บทที่ 8 กฎหมาย จริยรรรม และการทำธุรกรรมดิจิทัล
กฎหมายและจริยธรรม กฎหมาย คือ ข้อบังคับที่เป็นมาตรฐานที่ใช้วัดและใช้กำหนดความ ประพฤติของประชากรในสังคมได้ว่าสิ่งที่กระทำลงไปนั้นถูกหรือผิด สามารถกระทำได้หรือกระทำไม่ได้ จริยธรรม (Ethics) มาจากคำว่า จริย + ธรรม ซึ่งคำว่า จริย หมายถึง ความประพฤติหรือกิริยาที่ควรประพฤติ ส่วนคำว่า ธรรม หมายถึง คุณความดี หรือหลักปฏิบัติ เมื่อนำคำทั้งสองมารวมกันเป็น \"จริยธรรม\" จึงมีความหมายว่า \"คุณความดีที่ควรประพฤติ\" หรือ \"หลักปฏิบัติหรือกิริยาที่ควรประพฤติ\" จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทและความเกี่ยวข้องกับ ชุมชนและสังคมในทุกระดับชั้นดังนั้นการใช้ทคโนโลยีสารสนเทศ โดย เฉพาะการใช้งานกับชุมชนและสังคมออนไลน์ จำเป็นจะต้องคำนึงถึง จริยธรรมใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย ความเป็นส่วนตัว ความเป็นเจ้าของ การเข้าถึงข้อมูล ความถูกต้อง
จริยธรรมสารสนเทศ 1. ความเป็นส่วนตัว ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิ ที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของ ตนเอง ในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์กร และหน่วยงานต่างๆ 2. ความถูกต้อง ข้อมูลควรได้รับการตรวจสอบความถูกต้องก่อนที่จะบันทึกข้อมูล เก็บไว้รวมถึงการปรับปรุงข้อมูลให้มีความทันสมัยอยู่เสมอนอกจากนี้ ควร ให้สิทธิแก่บุคคลในการเข้าไปตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลตนเองได้ 3.ความเป็นเจ้าของ เป็นกรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน ซึ่งอาจเป็นทรัพย์สินทั่วไปที่ จับต้องได้ เช่นคอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรืออาจเป็นทรัพย์สินทางปัญญา ที่ จับต้องไม่ได้ เช่น บทเพลง โปรแกรมคอมพิวีเตอร์ แต่สามารถถ่ายทอด และบันทึกลงในสี่อต่างๆ ได้ เช่น สิ่งพิมพ์ เทป เป็นต้น 4.การเข้าถึงข้อมูล การเข้าใช้งานโปรแกรม หรีอระบบคอมผิวเตอร์ มักจะมีการกำหนด สิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันการเข้าไปดำเนินการ ต่างๆ กับข้อมูลของผู้ใช้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และเป็นการรักษาความลับ ของข้อมูล
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย ได้ทำการศึกษาและยก ร่างกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม2541 โดย คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ (กทสช.)(National Information Technology Committee) และมอบหมายให้ศูนย์ทคโนโล ยีอิเล็กทรอนิกส์และดอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Clectronics and Computer Technology Center)ร่วมกับสำนักงานพัฒณาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (National Science and Technology Development Agency) ในฐานะสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการ ไอทีแห่งชาติ ทำหน้าที่เป็นเลขานุการประกอบด้วยกฎหมายที่ดำเนิน การศึกษาและยกทั้งหมด 6 ฉบับ 1) กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transactions Law) 2) กฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law) 3) กฎหมายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Law) 4 ) กฎหมายอาชญากรรมทางกอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law) 5) กฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fund Transfer Law) 6) หมายการพัฒนโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ (National Information Infrastructure)
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของ ประเทศไทยที่มีผลบังคับใช้อยู่ในปัจจุบัน ㆍพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ㆍพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ 2) ㆍพ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ 3) ㆍพ.ศ. 2552 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ 4) ㆍพ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ㆍพ.ศ. 2562 พระราชกฤษฎีกากำหนดประเภทธุรกรรมในทางแพ่งและ ㆍพาณิชย์ที่ยกเว้น มิให้นำกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้บังคับ ㆍพ.ศ. 2549 พระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำ ㆍธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยวิธีการแบบปลอดภัยในการทำธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2553
บทที่ 9 กรณีศึกษาธุรกิจดิจิทัล
ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์(e-Banking) ในปัจจุบันแต่ละธนาคารได้มีการพัฒนาธุรกรรมดิจิทัล เพื่อให้บริการแก่ลูกค้าหลากหลายรูปแบบทั้งบริการบน เว็บไซต์ หรือแอปพลิเคชันที่สามารถดาวน์โหลดและติดตั้ง เพื่อใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์พีซี โนัตบุ๊ก แท็บเล็ต โทรศัพท์มีอถือสมาร์ตโฟน หรีออุปกรณ์พกพาต่าง ๆ เช่น กดเงินโดยไม่ใช้บัตร สแกนบิล/0R ชำระเงิน เดิมเงิน โอน เงิน จ่ายบิล การลงทุน การแจ้งเตือนการบริการพิเศษหรือ บริการผ่านแบงกิ้งเอเยนต์ เป็นตัน
สถาบันอิเล็กทรอนิกส์(e-Institute) ซึ่งในปัจจุบันได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนการสอน รายวิชา หลักสูตรคอร์สฝึกอบรม การประชุมหรือสัมมนาทางวิชาการ ไว้ให้บริการแก่ผู้เรียน นิสิต นักศึกษา นักวิชาการ ชาวบ้าน ชุมชน หรือประชาชนทั่วไปหลากหลายรูปแบบทั้งบริการบนเว็บไซต์ หรือ แอปพลิเคชันที่สามารถดาวน์โหลดและติดตั้งเพื่อใช้งานบน เครื่องคอมพิวเตอร์พีซี โนัตบุ๊ก แท็บเล็ดโทรศัพท์มือถือสมาร์ตโฟน หรืออุปกรณ์พกพาต่าง ๆซึ่งสถาบันการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการ ปรับเปลี่ยนเปืนจัดการเรียนรู้ดิจิทัล เช่น การศึกษาระบบเปิดเพื่อการ เรียนรู้ตลอดชีวิต (Thai M0OC) สถาบันกวดวิชา โรงเรียน สถาบัน การศึกษามหาวิทยาลัยหน่วยงานหรีอองค์กรที่เกี่ยวข้องกับงานด้าน วิชาการหรือการให้ความรู้สู่ชุมชน เป็นต้น
โรงพยาบาลอิเล็กก็ทรอนิกส์(e-Hospital) ซึ่งในปัจจุบันมีรูปแบบทั้งบริการบนเว็บไชค์หรือแอปพลิเคชั่น สามารถดาวน์โหลดและติดตั้งเพื่อใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก แท็บเล็ต โทรศัพท์มีอถือสมาร์ตโฟนหรืออุปกรณ์พกพาต่าง ซึ่งคลินิก โรงพยาบาล สถาบันสุขภาพต่าง ๆ ของรัฐก็ได้ที่มีการ ปรับเปลี่ยนการบริการให้กับลูกค้าหรือประชาชนหลายรูปแบบเป็น ระบบคิวออนไลน์ การดูแลสุขภาพด้วยการใช้เทคโนโลยีอัจฉริยะ (Intelligent healthcare ) ตู้บริการอเนกประสงค์ภาครัฐ (Governme Smart Kiosk) เป็นต้น
การตลาดอิเล็กทรอนิกส์(e-Banking) ซึ่งในปัจจุบันแต่ละธุรกิจได้มีการพัฒนาธุรกรรมดิจิทัล เพื่อให้บริการแก่ลูกด้าหลากหลายรูปแบบทั้งบริการบน เว็บไซต์ หรือแอปพลิเคซันที่สามารถดาวน์โหลดและ ติดตั้งเพื่อใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์พีชี โตบุ๊ก แท็บ เล็ต โทรศัพท์มือถือสมาร์ตโฟน หรืออุปกรณ์พกพาต่างๆ ซึ่งมีให้บริการหลากหลายรูปแบบ เช่น การไลฟ์สดขาย สินค้า การสั่ง-ซื้อสินค้าออนไลน์ การโฆษณาผ่าน เว็บไซต์หรือสื่อสังคมออนไลน์ เป็นต้น
การเกษตรกรรมอิเล็กทรอนิกส์(e-Agriculture) เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมา ประยุกต์ใช้เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการข้อมูล ข่าวสารหรือการติดต่อเพื่อการสื่อสารและส่งข้อมูลใน ระยะไกล อีกทั้งยังนำไปประยุกต์เพื่อประโยชน์ ทางด้านเกษตรกรรมบางครั้งอาจจะเรียกว่า เกษตร อัจฉริยะ (Smart Agriculture) เช่น ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ฟาร์มอัจฉริยะ (Smart Farm) เกษตรกรรม ความแม่นยำสูง (Precision Farming) เป็นต้น
Search