาท้องถิน่ เหล่าน้เี กดิ การถ่ายทอดสคู่ นรนุ่ หลังสบื ต่อไป จากความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงานและภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในการผสมผสาน องค์ความรู้ เพื่อยกระดับความรู้ของภูมิปัญญานั้น ๆ เพื่อนาไปสู่การประยุกต์ใช้ และผสมผสานเทคโนโลยี ใหม่ ๆ ให้สอดรับกับวิถีชีวิตของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การนาภูมิปัญญาไทยกลับสู่การศึกษา

สามารถส่งเสริมให้มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาในโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา และโรงเรียนในสังกัด เทศบาลเมืองวังนา้ เย็น เกิดการมีส่วนร่วมในกระบวนการถ่ายทอด เช่ือมโยงความรู้ให้กับนักเรียนและบุคคล ท่ัวไปในท้องถิ่น โดยการนาบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถในท้องถ่ินเข้ามาเป็นวิทยากรให้ความรู้กับ นักเรียนในโอกาสต่าง ๆ หรือการที่โรงเรียนนาองค์ความรู้ในท้องถิ่น เข้ามาสอนสอดแทรกในกระบวนการ จัดการเรียนรู้ สิ่งเหล่าน้ีทาให้การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน นาไปสู่การสืบทอดภูมิปัญญาศึกษา เกิด ความสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม นักเรียนผู้สูงอายุเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของตนที่ได้ถ่ายทอดสู่คนรุ่น หลังให้คงอยู่ในท้องถิ่น เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตประจาท้องถิ่น เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตคู่แผ่นดิน ไทยตราบนานเทา่ นาน นางคาน ศรีสพุ รรณ ในชว่ งทว่ี ่างจากการทาไร่ ทานา โดยไดเ้ รมิ่ เรยี นร้วู ธิ กี ารทาขนมเทียนตั้งแต่อายุ ยงั เลก็ จนกระทั้งอายุได้ 65 ปี นางคาน ศรสี ุพรรณ ไดย้ า้ ยมาอยกู่ ับสามีที่ บ้านคลองสาระพา ตาบลวังน้าเย็น อาเภอวงั นา้ เย็น จังหวัดสระแก้ว มีอาชีพทาไร่ ทานา และในช่วงที่ว่างจากการทาไร่ ทานา ก็จะทาขนมเทียน ขายตามตลาดนัดหมู่บ้านเป็นอาชีพเสริม และนางคาน ศรีสุพรรณ ได้ถ่ายทอดความรู้ด้านการทาขนมเทียน ใหก้ ับลกู ๆ เช่นเดียวกัน ดังนั้นการสืบทอดความคิด ความเช่ือ แบบแผนทางสังคม จากคนรุ่นเก่าสู่คนรุ่นใหม่ และพัฒนาศกั ยภาพ ภมู ิปัญญาที่มอี ยู่ ในการเสริมสรา้ งชวี ติ เพ่ือการดารงอยขู่ องวฒั นธรรมควบคู่กับการพัฒนา เป็นอาชพี และรายได้ของคนในชมุ ชนตอ่ ไป นิยามคาศัพทใ์ นการจัดทาภูมิปัญญาศึกษา ภูมิปัญญาศึกษา หมายถึง การนาภูมิปัญญาการดาเนินชีวิตในเรื่องที่ผู้สูงอายุเชี่ยวชาญท่ีสุด ของ ผู้สูงอายุท่เี ข้าศกึ ษาตามหลกั สูตรของโรงเรยี นผู้สงู อายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็น มาศึกษาและสืบทอดภูมิปัญญา ในรปู แบบตา่ ง ๆ มีการสืบทอดภูมิปัญญาโดยการปฏิบัติและการเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษรตามรูปแบบที่ โรงเรยี นผู้สงู อายกุ าหนดขน้ึ ใชเ้ ป็นส่วนหนึ่งในการจบหลักสูตรการศึกษา เพ่ือให้ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุได้รับ การถา่ ยทอดสู่คนรนุ่ หลังและคงอย่ใู นทอ้ งถิ่นต่อไป ซง่ึ แบง่ ภูมิปัญญาศกึ ษาออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. ภูมปิ ญั ญาศึกษาทผ่ี ู้สงู อายเุ ป็นผูค้ ดิ คน้ ภมู ปิ ัญญาในการดาเนนิ ชวี ิตในเร่ืองทเี่ ชยี่ วชาญท่สี ดุ ด้วยตนเอง 2. ภูมิปัญญาศึกษาที่ผู้สูงอายุเป็นผู้นาภูมิปัญญาท่ีสืบทอดจากบรรพบุรุษมาประยุกต์ใช้ในการดาเนิน ชวี ิตจนเกดิ ความเชี่ยวชาญ 3. ภูมิปัญญาศึกษาท่ีผู้สูงอายุเป็นผู้นาภูมิปัญญาที่สืบทอดจากบรรพบุรุษมาใช้ในการดาเนินชีวิตโดย ไมม่ ีการเปล่ยี นแปลงไปจากเดมิ จนเกดิ ความเชีย่ วชาญ ผู้ถา่ ยทอดภูมิปัญญา หมายถึง ผู้สูงอายุที่เข้าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมือง วังน้าเย็น เป็นผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญาการดาเนินชีวิตในเร่ืองที่ตนเองเช่ียวชาญมากท่ีสุด นามาถ่ายทอดให้แก่ผู้ เรียบเรยี งภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ ไดจ้ ัดทาข้อมูลเปน็ รปู เลม่ ภมู ิปัญญาศึกษา

ผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถ่ิน หมายถึง ผู้ที่นาภูมิปัญญาในการดาเนินชีวิตในเร่ืองที่ผู้สูงอายุ เช่ียวชาญที่สุดมาเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษร ศึกษาหาข้อมูลเพ่ิมเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ จัดทาเป็น เอกสารรูปเล่ม ใชช้ อ่ื ว่า “ภมู ิปัญญาศึกษา”ตามรูปแบบทีโ่ รงเรยี นผู้สงู อายุเทศบาลเมืองวงั นา้ เย็นกาหนด ครูที่ปรึกษา หมายถึง ผู้ท่ีปฏิบัติหน้าที่เป็นครูพ่ีเล้ียง เป็นผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถิ่น ปฏิบัติ หน้าที่เป็นผปู้ ระเมนิ ผล เป็นผู้รับรองภูมิปัญญาศึกษา รวมท้ังเป็นผู้นาภูมิปัญญาศึกษาเข้ามาสอนในโรงเรียน โดยบูรณาการการจดั การเรยี นรตู้ ามหลักสตู รทอ้ งถ่นิ ทโ่ี รงเรยี นจดั ทาขน้ึ

ภูมิปัญญาศกึ ษาเชอ่ื มโยงสู่สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชนฯ 1. ลักษณะของภมู ปิ ัญญาไทย ลกั ษณะของภมู ิปัญญาไทย มีดงั น้ี 1. ภมู ปิ ัญญาไทยมีลักษณะเป็นทง้ั ความรู้ ทักษะ ความเชือ่ และพฤตกิ รรม 2. ภูมิปญั ญาไทยแสดงถงึ ความสมั พนั ธ์ระหว่างคนกบั คน คนกับธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม และคนกบั ส่งิ เหนอื ธรรมชาติ 3. ภมู ิปัญญาไทยเป็นองคร์ วมหรือกิจกรรมทุกอยา่ งในวิถีชีวิตของคน 4. ภมู ปิ ญั ญาไทยเปน็ เร่ืองของการแก้ปญั หา การจดั การ การปรบั ตัว และการเรียนรู้ เพอ่ื ความอยู่รอดของบุคคล ชมุ ชน และสังคม 5. ภมู ปิ ญั ญาไทยเป็นพื้นฐานสาคญั ในการมองชีวติ เป็นพืน้ ฐานความรใู้ นเรื่องตา่ งๆ 6. ภมู ปิ ัญญาไทยมีลักษณะเฉพาะ หรือมีเอกลกั ษณใ์ นตวั เอง 7. ภมู ปิ ัญญาไทยมีการเปล่ียนแปลงเพ่ือการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสงั คม 2. คณุ สมบตั ขิ องภูมิปัญญาไทย ผู้ทรงภูมปิ ญั ญาไทยเป็นผูม้ ีคุณสมบตั ิตามทก่ี าหนดไว้ อย่างนอ้ ยดังต่อไปน้ี 1. เปน็ คนดมี ีคุณธรรม มีความรู้ความสามารถในวชิ าชพี ต่างๆ มีผลงานด้านการพัฒนา ทอ้ งถนิ่ ของตน และได้รบั การยอมรับจากบุคคลทวั่ ไปอย่างกว้างขวาง ท้ังยังเปน็ ผ้ทู ใี่ ชห้ ลกั ธรรมคาสอนทาง ศาสนาของตนเป็นเคร่ืองยึดเหน่ียวในการดารงวถิ ีชวี ติ โดยตลอด 2. เปน็ ผคู้ งแกเ่ รยี นและหม่นั ศกึ ษาหาความรู้อยูเ่ สมอ ผู้ทรงภมู ปิ ัญญาจะเป็นผทู้ ีห่ ม่ัน ศึกษาแสวงหาความร้เู พ่ิมเติมอยเู่ สมอไม่หยดุ น่ิง เรยี นรู้ท้ังในระบบและนอกระบบ เปน็ ผู้ลงมอื ทา โดยทดลอง ทาตามท่ีเรยี นมา อีกทัง้ ลองผิด ลองถกู หรือสอบถามจากผรู้ ้อู น่ื ๆ จนประสบความสาเร็จ เปน็ ผเู้ ช่ยี วชาญ ซ่ึง โดดเดน่ เป็นเอกลักษณ์ในแตล่ ะดา้ นอย่างชดั เจน เปน็ ทย่ี อมรบั การเปล่ียนแปลงความรู้ใหมๆ่ ที่เหมาะสม นามา ปรับปรุงรบั ใช้ชมุ ชน และสังคมอยูเ่ สมอ 3. เป็นผู้นาของทอ้ งถ่นิ ผ้ทู รงภมู ิปญั ญาสว่ นใหญ่จะเป็นผทู้ ่สี ังคม ในแต่ละท้องถน่ิ ยอมรบั ใหเ้ ป็นผนู้ า ทั้งผู้นาทไี่ ด้รับการแตง่ ตัง้ จากทางราชการ และผนู้ าตามธรรมชาติ ซ่งึ สามารถเปน็ ผ้นู าของท้องถน่ิ และชว่ ยเหลือผอู้ ่นื ไดเ้ ป็นอยา่ งดี 4. เป็นผทู้ ส่ี นใจปัญหาของท้องถิ่น ผทู้ รงภูมิปัญญาลว้ นเป็นผทู้ ่สี นใจปญั หาของท้องถน่ิ เอา ใจใส่ ศึกษาปัญหา หาทางแก้ไข และช่วยเหลือสมาชิกในชุมชนของตนและชุมชนใกลเ้ คียงอย่างไม่ย่อท้อ จนประสบความสาเร็จเปน็ ทีย่ อมรับของสมาชิกและบุคคลทั่วไป 5. เป็นผู้ขยนั หมน่ั เพยี ร ผูท้ รงภูมิปัญญาเปน็ ผขู้ ยนั หมั่นเพียร ลงมือทางานและผลิตผลงาน

อย่เู สมอ ปรับปรุงและพัฒนาผลงานใหม้ ีคณุ ภาพมากขึ้นอกี ท้ังมุง่ ทางานของตนอย่างต่อเน่ือง 6. เป็นนักปกครองและประสานประโยชน์ของท้องถน่ิ ผูท้ รงภูมิปัญญา นอกจากเป็นผทู้ ่ี ประพฤตติ นเปน็ คนดี จนเป็นทยี่ อมรับนับถอื จากบคุ คลท่วั ไปแลว้ ผลงานทท่ี ่านทายังถือว่ามีคุณคา่ จึงเปน็ ผทู้ ่ี มที ้งั \"ครองตน ครองคน และครองงาน\" เปน็ ผูป้ ระสานประโยชน์ใหบ้ คุ คลเกดิ ความรัก ความเขา้ ใจ ความเห็นใจ และมีความสามัคคกี ัน ซง่ึ จะทาใหท้ ้องถน่ิ หรือสงั คม มีความเจรญิ มีคุณภาพชวี ติ สูงขึน้ กว่าเดิม 7. มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรูเ้ ป็นเลิศ เม่ือผู้ทรงภูมิปญั ญามีความรู้ ความสามารถ และประสบการณเ์ ปน็ เลศิ มีผลงานที่เปน็ ประโยชนต์ ่อผูอ้ ่นื และบุคคลท่วั ไป ทงั้ ชาวบ้าน นกั วชิ าการ นกั เรียน นสิ ติ /นักศกึ ษา โดยอาจเข้าไปศกึ ษาหาความรู้ หรอื เชญิ ท่านเหลา่ น้นั ไป เป็นผู้ถา่ ยทอด ความรไู้ ด้ 8. เปน็ ผู้มีคู่ครองหรือบรวิ ารดี ผู้ทรงภูมปิ ญั ญา ถา้ เปน็ คฤหสั ถ์ จะพบว่า ลว้ นมีคคู่ รองทีด่ ี ท่ีคอยสนบั สนุน ชว่ ยเหลือ ให้กาลังใจ ใหค้ วามรว่ มมือในงานที่ทา่ นทา ชว่ ยให้ผลติ ผลงานที่มีคุณคา่ ถ้าเปน็ นกั บวช ไม่วา่ จะเป็นศาสนาใด ตอ้ งมบี ริวารทดี่ ี จึงจะสามารถผลติ ผลงานท่ีมีคุณค่าทางศาสนาได้ 9. เป็นผมู้ ปี ญั ญารอบรแู้ ละเช่ียวชาญจนไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็นปราชญ์ ผูท้ รงภมู ิปญั ญา ตอ้ งเปน็ ผู้มีปญั ญารอบรู้และเชีย่ วชาญ รวมท้งั สรา้ งสรรค์ผลงานพเิ ศษใหมๆ่ ที่เป็นประโยชน์ต่อสงั คมและ มนษุ ยชาติอยา่ งตอ่ เนื่องอยเู่ สมอ 3. การจดั แบง่ สาขาภูมิปัญญาไทย จากการศึกษาพบว่า มีการกาหนดสาขาภมู ิปัญญาไทยไวอ้ ย่างหลากหลาย ขึ้นอยู่กบั วัตถุประสงค์ และ หลกั เกณฑต์ ่างๆ ที่หนว่ ยงาน องค์กร และนักวชิ าการแต่ละทา่ นนามากาหนด ในภาพรวมภูมปิ ญั ญาไทย สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 10 สาขา ดงั นี้ 1. สาขาเกษตรกรรม หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ และ เทคนคิ ด้านการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพฒั นาบนพื้นฐานคุณคา่ ดง้ั เดมิ ซึ่งคนสามารถพงึ่ พาตนเอง ในภาวการณ์ต่างๆ ได้ เช่น การทา การเกษตรแบบผสมผสาน วนเกษตร เกษตรธรรมชาติ ไร่นาสวนผสม และ สวนผสมผสาน การแก้ปญั หาการเกษตรด้านการตลาด การแก้ปัญหาดา้ นการผลติ การแกไ้ ขปัญหาโรคและ แมลง และการร้จู กั ปรับใชเ้ ทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกับการเกษตร เป็นต้น 2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม หมายถึง การรจู้ ักประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีสมยั ใหม่ ในการแปรรปู ผลิตผล เพ่ือชะลอการนาเข้าตลาด เพื่อแก้ปัญหาด้านการบริโภคอย่างปลอดภยั ประหยดั และ เป็นธรรม อันเปน็ กระบวนการที่ทาให้ชุมชนท้องถนิ่ สามารถพ่ึงพาตนเองทางเศรษฐกจิ ได้ ตลอดท้ังการผลติ และการจาหน่าย ผลิตผลทางหตั ถกรรม เชน่ การรวมกลุ่มของกล่มุ โรงงานยางพารา กลุ่มโรงสี กลุ่มหตั ถกรรม เป็นต้น 3. สาขาการแพทยแ์ ผนไทย หมายถงึ ความสามารถในการจัดการปอ้ งกัน และรักษา

สุขภาพของคนในชุมชน โดยเน้นใหช้ ุมชนสามารถพงึ่ พาตนเอง ทางด้านสขุ ภาพ และอนามัยได้ เช่น การนวด แผนโบราณ การดแู ลและรักษาสขุ ภาพแบบพ้ืนบ้าน การดูแลและรักษาสุขภาพแผนโบราณไทย เป็นตน้ 4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม หมายถงึ ความสามารถเกยี่ วกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ทง้ั การอนุรักษ์ การพัฒนา และการใช้ประโยชนจ์ ากคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ ม อยา่ งสมดลุ และยงั่ ยืน เชน่ การทา แนวปะการงั เทียม การอนรุ ักษป์ า่ ชายเลน การจดั การป่าต้นน้า และป่าชุมชน เปน็ ตน้ 5. สาขากองทนุ และธรุ กจิ ชุมชน หมายถงึ ความสามารถในการบริหารจัดการดา้ นการ สะสม และบริการกองทุน และธรุ กจิ ในชมุ ชน ทงั้ ที่เป็นเงนิ ตรา และโภคทรพั ย์ เพอ่ื ส่งเสรมิ ชีวติ ความเปน็ อยู่ ของสมาชิกในชมุ ชน เชน่ การจัดการเรื่องกองทุนของชุมชน ในรปู ของสหกรณ์ออมทรพั ย์ และธนาคารหมบู่ ้าน เปน็ ต้น 6. สาขาสวัสดิการ หมายถงึ ความสามารถในการจดั สวัสดิการในการประกนั คุณภาพชวี ติ ของคน ให้เกดิ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เชน่ การจัดต้ังกองทุนสวสั ดกิ ารรักษาพยาบาล ของชุมชน การจดั ระบบสวัสดกิ ารบรกิ ารในชมุ ชน การจดั ระบบสงิ่ แวดล้อมในชุมชน เปน็ ต้น 7. สาขาศลิ ปกรรม หมายถงึ ความสามารถในการผลิตผลงานทางดา้ นศลิ ปะสาขาต่าง ๆ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม ทัศนศลิ ป์ คีตศิลป์ ศิลปะมวยไทย เปน็ ตน้ 8. สาขาการจัดการองคก์ ร หมายถึง ความสามารถในการบรหิ ารจัดการดาเนินงานของ องค์กรชมุ ชนตา่ งๆ ใหส้ ามารถพฒั นา และบรหิ ารองค์กรของตนเองได้ ตามบทบาท และหน้าท่ขี ององค์การ เช่น การจัดการองคก์ รของกลุ่มแม่บา้ น กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มประมงพืน้ บ้าน เปน็ ตน้ 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถงึ ความสามารถผลิตผลงานเก่ียวกับดา้ นภาษา ท้ังภาษาถ่ิน ภาษาโบราณ ภาษาไทย และการใช้ภาษา ตลอดทั้งดา้ นวรรณกรรมทุกประเภท เชน่ การจัดทา สารานกุ รมภาษาถ่ิน การปรวิ รรต หนงั สอื โบราณ การฟ้นื ฟูการเรียนการสอนภาษาถ่ินของท้องถน่ิ ตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ 10. สาขาศาสนาและประเพณี หมายถึง ความสามารถประยุกต์ และปรบั ใชห้ ลักธรรมคา สอนทางศาสนา ความเชอื่ และประเพณีดั้งเดมิ ที่มีคุณคา่ ให้เหมาะสมต่อการประพฤติปฏิบตั ิ ให้บงั เกิดผลดตี ่อ บุคคล และสงิ่ แวดล้อม เช่น การถ่ายทอดหลักธรรมทางศาสนา ลักษณะความสัมพนั ธ์ของภูมปิ ัญญาไทย ภมู ิปัญญาไทยสามารถสะท้อนออกมาใน 3 ลักษณะที่สมั พันธใ์ กล้ชดิ กัน คอื 1.1 ความสมั พนั ธ์อย่างใกล้ชดิ กนั ระหว่างคนกบั โลก ส่ิงแวดล้อม สตั ว์ พืช และ ธรรมชาติ 1.2 ความสัมพนั ธข์ องคนกับคนอื่นๆ ท่อี ยรู่ ว่ มกันในสังคม หรือในชุมชน

1.3 ความสัมพันธ์ระหวา่ งคนกบั สิ่งศกั ดิส์ ิทธ์สิ ่ิงเหนอื ธรรมชาติ ตลอดท้ังสงิ่ ท่ีไมส่ ามารถ สัมผสั ไดท้ ้งั หลาย ทัง้ 3 ลกั ษณะน้ี คือ สามมิติของเรื่องเดียวกัน หมายถึง ชวี ิตชมุ ชน สะทอ้ นออกมาถึงภูมิ ปัญญาในการดาเนินชีวติ อยา่ งมีเอกภาพ เหมือนสามมุมของรปู สามเหลีย่ ม ภมู ิปัญญา จงึ เป็นรากฐานในการ ดาเนนิ ชีวติ ของคนไทย ซ่ึงสามารถแสดงให้เห็นได้อยา่ งชดั เจนโดยแผนภาพ ดังน้ี ลักษณะภูมิปัญญาท่เี กดิ จากความสมั พนั ธ์ ระหว่างคนกับธรรมชาติสิง่ แวดล้อม จะแสดงออกมา ในลกั ษณะภูมิปัญญาในการดาเนินวถิ ีชวี ติ ข้ันพืน้ ฐาน ดา้ นปัจจยั ส่ี ซ่ึงประกอบดว้ ย อาหาร เคร่ืองนุง่ ห่ม ทอี่ ยอู่ าศยั และยารักษาโรค ตลอดทง้ั การประกอบ อาชีพต่างๆ เปน็ ต้น ภูมปิ ญั ญาทีเ่ กดิ จาก ความสมั พันธร์ ะหว่างคนกับคนอ่นื ในสังคม จะแสดงออกมาในลักษณะ จารีต ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ และนนั ทนาการ ภาษา และวรรณกรรม ตลอดทั้งการสื่อสารตา่ งๆ เปน็ ต้น ภมู ิปญั ญาท่เี กิดจากความสัมพันธ์ระหว่างคนกบั สิ่งศักดิส์ ทิ ธ์ิ สงิ่ เหนอื ธรรมชาติ จะแสดงออกมาใน ลักษณะของสง่ิ ศักดิ์สิทธ์ิ ศาสนา ความเช่อื ตา่ งๆ เปน็ ตน้ 4. คุณค่าและความสาคัญของภมู ิปัญญาไทย คณุ ค่าของภูมปิ ญั ญาไทย ไดแ้ ก่ ประโยชน์ และความสาคัญของภูมิปัญญา ท่ีบรรพบุรษุ ไทย ได้ สรา้ งสรรค์ และสืบทอดมาอย่างตอ่ เน่ือง จากอดีตส่ปู ัจจุบัน ทาใหค้ นในชาติเกิดความรัก และความภาคภมู ิใจ ที่จะรว่ มแรงรว่ มใจสืบสานต่อไปในอนาคต เชน่ โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถาปัตยกรรม ประเพณีไทย การมี นา้ ใจ ศักยภาพในการประสานผลประโยชน์ เปน็ ต้น ภูมปิ ญั ญาไทยจึงมคี ุณค่า และความสาคัญดงั น้ี 1. ภมู ปิ ญั ญาไทยช่วยสรา้ งชาตใิ ห้เป็นปกึ แผน่ พระมหากษัตรยิ ์ไทยได้ใช้ภมู ิปญั ญาในการสร้างชาติ สรา้ งความเป็นปกึ แผ่นให้แก่ ประเทศชาติมาโดยตลอด ต้งั แต่สมัยพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช พระองค์ทรงปกครองประชาชน ด้วยพระ เมตตา แบบพอ่ ปกครองลูก ผู้ใดประสบความเดือดร้อน กส็ ามารถตรี ะฆงั แสดงความเดือดร้อน เพื่อขอรบั พระราชทานความช่วยเหลอื ทาใหป้ ระชาชนมีความจงรกั ภักดตี ่อพระองค์ ตอ่ ประเทศชาติร่วมกันสร้าง บ้านเรือนจนเจรญิ รงุ่ เรืองเปน็ ปึกแผ่น สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค์ทรงใช้ภมู ปิ ญั ญากระทายุทธหตั ถี จนชนะข้าศึกศัตรูและ ทรงกอบกเู้ อกราชของชาติไทยคืนมาได้ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ภูมิพลอดลุ ยเดช รัชกาลปัจจบุ ัน

พระองค์ทรงใช้ภมู ิปญั ญาสร้างคุณประโยชนแ์ ก่ประเทศชาติ และเหล่าพสกนิกรมากมายเหลือคณานับ ทรงใช้ พระปรีชาสามารถ แก้ไขวกิ ฤตการณท์ างการเมอื ง ภายในประเทศ จนรอดพน้ ภยั พิบตั ิหลายคร้ัง พระองคท์ รง มีพระปรีชาสามารถหลายดา้ น แม้แต่ดา้ นการเกษตร พระองค์ไดพ้ ระราชทานทฤษฎใี หม่ใหแ้ ก่พสกนิกร ทงั้ ด้านการเกษตรแบบสมดลุ และย่งั ยืน ฟืน้ ฟสู ภาพแวดล้อม นาความสงบรม่ เยน็ ของประชาชนใหก้ ลบั คนื มา แนวพระราชดาริ \"ทฤษฎใี หม่\" แบ่งออกเป็น 2 ขนั้ โดยเริ่มจาก ข้นั ตอนแรก ให้เกษตรกรรายยอ่ ย \"มพี ออยู่ พอกนิ \" เป็นข้นั พนื้ ฐาน โดยการพฒั นาแหล่งน้า ในไร่นา ซึ่งเกษตรกรจาเป็นทีจ่ ะตอ้ งได้รับความชว่ ยเหลอื จาก หน่วยราชการ มูลนิธิ และหน่วยงานเอกชน รว่ มใจกนั พัฒนาสงั คมไทย ในข้นั ท่ีสอง เกษตรกรต้องมคี วาม เขา้ ใจ ในการจัดการในไรน่ าของตน และมกี ารรวมกลมุ่ ในรูปสหกรณ์ เพื่อสร้างประสิทธภิ าพทางการผลติ และ การตลาด การลดรายจ่ายด้านความเป็นอยู่ โดยทรงตระหนกั ถึงบทบาทขององค์กรเอกชน เมอื่ กลมุ่ เกษตร วิวัฒน์มาขัน้ ที่ 2 แล้ว ก็จะมีศักยภาพ ในการพฒั นาไปสขู่ ้นั ท่ีสาม ซึ่งจะมอี านาจในการต่อรองผลประโยชนก์ ับ สถาบนั การเงินคือ ธนาคาร และองค์กรทเ่ี ปน็ เจ้าของแหลง่ พลงั งาน ซึ่งเปน็ ปัจจัยหน่ึงในการผลิต โดยมีการ แปรรูปผลติ ผล เช่น โรงสี เพื่อเพ่ิมมลู คา่ ผลติ ผล และขณะเดยี วกนั มีการจัดตั้งรา้ นคา้ สหกรณ์ เพ่ือลดค่าใช้จา่ ย ในชีวิตประจาวนั อันเปน็ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของบุคคลในสังคม จะเหน็ ได้ว่า มิได้ทรงทอดทิ้งหลักของ ความสามัคคใี นสังคม และการจัดตั้งสหกรณ์ ซึง่ ทรงสนบั สนนุ ใหก้ ล่มุ เกษตรกรสร้างอานาจต่อรองในระบบ เศรษฐกิจ จึงจะมีคุณภาพชวี ติ ที่ดี จงึ จัดได้ว่า เป็นสังคมเกษตรท่ีพฒั นาแลว้ สมดงั พระราชประสงค์ที่ทรงอุทศิ พระวรกาย และพระสตปิ ญั ญา ในการพฒั นาการเกษตรไทยตลอดระยะเวลาแหง่ การครองราชย์ 2. สร้างความภาคภมู ใิ จ และศกั ดศ์ิ รี เกยี รติภมู ิแก่คนไทย คนไทยในอดีตท่ีมีความสามารถปรากฏในประวตั ิศาสตรม์ มี าก เป็นท่ียอมรับของนานา อารยประเทศ เช่น นายขนมต้มเป็นนักมวยไทย ทมี่ ฝี มี ือเก่งในการใชอ้ วยั วะทกุ ส่วน ทุกท่าของแมไ่ มม้ วยไทย สามารถชกมวยไทย จนชนะพม่าได้ถึงเก้าคนสบิ คนในคราวเดียวกนั แม้ในปัจจบุ ัน มวยไทยกย็ งั ถือวา่ เป็น ศิลปะช้นั เย่ียม เปน็ ที่ นยิ มฝึกและแข่งขันในหมคู่ นไทยและชาวตา่ ง ประเทศ ปัจจบุ นั มีค่ายมวยไทยท่วั โลกไม่ ต่ากว่า 30,000 แห่ง ชาวตา่ งประเทศท่ไี ดฝ้ ึกมวยไทย จะรู้สึกยินดีและภาคภมู ิใจ ในการทจ่ี ะใช้กติกา ของมวย ไทย เช่น การไหว้ครูมวยไทย การออก คาส่งั ในการชกเป็นภาษาไทยทุกคา เชน่ คาวา่ \"ชก\" \"นับหนงึ่ ถงึ สบิ \" เป็นตน้ ถือเป็นมรดก ภมู ปิ ัญญาไทย นอกจากนี้ ภูมิปัญญาไทยทโี่ ดด เด่นยงั มีอีกมากมาย เชน่ มรดกภมู ิ ปญั ญาทาง ภาษาและวรรณกรรม โดยทมี่ ีอักษรไทยเปน็ ของ ตนเองมาตั้งแต่สมยั กรงุ สโุ ขทยั และววิ ัฒนาการ มาจนถงึ ปัจจบุ ัน วรรณกรรมไทยถือว่า เป็นวรรณกรรมท่ีมีความไพเราะ ได้อรรถรสครบทุกด้าน วรรณกรรม หลายเร่อื งได้รบั การแปลเปน็ ภาษาต่างประเทศหลายภาษา ดา้ นอาหาร อาหารไทยเปน็ อาหารที่ปรุงง่าย พืชที่ ใช้ประกอบอาหารสว่ นใหญ่เป็นพืชสมนุ ไพร ที่หาได้งา่ ยในท้องถน่ิ และราคาถกู มี คณุ คา่ ทางโภชนาการ และ ยังปอ้ งกนั โรคได้หลายโรค เพราะสว่ นประกอบสว่ นใหญเ่ ป็นพืชสมุนไพร เช่น ตะไคร้ ขิง ขา่ กระชาย ใบ มะกรูด ใบโหระพา ใบกะเพรา เป็นต้น

3. สามารถปรบั ประยุกต์หลกั ธรรมคาสอนทางศาสนาใชก้ บั วถิ ชี ีวติ ได้อย่างเหมาะสม คนไทยส่วนใหญน่ ับถือศาสนาพุทธ โดยนาหลักธรรมคาสอนของศาสนา มาปรบั ใชใ้ นวิถชี วี ติ ไดอ้ ย่างเหมาะสม ทาให้คนไทยเป็นผ้อู ่อนน้อมถอ่ มตน เอื้อเฟ้อื เผ่ือแผ่ ประนีประนอม รักสงบ ใจเยน็ มคี วาม อดทน ให้อภัยแกผ่ ูส้ านึกผิด ดารงวถิ ีชวี ติ อยา่ งเรียบง่าย ปกติสขุ ทาให้คนในชุมชนพึ่งพากนั ได้ แม้จะอดอยาก เพราะ แห้งแล้ง แต่ไมม่ ีใครอดตาย เพราะพง่ึ พาอาศยั กัน แบ่งปันกันแบบ \"พรกิ บา้ นเหนอื เกลือบ้านใต้\" เป็น ต้น ท้ังหมดนส้ี บื เนอ่ื งมาจากหลักธรรมคาสอนของพระพทุ ธศาสนา เปน็ การใชภ้ ูมิปัญญา ในการนาเอาหลกั ของพระพุทธศาสนามา ประยุกตใ์ ช้กับชวี ิตประจาวนั และดาเนนิ กุศโลบาย ดา้ นต่างประเทศ จนทาใหช้ าว พทุ ธท่ัวโลกยกย่อง ใหป้ ระเทศไทยเป็นผนู้ าทางพุทธศาสนา และเป็น ท่ตี ั้งสานักงานใหญ่องค์การพทุ ธศาสนิก สมั พนั ธ์ แหง่ โลก (พสล.) อย่เู ยอ้ื งๆ กบั อุทยานเบญจสริ ิ กรุงเทพมหานคร โดยมีคนไทย (ฯพณฯ สญั ญา ธรรม ศกั ด์ิ องคมนตรี) ดารงตาแหนง่ ประธาน พสล. ตอ่ จาก ม.จ.หญงิ พูนพศิ มัย ดิศกุล 4. สรา้ งความสมดลุ ระหวา่ งคนในสังคม และธรรมชาติได้อย่างยงั่ ยืน ภูมปิ ัญญาไทยมีความเดน่ ชัดในเรอ่ื งของการยอมรับนบั ถือ และใหค้ วามสาคญั แก่คน สังคม และธรรมชาติอยา่ งย่ิง มเี ครื่องชีท้ แี่ สดงใหเ้ ห็นได้อยา่ งชัดเจนมากมาย เช่น ประเพณีไทย 12 เดือน ตลอดทั้งปี ล้วนเคารพคุณคา่ ของธรรมชาติ ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณลี อยกระทง เปน็ ต้น ประเพณีสงกรานต์ เป็นประเพณที ี่ทาใน ฤดรู ้อนซึง่ มอี ากาศร้อน ทาใหต้ อ้ งการความเย็น จึงมกี ารรดน้าดาหัว ทาความสะอาด บา้ นเรอื น และธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ ม มีการแห่นางสงกรานต์ การทานายฝนว่าจะตกมากหรอื นอ้ ยในแตล่ ะปี สว่ นประเพณลี อยกระทง คุณคา่ อย่ทู ี่การบูชา ระลึกถึงบญุ คณุ ของน้า ทีห่ ล่อเล้ียงชวี ติ ของ คน พชื และสัตว์ ใหไ้ ดใ้ ช้ท้ังบริโภคและอปุ โภค ในวันลอยกระทง คนจงึ ทาความสะอาดแมน่ ้า ลาธาร บชู าแมน่ า้ จากตัวอย่าง ขา้ งตน้ ล้วนเป็น ความสมั พันธร์ ะหว่างคนกบั สังคมและธรรมชาติ ทั้งส้นิ ในการรักษาปา่ ไม้ตน้ น้าลาธาร ได้ประยกุ ต์ให้มีประเพณกี ารบวชปา่ ให้คนเคารพสงิ่ ศักด์ิสทิ ธิ์ ธรรมชาติ และสภาพแวดลอ้ ม ยงั ความอุดมสมบูรณแ์ ก่ตน้ น้า ลาธาร ให้ฟืน้ สภาพกลบั คนื มาไดม้ าก อาชีพ การเกษตรเปน็ อาชีพหลักของคนไทย ท่ีคานงึ ถึงความสมดลุ ทาแต่น้อยพออยู่พอกิน แบบ \"เฮ็ดอยเู่ ฮด็ กนิ \" ของ พอ่ ทองดี นันทะ เม่ือเหลอื กนิ กแ็ จกญาติพนี่ ้อง เพ่ือนบ้าน บา้ นใกลเ้ รือนเคียง นอกจากน้ี ยงั นาไปแลกเปลีย่ น กบั สิ่งของอย่างอื่น ที่ตนไม่มี เมอ่ื เหลือใชจ้ รงิ ๆ จงึ จะนาไปขาย อาจกล่าวได้ว่า เป็นการเกษตรแบบ \"กนิ -แจก- แลก-ขาย\" ทาใหค้ นในสังคมไดช้ ่วยเหลอื เก้ือกูล แบ่งปนั กนั เคารพรกั นับถอื เปน็ ญาติกัน ท้งั หมู่บา้ น จงึ อยู่ ร่วมกันอยา่ งสงบสุข มคี วามสัมพนั ธ์กันอย่างแนบแน่น ธรรมชาตไิ ม่ถูกทาลายไปมากนกั เนอ่ื งจากทาพออยู่พอ กิน ไม่โลภมากและไม่ทาลายทกุ อย่างผิด กับในปัจจบุ ัน ถือเป็นภมู ปิ ญั ญาทีส่ ร้างความ สมดุลระหวา่ งคน สงั คม และธรรมชาติ 5. เปลี่ยนแปลงปรับปรงุ ไดต้ ามยุคสมัย แมว้ ่ากาลเวลาจะผา่ นไป ความรู้สมยั ใหม่ จะหล่ังไหลเข้ามามาก แตภ่ มู ิปญั ญาไทย กส็ ามารถ

ปรบั เปลย่ี นใหเ้ หมาะสมกับยุคสมยั เช่น การรูจ้ กั นาเคร่ืองยนต์มาติดตัง้ กับเรือ ใส่ใบพัด เปน็ หางเสือ ทาให้เรือ สามารถแล่นได้เรว็ ข้ึน เรียกว่า เรอื หางยาว การรู้จกั ทาการเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลกิ ฟ้นื คืน ธรรมชาติให้ อุดมสมบูรณ์แทนสภาพเดิมทีถ่ ูกทาลายไป การรู้จกั ออมเงนิ สะสมทุนให้สมาชกิ ก้ยู มื ปลดเปลือ้ ง หน้ีสนิ และจดั สวัสดิการแก่สมาชิก จนชมุ ชนมคี วามมั่นคง เขม้ แข็ง สามารถช่วยตนเองไดห้ ลายรอ้ ยหมู่บ้านทัว่ ประเทศ เช่น กล่มุ ออมทรัพย์ครี ีวง จังหวัดนครศรธี รรมราช จัดในรปู กองทนุ หมุนเวียนของชมุ ชน จนสามารถ ชว่ ยตนเองได้ เมื่อปา่ ถกู ทาลาย เพราะถูกตัดโค่น เพ่ือปลูกพชื แบบเดย่ี ว ตามภูมปิ ญั ญาสมยั ใหม่ ท่หี วงั รา่ รวย แต่ในท่สี ดุ ก็ขาดทุน และมีหน้สี ิน สภาพแวดลอ้ มสูญเสยี เกดิ ความแห้งแล้ง คนไทยจึงคิดปลูกป่า ท่ีกิน ได้ มพี ชื สวน พชื ปา่ ไม้ผล พชื สมนุ ไพร ซ่งึ สามารถมีกนิ ตลอดชีวิตเรียกว่า \"วนเกษตร\" บางพ้ืนท่ี เมื่อป่าชมุ ชน ถกู ทาลาย คนในชุมชนกร็ วมตัวกนั เป็นกลมุ่ รักษาปา่ รว่ มกันสรา้ งระเบยี บ กฎเกณฑ์กนั เอง ให้ทุกคนถือ ปฏบิ ัติได้ สามารถรักษาป่าได้อยา่ งสมบรู ณ์ดังเดิม เม่ือปะการังธรรมชาตถิ กู ทาลาย ปลาไมม่ ีทอ่ี ยู่อาศัย ประชาชนสามารถสร้าง \"อูหยัม\" ขนึ้ เป็นปะการังเทียม ให้ปลาอาศยั วางไข่ และแพร่พันธใุ์ หเ้ จริญเตบิ โต มีจานวนมากดงั เดิมได้ ถือเป็นการใช้ภูมิปญั ญาปรบั ปรงุ ประยุกต์ใช้ได้ตามยุคสมยั สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชนฯ เลม่ ท่ี 19 ใหค้ วามหมายของคาวา่ ภมู ปิ ญั ญาชาวบ้าน หมายถงึ ความรู้ของชาวบา้ น ซึ่งได้มาจากประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ้าน รวมทัง้ ความรู้ที่ ส่งั สมมาแต่บรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรนุ่ หนึ่งไปส่คู นอีกรุน่ หนงึ่ ระหวา่ งการสบื ทอดมีการปรับ ประยกุ ต์ และ เปลย่ี นแปลง จนอาจเกดิ เปน็ ความรูใ้ หม่ตามสภาพการณ์ทางสังคมวฒั นธรรม และ ส่งิ แวดล้อม ภมู ปิ ญั ญาเป็นความรู้ท่ีประกอบไปดว้ ยคุณธรรม ซึง่ สอดคลอ้ งกับวถิ ชี วี ติ ดั้งเดิมของชาวบ้าน ในวิถีดั้งเดมิ น้ัน ชีวติ ของชาวบา้ นไม่ไดแ้ บง่ แยกเป็นส่วนๆ หากแตท่ ุกอย่างมีความสัมพันธ์กัน การทามาหากนิ การอยู่รว่ มกันในชมุ ชน การปฏิบตั ิศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความร้เู ป็นคณุ ธรรม เมื่อผคู้ นใชค้ วามรู้นั้น เพื่อสรา้ งความสัมพันธท์ ดี่ ีระหว่าง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกบั สิง่ เหนอื ธรรมชาติ ความสมั พนั ธ์ทด่ี ี เป็นความสมั พนั ธ์ที่มีความสมดุล ที่เคารพกันและกัน ไมท่ ารา้ ยทาลายกนั ทาใหท้ กุ ฝา่ ยทุกส่วนอยูร่ ่วมกันได้ อย่างสนั ติ ชมุ ชนด้ังเดิมจงึ มกี ฎเกณฑ์ของการอยู่ร่วมกนั มีคนเฒา่ คนแก่เปน็ ผู้นา คอยให้คาแนะนาตักเตือน ตัดสนิ และลงโทษหากมกี ารละเมดิ ชาวบ้านเคารพธรรมชาตริ อบตัว ดนิ น้า ปา่ เขา ข้าว แดด ลม ฝน โลก และจกั รวาล ชาวบ้านเคารพผหู้ ลกั ผู้ใหญ่ พ่อแม่ ปู่ยา่ ตายาย ทงั้ ทมี่ ชี ีวิตอยู่และล่วงลับไปแล้ว ภูมิปัญญาจงึ เปน็ ความรทู้ ีม่ ีคุณธรรม เป็นความรู้ทมี่ ีเอกภาพของทกุ สิ่งทุกอยา่ ง เป็นความรวู้ ่า ทกุ ส่งิ ทุกอยา่ งสัมพันธ์กนั อย่างมีความสมดุล เราจงึ ยกย่องความรู้ขัน้ สูงส่ง อนั เป็นความรแู้ จ้งในความจรงิ แหง่ ชีวติ นี้ว่า \"ภูมิปญั ญา\" ความคิดและการแสดงออก เพื่อจะเขา้ ใจภมู ปิ ัญญาชาวบา้ น จาเป็นต้องเข้าใจความคดิ ของชาวบา้ นเกี่ยวกับ โลก หรือทเ่ี รียกว่า โลกทัศน์ และเก่ียวกบั ชวี ติ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ ชวี ทัศน์ สิ่งเหล่านเ้ี ปน็ นามธรรม อนั เกี่ยวขอ้ ง สัมพนั ธโ์ ดยตรงกับการแสดงออกใน ลักษณะตา่ งๆ ท่เี ปน็ รปู ธรรม แนวคดิ เรื่องความสมดุลของชวี ติ

เป็นแนวคิดพ้นื ฐานของภูมปิ ัญญาชาวบา้ น การแพทย์แผนไทย หรือที่เคยเรยี กกันวา่ การแพทยแ์ ผนโบราณนนั้ มีหลกั การวา่ คนมีสุขภาพดี เม่ือรา่ งกายมีความสมดุลระหว่างธาตทุ ้ัง ๔ คอื ดนิ นา้ ลม ไฟ คนเจบ็ ไขไ้ ด้ปว่ ย เพราะธาตุขาดความสมดลุ จะมกี ารปรบั ธาตุ โดยใช้ยาสมนุ ไพร หรอื วิธีการอน่ื ๆ คนเป็นไข้ตัวร้อน หมอยา พน้ื บ้านจะให้ยาเย็น เพื่อลดไข้ เปน็ ตน้ การดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั ก็เช่นเดยี วกัน ชาวบ้านเช่อื ว่า จะต้องรักษา ความสมดลุ ในความสัมพนั ธส์ ามดา้ น คือ ความสัมพันธ์กบั คนในครอบครัว ญาติพ่นี อ้ ง เพื่อนบ้านในชุมชน ความสัมพันธท์ ดี่ ีมหี ลักเกณฑ์ ท่บี รรพบรุ ษุ ได้สง่ั สอนมา เชน่ ลูกควรปฏิบตั อิ ยา่ งไรกับพ่อแม่ กบั ญาติพน่ี อ้ ง กบั ผ้สู ูงอายุ คนเฒ่าคนแก่ กับเพ่ือนบ้าน พ่อแม่ควรเล้ียงดลู ูกอยา่ งไร ความเออื้ อาทรต่อกันและกัน ช่วยเหลอื เก้ือกูลกัน โดยเฉพาะในยามทุกขย์ าก หรือมปี ัญหา ใครมีความสามารถพิเศษกใ็ ช้ความสามารถนัน้ ชว่ ยเหลอื ผู้อ่นื เชน่ บางคนเป็นหมอยา ก็ชว่ ยดูแลรักษาคนเจบ็ ป่วยไมส่ บาย โดยไมค่ ิดค่ารกั ษา มีแตเ่ พียงการยกครู หรือ การราลกึ ถงึ ครูบาอาจารย์ทีป่ ระสาทวิชามาให้เท่านัน้ หมอยาต้องทามาหากิน โดยการทานา ทาไร่ เลีย้ งสตั ว์ เหมือนกบั ชาวบ้านอ่ืนๆ บางคนมคี วามสามารถพิเศษดา้ นการทามาหากนิ ก็ช่วยสอนลูกหลานให้มวี ชิ าไปดว้ ย ความสมั พันธร์ ะหว่างคนกับคนในครอบครัว ในชุมชน มีกฎเกณฑ์เปน็ ข้อปฏบิ ัติ และข้อห้าม อยา่ งชัดเจน มีการแสดงออกทางประเพณี พธิ ีกรรม และกิจกรรมตา่ งๆ เช่น การรดนา้ ดาหวั ผใู้ หญ่ การบายศรี สู่ขวัญ เปน็ ตน้ ความสัมพันธ์กบั ธรรมชาติ ผูค้ นสมัยก่อนพึ่งพาอาศัยธรรมชาติแทบทุกดา้ น ตัง้ แตอ่ าหารการ กิน เครอ่ื งนุ่งห่ม ท่ีอยอู่ าศัย และยารกั ษาโรค วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยยี ังไม่พฒั นากา้ วหนา้ เหมอื นทกุ วันนี้ ยังไม่มรี ะบบการค้าแบบสมยั ใหม่ ไม่มีตลาด คนไปจบั ปลาล่าสตั ว์ เพอื่ เป็นอาหารไปวนั ๆ ตดั ไม้ เพอ่ื สรา้ งบ้าน และใช้สอยตามความจาเปน็ เท่านัน้ ไม่ได้ทาเพ่ือการคา้ ชาวบ้านมีหลักเกณฑใ์ นการใช้สิ่งของในธรรมชาติ ไม่ ตัดไม้อ่อน ทาให้ตน้ ไม้ในปา่ ขึ้นแทนต้นท่ถี ูกตัดไปไดต้ ลอดเวลา ชาวบา้ นยังไมร่ ้จู ักสารเคมี ไม่ใช้ยาฆ่าแมลง ฆ่าหญ้า ฆา่ สัตว์ ไม่ใช้ปุ๋ยเคมี ใช้ส่ิงของในธรรมชาติใหเ้ ก้ือกูลกัน ใชม้ ูลสัตว์ ใบไม้ใบ หญ้าทเี่ น่าเปอื่ ยเป็นปยุ๋ ทาใหด้ นิ อุดมสมบรู ณ์ นา้ สะอาด และไม่เหือดแหง้ ชาวบ้านเคารพธรรมชาติ เช่อื ว่า มีเทพมีเจ้าสถิตอยู่ในดิน น้า ปา่ เขา สถานทที่ ุกแหง่ จะทาอะไรต้องขออนุญาต และทาดว้ ยความเคารพ และพอดี พองาม ชาวบา้ น รคู้ ณุ ธรรมชาติ ทไ่ี ด้ใหช้ ีวิตแก่ตน พธิ กี รรมตา่ งๆ ลว้ นแสดงออกถงึ แนวคิดดงั กลา่ ว เชน่ งานบุญพิธี ทเ่ี กยี่ วกบั นา้ ข้าว ปา่ เขา รวมถึงสัตว์ บ้านเรอื น เครื่องใชต้ ่างๆ มพี ิธีสู่ขวญั ข้าว ส่ขู วญั ควาย สูข่ วญั เกวยี น ทางอสี านมี พธิ ีแฮกนา หรือแรกนา เลย้ี งผตี าแฮก มีงานบญุ บา้ น เพ่อื เล้ยี งผี หรือสิ่งศกั ดิ์สิทธิ์ประจาหมูบ่ ้าน เปน็ ตน้ ความสมั พนั ธ์กับสิ่งเหนอื ธรรมชาติ ชาวบ้านรวู้ า่ มนุษยเ์ ป็นเพยี งสว่ นเลก็ ๆ สว่ นหนง่ึ ของ จักรวาล ซึ่งเต็มไปดว้ ยความเร้นลับ มีพลงั และอานาจ ที่เขาไม่อาจจะหาคาอธิบายได้ ความเร้นลับดงั กลา่ ว รวมถงึ ญาติพี่นอ้ ง และผคู้ นท่ีลว่ งลบั ไปแล้ว ชาวบ้านยังสัมพนั ธ์กับพวกเขา ทาบุญ และราลึกถึงอย่างสมา่ เสมอ ทุกวนั หรอื ในโอกาสสาคญั ๆ นอกนัน้ เป็นผดี ี ผรี า้ ย เทพเจา้ ตา่ งๆ ตามความเชอื่ ของแตล่ ะแห่ง สงิ่ เหลา่ นีส้ งิ สถติ อยูใ่ นสง่ิ ตา่ งๆ ในโลก ในจักรวาล และอยู่บนสรวงสวรรคก์ ารทามาหากิน แม้วถิ ีชีวติ ของชาวบ้านเมื่อกอ่ นจะดูเรยี บง่ายกวา่ ทกุ วันนี้ และยังอาศัยธรรมชาติ และ

แรงงานเป็นหลัก ในการทามาหากนิ แต่พวกเขาก็ตอ้ งใชส้ ตปิ ญั ญา ทบ่ี รรพบรุ ุษถ่ายทอดมาให้ เพื่อจะได้อยู่ รอด ทง้ั นี้เพราะปัญหาต่างๆ ในอดตี กย็ ังมีไม่นอ้ ย โดยเฉพาะเมื่อครอบครัวมีสมาชิกมากข้ึน จาเปน็ ต้องขยายท่ี ทากิน ตอ้ งหักร้างถางพง บกุ เบกิ พ้นื ท่ีทากินใหม่ การปรบั พ้ืนท่ปี ้ันคันนา เพื่อทานา ซง่ึ เป็นงานทห่ี นัก การทา ไรท่ านา ปลูกพชื เล้ียงสัตว์ และดแู ลรักษาให้เติบโต และไดผ้ ล เปน็ งานท่ีต้องอาศยั ความรู้ความสามารถ การ จบั ปลาลา่ สตั วก์ ็มวี ิธกี าร บางคนมคี วามสามารถมากรู้ว่า เวลาไหน ทใี่ ด และวิธีใด จะจับปลาไดด้ ีท่สี ดุ คนทีไ่ ม่ เกง่ กต็ ้องใชเ้ วลานาน และได้ปลานอ้ ย การล่าสัตว์ก็เชน่ เดียวกัน การจดั การแหล่งน้า เพื่อการเกษตร กเ็ ปน็ ความร้คู วามสามารถ ท่ีมีมาแตโ่ บราณ คนทาง ภาคเหนือร้จู กั บรหิ ารนา้ เพื่อการเกษตร และเพอ่ื การบรโิ ภคต่างๆ โดยการจดั ระบบเหมืองฝาย มกี ารจัด แบง่ ปนั น้ากันตามระบบประเพณีที่ สืบทอดกนั มา มีหวั หน้าทท่ี ุกคนยอมรับ มีคณะกรรมการจัดสรรน้าตาม สดั ส่วน และตามพ้นื ท่ีทากิน นับเป็นความรทู้ ่ีทาใหช้ มุ ชนต่างๆ ทอี่ าศัยอยู่ใกลล้ านา้ ไม่วา่ ตน้ นา้ หรือปลายน้า ไดร้ ับการแบง่ ปันน้าอยา่ งยตุ ิธรรม ทุกคนได้ประโยชน์ และอยู่ร่วมกันอย่างสนั ติ ชาวบ้านรูจ้ กั การแปรรูปผลติ ผลในหลายรปู แบบ การถนอมอาหารให้กินไดน้ าน การดองการ หมัก เช่น ปลารา้ นา้ ปลา ผักดอง ปลาเค็ม เน้อื เคม็ ปลาแห้ง เนอ้ื แห้ง การแปรรูปขา้ ว ก็ทาได้มากมายนบั ร้อย ชนดิ เช่น ขนมต่างๆ แตล่ ะพิธีกรรม และแตล่ ะงานบญุ ประเพณี มีข้าวและขนมในรูปแบบไม่ซ้ากนั ตั้งแต่ ขนมจนี สงั ขยา ไปถึงขนมในงานสารท กาละแม ขนมครก และอนื่ ๆ ซ่ึงยังพอมีใหเ้ ห็นอยู่จานวนหนง่ึ ใน ปจั จบุ นั ส่วนใหญป่ รบั เปล่ียนมาเป็นการผลติ เพื่อขาย หรอื เป็นอตุ สาหกรรมในครวั เรอื น ความรูเ้ รอ่ื งการปรงุ อาหารก็มีอยมู่ ากมาย แต่ละท้องถน่ิ มรี ูปแบบ และรสชาตแิ ตกต่างกันไป มีมากมายนับรอ้ ยนบั พันชนิด แม้ในชวี ติ ประจาวนั จะมเี พียงไม่กีอ่ ย่าง แตโ่ อกาสงานพธิ ี งาน เลยี้ ง งานฉลอง สาคญั จะมีการจัดเตรยี มอาหารอย่างดี และพิถพี ิถนั การทามาหากินในประเพณีเดมิ นั้น เป็นท้งั ศาสตรแ์ ละ ศิลป์ การเตรยี มอาหาร การจัดขนม และผลไม้ ไม่ไดเ้ ป็นเพียงเพือ่ ให้รบั ประทานแลว้ อร่อย แตใ่ ห้ไดค้ วาม สวยงาม ทาให้สามารถสัมผัสกบั อาหารนน้ั ไม่เพียงแต่ทางปาก และรสชาตขิ องล้นิ แตท่ างตา และทางใจ การ เตรียมอาหารเปน็ งานศลิ ปะ ทป่ี รงุ แต่ด้วยความต้ังใจ ใชเ้ วลา ฝมี อื และความรคู้ วามสามารถ ชาวบา้ น สมยั ก่อนสว่ นใหญจ่ ะทานาเป็นหลัก เพราะเมอื่ มีข้าวแลว้ ก็สบายใจ อยา่ งอ่ืนพอหาได้จากธรรมชาติ เสร็จหนา้ นาก็จะทางานหตั ถกรรม การทอผา้ ทาเส่ือ เลีย้ งไหม ทาเครื่องมือ สาหรบั จับสตั ว์ เครือ่ งมอื การเกษตร และ อปุ กรณ์ตา่ งๆ ท่จี าเป็น หรอื เตรียมพ้นื ที่ เพอ่ื การทานาครง้ั ตอ่ ไป หตั ถกรรมเป็นทรพั ย์สิน และมรดกทางภูมปิ ญั ญาทย่ี ิง่ ใหญ่ท่ีสดุ อยา่ งหน่ึงของบรรพบุรุษ เพราะเปน็ สื่อที่ถา่ ยทอดอารมณ์ ความรสู้ ึก ความคดิ ความเชื่อ และคุณคา่ ตา่ งๆ ท่สี ั่งสมมาแตน่ มนาน ลายผ้า ไหม ผา้ ฝา้ ย ฝมี อื ในการทออยา่ งประณตี รปู แบบเคร่ืองมือ ทสี่ านด้วยไมไ้ ผ่ และอปุ กรณ์ เครอ่ื งใชไ้ ม้สอยต่างๆ เครอื่ งดนตรี เครื่องเลน่ สิง่ เหลา่ นีไ้ ดถ้ กู บรรจงสร้างข้นึ มา เพือ่ การใช้สอย การทาบุญ หรือการอุทศิ ใหใ้ ครคน หนง่ึ ไมใ่ ช่เพื่อการคา้ ขาย ชาวบา้ นทามาหากินเพยี งเพื่อการยงั ชีพ ไม่ได้ทาเพื่อขาย มีการนาผลติ ผลส่วนหน่ึง

ไปแลกส่งิ ของที่จาเปน็ ท่ตี นเองไมม่ ี เช่น นาขา้ วไป แลกเกลอื พริก ปลา ไก่ หรอื เส้ือผ้า การขายผลิตผลมีแต่ เพียงสว่ นนอ้ ย และเมือ่ มีความจาเป็นต้องใชเ้ งนิ เพื่อเสียภาษีให้รฐั ชาวบ้านนาผลิตผล เชน่ ข้าว ไปขายใน เมืองให้กับพ่อคา้ หรือขายให้กบั พ่อค้าท้องถิน่ เช่น ทางภาคอสี าน เรยี กวา่ \"นายฮ้อย\" คนเหล่านจี้ ะนาผลติ ผล บางอย่าง เช่น ขา้ ว ปลาร้า ววั ควาย ไปขายในที่ไกลๆ ทางภาคเหนอื มีพ่อคา้ ววั ตา่ งๆ เปน็ ต้น แม้ว่าความรู้เร่ืองการคา้ ขายของคนสมัยกอ่ น ไม่อาจจะนามาใช้ในระบบตลาดเช่นปัจจุบนั ได้ เพราะสถานการณ์ได้เปล่ียนแปลงไปอย่างมาก แต่การค้าที่มีจริยธรรมของพ่อค้าในอดีต ทไี่ ม่ไดห้ วังแตเ่ พียง กาไร แต่คานงึ ถึงการช่วยเหลอื แบ่งปนั กันเปน็ หลกั ยงั มีคุณค่าสาหรบั ปัจจบุ นั นอกนั้น ในหลายพนื้ ท่ีในชนบท ระบบการแลกเปลย่ี นส่ิงของยังมีอยู่ โดยเฉพาะในพ้นื ทยี่ ากจน ซ่ึงชาวบ้านไม่มีเงินสด แต่มผี ลิตผลตา่ งๆ ระบบ การแลกเปลี่ยนไม่ได้ยดึ หลกั มาตราชงั่ วัด หรอื การตีราคาของสิง่ ของ แต่แลกเปลย่ี น โดยการคานึงถงึ สถานการณ์ของผู้แลกทัง้ สองฝา่ ย คนทเี่ อาปลาหรือไกม่ าขอแลกข้าว อาจจะได้ข้าวเปน็ ถัง เพราะเจ้าของข้าว คานงึ ถงึ ความจาเปน็ ของครอบครวั เจา้ ของไก่ ถา้ หากตีราคาเป็นเงนิ ข้าวหนึง่ ถังย่อมมีคา่ สงู กว่าไกห่ นึง่ ตัว การอยูร่ ่วมกันในสงั คม การอยรู่ ว่ มกันในชุมชนด้ังเดิมนนั้ สว่ นใหญ่จะเปน็ ญาตพิ นี่ ้องไม่กต่ี ระกลู ซ่ึงได้อพยพย้ายถ่ินฐานมา อยู่ หรือสืบทอดบรรพบรุ ุษจนนบั ญาติกนั ไดท้ ั้งชุมชน มีคนเฒา่ คนแก่ท่ีชาวบา้ นเคารพนับถอื เปน็ ผ้นู าหน้าที่ ของผนู้ า ไมใ่ ช่การสง่ั แตเ่ ป็นผใู้ หค้ าแนะนาปรึกษา มคี วามแมน่ ยาในกฎระเบียบประเพณีการดาเนินชีวิต ตดั สนิ ไกลเ่ กลีย่ หากเกิดความขัดแยง้ ชว่ ยกันแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ข้นึ ปัญหาในชมุ ชนก็มไี ม่นอ้ ย ปัญหา การทามาหากิน ฝนแล้ง น้าท่วม โรคระบาด โจรลกั วัวควาย เป็นตน้ นอกจากน้ัน ยังมีปัญหาความขดั แย้ง ภายในชมุ ชน หรอื ระหวา่ งชมุ ชน การละเมิดกฎหมาย ประเพณี ส่วนใหญจ่ ะเปน็ การ \" ผิดผ\"ี คอื ผขี องบรรพ บรุ ุษ ผซู้ ึง่ ไดส้ รา้ งกฎเกณฑ์ต่างๆ ไว้ เช่น กรณที ชี่ ายหนุ่มถูกเนอื้ ต้องตวั หญงิ สาวทยี่ งั ไม่แตง่ งาน เป็นต้น หาก เกิดการผิดผีขึ้นมา กต็ ้องมีพธิ ีกรรมขอขมา โดยมีคนเฒ่าคนแก่เป็นตัวแทนของบรรพบรุ ุษ มีการวา่ กลา่ วสั่ง สอน และชดเชยการทาผิดน้นั ตามกฎเกณฑ์ท่ีวางไว้ ชาวบา้ นอย่อู ยา่ งพง่ึ พาอาศยั กัน ยามเจบ็ ไข้ได้ป่วย ยาม เกิดอุบตั ิเหตุเภทภัย ยามท่ีโจรขโมยววั ควายขา้ วของ การช่วยเหลือกันทางานทีเ่ รยี กกนั วา่ การลงแขก ท้งั แรงกายแรงใจทม่ี ีอยู่กจ็ ะแบง่ ปันช่วยเหลอื เออื้ อาทรกัน การ แลกเปลยี่ นสิง่ ของ อาหารการกนิ และอ่ืนๆ จงึ เกย่ี วขอ้ งกับวิถีของชุมชน ชาวบ้านช่วยกนั เกบ็ เก่ียวขา้ ว สรา้ งบ้าน หรอื งานอนื่ ทต่ี ้องการคนมากๆ เพื่อจะได้ เสรจ็ โดยเรว็ ไม่มกี ารจา้ ง กรณีตวั อย่างจากการปลูกข้าวของชาวบ้าน ถา้ ปหี น่งึ ชาวนาปลกู ข้าวได้ผลดี ผลติ ผลท่ีได้จะใช้เพ่ือการ บริโภคในครอบครัว ทาบุญท่ีวัด เผอ่ื แผ่ใหพ้ ่นี ้องที่ขาดแคลน แลกของ และเก็บไว้ เผ่ือวา่ ปหี นา้ ฝนอาจแลง้ น้า อาจทว่ ม ผลิตผล อาจไมด่ ใี นชมุ ชนตา่ งๆ จะมีผมู้ ีความร้คู วามสามารถหลากหลาย บางคนเก่งทางการรกั ษา โรค บางคนทางการเพาะปลูกพชื บางคนทางการเลย้ี งสตั ว์ บางคนทางด้านดนตรีการละเลน่ บางคนเก่ง ทางด้านพิธกี รรม คนเหล่านตี้ ่างก็ใช้ความสามารถ เพอ่ื ประโยชนข์ องชุมชน โดยไมถ่ ือเป็นอาชีพ ท่ีมี

ค่าตอบแทน อย่างมากก็มี \"ค่าครู\" แตเ่ พยี งเล็กน้อย ซึ่งปกติแล้ว เงนิ จานวนน้ัน กใ็ ช้สาหรับเครื่องมอื ประกอบ พิธีกรรม หรอื เพ่อื ทาบุญทีว่ ัด มากกว่าที่หมอยา หรือบุคคลผู้นั้น จะเกบ็ ไวใ้ ชเ้ อง เพราะแทท้ จ่ี รงิ แลว้ \"วชิ า\" ท่ี ครถู ่ายทอดมาให้แกล่ ูกศิษย์ จะตอ้ งนาไปใช้ เพอ่ื ประโยชนแ์ ก่สังคม ไม่ใชเ่ พอ่ื ผลประโยชน์ส่วนตัว การตอบ แทนจงึ ไมใ่ ชเ่ งนิ หรือส่งิ ของเสมอไป แตเ่ ป็นการชว่ ยเหลือเกื้อกูลกันโดยวิธกี ารตา่ ง ๆ ดว้ ยวิถีชวี ติ เชน่ นี้ จงึ มี คาถาม เพื่อเปน็ การสอนคนรุ่นหลังว่า ถ้าหากคนหนึง่ จบั ปลาชอ่ นตัวใหญ่ได้หน่งึ ตวั ทาอย่างไรจงึ จะกินได้ทัง้ ปี คนสมยั นี้อาจจะบอกว่า ทาปลาเคม็ ปลาร้า หรือเก็บรกั ษาดว้ ยวิธกี ารต่างๆ แตค่ าตอบที่ถกู ต้อง คือ แบ่งปนั ให้ พ่นี ้อง เพือ่ นบา้ น เพราะเม่ือเขาไดป้ ลา เขาก็จะทากบั เราเช่นเดยี วกนั ชีวติ ทางสังคมของหมบู่ ้าน มศี นู ย์กลาง อยู่ทีว่ ัด กจิ กรรมของสว่ นรวม จะทากนั ท่ีวัด งานบญุ ประเพณีตา่ งๆ ตลอดจนการละเลน่ มหรสพ พระสงฆเ์ ปน็ ผนู้ าทางจติ ใจ เป็นครูท่สี อนลูกหลานผู้ชาย ซ่ึงไปรบั ใช้พระสงฆ์ หรอื \"บวชเรยี น\" ทงั้ นี้เพราะก่อนน้ยี ังไม่มี โรงเรียน วดั จงึ เปน็ ทั้งโรงเรยี น และหอประชุม เพ่ือกิจกรรมต่างๆ ต่อเม่ือโรงเรียนมขี นึ้ และแยกออกจากวัด บทบาทของวดั และของพระสงฆ์ จงึ เปลยี่ นไป งานบญุ ประเพณีในชุมชนแต่ก่อนมีอยูท่ กุ เดือน ต่อมาก็ลดลงไป หรอื สองสามหมบู่ า้ นร่วมกันจดั หรอื ผลัดเปลยี่ นหมุนเวียนกัน เช่น งานเทศนม์ หาชาติ ซ่ึงเป็นงานใหญ่ หมู่บา้ นเลก็ ๆ ไม่อาจจะจดั ได้ทุกปี งาน เหลา่ นี้มที งั้ ความเช่ือ พิธกี รรม และความสนุกสนาน ซ่งึ ชุมชนแสดงออกร่วมกัน ระบบคุณค่า ความเช่ือในกฎเกณฑป์ ระเพณี เป็นระเบยี บทางสงั คมของชมุ ชนดั้งเดมิ ความเช่อื นี้เปน็ รากฐานของระบบ คุณคา่ ต่างๆ ความกตัญญรู ู้คุณต่อพ่อแม่ ปูย่ ่าตายาย ความเมตตาเออื้ อาทรตอ่ ผู้อื่น ความเคารพต่อสง่ิ ศกั ดิ์สิทธิ์ ในธรรมชาติรอบตัว และในสากลจกั รวาล ความเช่อื \"ผ\"ี หรือส่งิ ศกั ด์สิ ทิ ธิ์ในธรรมชาติ เปน็ ทีม่ าของการดาเนนิ ชวี ติ ทงั้ ของสว่ นบคุ คล และของ ชุมชน โดยรวมการเคารพในผีปตู่ า หรือผปี ู่ย่า ซ่ึงเปน็ ผีประจาหมบู่ ้าน ทาใหช้ าวบ้านมคี วามเปน็ หน่งึ เดยี วกัน เป็นลกู หลานของปู่ตาคนเดยี วกนั รกั ษาป่าที่มีบ้านเล็กๆ สาหรบั ผี ปลกู อยตู่ ิดหม่บู า้ น ผปี ่า ทาใหค้ นตัดไมด้ ้วย ความเคารพ ขออนญุ าตเลอื กตดั ต้นแก่ และปลกู ทดแทน ไมท่ ง้ิ สิ่งสกปรกลงแมน่ ้า ดว้ ยความเคารพในแม่คงคา กินขา้ วด้วยความเคารพ ในแม่โพสพ คนโบราณกินขา้ วเสร็จ จะไหว้ข้าว พิธบี ายศรสี ูข่ วัญ เป็นพิธรี ื้อฟ้ืน กระชบั หรือสรา้ งความสัมพนั ธร์ ะหว่างผ้คู น คนจะเดินทางไกล หรอื กลบั จากการเดินทาง สมาชิกใหม่ ในชุมชน คนป่วย หรือกาลงั ฟ้นื ไข้ คนเหล่านจ้ี ะได้รบั พิธีสู่ขวญั เพ่ือให้เปน็ สิรมิ งคล มีความอย่เู ยน็ เปน็ สุข นอกนน้ั ยงั มพี ธิ สี บื ชะตาชีวิตของบุคคล หรอื ของชมุ ชน นอกจากพธิ ีกรรมกบั คนแลว้ ยงั มพี ิธกี รรมกบั สัตว์และธรรมชาติ มีพิธีสู่ขวัญขา้ ว สู่ขวญั ควาย สู่ขวัญ เกวยี น เปน็ การแสดงออกถงึ การขอบคณุ การขอขมา พธิ ีดังกลา่ วไมไ่ ดม้ คี วามหมายถึงวา่ สิง่ เหลา่ น้มี จี ิต มผี ีใน ตวั มันเอง แต่เปน็ การแสดงออก ถึงความสัมพันธก์ ับจติ และส่ิงศักดิ์สิทธิ์ อนั เป็นสากลในธรรมชาติท้ังหมด ทา ให้ผคู้ นมีความสัมพนั ธอ์ นั ดีกับทกุ สง่ิ คนขับแท็กซใี่ นกรุงเทพฯ ที่มาจากหม่บู ้าน ยงั ซอื้ ดอกไม้ แลว้ แขวนไว้ท่ี

กระจกในรถ ไม่ใชเ่ พื่อเซ่นไหว้ผใี นรถแทก็ ซี่ แต่เปน็ การราลกึ ถงึ ส่ิงศักดส์ิ ทิ ธ์ิ ใน สากลจักรวาล รวมถงึ ทส่ี ิงอยู่ ในรถคนั น้ัน ผคู้ นสมัยก่อนมีความสานกึ ในข้อจากัดของตนเอง รู้วา่ มนุษยม์ ีความอ่อนแอ และเปราะบาง หากไมร่ ักษาความสมั พันธอ์ ันดี และไม่คงความสมดุลกบั ธรรมชาติรอบตวั ไว้ เขาคงไม่สามารถมีชวี ติ ได้อย่าง เปน็ สขุ และยนื นาน ผ้คู นท่ัวไปจึงไมม่ ีความอวดกล้าในความสามารถของตน ไมท่ ้าทายธรรมชาติ และส่งิ ศักด์สิ ิทธ์ิ มคี วามอ่อนนอ้ มถ่อมตน และรกั ษากฎระเบียบประเพณอี ยา่ งเครง่ ครัด ชวี ติ ของชาวบา้ นในรอบหนึง่ ปี จึงมีพิธกี รรมทุกเดือน เพื่อแสดงออกถึงความเชื่อ และความสมั พันธ์ ระหวา่ งผ้คู นในสังคม ระหว่างคนกบั ธรรมชาติ และระหว่างคนกบั ส่งิ ศักดส์ิ ิทธิ์ตา่ งๆ ดังกรณีงานบญุ ประเพณี ของชาวอีสานท่เี รยี กวา่ ฮีตสิบสอง คือ เดือนอ้าย (เดอื นท่ีหนึ่ง) บุญเขา้ กรรม ให้พระภกิ ษุเข้าปริวาสกรรม เดอื นย่ี (เดือนทีส่ อง) บญุ คูณลาน ให้นาข้าวมากองกนั ทล่ี าน ทาพิธกี ่อนนวด เดือนสาม บุญข้าวจี่ ให้ถวาย ข้าวจ่ี (ขา้ วเหนยี วป้นั ชุบไข่ทาเกลอื นาไปย่างไฟ) เดอื นส่ี บุญพระเวส ให้ฟังเทศนม์ หาชาติ คือ เทศน์เรือ่ งพระ เวสสันดรชาดก เดือนห้า บญุ สรงนา้ หรอื บญุ สงกรานต์ ให้สรงน้าพระ ผเู้ ฒา่ ผู้แก่ เดือนหก บญุ บ้งั ไฟ บชู า พญาแถน ตามความเชือ่ เดิม และบญุ วิสาฆบชู า ตามความเช่ือของชาวพทุ ธ เดือนเจด็ บุญซาฮะ (บญุ ชาระ) ใหบ้ นบานพระภูมเิ จา้ ที่ เล้ยี งผปี ูต่ า เดอื นแปด บญุ เขา้ พรรษา เดือนเก้า บุญขา้ วประดับดิน ทาบุญอุทิศสว่ น กุศลใหญ้ าติพี่น้องผูล้ ว่ งลับ เดือนสิบ บญุ ขา้ วสาก ทาบุญเช่นเดือนเก้า รวมให้ผไี มม่ ญี าติ (ภาคใตม้ ีพธิ ีคล้ายกัน คอื งานพิธเี ดอื นสิบ ทาบุญให้แก่บรรพบรุ ุษผ้ลู ่วงลับไปแล้ว แบ่งขา้ วปลาอาหารสว่ นหนึ่งให้แก่ผไี ม่มีญาติ พวก เด็กๆ ชอบแยง่ กันเอาของท่ีแบง่ ให้ผไี ม่มีญาติหรือเปรต เรียกว่า \"การชงิ เปรต\") เดอื นสบิ เอ็ด บุญออกพรรษา เดอื นสิบสอง บญุ กฐิน จดั งานกฐิน และลอยกระทง ภูมปิ ัญญาชาวบ้านในสังคมปัจจบุ ัน ภูมิปัญญาชาวบา้ นได้ก่อเกิด และสืบทอดกันมาในชุมชนหมบู่ า้ น เมอื่ หมู่บา้ นเปลย่ี นแปลงไปพรอ้ มกบั สงั คมสมัยใหม่ ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ นกม็ กี ารปรบั ตวั เชน่ เดยี วกนั ความรู้ จานวนมากไดส้ ญู หายไป เพราะไมม่ ีการปฏบิ ัตสิ ืบทอด เช่น การรักษาพน้ื บ้านบางอย่าง การใช้ยาสมุนไพรบาง ชนิด เพราะหมอยาทเี่ ก่งๆ ได้เสียชีวติ โดยไมไ่ ดถ้ า่ ยทอดให้กับคนอื่น หรือถา่ ยทอด แตค่ นตอ่ มาไม่ไดป้ ฏิบตั ิ เพราะชาวบา้ นไม่นยิ มเหมือนเมอื่ ก่อน ใชย้ าสมัยใหม่ และไปหาหมอ ที่โรงพยาบาล หรือคลนิ กิ งา่ ยกว่า งาน หัตถกรรม ทอผา้ หรือเคร่ืองเงิน เครอื่ งเขิน แมจ้ ะยังเหลืออยไู่ มน่ ้อย แต่กไ็ ด้ถูกพฒั นาไปเป็นการคา้ ไม่ สามารถรกั ษาคุณภาพ และฝีมือแบบด้ังเดิมไว้ได้ ในการทามาหากนิ มีการใชเ้ ทคโนโลยีทนั สมัย ใช้รถไถแทน ควาย รถอีแตน๋ แทนเกวยี น การลงแขกทานา และปลกู สร้างบ้านเรือน ก็เกือบจะหมดไป มกี ารจา้ งงานกันมากขึ้น แรงงานก็หา ยากกว่าแต่ก่อน ผู้คนอพยพย้ายถิน่ บา้ งกเ็ ข้าเมือง บา้ งก็ไปทางานท่ีอน่ื ประเพณีงานบญุ กเ็ หลือไม่มาก ทาได้ ก็ต่อเม่ือ ลกู หลานทจ่ี ากบ้านไปทางาน กลับมาเยี่ยมบา้ นในเทศกาลสาคัญๆ เชน่ ปใี หม่ สงกรานต์ เข้าพรรษา เป็นตน้

สังคมสมัยใหม่มีระบบการศึกษาในโรงเรียน มีอนามยั และโรงพยาบาล มีโรงหนัง วทิ ยุ โทรทศั น์ และ เคร่ืองบันเทงิ ตา่ งๆ ทาใหช้ วี ิตทางสังคมของชมุ ชนหมบู่ า้ นเปลย่ี นไป มีตารวจ มีโรงมศี าล มเี จ้าหนา้ ทีร่ าชการ ฝา่ ยปกครอง ฝา่ ยพฒั นา และอ่ืนๆ เข้าไปในหมบู่ ้าน บทบาทของวดั พระสงฆ์ และคนเฒ่าคนแกเ่ ริ่มลดนอ้ ยลง การทามาหากนิ ก็เปลีย่ นจากการทาเพือ่ ยังชีพไปเป็นการผลิตเพ่อื การขาย ผู้คนต้องการเงนิ เพื่อซ้ือเคร่อื ง บรโิ ภคตา่ งๆ ทาใหส้ ่ิงแวดล้อม เปลี่ยนไป ผลิตผลจากป่าก็หมด สถานการณเ์ ช่นนีท้ าให้ผูน้ าการพฒั นาชมุ ชน หลายคน ท่ีมบี ทบาทสาคญั ในระดับจงั หวัด ระดบั ภาค และระดับประเทศ เริ่มเหน็ ความสาคญั ของภมู ปิ ญั ญา ชาวบ้าน หนว่ ยงานทางภาครฐั และภาคเอกชน ใหก้ ารสนับสนุน และสง่ เสรมิ ใหม้ ีการอนุรกั ษ์ ฟน้ื ฟู ประยุกต์ และค้นคิดสง่ิ ใหม่ ความรใู้ หม่ เพื่อประโยชน์สุขของสงั คม

ความเป็นมาและความสาคญั ของการทาขนมเทียน ขนมเทยี น เป็นขนมไทยด้ังเดิมท่ีเขา้ ใจว่าดัดแปลงมาจากขนมเขง่ ของชาวจีนเชือ้ สายไทยทนี่ ยิ มทาใน วนั สารทจนี แตจ่ ะห่อด้วยใบตองเปน็ รูปสาเหลี่ยม และยัดด้วยไสต้ ่างๆ ส่วนชาวอีสานจะเรียกขนมเทยี นน้ีวา่ ขนมหมก ท่นี ิยมทากันในช่วงเทศกาลงานบญุ โดยเนอ้ื ขนมถกู หอ่ ด้วยใบตองเป็นรปู สามเหลี่ยม เนื้อขนม เหนยี ว ยดั ไส้ด้วยรสหวานมัน ขนมเทยี นมชี ่ือเรยี กแตกต่างกันในแตล่ ะท้องถน่ิ แต่ชอื่ หลกั และนิยมใชจ้ ะเปน็ ขนมเทียน สว่ นช่อื ทม่ี ัก เรยี กตา่ ง ได้แก่ ขนมจอ๊ ก ทางภาคเหนอื สว่ นทางภาคกลางเรียก ขนมนมสาว ภาคอสี านเรยี กขนมหมก ทง้ั น้ี ขนมเทียนจะมีวธิ ีทาคลา้ ยกับขนมเขง่ ทช่ี าวจีนไวไ้ หว้เจ้า แต่จะแตกต่างกันที่การหอ่ โดยขนมเทยี นจะห่อ ทบั ด้วยใบตองเปน็ รูปสามเหลี่ยม แตข่ นมเขง่ จะหอ่ ใบตองเปน็ เขง่ แลว้ ค่อยเทน้าแป้งลงกอ่ นนาไปนงึ่ ขนม ชนิดนี้ มักนิยมทาในภาคอีสานเชน่ กนั โดยเฉพาะงานบญุ อุทศิ กุศลให้แก่คนตาย และงานวนั ออกพรรษา ซึ่งมี ลักษณะเดยี วกับขนมเทียน ซึ่งชาวอสี านเรียกว่า ขนมหมก ซ่ึงจะหอ่ ดว้ ยใบตองเปน็ รูปสามเหลี่ยม เนือ้ ขนมทา จากแป้งข้าวเหนียว ยัดไส้ด้วยเครอื่ งผสมของทงั้ ไสเ้ คม็ และไสห้ วาน คนไทยเชื้อสายจนี มักมสี ูตรลับในการนวดแปง้ ใหน้ มุ่ เหนยี ว คือ การใสน่ ้าต้มของหญ้าชวิ คักลงผสม ขณะนวดแปง้ ซงึ่ จะช่วยใหเ้ นอื้ ขนมเทยี นนมุ่ มากขึน้ อกี ทงั้ ช่วยเพมิ่ กลิ่นหอมให้แก่ขนมเทยี น หญ้านี้ จะพบ ขายตามรา้ นขายสมนุ ไพรจีนโบราณหรอื ในกล่มุ ของชาวจนี เปน็ สว่ นใหญ่ หญา้ ชิวคกั หรอื บางครั้งเรียกวา่ หญา้ ขนมเทียน มชี อื่ วทิ ยาศาสตรว์ า่ Gnaphaliumpolycaulon Pers. วงศ์ AsteraceaeDumortจัดเป็นพชื ลม้ ลุกท่ีพบได้ในทุกภาค โดยเฉพาะภาคกลางที่พบได้ทวั่ ไปตามสวน ไรน่ า ลาต้นมักแทงกอในช่วงปลายฝนถงึ ตน้ หนาวประมาณเดือนตุลาคม-พฤศจิกายนหญ้าซวิ คกั มีลาต้นเปน็ เน้อื เยอ่ื อ่อน เปราะหักง่าย ลาตน้ กลมเลก็ ต้นอ่อนมีสีเขยี ว เมอื่ โตเต็มทจ่ี ะมีขนสขี าวอมเทาเปน็ เส้นใยยาวปก คลุมทวั่ ลาต้นแตกก่ิงแขนงออกจานวนมาก ทาให้กลายเป็นกอใหญ่ ส่วนใบมรี ูปเรียวรี ใบของตน้ อ่อนมีสีเขยี ว อ่อน และเม่ือแก่มีสีเขียวเงิน และมขี นสั้นๆปกคลุมทว่ั ส่วนดอกออกเป็นช่อตรงสว่ นปลายของก่ิง ดอกมีขนาด

เล็ก และมีจานวนมากหญา้ ซิวคักท่นี ามาจะได้จากตน้ แก่ท่ีออกดอกแล้ว และนามาตากแห้ง กอ่ นจะนาหญา้ ซวิ คกั มาบดคั้นเอาน้าสาหรบั ผสมกบั แปง้ ขา้ วเหนยี วเปน็ ตวั ขนมเทยี น ความสาคญั ของขนมเทยี น ขนมเทียนขนมหวานอีกหนึ่งชนิดทขี่ าดไม่ได้ ที่ใชใ้ นการเซน่ ไหวใ้ นวันตรษุ จีน ร้หู รอื ไม่ว่า ขนมเทยี นน้ี ไมใ่ ชข่ นมของคนจนี แต่ดงั เดมิ แตข่ นมเทียนน้ันเป็นขนมที่ชาวจนี โพ้นทะเลดัดแปลงมาจากขนมใส่ไสข้ องไทย โดยปรบั เปล่ียนจากตวั แปง้ ที่ผสมจากแป้งข้าวเจ้ากับนา้ กะทิ มาเป็นแปง้ ขา้ วเหนียวผสมกับน้ากะแทน ความหมายมงคลของขนมเทียนน้นั หมายถงึ ความหวานช่ืนราบรืน่ ของชีวติ เช่นเดียวกับขนมเข่ง นอกจากนี้ รปู ทรงสามเหลย่ี มเหมือนเจดียย์ ังเป็นสญั ลักษณ์มงคลทางศาสนาอกี ด้วย ประเภทของไส้ขนมเทียน 1. ขนมเทยี นไส้ฟกั ทอง 2. ขนมเทียนไสท้ รงเครอื่ งห่อใบกะหลา่ 3. ขนมเทียนไสถ้ ั่วแป้งผสมฟักทอง 4. ขนมเทียนไส้มะพร้าวออ่ นแปง้ ข้าวก่า 5. ขนมเทยี นไสม้ ะพร้าวลกู ชดิ 6. ขนมเทียนไส้ถ่ัวเหลอื ง 7. ขนมเทยี นไสม้ ะพรา้ วกล่นิ วะนลิ า 8. ขนมเทียนไสถ้ วั่ ใบเตย 9. ขนมเทียนไสฝ้ อยทอง 10. ขนมเทยี นไสเ้ ผอื กมันแกว 11. ขนมเทยี นไส้มะพรา้ วอ่อนอญั ชัน 12. ขนมเทยี นสอดไสแ้ ปง้ ท้าว 13. ขนมเทยี นไส้ขา้ วผัดทรงเครือ่ งใบเตย 14. ขนมเทียนไส้มะพรา้ วอ่อนลูกตาล 15. ขนมเทยี นไส้มะพร้าวถั่วดนิ แปง้ ขา้ วกา่ 16. ขนมเทียนไส้หมทู รงเครื่อง ข้ันตอนการทาขนมเทียน อุปกรณ์ 1. ชามผสม 2. ใบตอง หรือ กระดาษแกว้ 3. ไม้พาย และอุปกรณ์การตัก

ตัวหรอื เน้อื ขนมเทียน 1. แปง้ ขา้ วเหนยี ว 1 กิโลกรมั 2. แปง้ เท้ายายม่อม คร่ึงกิโลกรัม 3. น้ากะทิ 1 ถว้ ย 4. น้าตม้ หญา้ ซวิ คกั 1 ถ้วย (อาจไม่ใช้กไ็ ด้ แตห่ ากใช้ควรให้มใี บของหญา้ ซวิ คักผสมมากับน้า ตม้ ด้วย) หรอื น้าค้ันจากพืช 1 ถ้วย เช่น ใบเตย และดอกอัญชนั เป็นต้น (สาหรบั ตอ้ งการให้ตวั ขนมมสี ี) สว่ นผสมไส้หวานขนมเทียน 1. เมลด็ ธัญพชื สุก และบด 3 ถว้ ย (ถั่วเหลือง ถั่วลสิ ง เมลด็ บวั เผอื ก ฯลฯ ทง้ั น้ไี มต่ ้องบดก็ได้) 2. น้าตาลทรายแดง 0.3 กิโลกรมั 3. น้าหัวกะทิ ครง่ึ ถ้วย 4. ฝอยมะพรา้ วอ่อนขดู เสน้ ขนาดเล็ก 1 ถ้วย 5. เกลือปน่ 1 ชอ้ นชา วธิ กี ารทาไสข้ นมเทยี น 1. เตรียมวัตถุดบิ และสว่ นผสมต่างๆ ใหพ้ ร้อม 2. นามะพร้าว นา้ ตาลทรายแดง และน้าเปล่าไปเคี่ยวในกระทะจนนา้ แหง้ ปล่อยไวใ้ ห้เยน็ เพื่อนาไป ปั้นเป็นก้อน

การทาแป้งขนมเทียน 1. นาแปง้ ข้าวเหนียวเทผสมกับแปง้ ท้าวยายม่อม และคลุกผสมให้เข้ากนั 2. เติมนา้ กะทิ และนา้ ต้มหญา้ ชวิ คัก (ได้ขนมเทยี นสีดาอมน้าตาล) หรอื นา้ ค้ันจากพืช (ได้สีขนมเทียน ตามสขี องพชื ) ทีละนอ้ ย พรอ้ มนวดแปง้ ให้เป็นเน้ือเดียวกันประมาณ 30 นาที จนไดก้ ้อนแป้งที่เหนยี ว และ สามารถปั้นเป็นก้อนได้ดี

3. ป้ันก้อนแปง้ ปนั้ เป็นก้อนกลม พร้อมบบี ตรงกลางให้บ๋มุ ลง ก่อนตัดไสข้ นมเทียนที่เตรียมไวย้ ดั ใส่ แลว้ บีบเนื้อแป้งหุ้มไส้ไว้ แต่บางตาราแนะนา ให้เตรียมแป้งจนได้น้าแป้งเหลวหนืด ก่อนนาไปกวนบนจนแป้งสุก แล้วค่อยนาเน้ือแป้งมาหอ่ ยดั ไส้ และนาไปนง่ึ อีกครง้ั ซึ่งสามารถทาได้ทั้ง 2 แบบ 4. นาก้อนแป้งทีย่ ัดไส้แล้วมาห่อด้วยใบตอง ซึ่งก่อนวางก้อนแป้งจะต้องทาดว้ ยนา้ มนั พืชก่อน จากนนั้ พับมุม ใบตองซ่อนกลดั กนั ไว้ ซึ่งจะไม่ต้องใช้ไม้กลัด 5. นาขนมเทยี นท่ีหอ่ แล้วลงนึง่ บนซึงหรอื หม้อนงึ่ นาน 30 นาที จนแปง้ สุก ก่อนยกลงใหเ้ ยน็ นามา รบั ประทาน

การเลอื กและการจัดเตรยี มใบตอง 1. หาใบตองเตรยี มไว้ลว่ งหน้าสกั 2 วนั ไดม้ าแลว้ นาไปผ่งึ แดดใหพ้ อนมิ่ ฉีกสว่ นกว้าง 12 cm. 2. ตดั เจียนปลายทงั้ สองใหโ้ ค้งมนตามรูป โดยสว่ นแข็งทตี่ ิดกา้ นไมต้ ้องโค้งมากนัก แต่สว่ นปลายออ่ น โคง้ ๆเขา้ ไวเ้ พอ่ื เหลอื ปลายสอดสลกั 3. ใช้ผา้ ขนหนูผนื เล็กชบุ น้าพอหมาดๆสองผนื วางบนโต๊ะหน่ึงผืน หยิบใบตองมาวางบนผา้ นั่น แลว้ ใช้ ผ้าอกี ผืนเชค็ ตามแนวเสน้ ใบ พลิกเชด็ บน – ล่างจนเกลย้ี งดี

วิธกี ารห่อขนมเทียน 1.เตรยี มสว่ นผสมและเชค็ ให้ครบไวใ้ ห้พร้อม 2.นาสว่ นใบตองใบใหญ่ท่เี จยี รให้หวั ท้ายรี ๆ ประกบกับใบตองเล็กทีท่ า่ น้ามันดงั รปู เอาดา้ นหลงั ใบตองชนกัน 3.จบั มมุ ดา้ นน่ิม ทาเป็นกรวยกน้ แหลม ๆ หนั ด้านจบั จีบเข้าหาตัว ด้านยาวออกนอกตวั เรา 4.ไส้ขนมทปี่ นั้ ไวเ้ ปน็ ลกู กลม ๆลงในใบตอง 5.ใชน้ ว้ิ กลบั แปง้ ให้กลบไส้ขนมใหม้ ิด 6.พบั ปดิ ขนมลงมาดว้ ยใบตองใบเลก็ 7.พับด้านทีอ่ ยู่ใกล้ตัวเราปิดทบไป 8.พับดา้ นข้างซ้าย+ขวาเข้ามาใหเ้ ป็นฐานสเ่ี หลีย่ ม พับด้านบนทบลงมาสอดเข้าไปเหนบ็ ให้แน่หลังจาก ทาตามข้นั ตอน แล้วใหเ้ ราเหนบ็ ชายเขา้ ไปให้แน่นปลายใบตองด้านนี้ ควรเป็นใบตองดา้ นท่แี ข็ง ประโยชนข์ องการรับประทานขนมเทียน 1. ข้าวเหนยี วทน่ี ามาทาแปง้ ห่อไส้ขนมเทียน มีท้งั วติ ามินบี 1, วิตามนิ บี 2 มีโปรตีนชว่ ยในการ เจริญเตบิ โตและซ่อมแซมสว่ นท่สี ึกหรอ บารงุ ประสาทและสมอง ชว่ ยใหผ้ อ่ นคลายสดใสร่าเรงิ และยงั มีส่วน ชว่ ยในการป้องกันหลอดเลอื ดหัวใจตีบและปัญหาวนุ้ ในตาเส่ือม 2. ไสข้ นมเทียนไมว่ ่าจะคาวหรอื หวาน ท่ที าจากถ่ัวเขียวซีกกวนและมะพร้าวขดู ตา่ งก็มีประโยชน์ต่อ รา่ งกายเช่นกนั เพราะถั่วเขียวมีสว่ นช่วยลดคอเลสเตอรอล ป้องกนั โรคหวั ใจ และมธี าตเุ หลก็ สูงชว่ ยปอ้ งกันโรค โลหิตจาง 3. เนอื้ มะพรา้ วช่วยปอ้ งกันการเกิดโรคหวั ใจ ซึง่ หลายคนเข้าใจผดิ วา่ เนอ้ื มะพรา้ วและกะทจิ ะทาลาย สขุ ภาพ ความจริงแลว้ ไม่ใช่ เพราะในเน้ือมะพรา้ วมีไขมันเชงิ เดยี่ วเผาผลาญไดง้ า่ ย แต่ควรรับประทานรว่ มกบั ผักและผลไม้อ่นื ด้วยเชน่ กัน ข้อเสนอแนะ 1. ไสข้ นมเทยี นสามารถประยุกต์ไดห้ ลายแบบ อาทิ ไส้เค็มทม่ี ีเมล็ดธัญพืชชนดิ เดยี วหรือชนิดผสม และไสเ้ ค็มท่ีอาจเป็นเน้ือหมบู ดรว่ มกับไข่เค็ม เปน็ ตน้ 2. การทาตวั ขนมเทียนอาจใชแ้ ปง้ ขา้ วเหนียวอยา่ งเดียวซึง่ เป็นสูตรดงั้ เดิม แต่จะได้เน้ือขนมเทยี นท่ี เหนยี ว เมอื่ เค้ยี ว มักติดฟนั และเคยี้ วยาก ดังน้ัน สมยั ใหม่จึงมกั ผสมแปง้ ชนิดอื่นเพอ่ื ลดความเหนยี ว หรอื เพ่ิม ความใส อกี ทงั้ ช่วยเพิ่มความนมุ่ เคย้ี วแลว้ ไมต่ ดิ ฟัน เชน่ แปง้ มนั สาปะหลงั และแปง้ เท้ายายมอ่ ม ซึ่งบางครั้งที่ ขนมเทียนมีความใสมากก็จะเรยี กช่ือใหม่เปน็ ขนมเทยี นแก้ว 3. การนึ่งขนมเทยี นจะตอ้ งใช้เวลาน่ึงท่ีพอเหมาะหากน่งึ นานจะทาใหเ้ นื้อขนมเทียนเปอื่ ยยุ่ย และ เหนยี วตดิ มือได้ 4. เกลือทใี่ ช้ ห้ามใช้มากเกนิ ไป เพราะอาจทาให้ขนมเค็ม ขนมไม่อร่อยได้

การนาภูมปิ ญั ญาการทาขนมเทยี นพืน้ บา้ นไปใชใ้ นการดาเนินชวี ิต 1. เพ่อื สืบสานภมู ิปัญญาท้องถ่นิ เรอื่ งการทาขนมเทียนพน้ื บ้าน สู่ลูกหลานสบื ตอ่ ไป 2. เพ่อื นาความรู้ท่ไี ดม้ าประกอบอาชีพ 3. ทาให้ผู้สูงอายุไดใ้ ชเ้ วลาว่างให้เกดิ ประโยชน์

ภาคผนวก - ประวตั ิผจู้ ัดทาภูมิปัญญาศกึ ษา - ภาพประกอบ

ประวตั ผิ ู้ถา่ ยทอดภมู ิปญั ญา ชอ่ื : นางคาน ศรสี ุพรรณ เกดิ : 10 เมษายน 2496 อายุ 65 ปี ภมู ลิ าเนา : ตาบลบ้านกง อาเภอหนองเรอื จังหวัดขอนแก่น ที่อยปู่ จั จบุ นั : บา้ นเลขที่ 3 หมู่ 18 ตาบลวังนาเย็น อาเภอวังนาเย็น จังหวัดสระแก้ว สถานภาพ: สมรส กับ นายอัดเจิด ศรสี ุพรรณ มีบุตรด้วยกนั จานวน 1 คน ดงั นี้ 1. นายอาทติ ย์ ศรีสุพรรณ การศึกษา: ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรยี นบา้ นเกา่ ขา่ ตาบลบา้ นกง อาเภอหนองเรอื จงั หวดั ขอนแกน่ ปัจจบุ ัน ประกอบอาชีพ : เกษตรกร (ทานา) จากประสบการณ์ การทาขนมเทียนพื้นบา้ น ได้เรียนรู้จากรุ่นสู่รุ่น ท่ีพ่อแม่ของเรา ได้สอนทาขนมเทียน เนื่องในงานบุญต่าง ๆ และทาขายตาม ตลาดนดั หมูบ่ ้านมานาน จนนบั เป็นอาชพี เสรมิ นอกเหนือจากการทาไร่ ทานา และทาง่ายมีราคาทีไ่ ม่แพง ประวัติผเู้ รยี บเรียงภูมิปัญญาศึกษา ชื่อ : นางกาญจนา อุทามนตรี เกดิ : 8 มถิ ุนายน 2519 อายุ 42 ปี ภมู ลิ าเนา : 97 หมู่ 12 ตาบลตาหลงั ใน อาเภอวงั นาเยน็ จงั หวัดสระแก้ว ทีอ่ ยูป่ จั จบุ นั : 7/7 หมู่ 2 ตาบลวังนาเย็น อาเภอวังนาเย็น จงั หวดั สระแก้ว สถานภาพ : สมรส กบั ดาบตารวจอาจ อุทามนตรี มีบุตรด้วยกัน 2 คน ดงั น้ี 1. นายอคั รเดช อทุ ามนตรี 2. เดก็ ชายอสิ ระ อทุ ามนตรี การศึกษา : ปริญญาตรี สถาบันราชภัฏราไพพรรณี ปรญิ ญาโท มหาวิทยาลยั ปทมุ ธานี ปจั จุบันประกอบอาชพี : รับราชการ

ภาพประกอบการจดั ทาภูมิปัญญาศึกษา เรอื่ ง การทาขนมเทยี นพ้นื บ้าน

ภาพประกอบการจดั ทาภมู ิปัญญาศึกษา เรือ่ ง การทาขนมเทียนพื้นบา้ น คณุ ยายเลือกใบตองท่จี ะนามาห่อขนมเทียน ตัดใบตองเสรจ็ แล้วนามาผ่ึงแดด ฉีกใบตองออกจากก้านเป็นแผ่นๆตามตอ้ งการ จากนั้นนาใบตองมาซ้อนๆกัน ตัดใบตองเปน็ รูปตามต้องการ และเชด็ ใบตองที่ตดั ให้สะอาดพร้อมทานา้ มันไว้

ภาพประกอบการจดั ทาภูมิปญั ญาศกึ ษา เรื่อง การทาขนมเทียนพ้ืนบา้ น ขดู มะพร้าวเพอื่ ทาไส้ขนมเทียน มะพร้าวขดู เสร็จเรียบร้อยแล้ว คณุ ยายเร่มิ เตรยี มแป้ง และคลกุ เคลา้ แปง้ ใหเ้ ข้ากัน นากระทะตงั้ ไฟและใสม่ ะพร้าวขดู ทเ่ี ตรียมไว้ ใสน่ า้ ตาลทรายแดงลงไป

ภาพประกอบการจดั ทาภูมิปัญญาศกึ ษา เรื่อง การทาขนมเทียนพืน้ บ้าน เคยี ้ วจนไส้ขนมเทียนแห้งได้ทแ่ี ล้ว นาแปง้ มาปัน้ เป็นก้อนๆ เคยี ้ วจนไส้ขนมเทียนแห้งได้ท่ีแล้ว นาแปง้ มาปัน้ เป็นก้อนๆ จากนนั้ ทาการหอ่ ขนมเทียน เม่ือหอ่ แป้งและไส้ขนมเสรจ็ หุ้มด้วยใบตองที่ทาน้ามนั ไว้ ฝกึ ห่อขนมเทยี นกบั ภมู ปิ ญั ญา

ภาพประกอบการจัดทาภูมิปญั ญาศึกษา เร่ือง การทาขนมเทียนพนื้ บ้าน หอ่ เสร็จแล้วสวยงาม นาไปใสซ่ ้ึงเพื่อทาการนึ่งขนมเทยี น นาขนมขึ้นต้งั เตาไฟแล้วน่งึ ประมาณ 30 นาที พอสกุ นาขนมลงจากเตาไฟ พรอ้ มรับประทานค่ะ

อา้ งอิง ขนมเทยี น และวิธที าขนมเทียน - พืช เกษตร https://puechkaset.com/ขนมเทยี น/ Translate this page[Online]. [Accessed: Jul 12, 2018 ]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook