93 สลายตัวไดงายกวาปกติ นอกจากนี้ ยังพบวายาอะมิโนพัยรินและไดพัยโรน มีผลตอสวนประกอบของ เลอื ดอยางมาก 3. ความเปนพิษตอตบั ถึงแมตับจะเปน อวยั วะท่ีมีสมรรถภาพสูงสุดในการกําจัดยา แตมันก็ถูก กับตัวยาในความเขมขนที่สูง จึงอาจเปนอันตรายจากยาดวยเหตุน้ีก็ได ยาบางขนานท่ีอาจเปนอันตรายตอ เซลลของตับโดยตรง เชน ยาจําพวก Chlorinated hydrocarbons ยาเม็ดคมุ กําเนดิ ยาปฏิชวี นะจําพวก โพลิมกิ ซนิ และวิตามินเอ ในขนานสงู มากๆ อาจทาํ ใหตบั หยอ นสมรรถภาพได 4. ความเปน พิษตอไต ไตเปนอวัยวะท่ีสําคัญท่ีสุดในการขับถายยาออกจากรา งกาย ยาจาํ พวก ซัลฟาบางขนานอาจตกตะกอนในไต ทําใหไตอักเสบเวลารับประทานยาพวกนี้จึงควรดื่มนํ้ามาก ๆ นอกจากน้ี ยังมยี าทอ่ี าจทาํ ใหเ กดิ พษิ โดยตรงตอไตได เชน ยานีโอมยั ซนิ เฟนาเซดิน กรดบอริก ยาจําพวก เพนิซิลลิน หรือการใหวิตามินดีในขนาดสูงมากและเปนเวลานาน อาจกอใหเกิดพิษตอไต ไตหยอน สมรรถภาพ จนถึงขั้นเสียชวี ติ ได 5. ความเปน พษิ ตอ เสน ประสาทของหู ยาบางชนดิ เปน พิษตอเสน ประสาทของหู ทาํ ใหอาการ หอู ้อื หูตึง และหูหนวกได เชน ยาสเตร็ปโตมัยซิน นีโอมัยซนิ กานามัยซนิ ควินิน และยาจําพวก ซาลิซัยเลท เปน ตน 6. ความเปนพิษตอประสาทสวนกลาง ยาบางขนานทําใหมีอาการทางสมอง เชน การใช แอมเฟตามีน ทําใหสมองถูกกระตุนจนเกิดควรจนนอนไมหลับ ปวดหัว กระวนกระวาย อยูไมสุข และ ชกั ได สวนยากดประสาทจําพวกบารบิทูเรต ถาใชไปนาน ๆ จะทําใหเกิดอาการงวง ซึมเศรา จนถึงขั้น อยากฆาตวั ตาย 7. ความเปน พษิ ตอระบบหวั ใจและการไหลเวียนเลอื ด มักเกิดจากยากระตุน หัวใจ ยาแกหอบหืด ไปทําใหหวั ใจเตน เร็วผิดปกติ 8. ความเปนพิษตอ กระเพาะอาหาร ยาบางชนิด เชน แอสไพริน เฟนลิ บิวตาโซน เพรดโซโลน อินโดเมธาซิน ถารับประทานตอนทองวางและรบั ประทานบอยๆ จะทําใหก ระเพาะอาหารอกั เสบและเปน แผลได 9. ความเปนพษิ ตอทารกในครรภ มยี าบางชนิดที่แมไ มค วรรบั ประทานระหวางต้ังครรภ เชน ยาธาลโิ ดไมลช ว ยใหน อนหลับและสงบประสาท ยาฟโนบารบิตาลใชรักษาโรคลมชัก ยาไดอะซีแพมใช กลอมประสาท และยาแกคลื่นไสอาเจียน เนื่องจากอาจเปนอันตรายตอตัวมดลูกและตอทารกในครรภ เปนผลใหเ ดก็ ท่ีคลอดออกมามคี วามพิการ เชน บางรายอาจมอื กุด ขากุด จมูกโหว เพดานและรมิ ฝ ปากแหวง หรอื บางคนศีรษะอาจยุบหายไปเปนบางสว น ดังนน้ั แมใ นระหวา งตั้งครรภค วรระมัดระวงั การ ใชย าเปน อยางย่ิง
94 การใชย าผดิ และการตดิ ยา (Drug Abuse and Drug Dependence) การใชยาผิด หมายถึง การใชยาท่ีไมตรงกับโรค บุคคล เวลา วิธี และขนาด ตลอดจน จุดประสงคของการใชย านนั้ ในการรกั ษาโรค เชน การใชย าบารบ ทิ ูเรต (เหลา แหง ) เพื่อใหนอนหลบั สบาย โดยอยูภายใตก ารดแู ลของแพทย ถือวาเปน การใชย าถกู ตอ ง แตถาใชยาบารบ ิทเู รต (เหลา แหง ) จํานวนเดิม เพือ่ ใหเ คลบิ เคล้มิ เปน สุข (Euphoria) ถือวา เปนการใชยาผิด การติดยา หมายถึง การใชยาติดตอกันไปชั่วระยะเวลาหน่ึง แลวอวัยวะของรางกายโดยเฉพาะ อยางย่งิ ระบบประสาท ไดยอมรบั ยาขนานน้นั เขา ไวเปนสิ่งหน่ึงท่ีจําเปน สําหรับเมตาบอลิซึมของอวัยวะน้ัน ๆ ซ่ึงถาหากหยุดยาหรือไดร ับยาไมเ พียงพอจะเกิดอาการขาดยา หรืออาการถอนยา (Abstinence or Withdrawal Syndrome) ซง่ึ แบง ไดเ ปน อาการทางกาย และอาการทางจติ ใจ สาเหตุทที่ าํ ใหเกดิ การใชยาผิดหรือการตดิ ยา อาจเนอ่ื งมาจาก 1. ความเช่ือท่ีวา ยาน้ันสามารถแกโรคหรอื ปญหาตา งๆ ได 2. สามารถซือ้ ยาไดง ายจากแหลงตา งๆ 3. มีความพึงพอใจในฤทธิข์ องยาที่ทาํ ใหร ูสกึ เคลบิ เคลิ้มเปน สขุ 4. การทาํ ตามอยา งเพอื่ น เพอ่ื ใหเ ขากับกลุมได หรือเพ่อื ใหร สู กึ วาตนเองทันสมยั 5. ความเชอื่ ทีว่ า ยาน้ันชว ยใหม คี วามสามารถและสติปญ ญาดีขนึ้ 6. ความไมพ อใจในสภาพหรือสังคมท่เี ปน อยู หรอื ความรูส กึ ตอตานวัฒนธรรม 7. การหลงเชอื่ คําโฆษณาสรรพคณุ ของยานัน้ การใชย าผดิ แบงตามลักษณะการใชโดยสังเขปไดเปน 2 ประการ คอื 1. ใชผ ิดทาง ไมเ ปน ไปเพอ่ื การรักษาโรค เชน ใชยาปฏชิ วี นะเสมอื นหนึ่งเปน การลดไข ชาวนา ใชข้ีผ้ึงเพนิซิลลินทาแทนวาสลิน เพื่อกันผิวแตก ซ่ึงอาจทําใหเกิดอาการแพจนถึงแกชีวิตได โดยท่ัวไป แพทยจะใหนา้ํ เกลอื และยาบํารุงเขา เสน ตาง ๆ เฉพาะผูที่ปวยเทาน้ัน แตผูท่ีมีสุขภาพดีกลับนําไปใชอยาง กวา งขวาง ซ่ึงนอกจากจะไมใ หประโยชนแลวยงั เปนอนั ตรายถึงชีวิตได 2. ใชพร่ําเพร่ือ เปนระยะเวลานานๆ จนติดยา เชน การใชยาลดไขแกปวด ซ่ึงมีสวนผสมของ แอสไพริน และเฟนาเซติน เพื่อรกั ษาอาการปวดเม่อื ยหรือทําใหจ ิตใจเปน สขุ ถาใชต ดิ ตอกันนาน ๆ ทําให ตดิ ยาและสขุ ภาพทรดุ โทรม นอกจากน้ี การใชย านอนหลับ ยาระงบั ประสาท ยากลอมประสาท กญั ชา โคเคน แอมแฟตามนี โบรไมด การสดู กาวสารทาํ ใหเ กิดประสาทหลอนตดิ ตอ กันเปน เวลานานจะทาํ ใหต ิดยาได ขอ ควรระวังในการใชส มุนไพร เมื่อมีความจําเปน หรือความประสงคท่ีจะใชสมุนไพรไมวาจะเพ่ือประสงคอยางไรก็ตาม ใหระลึกอยูเ สมอวา ถาอยากมีสขุ ภาพทีด่ ี หายจากการเจ็บปวย สิง่ ที่จะนําเขาไปสูในรางกายเราก็ควรเปน ส่ิงทดี่ ี มปี ระโยชนตอ รางกายดวย อยาใหความเช่อื แบบผดิ ๆ มาสง ผลเสยี กับรา งกายเพ่ิมขึ้น หลายคนอาจ เคยไดย ินขาวเกี่ยวกับหมอนอย ซึ่งเปน เด็กอายเุ พยี ง 3 ป 7 เดอื น ท่ีเปนขา วในหนา หนังสอื พมิ พเ มื่อป 2529 ทส่ี ามารถรกั ษาโรคไดท ุกชนดิ ใชเ พยี งกงิ่ ไมใ บไมอ ะไรกไ็ ดแ ลวแตจ ะช้ีไป คนเอาไปตมรับประทานดวย
95 ความเช่ือ ซ่ึงความจริงการเลือกใชสมุนไพรจะตองมีวิธีการ และความรูที่ถูกตอง การใชจึงจะเกิด ประโยชน ขอควรระวงั ในการใชอยางงายๆ และเปนแนวทางในการปฏิบัติเพื่อใหเกิดความปลอดภัยใน การใชส มนุ ไพร คือ - ใชใหถูกตน สมุนไพรบางชนิดอาจมีลักษณะคลายกัน หรือมีช่ือพองกัน การใชผิดตน นอกจากไมเกดิ ผลในการรักษาแลว ยังอาจเกิดพิษข้นึ ได - ใชใ หถกู สวน ในแตละสว นของพชื สมนุ ไพร เชน ใบ ราก ดอก อาจมีสรรพคุณไมเหมือนกัน และบางสว นอาจมพี ษิ เชน เมลด็ ของมะกล่ําตาหนูเพยี งเม็ดเดียว ถา เค้ียวรับประทานอาจตายได ในขณะที่ สว นของใบไมเ ปนพิษ - ใชใ หถ กู ขนาด ปรมิ าณการใชเปน สวนสาํ คัญทท่ี าํ ใหเกิดพษิ โดยเฉพาะ ถา มีการใชใ นปรมิ าณ ทม่ี ากเกนิ ไป หรือถานอ ยเกนิ ไปก็ไมเ กิดผลในการรกั ษา - ใชใ หถ กู โรค สมนุ ไพรแตละชนิดมีสรรพคุณไมเ หมอื นกนั เปนโรคอะไรควรใชส มุนไพรท่ีมี สรรพคณุ รกั ษาโรคนั้นๆ และสง่ิ ที่ควรคาํ นงึ คอื อาการเจ็บปวย บางอยางมคี วามรุนแรงถึงชวี ิตได ถา ไมได รับการรักษาทันทวงทีในกรณีเชนน้ีไมควรใชยาสมุนไพร ควรรับการรักษาจากแพทยผูเช่ียวชาญจะ เหมาะสมกวา การรับประทานยาสมุนไพรจากท่ีเตรียมเอง ปญหาท่ีพบบอยคือ ไมทราบขนาดการใชท่ี เหมาะสมวา จะใชป รมิ าณเทาใดดี ขอแนะนาํ คอื เริ่มใชแ ตนอยกอ นแลวคอ ยปรับปริมาณเพิม่ ขนึ้ ตามความ เหมาะสมทีหลัง (มีศัพทแ บบพน้ื บานวา ตามกําลงั ) ไมควรรับประทานยาตามคนอน่ื เพราะอาจทําใหรับยา มากเกินควร เพราะแตละคนจะตอบสนองตอยาไมเหมือนกัน สําหรับยาที่ซื้อจากรานควรอานฉลาก วธิ ีการใชอยางละเอยี ดและใหเขาใจกอนใชทุกคร้งั การหมดอายขุ องยาจากสมนุ ไพรเชนเดียวกันกับยาแผนปจจุบัน โดยทั่วไปสมุนไพรเมื่อเก็บ ไวน านๆ ยอมมกี ารผุพัง เกดิ ความชื้น เช้อื รา หรอื มีแมลงวันมากัดกิน ทําใหอยูในสภาพที่ไมเหมาะสมท่ี จะนําไปใช และมกี ารเส่ือมสภาพลงแตก ารจะกําหนดอายุทแี่ นน อนน้นั ทาํ ไดยาก จึงควรนับตั้งแตวันผลิต ยาสมุนไพรหรือยาจากสมุนไพรไมควรใชเม่ือมีอายุเกิน 2 ป ยกเวนมีการผลิตหรือเก็บบรรจุที่ดี และถา พบวา มเี ชื้อรา มกี ลนิ่ หรอื สีเปลยี่ นไปจากเดมิ ก็ไมควรใช ขอ สงั เกตในการเลือกซือ้ สมนุ ไพร และยาแผนโบราณ ดังนัน้ ยาแตล ะชนดิ ทางกฎหมายมขี อ กําหนดท่แี ตกตางกนั ในการเลือกซอ้ื หรอื เลอื กใชจงึ ตอ ง รคู วามหมาย และขอกาํ หนดทางกฎหมายเสียกอ น จงึ จะรวู า ยาชนดิ ใด จะมคี ุณสมบัติอยางไร มีวิธีการใน การสงั เกตอยางไร เพื่อที่จะไดบอกไดวายานั้น ควรที่จะใชหรือนาที่จะมีความปลอดภัยตอการใช ส่ิงท่ี นา จะรหู รือทําความเขา ใจ คอื ความหมายของยาชนดิ ตาง ๆ ดังน้ี ยาสมนุ ไพร คือ ยาท่ีไดจ ากพฤกษชาติ สตั ว หรอื แรธาตุ ซึ่งมไิ ดผสมปรงุ หรอื แปรสภาพ
96 ยาแผนโบราณ คอื ยาท่ีมุงหมายใชในการประกอบโรคศลิ ปะแผนโบราณ ซ่ึงอยูในตํารา แผนโบราณท่รี ัฐมนตรปี ระกาศ หรือยาทไ่ี ดรับอนุญาตข้ึนทะเบียนเปน ยาแผนโบราณ หรอื ใหเ ขา ใจงายๆ คือ ยาท่ีไดจ ากสมุนไพรมาประกอบเปนตํารับตามทร่ี ะบุไวใ นตาํ รายาหรือ ทีก่ ําหนดใหเ ปนยาแผนโบราณ ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณนั้นกําหนดวา ใหใชวิธีที่สืบทอด กนั มาแตโบราณโดยไมใ ชกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร เชน การนําสมุนไพรมาตมรับประทาน หรือทํา เปนผงละลายนาํ้ รับประทาน แตใ นปจ จุบันมขี อกําหนดเพม่ิ เตมิ ใหยาแผนโบราณมีการพัฒนารูปแบบให สะดวกและทันสมยั ขึ้นเชน เดยี วกับยาแผนปจจบุ นั เชน ทําเปนเม็ด เม็ดเคลือบน้ําตาลหรือแคปซูล โดยมี ขอ สังเกตวาที่แคปซลู จะตองระบุวา ยาแผนโบราณ เรอื่ งท่ี 3 ความเช่อื เก่ยี วกับการใชย า ปจ จบุ นั แมวา ความกา วหนา ทางแพทยส มยั ใหมร วมท้ังวิถีชีวติ ท่ไี ดร บั อทิ ธพิ ลจากตะวนั ตก จะทํา ใหคนทั่วไปเม่อื เจ็บปว ยหนั ไปพึง่ การรกั ษาจากบุคลากรทางการแพทยซ ึง่ มงุ เนนการใชย าแผนปจจุบันใน การรกั ษาอาการเจบ็ ปว ยเปนหลกั โดยใหค วามสาํ คญั ความเชื่อถอื ในยาพน้ื บา น ยาแผนโบราณลดนอยลง ทําใหภมู ิปญญาพ้ืนบา นรวมถึงตาํ หรบั ยาแผนโบราณสูญหายไปเปนจํานวนมาก นอกจากนั้นยังขาดความ ตอ เนอ่ื งในการถายทอดองคความรูใ นการดูแลรกั ษาตนเองเบือ้ งตนดวยวธิ ีการและพชื ผัก สมนุ ไพร ท่ีหา ไดงายในทอ งถิ่น โดยองคความรูท่ีถา ยทอดจากรนุ สูรนุ นน้ั ไดผา นการวิเคราะหและทดลองแลววาไดผลและไมเ กดิ อันตรายตอสุขภาพ อยางไรก็ตามยังคงมีความเชื่อบางประการเกี่ยวกับการใชยาเพ่ือเสริมสุขภาพ และ สมรรถภาพเฉพาะดาน ซึ่งยังไมไดรับการพิสูจนดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรการแพทย วามี สรรพคุณตามคําโฆษณา อวดอาง หรือบอกตอ ๆ กัน ซ่ึงอาจกอใหเกิดอันตรายหรือผลขางเคียงหากใช
97 จํานวนมากและตอ เนอ่ื งเปนเวลานาน ไดแก ยาดองเหลา ยาฟอกเลือด ยาชงสมุนไพร ยาที่ทําจากอวัยวะ ซากพืชซากสัตว เปน ตน รวมถึงยาชดุ ตาง ๆ ท่มี กั มกี ารโฆษณาชวนเชื่ออวดอาง สรรพคุณเกินจริง ทําให คนบางกลุมหลงเช่ือ ซอื้ หามารบั ประทาน ยาบางชนิดมีราคาแพงเกนิ ปกตโิ ดยอางวาทาํ จากผลิตภัณฑท่ี หายาก สรรพคุณครอบจกั รวาล สามารถรกั ษาไดส ารพดั โรค ซ่งึ สรรพคุณท่ีมกั กลาวอา งเกนิ จรงิ อาทิเชน - กินแลวจะเจริญอาหาร ทําใหรับประทานอาหารไดมากข้ึน เชน ยาดองเหลา ยาสมุนไพร บางชนดิ - กินแลวจะทาํ ใหมกี าํ ลงั สามารถทาํ งานไดทนนาน - กินแลวทําใหมีพลังทางเพศเพิ่มขึ้น เชน ยาดองเหลา ยาดองอวัยวะซากสัตว อุงตีนหมี ดงี ูเหา ฯลฯ - กนิ แลว จะทําใหเ ลือดลมไหลเวยี นดี นอนหลบั สบาย ผิวพรรณผอ งใส เชน ยาฟอกเลือด ยาสตรี ยาขับระดู ฯลฯ - กินแลว ทําใหเ ปนหนมุ เปนสาว อวยั วะบางสวนใหญข้ึน เชน เขากวาง และกวาวเครือแดง เสริม ความหนุม กวาวเครอื ขาวเสรมิ ทรวงอก และความสาว เปน ตน - กินแลวจะชวยชะลอความแกหรือความเสื่อมของอวัยวะ เชน รังนกซึ่งทําจากนํ้าลายของ นกนางแอน หูฉลามหรือครีบของฉลาม หรอื โสม ซึง่ สว นใหญม รี าคาแพงไมคุมคากับประโยชนท รี่ า งกาย ไดรบั จริง ๆ - กนิ แลว รกั ษาอาการปวดเม่ือย ไขขอ อกั เสบเรอ้ื รงั เชน ยาชุดตาง ๆ ยาแกกระษัยไตพิการ ซึ่งมัก ผสมสารหนู ที่เปนอันตรายตอรางกายมาก เพราะผูใชอาจมักติดยาตองรับประทานเพิ่มขึ้นจึงเกิดการ สะสมพิษ เมือ่ เกิดอนั ตรายมกั มีอาการรุนแรงยากแกการรักษา ทง้ั น้ี การใชยาดังกลา วสวนใหญเกิดจากความเชื่อผิด ๆ หรือเชื่อในคําโฆษณาเกินจริง ที่แฝงมา ดว ยภยั เงียบที่กอ ใหเ กดิ อนั ตรายตอ รา งกายหากใชอยางตอ เนื่องและใชในจาํ นวนมาก นอกจากน้ียังทําให เสียคา ใชจา ยคอนขางสงู แตไมเกดิ ประโยชนตอ รางกายไมมีผลในการรกั ษาอาการตาง ๆ ตามสรรพคุณท่ี กลาวอาง ดังน้ัน กอนจะซ้ือหายาหรือผลิตภัณฑเสริมสุขภาพมาใช ควรศึกษาสรรพคุณ สวนประกอบ แหลงผลิต วันหมดอายุ และความนาเชื่อถือของผูผลิตโดยพิจารณาจากมีเลขทะเบียนถูกตองหรือไม มีตรา อย. หรือมีใบอนุญาตการผลติ ใบประกอบโรคศลิ ปะแพทยแ ผนโบราณ เปนตน ความเชอื่ และขอ ควรระวังในการใชย าชดุ ยาดองเหลา และยาชงสมนุ ไพร 1. ยาชดุ ยาชดุ หมายถงึ ยาท่ผี ูข ายจดั รวมไวใหก ับผซู อ้ื สําหรับใหกนิ ครง้ั ละ 1 ชุด รวมกันหมด โดยไม แยกวาเปน ยาชนิดใด ควรจะกนิ เวลาไหน โดยทัว่ ไปมกั จะมียา ต้งั แต 3 – 5 เมด็ หรืออาจมากกวาและอาจ จดั รวมไวในซองพลาสตกิ เล็กๆ พิมพฉ ลากบงบอกสรรพคุณไวเ สร็จ
98 สรรพคุณท่พี มิ พไวบนซองยาชดุ มกั โออ วดเกนิ ความจรงิ เพ่ือใหขายไดมาก ช่ือท่ีตั้งไวจะเปน ช่ือท่ีดึงดูดความสนใจหรือโออวดสรรพคุณ เชน ยาชุดกระจายเสน ยาชุดประดงขุนแผน ยาชุดแก ไขมาลาเรีย เปนตน เนอ่ื งจากผจู ดั ยาชุดไมม ีความรเู ร่อื งยาอยางแทจริง และมักจะมุง ผลประโยชนเปนสําคัญ ดังนั้น ผูใชย าชดุ จึงมโี อกาสไดรบั อันตรายจากยาสงู มาก อันตรายจากการใชยาชดุ 1. ไดรับตัวยาซํ้าซอน ทําใหไดรับตัวยาเกินขนาด เชน ในยาชุดแกปวดเมื่อย ในยาชุดหน่ึงๆ อาจมียาแกปวด 2-3 เม็ด ก็ได ซึ่งยาแกป วดน้จี ะอยใู นรปู แบบตางกัน อาจเปนยาคนละสีหรือขนาดเม็ดยา ไมเทา กัน แตมีตวั ยาแกป วดเหมอื นกัน การทไี่ ดรับยาเกินขนาดทําใหผ ูใ ชยาไดร บั พิษจากยาเพิ่มข้นึ 2. ไดร บั ยาเกนิ ความจําเปน เชน ในยาชุดแกหวัดจะมียาแกปวดลดไข ยาปฏิชีวนะยาลดน้ํามูก ยาทาํ ใหจมูกโลง ยาแกไอ แตจริงๆ แลว ยาปฏิชีวนะจะใชรักษาไมไดในอาการหวัดที่เกิดจากเช้ือไวรัส และอาการหวัดของแตละคนไมเ หมอื นกัน ถาไมปวดหัวเปน ไข ยาแกป วด ลดไขไ มจําเปน ไมมีอาการไอ ไมควรใชยาแกไ อ การรกั ษาหวดั ควรใชบ รรเทาเฉพาะอาการท่ีเกิดขึ้นเทาน้ันไมจําเปนตองกินยาทุกชนิดที่ อยใู นยาชดุ 3. ในยาชุดมักมียาเส่ือมคุณภาพ หรือยาปลอมผสมอยู การเก็บรักษายาชุดที่อยูในซองพลาสติก จะไมสามารถกันความชื้น ความรอน หรือแสงไดดีเทากับท่ีอยูในขวดที่บริษัทเดิมผลิตมา ทําใหยาเส่ือม คุณภาพเรว็ นอกจากนนั้ ผูจ ัดยาบางชดุ บางรายตองการกาํ ไรมากจึงเอายาปลอมมาขายดว ย ซึง่ เปนอนั ตรายมาก 4. ในยาชดุ มักใสย าอนั ตรายมากๆ ลงไปดว ย เพ่อื ใหอาการของโรคบรรเทาลงอยา งรวดเร็ว เปน ที่พอใจของผูซ อื้ ทัง้ ผขู ายโดยทย่ี าจะไปบรรเทาอาการแตไมไดแกสาเหตุของโรคอยางแทจริง อาจทําให โรคเปนมากขนึ้ ยาท่ีมีอันตรายสูงมากและจัดอยูในยาชุดเกือบทุกชนิด คือ ยาสเตียรอยด หรือที่เรียกวายา ครอบจกั รวาล นิยมใสในยาชุด เพราะมีฤทธ์ิบรรเทาอาการไดมากมายหลายอยาง ทําใหอาการของโรค ทุเลาลงเรว็ แตจะไมรักษาโรคใหห าย ยาสเตียรอยด เชน เพรดนิโซโลน เดกซาเมธาโซน ทาํ ใหเกดิ อนั ตราย ตอผูใชสูงมากทําใหเกิดอาการบวมนํ้า ความดันโลหิตสูง หัวใจทํางานหนัก หนาบวม กลมเหมือน พระจันทร ทําใหกระดูกพรุน เปราะหกั งา ย กระเพาะอาหารเปนแผล ความตานทานโรคลดลงและทําให เกดิ ความผดิ ปกติดานประสาทจิตใจ 5. ผทู ใ่ี ชยาชดุ จะไดยาไมค รบขนาดรกั ษาทพ่ี บบอ ยคอื การไดร ับยาปฏชิ วี นะเพราะการใชย า ปฏิชีวนะตองกนิ อยา งนอย 3-5 วนั วนั ละ 2-4 ครัง้ แลว แตชนดิ ของยา แตผซู อ้ื ยาชุดจะกนิ ยาเพียง 3-4 ชุด โดยอาจกนิ หมดในหนงึ่ วนั หรือกนิ วันละชดุ ซ่งึ ทําใหไ ดร บั ยาไมครบขนาด โรคไมห ายและกลับดอ้ื ยา อกี ดวย
99 การใชย าชุดจึงทําใหเ สียคณุ ภาพ การใชย าไมถกู โรค ทําใหโ รคไมหายเปน มากขน้ึ ผปู วยเสี่ยง อันตรายจากการใชย าโดยไมจ ําเปนสิน้ เปลืองเงนิ ทองในการรกั ษา 2. ยาดองเหลา และยาเลือด หลายคนอาจเคยเห็นและเคยรับประทานยาชนดิ นี้มาบางแลว แตเดิมยากลมุ นจี้ ะใชใ นกลุมสตรี เพ่ือบํารงุ เลอื ด ระดูไมป กติ และใชในกลุมสตรีหลังการคลอดบุตร เพ่ือใชแทนการอยูไฟ สวนประกอบ ของตัวยาจะมีสมนุ ไพรทีม่ รี สเผ็ดรอ นหลายชนดิ เชน รากเจตมูลเพลิงแดง กระเทียม พริกไทย เทียนขาว เปลือกอบเชยเทศ ขิง และสวนผสมอ่ืนๆ แลวแตชนิดของตํารับ มีขายทั้งที่เปนช้ินสวนสมุนไพรและท่ี ผลิตสาํ เรจ็ รูปเปนยาผงและยาน้าํ ขาย สวนใหญย าในกลมุ น้ียากท่จี ะระบถุ งึ สรรพคณุ ท่แี ทจ รงิ เน่ืองจากยัง ขาดขอมลู ผลของการทดลองทางคลินิกเทาท่ีทราบมีเพียงสวนประกอบของตัวยาซึ่งสวนใหญเปนสาร น้ํามันหอมระเหยและสารเผ็ดรอนหลายชนิด เม่ือรับประทานเขาสูรางกายจะรูสึกรอน กระตุนการ ไหลเวยี นโลหิต สมุนไพรหลายชนิดในตํารับ เชน เจตมูลเพลิงแดง และกระเทียม มีรายงานวาสามารถ กระตุนการบบี ตวั ของกลา มเน้ือมดลูก และมีรายงานการทดลองในหนูเพศเมยี เมื่อไดรับยาจะทาํ ใหล ดการ ตง้ั ครรภได จงึ เปน ขอทคี่ วรระวังในผูท่ตี ้ังครรภไ มควรรับประทานยากลุมน้ีอาจทําใหแทงได และหลาย ตํารับจะมีการดองเหลาดวย เม่ือรับประทานทําใหเจริญอาหารและอวนข้ึน การอวนมักเกิดจาก แอลกอฮอล (เหลา ) ทไ่ี ปลดการสรางพลังงานท่ีเกิดจากกรดไขมัน (Fatty acid) จึงมีการสะสมของไขมัน ในรา งกาย และอาจเกดิ ตบั แข็งไดถ ารบั ประทานในปรมิ าณมาก ๆ และติดตอ กนั ทุกวัน นอกจากนี้การดื่ม เหลา อาจทําใหเด็กทารกท่อี ยใู นครรภเ กิดการพกิ ารได ในเร่อื งยาเลือดนอี้ าจมีความเชื่อและใชกันผิดๆ คือ การนํายาเลือดสมุนไพรไปใชเปนยาทําแทง ซึ่งเปนส่ิงท่ีไมควรอยางยิ่งโดยเฉพาะเมื่อการตั้งครรภเกิน 1 เดอื น เนอ่ื งจากไมค อยไดผล และผลจากการกระตุน การบีบตัวและระคายเคืองตอผนังมดลูกที่เกิดจาก การใหย าอาจทาํ ใหเ กิดการทาํ ลายของเยื่อบุผนังมดลูกบางสว นเปนเหตุใหทารกเกิดมาพิการได 3. ยาชงสมนุ ไพร การใชย าสมุนไพรเปนทีน่ ยิ มกันในหลายประเทศ ท้ังทางประเทศยุโรปและเอเชียในประเทศ ไทยปจจุบันพบมาก มีการเพิ่มจํานวนชนิดของสมุนไพรมาทําเปนยาชงมากข้ึน เชน ยาชงดอกคําฝอย หญา หนวดแมว หญา ดอกขาว เปนตน ขอดขี องยาชงคอื มักจะใชส มนุ ไพรเดี่ยวๆ เพยี งชนดิ เดยี ว เม่ือใชก นิ แลวเกดิ อาการอันไม พึงประสงคอยางไรกต็ ามสามารถรูวาเกิดจากสมนุ ไพรชนิดใดตางกับตํารายาผสมท่เี ราไมส ามารถรูไดเลย ในตา งประเทศมรี ายงานเรือ่ งความเปน พิษทีเ่ กดิ จากยาชงสมุนไพรท่ีมขี ายในทอ งตลาดกนั มาก และเกดิ ได หลายอาการ สําหรับประเทศไทย รายงานดา นนยี้ ังไมพ บมากนกั เนือ่ งจากสวนใหญมีการเลือกใชสมุนไพร ที่คอ นขา งปลอดภัย แตท คี่ วรระวังมีชาสมนุ ไพรทีม่ สี วนผสมของใบหรอื ฝกมะขามแขก ใชประโยชนเ ปน ยาระบายทอ ง บางยห่ี อระบเุ ปนยาลดความอวนหรอื รบั ประทานแลว จะทาํ ใหห นุ เพรียวข้ึน อาการที่เกดิ คือ สาเหตจุ ากมะขามแขกซงึ่ เปน สารกลุมแอนทราควิโนน (Antharquinone) จะไปกระตนุ การบีบตวั ของ
100 ลําไสใ หญ ทาํ ใหเ กดิ การขบั ถาย การรับประทานบอยๆ จะทําใหรางกายไดรับการกระตุนจนเคยชิน เม่ือ หยดุ รับประทานรางกายจึงไมส ามารถขับถา ยไดเ องตามปกติ มีอาการทองผูกตองกลับมาใชยาระบายอีก เรื่อย ๆ จงึ ไมค วรใชยาชนิดน้ีติดตอกันนานๆ และหากจําเปนควรเลือกยาที่ไปเพ่ิมปริมาณกากและชวย หลอ ล่นื อุจจาระโดยไมดูดซึมเขาสูรางกาย เชน สารสกัดจากหัวบุกจะปลอดภัยกวา แตการรับประทาน ตดิ ตอ กนั นาน ๆ อาจทําใหร างกายไดร บั ไขมันนอ ยกวา ความตองการก็ได เพราะรา งกายเราตองการไขมัน ตอการดํารงชีพดวย สารกลมุ แอนทราควิโนน
101 บทที่ 7 ผลกระทบจากสารเสพตดิ สาระระสําคญั มคี วามรู ความเขาใจ สามารถวเิ คราะหป ญ หา สาเหตแุ ละผลกระทบจากการแพรระบาดของ สารเสพตดิ ได มีสวนรว มในการปองกันส่ิงเสพตดิ ในชมุ ชน และเผยแพรความรูดา นกฎหมายทเ่ี ก่ยี วของ กบั สารเสพติดแกผ อู ื่นได ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. วิเคราะหป ญหา สาเหตุ และผลกระทบจากการแพรร ะบาดของสารเสพติดได 2. ปฏบิ ตั ติ นในการหลกี เลยี่ งและมคี วามรวมมอื ในการปอ งกนั สงิ่ เสพติดในชุมชน 3. เผยแพรความรูดา นกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ งกับส่งิ เสพตดิ แกผ อู ่นื ได ขอบขายเนือ้ หา เรอ่ื งท่ี 1 ปญหาการแพรระบาดของสารเสพติดในปจ จุบนั เร่อื งท่ี 2 แนวทางการปอ งกนั การแพรระบาดของสารเสพตดิ เรอ่ื งท่ี 3 กฎหมายทเ่ี ก่ียวของกับสารเสพติด
102 เร่ืองท่ี 1 ปญหาการแพรร ะบาดของสารเสพติดในปจจุบนั ปจจบุ ันปญ หาการแพรระบาดของสารเสพติดนับวา รุนแรงมากยงิ่ ขน้ึ โดยเฉพาะในกลุมเด็กและ เยาวชน จากสถิติของกระทรวงสาธารณสุข พบวา จํานวนผูเสพและผูติดยาเสพติดในกลุมเด็กนักเรียน เพิม่ มากขนึ้ จนหนา เปน หวง ซง่ึ การท่เี ด็กวัยเรยี นมีการเสพตดิ ยอมสงผลกระทบตอสขุ ภาพ สติปญญาและ สมาธิในการเรียนรูทําใหคุณภาพประชากรลดลง เปนปญหาตอการพัฒนาประเทศ และการแขงขันใน ระดบั โลกตอ ไปในอนาคต ทง้ั น้ีจงึ ควรปอ งกันและแกปญ หาอยา งเรงดวนทั้งในครอบครวั โรงเรียน ชุมชน และประเทศ ปจจุบันมีส่ิงเสพติดอยูมากมายหลายประเภท ซึ่งออกฤทธิ์ตอรางกายในลักษณะตาง ๆ กัน แบงไดเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1. ประเภทออกฤทธ์กิ ดประสาท ส่งิ เสพตดิ ประเภทน้ีจะทาํ ใหสมองอยูในสภาวะมนึ งง มกี ารงวงซึม ไดแ ก ฝน มอรฟ น เฮโรอนี และจาํ พวกยานอนหลบั ยากลอมประสาท เชน เหลา แหง เปน ตน 2. ประเภทออกฤทธ์ิกระตุนประสาท ส่ิงเสพติดประเภทนี้จะทําใหเกิดตื่นเตน ประสาท ถูกกระตุน ไมใหมีอาการงวงหรือหลับใน เชน ยาบา ยาขยัน โคเคน ยามา แอมเฟตามีน กาแฟ และสาร คาเฟอีน บุหร่ี กระทอ ม และยาลดความอว น เปนตน 3. ประเภทออกฤทธิห์ ลอนประสาท สิง่ เสพตดิ ประเภทนีจ้ ะทาํ ใหเกิดประสาทหลอน ภาพลวงตา หแู วว หวาดกลัวโดยไมม สี าเหตุ อาจทาํ อันตรายตอตนเองและผูอ่ืน เชน แอล เอส ดี กวาวซีเมนต กัญชา ไอระเหยของเบนซนิ ทินเนอร กาวตา ง ๆ ฯลฯ นอกจากนี้ ปจจุบันไดมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของสารเสพติดออกมามากมาย ทั้งท่ีเปนเม็ด เปนน้ํา และผสมในเคร่ืองดื่ม ขนม หรอื อาหารประเภทตางๆ ซ่ึงยากที่จะติดตามตรวจสอบ จึงนับวาเปน อันตรายตอ เด็ก และเยาวชนเปนอยางย่งิ 1.1 สาเหตขุ องการตดิ สารเสพติด ปญ หาการตดิ สารเสพตดิ มสี าเหตจุ ากสามปจจยั ตอไปนี้ 1. ปจจยั ภายในตวั บุคคล ไดแ ก วัยของบคุ คล มกั พบวา ผเู สพยาสว นใหญจะเร่มิ ตน ในชว งอายุเขา สูวัยรุน กําลังอยูใน วัยคะนอง อยากลอง อยากรู อยากเห็นในสง่ิ ทแ่ี ปลกใหม - ความรู เจตคติ และความคิดเกยี่ วกับสารเสพตดิ ความรนุ แรง เชน เชื่อวา การใชก าํ ลัง หรอื ใชคาํ พดู รุนแรงทําใหค นอน่ื เชอ่ื ฟง ทาํ ตาม การตลี กู ทําใหลกู ไดด ี ผมู ศี กั ดิศ์ รีใครมาหยามตอ งตอสูกัน ใหแพชนะ ฯลฯ - ขาดทักษะที่จําเปนในการอยูรวมกับผูอ่ืน เชน ทักษะการส่ือสาร การจัดการกับ อารมณแ ละความเครยี ด การจดั การกับความโกรธ การแสดงออกท่ีเหมาะสม เปน ตน - การใชยาเสพติดและเครื่องดื่มแอลกอฮอล ทําใหคนขาดสติยับยั้ง ควบคุมตัวเอง ไมได
103 - เคยเห็นการกระทํารุนแรงหรือเคยเห็นเหย่ือกระทํารุนแรง เม่ือเกิดอารมณโกรธ ทาํ ใหก อ ความรนุ แรงไดง าย 2. ปจ จัยจากการเลย้ี งดูของครอบครวั - ขาดความรัก ความเขาใจ และการสนับสนุนจากครอบครัว เชน เม่ือมีปญหาขาด ผใู หญคอยดูแลใหค าํ แนะนําชว ยเหลอื เปนตน - เตบิ โตในบานท่ีใชความรุนแรง ทําใหเ หน็ แบบอยา ง และคิดวา ความรนุ แรงเปน เรื่อง ปกตใิ นสงั คม - การถกู ลงโทษและเปน เด็กที่เคยถูกทําราย - มีพอ แมหรอื พนี่ อ งทม่ี พี ฤติกรรมเก่ียวขอ งกับอาชญากรรม 3. ปจจัยจากสภาพแวดลอ ม - ความไมเ ทาเทียมกนั ทางสงั คม เศรษฐกจิ สังคมเมือง และความแออัดทําใหค น แขง ขนั สูง และเกดิ ความเครียด - การเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ อยางรวดเร็ว และมีการวา งงานสงู ในกลุมประชากร อายนุ อ ย - อทิ ธพิ ลจากสอ่ื เชน ภาพยนตร โทรทศั น หนงั สือพมิ พ ทแี่ สดงภาพความรนุ แรง ตา งๆ - มาตรฐานทางสังคมทส่ี นับสนนุ พฤตกิ รรมความรุนแรง เชน การทค่ี นมีพฤตกิ รรม ความรุนแรงไมไดรับการลงโทษ ความรนุ แรงเปน เร่ืองปกติในสังคม - อยูในพน้ื ท่ที ่สี ามารถหายาเสพตดิ ไดงาย 1.2 โทษ ภัย และผลกระทบของสารเสพตดิ โทษและภยั อันเกดิ จากการใชสารเสพตดิ นอกจากจะมีผลโดยตรง กอใหเกิดตอรางกายและ จติ ใจของผเู สพเองแลว ยังกอ ใหเ กดิ ผลกระทบตอระบบครอบครัว ระบบสังคม และประเทศชาติ ดังนี้ 1. โทษและภัยตอ ตัวผูเ สพ ฤทธ์ขิ องสารเสพตดิ จะมีผลตอระบบประสาทและระบบอวัยวะตางๆ ของรา งกาย ตลอดจนจติ ใจของผูท ่เี สพเสมอ ดังน้ัน จะพบวา สุขภาพรางกายของผูท่ีเสพยาจะทรุดโทรม ท้ังรายกายและจิตใจ เชน มีรูปรางผอม ซูบซีด ผิวคล้ํา ไมมีแรง ออนเพลียงาย สมองเสื่อมและความจํา สับสน เปนโรคติดเชื้ออ่ืน ๆ ไดงาย เชน โรคตับอักเสบ ไตอักเสบ โรคระบบทางเดินหายใจ โรคหัวใจ โรคมะเร็ง ภูมิตานทานในรางกายจะลดลง มีสภาวะทางจิตใจไมปกติ สภาพจิตใจเส่ือมลง อารมณ แปรปรวนงา ย ซมึ เศรา วติ กกังวล ความรูสึกฟุงซาน ซ่ึงจากผลรายทเี่ กดิ ข้ึนดงั กลาว จะผลกั ดันใหผ เู สพ ยาเสพติดเปนบุคคลท่ีไรสมรรถภาพทั้งรางกายและจิตใจในการดําเนินชีวิตในสังคม ขาดความเชื่อม่ัน สญู เสียบุคลิกภาพ ไมส นใจตนเอง ไมส นใจการงานหรือการเรียน และผเู สพบางรายอาจประสบอุบัติเหตุ ถึงขัน้ พกิ าร เชน พลัดตกจากท่ีสูงขณะทํางาน หกลม อันเนื่องมาจากฤทธิ์ของยาเสพติดท่ีมีผลตอระบบ ประสาทและสมอง
104 2. โทษและภัยตอครอบครัว การตดิ สารเสพติดนอกจากจะทาํ ใหเ ส่ือมเสียชื่อเสียงของตนเอง และครอบครัวแลว ยังทําใหผูเสพกลายเปนบุคคลที่ขาดความรับผิดชอบตอครอบครัวไมหวงใยดูแล ครอบครวั ทาํ ใหค รอบครัวขาดความอบอุน ตองสญู เสียเศรษฐกิจและรายไดของครอบครัว เนื่องจากตอง นําเงนิ มาซื้อสารเสพติด บางรายอาจตองสญู เสียเงินจํานวนไมนอยเพ่ือรักษาตนเองจากโรครายแรงตาง ๆ อันเกิดจากการใชสารเสพติด กลายเปนภาระของครอบครัวในท่ีสุด อีกท้ังนําไปสูปญหาครอบครัว เกิดการทะเลาะวิวาทกันบอ ยๆ เกิดความแตกแยกภายในครอบครัว เปน ตน 3. โทษและภัยตอสังคมและเศรษฐกิจ ผูที่เสพสารเสพติด นอกจากจะเปนผูที่มีความรูสึกวา ตนเองดอยโอกาสทางสังคมแลว ยังอาจมีความคิดหรือพฤติกรรมท่ีนําไปสูปญหาสังคมสวนรวมได เชน กอ ใหเ กดิ ปญ หาอาชญากรรม เชน ปลน จ้ี ทาํ รา ยรา งกายผอู ืน่ เพ่ือชิงทรพั ย ปญหาอุบตั เิ หตุ เชน รถชน หรือตกจากที่สูง และปญหาโรคเอดส เปนตน นับวาเปนการสูญเสียทรัพยากรบุคคลอันมีคา ตลอดจน ทรพั ยสนิ ของตนเองและสวนรวมอยางไรประโยชน ทําใหเปนภาระของสังคมสวนรวม ในการจัดสรร บคุ ลากร แรงงาน และงบประมาณในการปราบปรามและบาํ บดั รกั ษาผูตดิ สารเสพติดในทส่ี ดุ 4. โทษและภยั ตอประเทศชาติ ผูท่ีเสพสารเสพติดและตกเปนทาสของสารเสพติดอาจกลาว ไดว า เปนผทู บ่ี อ นทาํ ลายเศรษฐกิจและความม่นั คงของชาติ เน่อื งจากผูท ีเ่ สพสารเสพติดทําใหรัฐบาลตอง สญู เสยี กําลังคมและงบประมาณแผนดินจํานวนมหาศาล เพื่อใชจายในการปราบปรามและบําบัดรักษา ผูติดสารเสพติด ทําใหตองสูญเสียทรัพยากรบุคคลอันมีคา เกิดความไมสงบสุขของบานเมือง ทําให เศรษฐกิจทรุด บ่ันทอนความมั่นคงของประเทศชาติ ตองสูญเสียกําลังสําคัญของชาติอยางนาเสียดาย โดยเฉพาะถา ผูทเี่ สพสารเสพติดเปนเยาวชน
105 เร่ืองที่ 2 แนวทางการปองกันการแพรร ะบาดของสารเสพตดิ ปญ หายาเสพตดิ เกดิ ขึน้ ไดเ พราะมีสถานการณสองอยางประกอบกัน คือ มีผูตองการใชยาอยูใน สังคม (Demand) กับมียาเพื่อตอบสนองความตองการของผูใช (Supply) ซ่ึงองคประกอบทั้งสองน้ี ตางฝายตางสงเสริมสนับสนุนซ่ึงกันและกันแบบลูกโซ ดังนั้น การแกไขปญหายาเสพติด จึงตอง ดําเนนิ การกับองคประกอบท้ังสองอยางไปพรอม ๆ กัน คือ จะตองลดปริมาณความตองการยาเสพติดลง ในขณะเดยี วกนั ก็จะตองลดปรมิ าณของยาเสพตดิ ในตลาดดวย ในทางปฏิบัติระหวางมาตรการสองอยางนี้ ดูเหมอื นวา มาตรการลดความตองการจะไดรับความสนใจนอยกวา เพราะคนสวนใหญจะนึกถึงการลด ปริมาณยาในตลาดเสยี มากกวา ปญหายาเสพตดิ คือ ปญ หาท่เี กิดจากการใชยาเสพติดหรือใชย าในทางที่ผิดซึ่งเปนปญหาพฤติกรรม ของมนุษยอันเนื่องมาจากความคาดหวังที่จะไดรับประโยชนจากฤทธิ์ของยาหรือจากความคิดท่ีจะอาศัย ฤทธ์ิยาเปนที่พึ่งในสถานการณตางๆ องคประกอบสําคัญของปญหาคือ ยากับคนเปนองคประกอบหลัก โดยมีแรงจงู ใจใหใ ชย ากบั โอกาสที่เอ้อื ตอ การใชย าเปน องคประกอบเสริมถาองคประกอบอยางใดอยางหนึ่ง ขาดไปปญหายาเสพติดจะไมเกิดข้ึน มีแตคนแตไมมียา หรือมีแตยาแตไมมีคนใชยาปญหาก็จะไมเกิด หรือมีคนมยี าแตไมมแี รงจูงใจใหคนเอายามาใช ปญ หาก็จะไมเ กดิ หรือแมจ ะมีแรงจูงใจใหใ ชยา มีคนที่อยาก ใชย า และมยี าใหใ ช แตไมม โี อกาสจะใช เชน สถานที่ไมเหมาะสม ไมมีอุปกรณ มีตํารวจตรวจตราเขมงวด หรอื อยูในสายตาพอ แม ครอู าจารยการใชยาจะเกดิ ขึน้ ไมได ปญ หายาเสพตดิ ก็จะไมเ กิด ดงั น้ัน การปองกนั ปญหายาเสพติด ไดแก การปอ งกนั พฤตกิ รรมการใชยาของมนษุ ยทเ่ี กดิ จากการ คดิ พึ่งยาและหวงั ผลจากฤทธย์ิ านน้ั เอง ซึ่งบุคคลในขายท่ตี อ งปองกันไมใหทําพฤติกรรมใชยาเสพติดอาจ แบงออกเปน 3 กลมุ ดว ยกัน คือ 1. กลุม ทีย่ งั ไมเ คยใชยาและยงั ไมเรมิ่ ใชย า 2. กลุมทเ่ี คยใชยา ซ่ึงจาํ แนกออกไดเปนพวกทเ่ี คยลองใชแลวเลิก พวกที่ใชเ ปนคร้ังคราว พวกท่ีใชบ อย ๆ เปนประจาํ แตย ังไมถ ึงขั้นตดิ ยา และพวกตดิ ยาใชยาแลว 3. กลุมท่ใี ชยาเปนประจําหรอื ตดิ ยาท่ีผานการบาํ บัดรกั ษาและเลิกใชย าตดิ ยามาแลว เนือ่ งจากบุคคลท้งั สามกลมุ ท่ีกลาวมานีม้ ีโอกาสที่จะเปน ผูใชยา และตดิ ยาในอนาคตได เชนเดียวกัน กิจกรรมของขายงานปองกันจึงจําเปนตองครอบคลุมบุคคลทั้งสามกลุม โดยที่ผูดําเนินงานปองกัน เปาหมายแตละกลุมจะตองกําหนดมาตรการและวิธีการใชแตกตางกันออกไป เพ่ือใหเหมาะสมกับ ลกั ษณะเฉพาะของเปาหมายแตล ะกลุม ลักษณะงานดา นปองกัน (Prevention) จึงมี 3 ระดับดวยกัน คือ 1. การปองกนั ขนั้ พื้นฐาน (Primary Prevention) 2. การปองกนั ขัน้ ท่สี อง (Secondary Prevention) 3. การปองกันข้ันท่สี าม (Tertiary Prevention)
106 1. การปอ งกันข้นั พ้นื ฐาน (Primary Prevention) การปองกนั พืน้ ฐานหรือบางคนเรียกวาการปอ งกันเบอ้ื งตน หมายถึง การดําเนินการใด ๆ เพอ่ื สรางภูมิคุมกนั ใหเยาวชนปดประตูท่ีจะนําไปสูการใชยาเสพติดอยางถาวร ใหเยาวชนตัดสินใจดวย ตนเองท่จี ะไมใชยาเสพติด ไมค ิดจะเสยี่ ง ทดลอง เปน การมุง ปอ งกนั คนสวนใหญของแผนดินไมใหเขาไป หายาเสพตดิ เปนการปอ งกันอยา งถาวร งานปองกันขนั้ พืน้ ฐานจงึ นบั เปนงานทม่ี คี วามสําคัญที่สุด และเปนกุญแจสําคัญนําไปสู ความสําเร็จของการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดของชาติ แตในขณะเดียวกันเปนงานท่ีมีความ สลับซบั ซอนทําไดยาก เพราะเปน งานท่เี กีย่ วของกับการวางรากฐานใหกับคนสวนใหญของประเทศ ซึ่ง ตองเร่ิมปลูกฝงตั้งแตยังเยาววัยตอเนื่องกันไปจนพนวัยเรียน โดยอาศัยความรวมมือจากหลายฝายให ชว ยกันทาํ 2. การปองกนั ขั้นทสี่ อง (Secondary Prevention) การปองกันขั้นที่สองนี้ใชกันในความหมายที่แบงเปน 2 นัย นัยหน่ึง หมายถึง การปอ งกนั โดยทางออ ม ซงึ่ หมายถงึ การกระทําใด ๆ ท่เี ปน การขดั ขวางไมใหยาเขาไปสูคน โดยมีจุดหมาย ที่เร่ิมจากตัวยาเสพติดทเ่ี ปน ปญหาหลัก ซ่ึงตรงกนั ขา มกบั การปอ งกนั ข้นั พื้นฐานทมี่ งุ ปองกนั ไมใหค นเขา ไปหายา ดว ยการมองภาพที่คนเปน จดุ ต้ังตน ดังน้ัน การปองกันข้ันท่ีสอง ตามความหมายนี้จึงครอบคลุมถึงงานเกี่ยวกับ การปราบปราม ยดึ อายัด เผาทาํ ลายยาเสพติด การสกดั ก้นั การตรวจเขม การตรวจปสสาวะหาสารเสพติด การสง เจา หนา ทต่ี ํารวจเขาไปประจําทาํ การสอดแนมในโรงเรยี น รวมถึงมาตรการตรวจจับ จําแนก เพือ่ แยกผใู ชย าเสพตดิ ไปรับการบําบดั รกั ษาฟน ฟู หรอื ปองกันไมใหผตู ดิ ยาสามารถเผยแพรยาเสพตดิ ไปสู ผไู มใชเ สพติดดวย ส ว น อี ก นั ย ห นึ่ ง เ ป น ค ว า ม ห ม า ย ที่ มั ก ใ ช กั น ใ น ว ง ก า ร ข อ ง ผู มี อ า ชี พ แ น ะ แ น ว ในความหมายของการดําเนนิ การชวยเหลือใหผูที่เคยลองใชยาเสพติด หรือผูที่ใชยาเสพติดชนิดใดชนิด หนึ่งเปนคร้ังคราวหรือใชบ อ ยๆ แตย ังไมติดยา ใหป รบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมเลกิ ใช เลิกเก่ียวขอ งกับยาเสพติด ชนิดน้ันๆ เปนมาตรการแยกคนออกจากยา หรือดึงคนติดยาออกจากยาเสพติดดวยมาตรการแนะแนว ใหคําปรึกษาและจิตเวชบําบัด เปนการปองกันท่ีเนนการสกัดกั้นเพื่อหยุดยั้งพฤติกรรมการใชยาเสพติด ของกลุมผูทใี่ ชยาเสพติดหรือมีประสบการณเกี่ยวขอ งกับยาเสพติดมาแลว 3. การปองกันขนั้ ท่ีสาม (Tertiary Prevention) การปองกันขั้นทสี่ าม คอื การปอ งกนั การตดิ ซ้าํ (Relapse) เปนมาตรการทใี่ ชสาํ หรับผตู ดิ ยาเสพติดที่ไดรบั การบําบัดรักษาดว ยการถอนพษิ ยาแลว ไมใ หกลบั ไปตดิ ยาซาํ้ ใหมอ ีก เปน มาตรการเสริม ทสี่ นบั สนนุ มาตรการทางการแพทย เพ่ือใหผูปวยที่ไดร บั การรักษาใหห ายขาดจากยาแลว อยูอยางปลอดภัย จากยาเสพตดิ ไดย าวนานขนึ้ กอ นทีจ่ ะหวนกลบั ไปติดยาอีก
107 การปองกนั ขน้ั ท่ีสามจะอาศยั มาตรการทกุ ชนิดทีม่ ุง ใหผูตดิ ยาหายจากอาการติดยาทางจิต ดวยมาตรการฟนฟจู ติ ใจ (Rehabilitation) ดว ยวิธีจติ เวชบาํ บดั (Psychological therapy) การใหค าํ ปรกึ ษา (Social counseling) กลุม บาํ บดั (Group therapy) และนนั ทนาการบําบดั (Recreational therapy) เปน ตน การปอ งกนั ผตู ดิ ยาเสพติดที่บาํ บัดแลวไมใหกลับไปติดยาใหมอีก ถือเปนสวนหน่ึงของ งานดานการปองกันท่ีมุงลดความตองการยาลงดวยการสกัดก้ันไมใหกลับไปใชยาอีก ซึ่งจะเปนการ ปองกนั ไมใหพ วกเขานํายาไปเผยแพรต อ ใหค นอ่ืนไดดวย โดยสรปุ แลว การปองกันขัน้ พ้นื ฐาน นั้นเปนการปองกันมิใหมีการทดลองใชยา การใช ยาในทางท่ีผดิ หรอื มใิ หมผี ูเ สพติดรายใหมๆ เกิดขึ้น การปองกันข้ันท่ีสองเปนการเรงรีบนําผูท่ีติดยาแลว ไปบําบดั รกั ษา และการท่ีจะทาํ การปองกนั การเสพติดไดอยา งมปี ระสิทธิภาพน้ันจาํ เปนตองมีความเขาใจ ในสาเหตุและองคประกอบของปญหาการเสพติดเสียกอน องคประกอบที่ทําใหเกิดการติดยาน้ัน ไดแก คน ยา และปจจัยที่เอ้ืออํานวยใหมีการติดยา การวางแผนแกไขและปองกัน จึงจําตองศึกษาหาสาเหตุ เฉพาะและใหการปองกันใหตรงกับสาเหตุหลัก ดังนั้น การปองกันการเสพติดที่เจาะจงถึงสาเหตุน้ัน มีแนวทาง 3 แนวทาง ไดแ ก 1. การปองกันในวงกวาง เปนการปองกันโดยเนนเปาหมายที่สังคมโดยทั่วไปมุงสราง สังคมใหตระหนกั ถึงพษิ และภัยของยา ลดความตองการของสังคม และลดการตอบสนองของยาเสพติด ซึ่งการดําเนินงานมีหลายรูปแบบ เชน การพัฒนาสุขภาพ การสรางเสริมศีลธรรม การใชกฎหมาย การพฒั นาสงั คม ฯลฯ กลวธิ ีของการปองกนั ในแนวกวา ง ไดแ ก 1.1 การใหการศึกษาในการถายทอดความรู เพื่อใหเกิดการเรียนรูทักษะและ ประสบการณใ นการสรา งคณุ ภาพชวี ติ และการไมพ่งึ พายาเสพตดิ โดยเนนถึงการพัฒนาตนเองและจิตใจ ใหมีความเช่ือม่ันวา ตนเองมีคุณคา สรา งสุขนิสัย และฝก ทักษะในการประกอบอาชีพ 1.2 การใหขอมูลและขาวสาร เปน การใหข อ มลู และขา วสารทถ่ี ูกตอ งของปญ หา ยาเสพตดิ เพ่อื ใหช ุมชนไดว ิเคราะห เลือกขอ มลู และตดั สนิ ใจดว ยตนเองในการนําไปใชใหเกิดประโยชน ตอ ตนเอง 1.3 การจัดกิจกรรมทางเลือก ดวยการสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดกิจกรรมตาง ๆ ทเี่ หมาะสมกับพน้ื ฐานของบคุ คลและชุมชน เพ่อื เปน ทางเลอื กในการใชเ วลาชวยเบีย่ งเบนความสนใจจาก พฤติกรรมทีไ่ มเหมาะสมและเปนการชว ยพฒั นาท้งั รางกายและจิตใจ 2. การปองกันในวงแคบ มุงเนนเฉพาะบุคคลบางกลุม หรือชุมชนบางแหงท่ีเส่ียงตอ ปญ หาการเสพติด กลวธิ ีในการดําเนนิ งาน การปอ งกนั ในวงแคบ ไดแ ก 2.1 การฝกอบรม เปนการฝกอบรมแกกลุมแกนนําและกลุมประชาชนใหมีความรู ดานการปองกันการเสพติด การใชยาในทางที่ถูก โดยมจี ุดประสงคใ หกลุม แกนนําประยุกตความรูนั้นไป ปฏบิ ัติในชมุ ชนใหสอดคลอ งกับสภาพของทองถ่ิน สวนกลุมประชาชนน้ันใหมีความรูและมีพฤติกรรม ตอตา นการเสพติดโดยตรง
108 2.2 การรณรงค เปนการเผยแพรขาวสารโดยการระดมสื่อตาง ๆ ภายใตขอบเขตท่ี กาํ หนดไว ใหป ระชาชนเกิดการตื่นตวั ตระหนกั ถงึ ปญหาและเขา มามสี วนรวมในการแกปญหา 2.3 การปฏบิ ตั กิ ารทางสังคม เปนวิธีการที่หวังผลของการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว เชน ขจัดแหลงม่ัวสุม กวาดลา งแหลง ผลิต ฯลฯ 3. การปอ งกันกรณีพิเศษ เปนการปองกันท่ีเนนในวงแคบที่สุด โดยเปาหมายอยูท่ีผูคา ผตู ิดยาเสพติด หรอื ผูทีม่ ีความเสย่ี งสูง และครอบครัว เชน บคุ คลท่ีกาํ ลงั เผชิญกับปญหาของตนเอง บุคคล ทค่ี รอบครัวแตกแยก ผตู ดิ ยาทีผ่ า นการถอนพิษยามาแลว กลวธิ ีในการปอ งกนั ในกรณพี เิ ศษน้ี ไดแก 3.1 การวเิ คราะหปญหา เพ่ือใหผ ูติดยาไดท ราบเกย่ี วกับพฤติกรรมและปญหาของตน ในการติดยา 3.2 การใหคาํ ปรกึ ษาแนะนาํ เปน การใหแ นวทางปฏิบัติสําหรับเลือกปฏิบัติในกรณีท่ี เกดิ ปญหาเพือ่ หลกี เล่ียงการใชย าเสพติด 3.3 การใหคําปรึกษาแกครอบครัว เพ่ือลดความกดดันในครอบครัวลงและให แนวปฏบิ ัติแกค รอบครวั ของผูติดยาเสพตดิ หรอื ผทู ี่มีความเสีย่ งสูงเพอื่ ลดปญ หาของตนเอง 3.4 การใหสุขศึกษา เปนการใหความรูเรื่องยาและสุขภาพอยางถูกตอง เพื่อปองกัน การกลบั ไปใชย าในทางที่ผดิ อีก 3.5 การใหกําลังใจ เพื่อเพ่ิมกําลังใจใหแกผูติดยาในขณะที่กําลังเผชิญปญหาท่ีอาจ นาํ ไปใชในทางที่ผิดอีก 3.6 การฝก อาชีพ เพ่อื เปน แนวทางในการดํารงชีวิตตามความสามารถและความถนัด ของตนเปนการลดความกดดันดานเศรษฐกจิ และใชเ วลาวา งใหเ ปนประโยชน กลวธิ ที ุกอยา งสามารถนาํ ไปปฏบิ ัตพิ รอ มๆ กนั ไดหลายกลวิธไี มวา จะเปน การปองกัน ในระดับไหน หรอื มวี ัตถปุ ระสงคเพ่อื ปองกนั มิใหเกดิ การใชยาในทางที่ผดิ หรือปองกันการติดซ้ําซ่ึงเปน หัวใจสําคัญของการปองกันและแกปญหาการติดสารเสพติด ทุกฝายท่ีเกี่ยวของควรเขามามีสวนรวม ดําเนนิ การอยางจริงจงั เรอื่ งที่ 3 กฎหมายทเี่ กี่ยวขอ งกบั สารเสพติด “ยาเสพตดิ เปน ภัยตอ ชวี ิต เปนพษิ ตอสงั คม” เปน คาํ กลา วทแ่ี สดงถึงภาพของยาเสพตดิ เปนอยา งดี ในปจจุบันปญ หาเรือ่ งยาเสพตดิ เปนปญ หาทท่ี ุกชาตใิ หค วามสําคัญเปนอยางมากในการปอ งกนั และ ปราบปรามและถอื วาเปน ความผดิ สากลซงึ่ แตละชาตสิ ามารถจับกุมและลงโทษผกู ระทาํ ความผิดเกยี่ วกบั ยาเสพตดิ ไดท นั ที กฎหมายเก่ียวกับยาเสพติดไดใหค วามหมายของคาํ วา ยาเสพติดไวดังน้ี “สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเมื่อเสพเขาสูรางกายไมวาจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือดวยประการใด ๆ แลวทําใหเกิดผลตอ รางกายและจิตใจในลักษณะสําคัญ เชน ตองเพ่ิมขนาดการเสพข้ึนเปนลําดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา
109 มคี วามตองการเสพท้งั ทางรา งกายและจิตใจอยางรุนแรงตลอดเวลา และสขุ ภาพโดยทว่ั ไปจะทรุดโทรมลง รวมถึงพืชหรือสวนของพืชที่เปนหรือใหผลผลิตเปนยาเสพติดใหโทษ หรืออาจใชผลิตเปนยาเสพติด ใหโ ทษและสารเคมที ใ่ี ชในการผลิตยาเสพติดใหโทษดวย” จากความหมายของยาเสพติดทําใหทราบวา อะไรบา งทีเ่ ขา ลักษณะของยาเสพติด พชื อาจเปนยาเสพติดได ถาเสพแลวเกิดผลตอรางกายและจิตใจจน ขาดไมได มใิ ชเ ฉพาะแตเ ฮโรอนี ซงึ่ เปนสิ่งสงั เคราะหเ ทา นั้นท่เี ปนยาเสพตดิ ใหโทษ ประเภทของยาเสพติดและบทลงโทษตามกฎหมาย ตามกฎหมายไดแ บง ประเภทของยาเสพตดิ ใหโทษแบง ออกเปน 5 ประเภท ประเภท 1 ยาเสพตดิ ใหโทษชนดิ รา ยแรง เชน เฮโรอีน ฝน เปนตน หามมใิ หผใู ด ผลติ จาํ หนา ย นาํ เขา สง ออก หรอื มีไวในครอบครอง ซ่ึงยาเสพติดใหโทษประเภท 1 เวนแตเ พือ่ ประโยชนท างราชการตามท่ี รมต.ฯ อนญุ าตเปน หนงั สือเฉพาะราย ผูฝ าฝน ระวางโทษตั้งแต 1 ปถ ึงประหารชีวติ แลว แตจํานวนยาเสพติดท่ีจําหนายหรือมีไวใ นครอบครอง ประเภท 2 ยาเสพตดิ ใหโ ทษทัว่ ไป เชน มอรฟน กฎหมายหามมิใหผูใดผลิต นําเขา หรือสงออก ซ่ึงยาเสพติดใหโทษประเภท 2 แตสามารถ จําหนา ยหรือมไี วในครอบครองไดเ ม่ือไดรับอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาหรือผูซ่ึง ไดร ับมอบหมายหรอื สาธารณสขุ จงั หวัด สําหรับการมีไวในครอบครองที่ไมเกินจํานวนท่ีจําเปนสําหรับ ใชรักษาโรคเฉพาะตัว โดยมีหนังสือรับรองของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมไมตองขออนุญาต ผูฝาฝน ระวางโทษจําคุกไมเกิน 5 ป ถึงจําคุกตลอดชวี ิตแลว แตค วามหนักเบาของความผดิ ประเภท 3 ยาเสพติดใหโทษที่มียาเสพติดประเภท 2 เปนสวนผสมอยูดวย เชน ยาแกไอผสม โคเคอีน เปน ตน กฎหมายหามมิใหผูใดผลิต นําเขา หรือสงออก ซ่ึงยาเสพติดใหโทษประเภท 3 เวนแตไดรับ อนุญาต ซึ่งตองเปนรานคาที่ไดรับอนุญาตใหผลิต ขายนําหรือสงเขาในราชอาณาจักรประเภทยาแผน ปจจุบนั และมีเภสัชกรประจําตลอดเวลาท่ีเปดทาํ การ ผูฝาฝน ระวางโทษจาํ คุกไมเกิน 1 ป ถงึ จาํ คกุ ไมเกิน 3 ป ประเภท 4 สารเคมีท่ีใชใ นการผลิตยาเสพติดใหโ ทษประเภท 1 หรอื ประเภท 2 กฎหมายหามมิใหผูใดผลิต นําเขา หรือสงออกหรือมีไวในครอบครอง ซึ่งยาเสพติดใหโทษ ประเภท 4 เวน แตร ฐั มนตรอี นุญาต ผูฝา ฝน ระวางโทษจาํ คกุ ตง้ั แต 1 ป – 10 ป ประเภท 5 ยาเสพตดิ ใหโ ทษทม่ี ิไดเขา อยใู นประเภท 1 ถึงประเภท 4 เชน กญั ชา พืชกระทอ มเปนตน กฎหมายมิใหผูใดผลิต จําหนาย นําเขา สงออก หรือมีไวในครอบครอง ซ่ึงยาเสพติดใหโทษ ประเภท 5 เวน แตรัฐมนตรีอนุญาต ผฝู า ฝน ระวางโทษจําคกุ ตง้ั แต 2 ป – 15 ป
110 บทลงโทษเกีย่ วกับสารระเหย ตามพระราชกําหนดปอ งกนั การใชส ารระเหย พ.ศ. 2533 กาํ หนด มาตรการควบคุมไมใหนําสาร ระเหยมาใชในทางท่ีผิดไวหลายประการและกาํ หนดใหผ ูฝา ฝนไมป ฏิบัติตามมาตรการดงั กลาว มคี วามผิด และตอ งรับโทษ ซ่งึ มีรายละเอียดดังนี้ 1. กาํ หนดใหผ ผู ลติ ผนู าํ เขา หรือผูขายสารระเหย ตองจัดใหมีภาพหรือขอความที่ภาชนะบรรจุ หรือหีบหอบรรจสุ ารระเหย เพื่อเปนการเตือนใหระวังการใชส ารระเหยดังกลา ว ผฝู า ฝนตองรบั โทษจาํ คุก ไมเกินสองปหรือปรับไมเ กนิ สองหมื่นบาท หรอื ทง้ั จําท้ังปรับ 2. หามไมใหผูใดขายสารระเหยแกผูที่มีอายุต่ํากวาสิบแปดปบริบูรณ เวนแตเปนการขายโดย สถานศกึ ษาเพอ่ื ใชใ นการเรียนการสอน ผฝู าฝน ตอ งรับโทษจาํ คุกไมเ กนิ หนึง่ ป หรือปรับไมเ กินหนึ่งหม่ืน บาท หรอื ทั้งจาํ ท้งั ปรับ 3. หา มไมใหผ ูใ ดขาย จดั หา หรือใหสารระเหยแกผูอื่นซึ่งตนรูหรือควรรูวาเปนผูติดสารระเหย ผูฝาฝน ตองรับโทษจาํ คกุ ไมเกนิ สองป หรือปรบั ไมเกนิ สองหมื่นบาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรบั 4. หามไมใหผูใดจูงใจ ชักนํา ยุยงสงเสริม หรือใชอุบายหลอกลวงใหบุคคลอ่ืนใชสารระเหย บาํ บัดความตองการของรางกายหรือจิตใจ ผูฝาฝนตองรับโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสอง หมื่นบาท หรือทั้งจาํ ท้ังปรับ 5. หา มไมใหผ ูใดใชส ารระเหยบําบัดความตอ งการของรา งกายหรอื จิตใจ ไมวาโดยวิธีสูดดมวิธี อ่นื ใด ผฝู า ฝนตอ งรบั โทษจําคุกไมเกนิ สองปหรอื ปรบั ไมเกนิ สองหมน่ื บาท หรือทง้ั จําทงั้ ปรับ พึงระลึกเสมอวา การเสพตดิ สารระเหย นอกจากจะเปนโทษตอรางกายแลว ยังเปนการกระทําที่ ผิดกฎหมายดวย ท้ังนี้ กฎหมายท่ีเก่ียวของกบั ยาเสพตดิ ท่มี กี ารออกพระราชบญั ญตั แิ ละระเบยี บตา งๆ ใชกันอยูใน ปจ จบุ ันมีหลายฉบบั ซึง่ สามารถจัดเปน กลมุ ๆ ได คือ 1. กฎหมายทเ่ี ก่ยี วกบั ตวั ยา ไดแ ก 1.1 พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโทษ พ.ศ. 2522 1.2 พระราชบญั ญตั ิยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ. 2545 1.3 พระราชบญั ญตั วิ ัตถทุ ่ีออกฤทธิ์ตอ จติ และประสาท พ.ศ. 2528 แกไขเพม่ิ เติม พ.ศ. 2535 1.4 พระราชกาํ หนดปอ งกันการใชสารระเหย พ.ศ. 2533 1.5 พระราชบญั ญตั ิควบคุมโภคภณั ฑ พ.ศ. 2495 2. กฎหมายทเี่ กย่ี วกับมาตรการ ไดแ ก 2.1 พระราชบญั ญัติปอ งกนั และปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.2519 2.2 พระราชบญั ญตั ปิ องกันและปราบปรามยาเสพตดิ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2545 2.3 พระราชบัญญัติฟน ฟสู มรรภาพผตู ดิ ยาเสพติด พ.ศ.2545
111 ประชาชน นักเรียน นักศึกษาจึงควรศึกษาทําความเขาใจถึงขอกําหนดการกระทําผิดและ บทลงโทษท่ีเกย่ี วกบั ยาเสพติด เพ่ือหลีกเล่ียงการกระทําผิดพรอมทั้งควรแนะนําเผยแพรความรูดังกลาว แกเพื่อน สมาชิกในครอบครัว และประชาชนในชุมชน ใหตระหนักถึงโทษภัยของยาเสพติด รวมท้ัง รวมกนั รณรงคปองกนั การแพรระบาดสูเด็กและเยาวชนในชุมชน ตอ ไป ทัง้ น้ี การกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดไมวาจะกระทําในหรือนอกประเทศตองรับโทษใน ประเทศ ซง่ึ ถา รับโทษจากตา งประเทศมาแลว ศาลอาจลดหยอนโทษใหต ามสมควรและตามที่กลาวไวใน ตอนตน ถงึ ความจริงจงั ในการปอ งกันและปราบปรามยาเสพติด จึงมีการกําหนดใหการกระทําบางอยาง ตองรบั โทษหนักกวากฎหมายอื่น เชน กําหนดโทษใหผูพยายามกระทําความผิดตองระวางโทษเสมือน กระทาํ ความผดิ สําเรจ็ ซึ่งตามกฎหมายอาญาผูพ ยายามกระทาํ ความผิดจะรับโทษเพียง 2 ใน 3 ของโทษมี กาํ หนดสาํ หรับความผิดน้ันเทานั้น นอกจากน้ีผูสนับสนุน ชวยเหลือ ใหความสะดวกผูกระทําความผิด ตองระวางโทษเชนเดียวกบั ผกู ระทําความผิด และทรัพยสินทีไ่ ดม าจากการกระทําความผดิ จะตองถูกศาล ส่ังริบ นอกจากพิสูจนไดวาทรัพยสินน้ันไมเก่ียวของกับการกระทําความผิด และในเรื่องการสืบทราบ การกระทําผิดเจาหนาทม่ี ีอํานาจเรียกบุคคลใดใหถ อ ยคําสงบัญชีเอกสารหรือหลักฐานใด ๆ ประกอบการ พิจารณาและมอี าํ นาจเขา ไปในเคหสถานเมือ่ ตรวจคนหลักฐานในกรณีมเี หตุอนั ควรสงสัยวามีการกระทํา ความผิดเกีย่ วกับยาเสพติด เม่อื ตรวจสอบและพบหลักฐานการกระทาํ ความผดิ เกย่ี วกับยาเสพติดเจาหนาท่ี มีอํานาจจับกุมและสอบสวนผูกระทําผิดและทําสํานวนฟองศาลตอไปตามกระบวนพิจารณาของศาล ซึ่งโทษท่ีจะไดรับสําหรับผูกระทําความผิดจะเปนโทษท่ีหนักเน่ืองจากความผิดเก่ียวกับยาเสพติดเปน ความผดิ รายแรงทแี่ ตล ะชาติไดใ หความสําคัญตามทีก่ ลาวไวในขางตน
112 บทท่ี 8 ทกั ษะชวี ิตเพ่ือสุขภาพจิต สาระสําคญั มีความรู ความเขา ใจ เกยี่ วกบั ความสาํ คัญของทักษะชีวิตทั้ง 10 ประการ และสามารถนําความรู ไปประยกุ ตใ ชในชวี ติ ประจาํ วันในการทาํ งาน การแกปญหาชีวิตครอบครัวของตนเองไดอยางเหมาะสม ตลอดจนสามารถนํากระบวนการทักษะชวี ิตไปใชในการแกปญ หาแกครอบครวั ผอู น่ื ได ผลการเรียนรูทีค่ าดหวงั 1. สามารถบอกถงึ ความหมาย ความสําคัญของทกั ษะชีวติ ไดอ ยางถูกตอง 2. สามารถอธบิ ายถงึ ทกั ษะชีวิตท่จี ําเปนในชวี ติ 3 ประการไดอ ยา งถูกตอง ขอบขายเนือ้ หา เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญของทักษะชีวิต เร่ืองที่ 2 ทกั ษะการตระหนกั ในการรตู น เรอื่ งที่ 3 ทักษะการจัดการกบั อารมณ เรือ่ งท่ี 4 ทกั ษะการจัดการความเครยี ด
113 เรือ่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของทักษะชีวิต ความหมายของทกั ษะชีวติ คําวาทักษะ (Skill) หมายถึง ความจัดเจนและความชํานิชํานาญในเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งบุคคล สามารถสรางขึ้นไดจากการเรียนรู ไดแก ทักษะการอาชีพ การกีฬา การทํางานรวมกับผูอื่น การอาน การสอน การจัดการ ทักษะทางคณิตศาสตร ทักษะทางภาษา ทักษะทางการใชเทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งเปน ทักษะภายนอกทสี่ ามารถมองเหน็ ไดช ัดเจนจากการกระทํา หรือจากการปฏิบัติ ซึ่งทักษะดังกลาวนั้นเปน ทักษะที่จําเปนตอการดํารงชีวิตที่จะทําใหผูมีทักษะเหลาน้ันมีชีวิตที่ดี สามารถดํารงชีพอยูในสังคมได โดยมีโอกาสท่ีดีกวาผูไมมีทักษะดังกลาว ซ่ึงทักษะประเภทน้ีเรียกวา Livelihood Skill หรือ Skill for Living ซึ่งเปนคนละอยางกับทักษะชวี ติ ท่ีเรียกวา Life Skill ดงั นน้ั ทกั ษะชวี ติ หรือ Life Skill จึงหมายถึง คุณลักษณะหรือความสามารถเชิงสังคม จิตวิทยา (Psychosocial Competence) ที่เปนทักษะภายใน ท่ีจะชวยใหบุคคลสามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ทเ่ี กิดขนึ้ ในชวี ติ ประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ และเตรียมความพรอมสําหรับการปรับตัวในอนาคต ไมว าจะเปนเร่อื งการดูแลสขุ ภาพ เอดส ยาเสพติด ความปลอดภัย ส่งิ แวดลอม คณุ ธรรม จริยธรรม ฯลฯ เพอ่ื ใหส ามารถมีชวี ติ อยใู นสงั คมไดอยา งมคี วามสุขหรือจะกลา วงา ย ๆ ทกั ษะชีวิต ก็คือ ความสามารถใน การแกปญหาท่ีตองเผชิญในชีวิตประจําวัน เพ่ือใหอยูรอดปลอดภัยสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมี ความสุขและเตรียมพรอ มสาํ หรับการปรับตัวในอนาคต ความสําคญั ของทกั ษะชีวิต เน่ืองจากสังคมปจจุบันมีความซับซอนในการดําเนินชีวิต เนื่องจากมีการเปล่ียนแปลงอยาง รวดเร็วในดานเศรษฐกิจ สังคม ขาวสารขอมูล และเทคโนโลยี มีการแขงขันและความขัดแยงมากขึ้น บุคคลมีความจําเปนตองปรับตัวใหทันตอความเปลี่ยนแปลง มีความสามารถในการแขงขัน สามารถสู กระแสวิกฤติตาง ๆ ไดอยางมีเหตุมีผล รูจักนําเทคโนโลยีมาใชเพื่อพัฒนาตนและพัฒนาอาชีพ มีความ เขาใจสถานการณและมีวิจารณญาณในการเลือกรับเลือกปฏิเสธ มีความสามารถควบคุมอารมณและ บริหารความขดั แยง ท่ีเกดิ ขึ้นในวิถีชีวิต และมีคุณสมบัติที่พึงประสงคในการอยูรวมกับผูอื่น จึงจะอยูใน สังคมไดอยา งมีความสขุ ทกั ษะชีวติ ท่ีจําเปน ทกั ษะชวี ิตจะมคี วามแตกตางกันตามวัฒนธรรมและสถานท่ี อยางไรก็ตาม มีทักษะชีวิตอยูกลุม หนึง่ ที่ถอื เปน หัวใจสาํ คัญที่ทุกคนควรมี โดยองคก ารอนามยั โลกไดกําหนดไว ดงั นี้ 1. ทักษะการตัดสินใจ (Decision Making) เปน ความสามารถในการตดั สินใจเกีย่ วกับเรื่องราวตาง ๆ ในชวี ติ ไดอยา งมรี ะบบ เชน ถา บคุ คลสามารถตดั สินใจเกีย่ วกบั การกระทําของตนเองทเี่ กย่ี วกับพฤติกรรม
114 ดานสุขภาพ หรือความปลอดภัยในชีวิต โดยประเมินทางเลือกและผลที่ไดจากการตัดสินใจเลือกทางท่ี ถกู ตอ งเหมาะสม ก็จะมีผลตอการมสี ุขภาพที่ดที ั้งรางกายและจติ ใจ 2. ทักษะการแกปญหา (Problem Solving) เปนความสามารถในการจัดการกบั ปญ หาท่เี กิดข้ึนใน ชวี ิตไดอ ยางมรี ะบบไมเกดิ ความเครียดทางกายและจติ ใจ จนอาจลุกลามเปน ปญ หาใหญโ ตเกนิ แกไข 3. ทักษะการคิดสรางสรรค (Creative Thinking) เปนความสามารถในการคิดทีจ่ ะเปนสว นชว ย ในการตดั สนิ ใจและแกไขปญ หาโดยการคิดสรา งสรรค เพ่ือคนหาทางเลือกตาง ๆ รวมท้ังผลที่จะเกิดข้ึน ในแตล ะทางเลือก และสามารถนาํ ประสบการณมาปรับใชใ นชวี ิตประจําวนั ไดอยางเหมาะสม 4. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห ขอมูลตา งๆ และประเมนิ ปญหาหรอื สถานการณทอี่ ยรู อบตัวเราท่มี ผี ลตอการดาํ เนนิ ชวี ิต 5. ทกั ษะการสื่อสารอยางมปี ระสิทธิภาพ (Effective Communication) เปนความสามารถในการ ใชคําพูดและทาทางเพ่ือแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดของตนเองไดอยางเหมาะสมกับวัฒนธรรมและ สถานการณตาง ๆ ไมวาจะเปนการแสดงความคิดเห็น การแสดงความตองการ การแสดงความชื่นชม การขอรอง การเจรจาตอรอง การตักเตอื น การชวยเหลอื การปฏิเสธ ฯลฯ 6. ทกั ษะการสรางสมั พันธภาพระหวา งบุคคล (Interpersonal Relationship) เปน ความสามารถใน การสรา งความสมั พนั ธท ่ดี ีระหวา งกันและกัน และสามารถรักษาสัมพนั ธภาพไวไดยนื ยาว 7. ทกั ษะการตระหนักรูใ นตน (Self Awareness) เปน ความสามารถในการคนหา รูจักและเขาใจ ตนเอง เชน รูขอดี ขอเสียของตนเอง รูความตองการและสิ่งท่ีไมตองการของตนเอง ซึ่งจะชวยใหเรารู ตัวเองเวลาเผชิญกับความเครียดหรือสถานการณตาง ๆ และทักษะนยี้ งั เปน พนื้ ฐานของการพฒั นาทกั ษะ อน่ื ๆ เชน การส่อื สาร การสรางสมั พนั ธภาพ การตัดสนิ ใจ ความเหน็ อกเหน็ ใจผูอื่น เปน ตน 8. ทกั ษะการเขาใจและเหน็ ใจผูอ ื่น (Empathy) เปน ความสามารถในการเขาใจความเหมือนหรือ ความแตกตา งระหวางบคุ คล ในดานความสามารถ เพศ วยั ระดับการศึกษา ศาสนา ความเช่ือ สีผิว อาชีพ ฯลฯ ชวยใหส ามารถยอมรบั บคุ คลอน่ื ที่ตางจากเรา เกิดการชวยเหลอื บคุ คลอ่ืนทด่ี อยกวา หรือไดรับความ เดอื ดรอน เชน ผูติดยาเสพตดิ ผูต ดิ เชื้อเอดส เปนตน 9. ทกั ษะการจดั การกับอารมณ (Coping with Emotion) เปนความสามารถในการรับรอู ารมณของ ตนเองและผูอื่น รูวาอารมณมีผลตอ การแสดงพฤตกิ รรมอยางไร รูว ิธกี ารจดั การกบั อารมณโกรธและความ เศรา โศกท่ีสงผลทางลบตอรางกายและจติ ใจไดอ ยา งเหมาะสม 10. ทักษะการจัดการกับความเครียด (Coping with Stress) เปนความสามารถในการรับรูถึง สาเหตขุ องความเครียด รูว ิธผี อ นคลายความเครยี ด และแนวทางในการควบคุมระดับความเครียด เพ่ือให เกิดการเบย่ี งเบนพฤติกรรมไปในทางทถ่ี กู ตองเหมาะสมและไมเกดิ ปญ หาดา นสขุ ภาพ
115 กลวธิ ใี นการสรางทักษะชีวติ จากทกั ษะชวี ติ ทจ่ี าํ เปน 10 ประการ สามารถแบง ไดเ ปน 2 สว น ดงั น้ี 1. ทักษะชีวิตท่ัวไป คือ ความสามารถพ้ืนฐานที่ใชเผชิญปญหาปกติในชีวิตประจําวัน เชน ความเครียด สขุ ภาพ การคบเพื่อน การปรบั ตัว ครอบครัวแตกแยก การบรโิ ภคอาหาร ฯลฯ 2. ทักษะชวี ิตเฉพาะ คอื ความสามารถทจี่ าํ เปนในการเผชิญปญหาเฉพาะ เชน ยาเสพตดิ โรคเอดส ไฟไหม น้าํ ทวม การถกู ลว งละเมดิ ทางเพศ ฯลฯ เรื่องท่ี 2 ทักษะการตระหนักในการรูตน การรูจ กั ตนเอง เปน เรื่องใกลต วั ท่ดี ูเหมือนไมนาจะสําคัญอะไรท่ีเราจะตองมานั่งเรียนรูทําความ เขาใจ แตท วา กลับมาความสาํ คญั อยา งย่งิ ยวด เปรยี บไดกับเสน ผมบงั ภูเขาทีท่ าํ ใหคนจํานวนมากท่ีแม มคี วามรมู ากมายทวมหวั แตเ อาตัวไมรอด เนอ่ื งจากสงิ่ หนงึ่ ทีเ่ ขาไมร เู ลยนนั่ คอื การรูจักตวั ตนของเขา อยางถองแทน่ันเอง ท้งั ๆ ทใ่ี นความเปนจรงิ แลว การรจู ักตนเองนับเปนพน้ื ฐานสําคญั ที่เราควรเรียนรูเปนอันดับแรก สุดในชีวิต เนือ่ งจากการรจู กั ตนเองจะนาํ ไปสกู ารมเี ปาหมายท่ชี ัดเจนในการดาํ เนินชวี ติ เนอื่ งจากรวู าตนมี ความถนัด ความชอบ และความสามารถในดานใด ดังนั้น จึงรูวาตนควรจะเรียนอะไร ประกอบอาชีพอะไร ควรแสวงหาความรูอะไรเพ่ิมเตมิ การรจู กั วิธเี ฉพาะตวั ทต่ี นถนดั ในการพฒั นาทกั ษะการเรียนรูในดานตางๆ ของตนเองใหเปนไป อยางมีประสิทธิภาพ อาทิ รูเทคนิคการเรียนหนังสือของตนวาควรใชวิธีใดจึงประสบผลสําเร็จ รูตัววา ความจําไมดี จงึ ตอ งใชวิธจี ดอยา งละเอยี ดและทบทวนบทเรียนอยางสมาํ่ เสมอ เปน ตน จดุ ออ นในชวี ิตไดรับการแกไ ขอยางทันทว งที อาทิ เมือ่ เรารูตัววาเปนคนใจรอ น เมอื่ มเี หตุการณที่ เรารูสาเหตหุ ากอยูใ นสถานการณเชน น้ีอาจนําไปสูการใชความรุนแรงได ดังน้ัน เราจึงเลือกที่จะแยกตัว ออกมาน่งั สงบสตอิ ารมณเพอื่ คดิ หาวธิ ีการแกไ ขท่ีดที ่สี ดุ การพัฒนาทกั ษะการแกไ ขปญ หาทเ่ี กดิ ขึ้นในชีวติ อยา งมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากรูวาปญหานั้นมี สาเหตมุ าจากตนหรอื ไม และรูวาตนเองควรปรบั อารมณเ ชนใด เม่ือยามเผชิญปญ หาและควรหาวิธีการใด ทเ่ี หมาะสาํ หรบั ตนเองมากทส่ี ุดในการแกปญ หาใหล ุลว งไปไดดวยดี การคนพบความสุขที่แทจริงในสิ่งท่ีตนเลือกทํา เน่ืองจากรูวาอะไรท่ีทําแลวจะทําใหตนเองมี ความสุขได นาํ ไปสูก ารเรยี นรแู ละเขาใจผอู ื่นไดม ากย่งิ ขน้ึ อนั เปน การลดปญหาความขัดแยงและนําไปสู มิตรภาพที่ดตี ามมา ตรงกันขามกับผูที่ไมรูจักตนเอง ซ่ึงมักใชชีวิตโดยปลอยไปตามกระแสสังคม เลียนแบบ ทําตามคนรอบขาง โดยขาดจุดยืนท่ีชัดเจน เชน แสวงหาความสุขในชีวิตดวยการไปเท่ียวเตรกับเพ่ือน เสพยาเสพติด การเลอื กคณะที่จะสอบเขา มหาวิทยาลัยตามคา นิยมขณะนน้ั หรอื เลือกตามเพื่อน สุดทายเขา จึงไมสามารถพบกับความสุขท่ีแทจริงในชีวิตไดและนําไปสูปญหามากมายตามมา นอกจากน้ี คนที่
116 ไมรูจกั ตนเองยามเม่ือตอ งเผชิญหนากบั ปญ หา โดยมากแลว มกั จะไมดูวา ปญ หาท่ีเกิดขึ้นน้ันมาจากตนเอง หรือไม แตม ักโทษเหตุการณห รือโทษผอู ่ืนเอาไวกอน จงึ เปนการยากทจี่ ะแกปญ หาใหล ุลวงไปไดด วยดี ทักษะการรูจักตนเองจึงเปนทักษะสําคัญที่เราทุกคนตองเรียนรูและฝกฝน เน่ืองจากการรูจัก ตนเองน้ันไมไดเ ปน เรื่องทน่ี ่งั อยเู ฉยๆ แลวจะสามารถรูข น้ึ มาไดเ อง แตต องผา นกระบวนการบมเพาะผาน ประสบการณตา งๆ การลองผิดลองถูก ความผิดหวัง เจ็บปวด ความผิดพลาดลมเหลวตางๆ เพื่อที่จะตก เปนผลึกทางปญญาในการรูจักตนเอง รวมทั้งผานการปฏิสัมพันธกับบุคคลรอบขาง ซ่ึงถือเปนกระจก สะทอนช้ันดีใหเราไดเรียนรจู กั ตนเอง โดยยิง่ รจู ักตนเองเร็วเทาไรยงิ่ เปนการไดเปรียบในการออกสตารท ไปสเู ปาหมายชีวิตไดเ รว็ เทา น้นั รวมทง้ั ยังเปนรากฐานสําคญั ในการใชช วี ติ อยางมคี วามสขุ และ ประสบความสาํ เรจ็ ทา มกลางปญ หาและแรงกดดนั ตา ง ๆ การฝก ฝนทกั ษะการรูจกั ตนเองจึงควรเร่มิ ตั้งแตวัยเยาว โดยพอ แมเ ปนบคุ คลสําคญั แรกสุดในการ ชวยลูกคน หาตนเอง โดยเริ่มจากเปดโอกาสที่หลากหลาย พอแมควรสรางโอกาสที่หลากหลายในการให ลกู ไดเรยี นรูทดลองในสง่ิ ตาง ๆ ใหมากทสี่ ุด อาทิ การทํางานบาน กิจกรรมตาง ๆ ที่ลูกสนใจ โดยพอแม ทําหนาท่ีเปนผูสนับสนุน อํานวยความสะดวกในการใหลูกไดเรียนรูจากประสบการณตาง ๆ อยางไร กต็ าม กิจกรรมดังกลา วพอแมควรคัดกรองวาเปนกิจกรรมที่สรางสรรคและปลอดภัยสําหรับลูกหรือไม อาทิ การทํางานอาสาสมคั รตาง ๆ การเขาคายอาสาพัฒนา การเขาคายกีฬา ไมใชตามใจลูกทุกเรื่อง เชน ลูกขอไปเกบ็ เก่ียวประสบการณจากแกงมอเตอรไซค หรือขอไปเท่ียวกลางคืนหาประสบการณทางเพศ เปนตน ซึ่งเปนกิจกรรมท่ีไมสรางสรรคและอาจเกิดอันตรายกับลูกได ใหอิสระในความคิดและ การตดั สนิ ใจ พอ แมไ มควรเปน นักเผด็จการทีค่ อยบงการชวี ติ ลูกไปทุกเรื่อง อาทิ พอแมอยากเรียนแพทย แตสอบไมตดิ จึงฝากความหวงั ไวก บั ลูก พยายามสรา งแรงกดดันและปลูกฝงความคิดใหลูกตองสอบเขา คณะแพทยใหได เพื่อทําความฝนของพอแมใหเปนจริง โดยไมคํานึงวาลูกจะชอบหรือมีความถนัด ในดานน้ีหรือไม พอแมที่ปรารถนาใหลูกรูจักตนเองจึงควรเปดโอกาสใหลูกไดสามารถตัดสินใจ ในการเลือกส่ิงตาง ๆ ไดดวยตัวเอง โดยพอแมทําหนาที่คอยชี้แนะอยูหาง ๆ ถึงขอดี ขอเสีย ประโยชน หรอื โทษ ท่ีลกู จะไดรับผานการตัดสินใจนั้น ๆ ซึ่งหากพอแมเห็นวาการตัดสินใจของลูกเปนไปในทาง ที่ไมถูกตองและอาจจะนําไปสูอันตรายได พอแมสามารถใชอํานาจในการยับย้ังการกระทําดังกลาวได โดยช้แี จงถงึ เหตุผลใหลกู ไดเขา ใจ เปนกระจกสะทอ นใหลูกเหน็ ตนเอง พอแมต อ งทําหนาทเ่ี ปน กระจกเงา สะทอ นใหล กู ไดเหน็ ตนเองในมุมตา ง ๆ ท้ังจดุ ออ น จุดแข็ง จุดดี จุดดอย โดยหลักการสําคัญ คือ ผิดจาก ความเปน จรงิ หรืออาจรจู กั ตนเองอยา งผดิ ๆ ผา นคาํ พดู ของคนรอบขา ง เพ่อื นฝูง ครู อาจารย ซง่ึ อาจทําให ลูกมองตนเองดอ ยคา เกิดเปน ปมดอ ยในจติ ใจ โดยมีงานวิจยั ยนื ยันวา หากพอแมปลอ ยใหลูกมีความเขาใจ ทีผ่ ดิ ๆ เกยี่ วกบั ตวั เองในเรือ่ งตาง ๆ ท้งั ๆ ท่ไี มไ ดเปนความจริง และหากไมมกี ารรีบปรบั ความเขา ใจ ท่ผี ดิ ๆ น้ันโดยเรว็ สงิ่ ท่ีลูกเขาใจเก่ียวกับตนเองผดิ ๆ น้ันจะกลับกลายเปน ความจริงในท่ีสดุ
117 ตวั อยา งเชน ลกู อาจโดนครทู ี่โรงเรยี นตอ วา เร่ืองผลการสอบวิชาคณติ ศาสตรท ่ีลูกสอบตก วาเปน เด็กไมฉ ลาด ท้ัง ๆ ท่ีพอแมเ ห็นลูกพยายามอยางเต็มที่แลวในวิชานี้ ในกรณีดังกลาวพอแมควรทําหนาที่ เปนกระจกสะทอนใหลูกเห็นในมมุ ทถ่ี กู ตองและใหกําลงั ใจวาลูกมีจุดแข็งที่พอแมภาคภูมิใจในเร่ืองของ ความต้งั ใจจรงิ ความขยันหมัน่ เพยี ร แตอ ยา งไรก็ตามทีผ่ ลการเรียนออกมาเชนนี้อาจเพราะลูกไมถนัดใน วชิ าดงั กลาว และใหลูกพยายามตอไปอยา ทอถอย อยางไรกต็ ามหากพอ แมไ มม กี ารปรับความเขาใจในการ มองตนเองของลูกในเรื่องนี้ ลูกจะตอกยํ้าตัวเองเสมอวาเปนคนหัวทึบ และเขาจะไมมีวันประสบ ความสําเร็จในชีวิตการเรียนไดเลย กระตุกใหลูกไดคิดวิเคราะหตนเอง โดยการหม่ันสังเกตพฤติกรรม อารมณของลกู ในสภาวะตาง ๆ หรือจากเหตุการณตาง ๆ และเร่ิมตั้งคําถามกับลูกเม่ือการเรียนรูตนเอง แทนการโทษผูอื่น หรอื โทษสถานการณ ตวั อยางเชน เมอ่ื ลูกทําขอสอบไดคะแนนไมดี แลวโทษวาเพราะครสู อนไมร เู รือ่ ง หรืออางวายังมี เพอื่ นทเี่ รยี นแยก วาเขาอีก พอแมควรกระตุนใหลูกไดคิดวาเราไมควรไปเปรียบเทียบกับผูที่เรียนแยกวา หรือโทษวาครูสอนไมรูเร่ือง พรอมกับใหลูกวิเคราะหตัวเองถึงจุดออนจุดแข็ง เชน ลูกมีจุดออนเร่ือง ระเบียบวนิ ัย การบริหารเวลาในการอานหนังสือหรือไม เพราะท่ีผานมาพอแมไมเห็นวาลูกจะตั้งใจอาน หนังสือหรือทบทวนบทเรียนเลย แตมาเรงอานตอนใกลสอบ ดังนั้น ในการสอบคร้ังตอไปลูกตองวาง แผนการเรียนใหดแี ละขยนั ใหมากกวานี้ เปน ตน การสอนและเตือนสติ พอแมเ ปนผูท ่เี ห็นชีวติ ของลูกใกลชิดที่สุด และมีความสามารถในการเขา ใจความเปนตัวตนของเขามากทีส่ ุด ซึ่งในความเปนเด็กลูกเองยงั ไมส ามารถท่ีจะแยกแยะทําความรูจักกับ พฤตกิ รรมหรืออารมณต าง ๆ ที่ตนแสดงออกมาได โดยพฤติกรรมบางอยางของลูกหากพอแมปลอยปละ ละเลยไมส ่งั สอนเตือนสติแตเ นิน่ ๆ พฤติกรรมนัน้ ๆ อาจบม เพาะเปนนิสัยแย ๆ ที่ติดตัวลูกไปจนโต และ ยิ่งโตย่ิงแกยาก เขา ทํานองไมออนดัดงายไมแกดัดยาก ดังน้ัน พอแมจึงตองส่ังสอนและเตือนสติลูกทันที ในพฤติกรรมท่ไี มพ ึงประสงคต าง ๆ พรอ มชีใ้ หล กู เหน็ ถงึ ความรา ยแรงและหาแนวทางแกไขรว มกนั ตัวอยางเชน พอแมเห็นวาลูกมีอุปนิสัยเปนคนเจาอารมณ โกรธงาย พอแมควรพูดคุยกับลูก ถึงจุดออ นขอนี้วาจะสง ผลเสียอยางไรกบั ชีวติ ของเขาในระยะยาว พรอมทั้งหาวิธกี ารรว มกันในการฝกฝน ใหลูกรูเทาทันอารมณของตน ไมตอบสนองตอเหตุการณตาง ๆ อยางผิด ๆ โดยใชอารมณความรูสึก นําหนา อาทิ สอนใหลูกหลีกเลี่ยงตอสถานการณที่มากระตุนอารมณโกรธ สอนลูกใหตอบสนองอยาง ถูกตองเม่ือโกรธ โดยการเดินไปหาท่ีเงียบ ๆ สงบสติอารมณกอนแลวคอยมาพูดคุยกัน ทาทายลูกให ทําลายสถิติตนเองใหโกรธชาลง เชน แตเดิมเมื่อพบเหตุการณท่ีไมสบอารมณจะโกรธขึ้นมาทันที ครั้ง ตอไปควรฝก ใหโกรธชา ลง เปน ตน การเรียนรูจกั ตนเองอยา งถองแท นับเปนกระบวนการเรียนรูที่สําคัญมากยิ่งกวาการเรียนรูใด ๆ การเรียนรจู กั ตนเองเปน กระบวนการเรยี นรูระยะยาวตลอดทงั้ ชีวติ อันนํามาซ่ึงความสุขและเปนรากฐาน ของความสําเรจ็ ในชวี ติ โดยพอแมเ ปน บคุ คลสาํ คัญ ผูเปดโอกาสใหลูกไดเรยี นรูจ ักตนเองและเปนกระจก บานแรกทส่ี ะทอนใหลกู ไดเห็นอยา งถูกตอ งวา ตวั ตนทีแ่ ทจ ริงของเขานนั้ เปน เชน ไร
118 เร่อื งที่ 3 ทกั ษะการจดั การกับอารมณ อารมณเปนพลังที่ทรงอํานาจอยางหน่ึงของมนุษย อารมณอาจเปนตนเหตุของสงคราม อาชญากรรม ความขัดแยงเรื่องเชื้อชาติ และความขัดแยงอ่ืน ๆ อีกหลายชนิดระหวางมนุษยดวยกัน ในทางตรงกันขามอารมณเปนนํ้าทิพยของชีวิต ทําใหทุกส่ิงทุกอยางสวยงามและนาอภิรมย ความรัก ความสนุกสนาน ความเพลิดเพลิน ความพอใจ หรือความตลกขบขัน ลวนแตทําใหชีวิตมีคุณคาและ ความหมายทงั้ สิน้ อารมณมีความสําคัญเชนเดียวกับการจูงใจดังไดกลาวแลว อารมณ คือ หลายส่ิงหลายอยาง ในทัศนะหนง่ึ อารมณ คือ สภาวะของรา งกายซึง่ ถูกยัว่ ยุ จนเกดิ มีการเปลีย่ นแปลงทางสรีระวิทยาหลาย ๆ อยาง เชน ใจสัน่ ชพี จรตน เร็ว การหายใจเร็วและแรงข้ึน หนาแดง เปนตน ในอีกทัศนะหน่ึง อารมณ คือ ความรูสกึ ซ่ึงเกิดขน้ึ เพยี งบางสวนจากสภาวะของรางกายท่ถี กู ยัว่ ยุ อาจเปน ความรสู ึกพอใจหรือไมพ อใจ กไ็ ด อามรณยังเปน ส่ิงท่ีคนเราแสดงออกมาดว ยนํ้าเสยี ง คาํ พูด สหี นา หรอื ทา ทาง วธิ ีจัดการกบั อารมณ 1. มองโลกในแงด ี เม่อื เรามคี วามคดิ ทีท่ าํ ใหซมึ เศรา เชน “ฉันทําวิชาคณิตศาสตรไมได” ใหคิด ใหมวา “ถา ฉันไดรบั ความชวยเหลอื ท่ถี ูกตองฉันกจ็ ะทําได” แลวไปหาครู ครูพิเศษ หรือใหเพ่ือนชวยติว ให 2. หาสมุดบันทึกสักเลมไวเขียนกอนเขานอนทุกวัน ในสมุดบันทึกเลมนี้ หามเขียนเร่ืองไมดี จงเขียนแตเ รอ่ื งดี ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในวนั น้นั ตอนแรกอาจจะยากหนอย แตใหเขียน เชน มีคนแปลกหนายิ้มให ถาไดลองตั้งใจทํา มันจะเปล่ียนความคิดใหเ รามองหาแตเร่ืองดี ๆ จากการศึกษาพบวา คนทค่ี ดิ ฆา ตัวตายมี อาการดีขึ้นหลงั จากเรม่ิ เขยี นบันทกึ เรื่องดี ๆ ไดเพียงสองสปั ดาห 3. ใชเวลาอยกู บั คนทีท่ ําใหเ ธอหัวเราะได 4. ใสใ จกบั ความรสู กึ ของตนเองในเวลาแตล ะชวงวัน การตระหนกั รถู ึงอารมณของตัวเองจะทํา ใหเ ราจบั คงู านทีเ่ ราตอ งทํากับระดับพลงั งานในตัวไดอยา งเหมาะสม เชน ถา เรารูสึกดีท่ีสุดตอนเชา แสดง วาตอนเชา คือ เวลาจัดการกับงานเครียด ๆ เชน ไปเจอเพ่อื นทที่ าํ รา ยจติ ใจเรา หรือคุยกับครูที่เราคิดวาให
119 เกรดเราผดิ ถา ปกติเราหมดแรงตอนบา ย ใหเกบ็ เวลาชวงนนั้ เอาไวทํากิจกรรมทไี่ มต อ งใชพ ลังทางอารมณ มาก เชน อา นหนงั สอื หรืออยูก ับเพ่อื น อยาทําอะไรเครยี ดๆ เวลาเหนอ่ื ยหรอื เครียด 5. สังเกตอารมณตัวเองในเวลาชวงตาง ๆ ของเดือน ผูหญิงบางคนพบวา ชวงเวลาที่ตัวเอง อารมณไมด สี ัมพนั ธก ับรอบเดอื น 6. ออกกาํ ลังกาย การออกกําลังกายชวยใหเราแข็งแรงท้ังรางกายและจิตใจ การออกกําลังกาย อยา งนอยแคว ันละ 20 นาที สามารถทําใหรูสึกสงบและมีความสุขได การออกกําลังกายจะชวยเพ่ิมการ ผลติ เอนดอรฟนของรา งกายดว ย เอนดอรฟนเปนสารเคมใี นรา งกายท่ีทาํ ใหเกดิ ความรสู กึ ดแี ละมีความสุข ตามธรรมชาติ โดยไมตองพงึ่ ยาเสพตดิ 7. รจู ักไตรตรอง แยกแยะ 8. ฟง เพลง งานวิจัยชนิ้ หนง่ึ พบวา จงั หวะของเสยี งเพลงชว ยจัดระเบียบความคิดและความรูสึก มัน่ คงภายในจิตใจ และชว ยลดความตึงเครียดของกลามเน้อื 9. โทรหาเพื่อน การขอความชว ยเหลือทําใหคนเรารสู ึกผกู พนั กบั คนอื่นและรสู ึกโดดเด่ยี วนอ ยลง 10. การโอบกอดชวยใหรางกายหล่ังฮอรโมนที่ทําใหรูสึกดีออกมา ซึ่งจะชวยใหเรารับมือกับ อารมณไ ด อยูทา มกลางคนทมี่ คี วามสุข อารมณดเี ปน โรคตดิ ตอ แนวทางในการจัดการกบั อารมณทางเพศของวัยรุน การจัดการกบั อารมณท างเพศของวยั รนุ มแี นวทางการปฏบิ ตั ิทส่ี าํ คญั อยู 2 ลกั ษณะ ประกอบดวย แนวทางการปฏิบตั ิเพอ่ื ระงับอารมณท างเพศ และแนวทางการปฏบิ ัติเพ่ือผอนคลายความตอ งการทางเพศ แนวทางการปฏบิ ตั เิ พอื่ ระงับอารมณทางเพศ แนวทางการปฏบิ ัตเิ พอ่ื ระงับอารมณทางเพศ หมายถึง ความพยายามในการที่จะหลีกเลี่ยงตอส่ิง เราภายนอกท่ีมากระตุนใหเ กิดอารมณท างเพศท่เี พม่ิ มากขน้ึ 1. หลกี เล่ียงการดหู นังสอื หรือภาพยนตรห รอื สอื่ Internet ท่ีมีภาพหรอื ขอ ความที่แสดงออกทาง เพศ ซ่งึ เปน การยวั่ ยใุ หเกิดอารมณท างเพศ 2. หลกี เล่ียงการปฏิบัติหรือทําตัวปลอยวางใหความสบายเกินไป เชน การนอนเลน ๆ โดยไม หลบั การนัง่ ฝน กลางวนั หรอื น่งั จินตนาการที่เกย่ี วขอ งกับเรื่องเพศ 3. หลกี เลี่ยงสถานการณท่กี อใหเ กดิ โอกาสการถกู สมั ผัสในลกั ษณะตาง ๆ กบั เพศตรงขาม 4. ซง่ึ การกระทาํ ดังกลา วมักกอใหเ กิดอารมณท างเพศได เชน การจบั มอื ถอื แขน (10%) การกอด จูบ (60%) การลูบคลํา (80%) การเลาโลม (100%) 5. หลกี เล่ยี งและรจู ักปฏเิ สธเมอ่ื ถูกชกั ชวนใหเ ที่ยวเตรพกั ผอ นในแนวทางกระตุน ใหเกดิ อารมณ ทางเพศ เชน สถานทท่ี องเทย่ี วกลางคืน การดม่ื แอลกอฮอล เคร่ืองด่ืมมึนเมาตาง ๆ ซ่ึงสามารถนําพาไปสู การเกดิ อารมณทางเพศได
120 เร่อื งที่ 4 ทกั ษะการจดั การความเครยี ด ความเครียดคือ การหดตัวของกลามเน้ือสวนใดสวนหน่ึงหรือหลายสวนของรางกายน่ันเอง ซ่ึงทุกคนจําเปนตองมีอยูเสมอในการดํารงชีวิต เชน การทรงตัวเคลื่อนไหวทั่ว ๆ ไป มีการศึกษาพบวา ทุกคร้ังที่เราคิดหรือมีอารมณบางอยางเกิดข้ึนจะตองมีการหดตัว เคลื่อนไหวของกลามเนื้อแหงใด แหงหนงึ่ ในรา งกายเกิดข้นึ ควบคูเ สมอ ความเครียดมีท้ังประโยชนและโทษ แตความเครียดที่เปนโทษนั้น เปนความเครียดชนิดที่เกิน ความจาํ เปน แทนทจ่ี ะเปนประโยชนกลับกลายเปนอุปสรรคและอันตรายตอชีวิต เมื่อคนเราอยูในภาวะ ตงึ เครยี ดรา งกายจะเกดิ ความเตรยี มพรอมที่จะ “ส”ู หรอื “หนี” โดยท่รี า งกายมกี ารเปลี่ยนแปลงตา ง ๆ เชน หัวใจเตนแรงและเร็วขึ้น เพ่ือฉีดเลือดซึ่งจะนําออกซิเจนและสารอาหารตาง ๆ ไปเลี้ยงเซลลทั่วรางกาย พรอมกับขจัดของเสียออกจากกระแสเลือดอยางเร็ว การหายใจดีขึ้น แตเปนการหายใจต้ืน ๆ มีการขับ อดรีนาลนี และฮอรโมนอื่น ๆ เขาสูกระแสเลือด มานตาขยายเพ่ือใหไดรับแสงมากขึ้น กลามเนื้อหดเกร็ง เพ่ือเตรยี มการเคลอ่ื นไหว เสนเลือดบรเิ วณอวยั วะยอยอาหารหดตัว เหง่อื ออก เพราะมกี ารเผาผลาญอาหาร มากข้ึน ทําใหอุณหภูมิของรางกายเพ่ิมขึ้น เมื่อวิกฤติการณผานพนไปรางกายจะกลับสูสภาวะปกติ แตความเครยี ดที่เปน อันตราย คอื ความเครยี ดทีเ่ กิดข้ึนมากเกินความจําเปน เมื่อเกิดแลวคงอยูเปนประจํา ไมล ดหรอื หายไปตามปกติ หรอื เกิดขึ้นโดยไมมีเหตกุ ารณทเี่ ปนการคกุ คามจรงิ ๆ
121 ผลของความเครยี ดตอ ชวี ิต ผลตอ สขุ ภาพทางกาย ไดแ ก อาการไมส บายทางกายตา ง ๆ เชน ปวดหัว ปวดเมื่อยตามสวนตาง ๆ ของรางกาย ความผดิ ปกติของหวั ใจ ความดันโลหติ สูง โรคกระเพาะ อาการทอ งผกู ทอ งเสยี บอย นอนไมห ลบั หอบหืด เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ ฯลฯ ผลตอสุขภาพจิตใจ นําไปสูความวิตกกังวล ซึมเศรา กลัวอยางไรเหตุผล อารมณไมมั่นคง เปลี่ยนแปลงงา ยหรือโรคประสาทบางอยาง สาเหตุของความเครยี ด - สภาพแวดลอ มทวั่ ไป เชน มลภาวะ ไดแก เสียงดังเกินไปจากเครื่องจักร เครื่องยนต อากาศ เสยี จากควนั ทอไอเสยี น้าํ เสีย ฝุนละออง ยาฆา แมลง การอยูก นั อยา งเบียดเสยี ดยดั เยยี ด เปน ตน - สภาพเศรษฐกจิ ที่ไมนา พอใจ เชน รายไดนอยกวารายจา ย เปนตน - สภาพแวดลอมทางสังคม เชน การสอบแขงขันเขาเรียน เขาทํางาน เลื่อนข้ัน เล่ือนตําแหนง เปน ตน - มีสมั พันธภาพกับคนอ่นื ๆ ทไี่ มร าบรน่ื มักมีขอ ขดั แยง ทะเลาะเบาะแวงกับคนอ่ืนเปน ปกติวสิ ยั - ความรสู ึกตนเองตํ่าตอ ยกวา คนอืน่ ตอ งพยายามตอสเู อาชนะ - ตอ งการมีอํานาจเหนอื ผอู ่ืน วธิ ลี ดความเครียด มหี ลายวธิ ี 1. วิธีแกไขที่ปลายเหตุ ไดแก การใชยา เชน ยาหมอง ยาดม ยาแกปวด ยาลดกรดในกระเพาะ ยากลอ มประสาท แตวิธกี ารดงั กลาวไมไดแ กไ ขความเครียดทต่ี นเหตุ อาจทําใหค วามเครยี ดนัน้ เกิดขึ้นไดอ กี 2. วธิ แี กไขทต่ี นเหตุ ไดแก แกไ ขเปลีย่ นแปลงวถิ ชี วี ิตท่ีเอ้อื อาํ นวยตอการกอ ใหเกิดความเครียด เชน หางานอดเิ รกทช่ี อบทําฝก ออกกาํ ลงั กาย บริหารรา งกายแบบงาย ๆ เปนตน 3. เปลี่ยนแปลงนิสัยและทัศนคติตอการดําเนินชีวิต เชน ลดการแขงขัน ผอนปรน ลดความ เขมงวดในเร่ืองตา งๆ 4. หาความรูความเขาใจเกย่ี วกบั โภชนาการ 5. สํารวจและเปล่ยี นแปลงทศั นคติตอตัวเองและผูอ่ืน เชน มองตัวเองในแงดี มองผูอื่นในแงดี เปนตน 6. สาํ รวจและปรับปรุงสัมพันธภาพตอ คนในครอบครวั และสังคมภายนอก 7. ฝก ผอนคลายโดยตรง เชน การฝกหายใจใหถ กู วิธี การฝก สมาธิ การออกกําลังกายแบบงายๆ การฝกผอ นคลายกลา มเนอ้ื การนวด การสาํ รวจทา นั่ง นอน ยนื เดนิ การใชจ ิตนาการ นกึ ภาพทรี่ นื่ รมย เม่ือเกิดความเครียดขึ้นมา ลองพยายามนึกทบทวนดูวา เกิดจากสาเหตุอะไร และเลือกใชวิธีลด ความเครียดดังกลาวท่ีกลาวมาวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีรวมกัน อาจทําใหความเครียดผอนคลายหรือ ไมเครยี ดเลยก็ได
122 กิจกรรม เขยี นตอบคําถามดานลางในกระดาษและนําเสนอในชัน้ เรียน 1. ความสาํ คญั ในการตระหนกั รูในตนเองมีผลตอ การดาํ เนนิ ชีวิตอยา งไร 2. เราสามารถจดั การกบั อารมณโ กรธไดอยางไร 3. ความเครยี ดสง ผลตอสุขภาพอยางไร และเราสามารถจดั การกับความเครยี ดทาํ ไดอยา งไร
123 บทท่ี 9 อาชีพจําหนา ยอาหารสําเร็จรปู ตามหลกั สุขาภิบาล ประเทศไทยมีผลผลิตจาการเกษตรกรรมประเภทอาหารท่ีหลากหลาย ซ่ึงขึ้นอยูกับศักยภาพ แตล ะภมู ิภาคทแ่ี ตกตา งกันไป การนําผลผลติ จาการเกษตรมาแปรรูปเปนผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูป แลว กระจายสนิ คาสูตลาดผบู รโิ ภคตลาดภายในประเทศ ตลาดอาเซียน และตลาดในภูมภิ าคอ่นื ท่วั โลก เปนอกี ชองทางหนึ่งที่ทาํ ใหเกดิ อาชีพสาํ หรับผทู สี่ นใจ การถนอมอาหารในปจ จุบันใชว ิวัฒนาการทางเทคโนโลยีเพอ่ื แปรรปู วตั ถดุ บิ จาํ นวนมากพรอม ๆ กันเปน ผลติ ภณั ฑอาหารสําเรจ็ รปู หรือก่งึ สําเรจ็ รปู หรือปรบั ปรุงกรรมวธิ กี ารถนอมอาหารสมัยโบราณให ไดผ ลติ ภัณฑท่ีมคี ณุ ภาพดขี ึ้น ทัง้ ในดา นความสะอาด สี กล่ิน รส เนื้อสัมผสั และเพื่อยืดอายุการเกบ็ อาหาร นน้ั ใหไดนาน เทคโนโลยีการถนอมผลิตผลการเกษตรตองอาศัยความรูทางวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน ความรู พื้นฐานทางสงั คมธรุ กจิ และการจดั การควบคูกับความรูใ นการแปรรปู ผลติ ผลการเกษตร ใหเปน ผลติ ภัณฑ ชนดิ ใหม หรอื ปรับปรุงของเดิมใหดียิ่งขึ้นท้ังในลักษณะท่ีมองเห็นหรือสัมผัสได เชน สี กล่ิน ความนุม ความเหนยี ว เปนตน รวมทัง้ สิง่ ท่ีมองไมเ หน็ เชน คณุ คาทางโภชนาการ เปน ตน ผลติ ภณั ฑอาหารสาํ เรจ็ รูป หมายถึง อาหารท่ีไดผ า นข้ันตอนการหงุ ตม หรือกระบวนการ แปรรูป ผลิตผลการเกษตรโดยใชเทคโนโลยีเพอ่ื ใหอาหารน้ันสามารถเก็บไดเปน เวลานานพอสมควรโดยไม เนาเสีย สามารถดื่มหรือรับประทานไดทันทีเมื่อตองการจะอุนหรือไมอุนใหรอนกอนรับประทานก็ได ผลิตภณั ฑป ระเภทนี้ทีร่ ูจ กั กันแพรหลาย คอื อาหารบรรจุกระปอ ง เชน สับปะรดกระปอ ง หรอื บรรจุกลอง เชน นมสด เปน ตน ผลิตภัณฑอาหารกึ่งสําเร็จรูป หมายถึง อาหารท่ีไดผานขั้นตอนการหุงตมหรือกระบวนการ แปรรูปแลว และสามารถเกบ็ ไวไดน านเชน เดยี วกัน จะตองนาํ ไปหุงตม และปรุงรสหรอื ปรงุ แตงกอ นจึงจะ รับประทานได เชน นา้ํ ผลไมเขม ขน ซงึ่ ตอ งผสมนาํ้ กอ นดม่ื นาํ้ พรกิ แกง เปน ตน การแปรรูปหรือการถนอมอาหาร โดยหลักใหญ คือ การทําลายหรือฆาเช้ือจุลินทรียที่มีอยูหรือ อาจเกิดขึ้นในอาหาร และทําใหเกิดการเนาเสียใหหมดไป ปจจุบันผลิตผลการเกษตรมีมากขึ้น และ ประชากรมากข้ึนจึงไดมีการศึกษาคนควาและทดลองใชเทคโนโลยี เพ่ือถนอมผลิตผลการเกษตรให สามารถเกบ็ ไวไดน าน เชน การใชความรอ นจากไอนาํ้ เพื่อฆาเช้ือจุลินทรียในการทําอาหารกระปอง การ ใชร งั สแี กมมา เพอื่ ยับยั้งหรอื ทําลายปฏิกิริยาของเอนไซมท ําใหการเปล่ียนแปลงทางเคมีชาลง และยังเปน การทาํ ลายการเจริญเติบโตของจลุ ินทรยี อ ีกดว ย ในที่นี้จะกลาวถึงกรรมวิธีการถนอมอาหารทใ่ี ชก นั มากใน ปจจบุ ัน คือ การถอมอาหารโดยใชค วามรอ นสงู เชน ผลิตภัณฑอ าหารกระปอ ง เปน ตน การถนอมอาหารโดยใชความเยน็ เชน ผลติ ภณั ฑอาหารเยอื กแขง็ เปนตน การถนอมอาหารโดยการทําใหแหง เชน ปลาหยอง กาแฟผง เปนตน
124 การถนอมอาหารโดยการหมักดอง เชน ซีอ้วิ นํ้าสมสายชู เปนตน การถนอมอาหารโดยใชร งั สี เชน หอมหัวใหญอ าบรงั สี เปนตน เรื่องท่ี 1 การถนอมอาหารโดยใชความรอนสงู ภาชนะบรรจุไดมีการปรับปรุงพัฒนามาโดยเฉพาะอยางย่ิงที่ทําจากดีบุก ตอมาดีบุกหายากและ แพงขนึ้ จงึ ใชก ระปอ งทท่ี ําดว ยแผนเหล็กเคลือบผิวทงั้ สองดานดว ยดบี กุ ทําใหประหยดั ปรมิ าณของดีบกุ ที่ ใชไดมาก ขณะเดียวกันก็ไดมีการใชกระปองที่ทําจากอลูมิเนียมซ่ึงน้ําหนักเบาแตมีขอเสีย คือ บุบงาย สว นมากจึงใชทาํ กระปองเพอ่ื บรรจุน้าํ ผลไม หรือ เครื่องด่ืม หรือ นมสด แตการใชก ระปองอลมู เิ นยี ม ไมแ พรหลายเทากบั กระปอ งทท่ี ําจากแผนเหลก็ เคลอื บดีบกุ นอกเหนือจากภาชนะจะเปนสวนประกอบท่ี สํ า คั ญ ใ น ก า ร ถ น อม ผ ลิ ต ผ ล ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ว ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง อา ห า ร ก็ มี ค ว า ม สํ า คั ญ ม า ก รวมถึงการใชความรอนก็มีความสําคัญซึ่งตองรู วาจะใชความรอนสูงเทาใดในการฆาเชื้อจุลินทรียใน อาหารที่ตองการเก็บรักษา เนื่องจากการถนอมผลิตผลทางการเกษตร โดยความรอนจะเปล่ียนสภาพของ อาหารจากสดเปนอาหารสุกที่พรอมจะรับประทานได ดังน้ัน จึงมีการเติมเคร่ืองปรุงตาง ๆ หรือเปล่ียน สภาพเปนผลติ ภณั ฑอ าหารชนดิ ใหม ซ่ึงในปจจบุ ันเรียกวา \"การแปรรปู อาหาร\" สวนประกอบอาจจะมีทั้ง เนื้อสัตว ผักและเคร่ืองเทศ สําหรับอาหารคาวหรือถาเปนอาหารหวาน เชน ผลไมบรรจุในนํ้าเช่ือม เปน ตน กรรมวธิ ีการผลิตอาหารกระปอ งหรืออาหารในขวดแกว จาํ เปน ตอ งใชความรอ น เพือ่ ทาํ ใหอ าหาร ท่บี รรจุภายในสุก และเพอ่ื ทําลายเช้ือจุลลินทรีย ความรอนท่ีใชจะตองสัมพันธกันเพราะถาใชความรอน สูงเกนิ ไป อาจจะทาํ ใหอาหารที่บรรจุในกระปอง/ขวดน่ิมและไมนารับประทาน ถาความรอนต่ําเกินไป อาจจะมจี ุลนิ ทรียหลงเหลอื อยูซ ึ่งจะทาํ ใหอ าหารนน้ั เสยี เกดิ กระปอ งบวมและระเบดิ ไดในท่ีสุด การถนอม อาหารโดยใชค วามรอน หมายถงึ การฆา เชอ้ื ในอาหารที่บรรจุในภาชนะท่ีปดสนิท เพื่อปองกันการเสื่อม สลายหรอื เนาเสยี ทเี่ กดิ จากเชือ้ จุลินทรยี หรอื จากการปฏิกิรยิ าของเอ็นไซมในอาหาร การฆาเช้ือโดยความ รอนมี 3 ระดับ คือ การฆาเชื้อ (Sterilization) การฆาเชื้อระดับการคา (Commercially sterilization) และ การฆา เชอื้ แบบปาสเตอร (Pasteurization) การฆาเชื้อ หมายถึง การถนอมอาหารโดยใชค วามรอนสงู ภายใตค วามดัน เพื่อใหจุลินทรียท่ีมีอยู ท้งั หมดถูกทาํ ลาย การฆาเช้ือระดบั การคา หมายถงึ การถนอมอาหารโดยใชค วามรอ นสูงเพ่ือทําลายจุลินทรียท่ีมีอยู ในอาหารเกือบทั้งหมด เพ่อื ใหอาหารนั้น ๆ สามารถบรโิ ภคไดโดยไมเ ปน อนั ตราย และสามารถเก็บไวได นานโดยไมเนา เสยี ในภาวะปกติ การฆา เชื้อแบบปาสเตอร หมายถงึ การถนอมอาหารโดยใชความรอ นตา่ํ กวาอณุ หภูมิของนํ้าเดือด (ตาํ่ กวา 100o C) เพื่อทาํ ลายจลุ ินทรียบางสวน แตท ั้งนีต้ อ งดาํ เนินควบคกู บั สภาวะอยางอื่น เชน ควรเก็บใน ตูเย็นภายหลงั การผลติ แลว หรอื อาหารนั้นมี พีเอชตํา่ หรอื มปี รมิ าณนาํ้ ตาล หรือเกลือสูง
125 นกั วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร ไดแบงกลุมอาหารท่ีบรรจุในภาชนะท่ีปดสนิทเปน กลมุ ใหญ ๆ ไว 2 กลุม คอื \\ 1. กลมุ อาหารท่ีเปนกรด (Acid foods) คือ อาหารท่ีมีคา PH ต่ํากวา 4.5 สวนมากเปนพวกผลไม เชน สบั ปะรด สม หรือผักท่มี ีรสเปรี้ยว เชน มะเขือเทศ กระเจี๊ยบแดง เปน ตน 2. กลุม อาหารทีเ่ ปน กรดตาํ่ (Low acid foods) คอื อาหารที่มคี า พีเอช 4.5 หรือสูงกวา สว นมากจะ เปน อาหารจําพวกเนื้อสัตวแ ละผักตาง ๆ เชน เนือ้ หมู ปลา ขา วโพดฝก ออ นและหนอ ไมฝร่งั เปน ตน กระปอ งใชบรรจุ โรงงานทําสบั ปะรดกระปอง
126 ตัวอยา งขนั้ ตอนการทาํ อาหารกระปอ ง 1. รับซือ้ วัตถุดิบ 2. ลา ง ตัดแตง 3. คดั เลอื กขนาด, จัดระดับ 4. ลวก 5. บรรจุกระปอ ง/ขวด 6. เตมิ นํา้ บรรจลุ งในกระปอ ง/ขวด <----- เตรียมเครอ่ื งปรงุ หรอื นํา้ บรรจุ 7. ไลอ ากาศ 8. ปด ผนึก 9. ฆาเชอ้ื ดว ยความรอ น 10. ทาํ ใหก ระปองเยน็ 11. ปดฉลาก 12. บรรจุหีบ/กลอ ง 13. หอ งเก็บ 14. สง ขาย 15. ผบู รโิ ภค 1.1 เครื่องมอื ทใ่ี ชเ กย่ี วกบั การผลิต โดยทั่วไปเคร่ืองมือเครื่องใชและเครื่องจักรเก่ียวกับกรรมวิธีการผลิตอาหารกระปองตองไมเปน อันตรายตอสขุ ภาพ และตอ งอยูในสภาพท่สี ะอาดเสมอ ภาชนะท่ใี ชไดหลายครงั้ ตอ งทําดวยวัสดุที่ไมเปนพิษ และออกแบบใหทําความสะอาดไดงายเพ่ือปองกันมิใหมีส่ิงสกปรกตกคางอยู วัสดุที่ใชทําภาชนะตาง ๆ ควรเปนวสั ดทุ มี่ ผี วิ เรียบ ไมมีรอยแตกหรือกะเทาะลอ น ไมเปนพิษ ไมทําปฏิกิริยากับอาหาร ควรเปนวัสดุที่ ลา งและทาํ ความสะอาดไดงาย ไมเ ปน วัสดทุ ีด่ ูดซึมงาย ยกเวนเพ่ือวัตถุประสงคบางประการที่จําเปนตองใช เชน ถังไมใ นการหมักไวน ในสถานทผ่ี ลิตอาหารสาํ เร็จรูปจะมีเครอื่ งมือ เครอื่ งใชแ ละเครื่องจักรแตกตางกัน ออกไปแลวแตประเภทและชนดิ ของผลิตภัณฑ แตส ว นใหญแ ลวแบง ออกไดเปน 3 ประเภท คือ เครอื่ งมือ เคร่อื งใชท่ีจาํ เปนในกรรมวิธีการผลติ เคร่ืองมอื เครอ่ื งจกั รตามข้ันตอนของการผลติ เครอ่ื งมอื เครื่องจักรตามประเภทของผลิตภัณฑ 1.1.1 เครอื่ งมอื เคร่อื งใชท จ่ี ําเปน ในกรรมวิธกี ารผลติ เคร่ืองมอื เครอ่ื งใชนี้เปนส่ิงจาํ เปน ของผูป ระกอบกิจการการอุตสาหกรรมแปรรปู อาหารไมวา ขนาดเลก็ หรือขนาดใหญ โดยเฉพาะอยา งย่งิ การผลิตอาหารกระปอ ง 1) เครอื่ งช่ัง ตวง วัด ใชใ นการชง่ั นํา้ หนกั หรือปริมาตรของสิ่งตา ง ๆ เชน วตั ถุดิบ เครือ่ งปรงุ อาหาร เครอ่ื งชัง่ ตวง วัด ควรจะมีหลาย ๆ ขนาด
127 2) เคร่ืองวดั อุณหภูมิ เปนของจาํ เปน มากในการผลิต จะตองมีการควบคุมและตรวจสอบ อุณหภมู ิตามขน้ั ตอนตา ง ๆ ระหวา งผลิตอยตู ลอดเวลา 3) เครือ่ งมอื วัดปรมิ าณเกลอื 4) เคร่อื งมือวดั ปรมิ าณนํา้ ตาล 5) เคร่อื งมือวัดความเปนกรด-ดา ง 6) เคร่ืองมือวัดความรอนของอาหารที่บรรจุในกระปอง (Heat penetration equipment) เพ่ือคํานวณหาเวลาท่จี ะตองใชใ นการฆา เชอ้ื หลงั จากบรรจแุ ละปด ฝากระปอ งแลว เคร่ืองมือท่ีใชในการน้ี เรยี กวา เทอรมอคัปเปล (Thermocouples) ซึ่งใชวดั อุณหภมู ิ ณ จดุ ทคี่ วามรอนเขา ถงึ ชา ทีส่ ดุ ของกระปอง 7) เครือ่ งมือวดั ขนาดของตะเขบ็ กระปอ ง ลกั ษณะของการเก่ียวกันระหวางขอฝา (Cover hook) และขอของตวั กระปอ ง (Body hook) เปน ส่งิ สําคัญมาก ถา ไมเปนไปตามมาตรฐาน อาจจะทําใหกระปอง รั่วได 8) เครือ่ งมือตรวจความดันในกระปอ ง ทดสอบวา กระปอ งจะรวั่ หรือไม โดยสูบลมอัดเขา ไปในกระปอ งจนไดเ ปลงความดันท่ีตองการแลวจุมกระปองลงในนํ้า ถากระปองรั่วจะมีฟองอากาศผุด ออกมาตามรอยตะเขบ็ ซึง่ จะตอ งทาํ การปรับเครอื่ งปดฝากระปอ งใหเ ขาท่ี 1.1.2 เคร่อื งมอื เครอื่ งจักรตามขั้นตอนของการผลิต เครอื่ งมือเครื่องจักรท่ีใชใ นการทาํ อาหารกระปองแบง ออกตามขั้นตอนของการผลิต ประกอบดว ย การลาง เตรียม และตัดแตง วัตถุดิบ การลวก การหุงตม การบรรจุ การไลอากาศ การปดฝา การทาํ ลายเช้อื จลุ ินทรีย 1.1.3 เครือ่ งมอื เครอื่ งจกั รตามประเภทของผลิตภัณฑ เครื่องมอื เครื่องจักรอาจแตกตา งกันไปตาม ประเภทของอาหารท่ีจะผลิต เชน เคร่ืองมือ เคร่ืองจักรสําหรับทําสับปะรดกระปองยอมจะแตกตางกับ เครอ่ื งมือเคร่อื งจกั รของโรงงานทาํ ปลากระปอง 1.2 การทาํ ความสะอาดสถานทผ่ี ลิตอาหาร ในแงข อง \"สุขลักษณะ\" จะตองคํานึงถึงเช้ือจุลินทรียมากที่สุดเพราะจะทําใหเกิดอันตรายอยาง มากตอสขุ ภาพของผูบรโิ ภค จงึ ตองมีการควบคมุ ปรมิ าณจลุ นิ ทรยี ซ่ึงตอ งทาํ ทั้งกับคนและเคร่อื งมือ คอื 1) ปองกันมใิ หส ัตวและแมลงมโี อกาสสมั ผสั กับอาหาร 2) ควรใสเสื้อกันเปอน ซ่ึงเส้ือนี้จะปองกันส่ิงสกปรกตาง ๆ จากเส้ือผาหรือตัวผูทําอาหารหรือ เสิรฟอาหาร และสวมหมวกหรือมีผา คลมุ ผมเพ่อื ปอ งกนั ไมใหผ มหลนลงในอาหาร
128 3) รักษาเคร่ืองจักร เครื่องมือ โตะเตรียมอาหาร อางน้ํา หองเตรียมอาหารใหสะอาดอยูเสมอ เพ่ือปอ งกนั เศษอาหารหลงเหลอื อยู ซึง่ จะเปนอาหารเลี้ยงเชอ้ื จลุ นิ ทรยี ใหเ จริญเติบโตได 4) เศษอาหารควรทิง้ ทกุ วนั 5) หองเก็บวตั ถุดิบ หองเก็บของ ตเู ยน็ หองเยน็ ควรจะสะอาด 6) เครื่องจกั ร และเครือ่ งมือตาง ๆ ควรวางหรอื เกบ็ ใหเปนที่เพอื่ จะทาํ งานสะดวกและปองกันการ เสียหาย 7) มหี อ งนํ้าพอเพียงเพ่อื ปองกันความสกปรกของคนงาน 8) ตรวจสุขภาพของคนงานเปนประจําทุกป 9) ผผู ลติ ควรจะรวมมอื กับ \"ผตู รวจสอบ\" ของรัฐบาล เพอื่ คําแนะนาํ และความรว มมอื ท่ีดี 10) ควรจะแกไ ขจดุ ตาง ๆ ตามที่ \"ผูตรวจสอบ\" แนะนาํ 1.3 การทาํ ลายเศษอาหาร กาก และสว นท่เี หลอื จากโรงงาน การระบายนาํ้ เสียนน้ั เปนเรื่องทส่ี าํ คญั มาก เพราะนํ้าเสยี ยอมจะทาํ ใหเกดิ ผลเสยี ไดสองแง คือ 1) ความสะอาดและความปลอดภัยในการประกอบกิจ เพราะถาสิ่งแวดลอมสกปรกยอมจะเกิด การเจอื ปนขึ้นไดง า ย 2) ความปลอดภัยสําหรบั ผอู ยใู กลเคียง การระบายน้ําและมีเศษอาหารอยยู อมเปน ท่ีรบกวนแก ผอู าศัยใกลเ คยี งได โดยเฉพาะการปลอยของเสียลงในน้ํายอมกอใหเกิดความลําบาก และยุงยากตอผูอยู ปลายทาง เรอื่ งที่ 2 การถนอมอาหารโดยใชค วามเย็น การใหความเยน็ (Refrigeration) หมายถงึ กรรมวิธีการกาํ จดั ความรอ นออกจากสงิ่ ของหรือพื้นท่ี ทตี่ องการทาํ ใหเยน็ หรือตองการใหมอี ุณหภูมิลดลง ซงึ่ การทําใหเยน็ ลงนี้ แบง ออกเปน 2 ลกั ษณะ คือ การแชเยน็ (Chilling) หมายถึงการทําใหอุณหภูมิของส่ิงของนั้นลดลง แตอยูเหนือจุดเยือกแข็ง ของส่ิงนนั้ โดยของส่ิงนั้นยงั คงสภาพเดิมอยู เชน การแชเ ยน็ อาหารจะเปน การลดอณุ หภูมิของอาหารต่ําลง แมท ี่ -1o C แตตอ งไมท าํ ใหน้ําหรือองคประกอบในอาหารนน้ั แปรสภาพหรือแขง็ เปน นํ้าแขง็ การแชแข็ง (Freezing) หมายถึงการทําใหอณุ หภมู ิของสงิ่ ของนน้ั ลดต่ําลงกวา จดุ เยือกแขง็ ของ ส่ิงนนั้ (-1 ถงึ -40o C) การแชแขง็ จะทาํ ใหเ กิดการเปลีย่ นสภาพขององคประกอบในส่งิ ของ เชน ในกรณีท่ี เปนอาหาร ความเย็นจัดจะทําใหนํ้าในเนื้อเยื่อของอาหารแปรสภาพเปนนํ้าแข็ง ทําใหจุลินทรียไมอาจ นําไปใชไ ด แตความเย็นจัดไมไดทาํ ลายจุลนิ ทรยี ใหตาย จุดเยือกแข็ง (Freezing point) คือ อุณหภูมิท่ีเกิดภาวะสมดุลระหวางของแข็งกับของเหลว ณ ความกดมาตรฐาน 1 บรรยากาศ หรอื อุณหภูมทิ ีข่ องเหลวเปลย่ี นสถานะเปน ของแขง็ ณ ความกดมาตรฐาน 1 บรรยากาศ
129 การถนอมอาหารดว ยความเยน็ มหี ลายวธิ ี 1) การใชน ้าํ แขง็ ความเยน็ ของนาํ้ แข็งที่ใชใ นการแชอ าหารจะลดอณุ หภมู ขิ องอาหารไดเรว็ และ ถา มปี ริมาณนาํ้ แขง็ เพียงพอกจ็ ะทําใหอ าหารนนั้ เยน็ ลงจนมอี ณุ หภมู ิใกลเ คียงกบั 0o C 2) การใชส ารผสมแชแข็ง การใชน ํ้าแข็งผสมเกลือแกงหรือเกลืออนินทรยี อ่ืน ๆ จะทาํ ใหได สารผสมทีม่ ีอณุ หภูมิต่าํ กวา 0o C 3) การใชน ํ้าแข็งแหง นา้ํ แข็งแหง คอื คารบ อนไดออกไซดท เี่ ย็นจนแข็ง มอี ุณหภูมิ ประมาณ 80o C ใชในการเกบ็ รักษาอาหารทผี่ านการแชแขง็ มาแลว เหมาะสําหรับการขนสงในระยะเวลา 2-3 วนั 4) การใชไ นโตรเจนเหลว ไนโตรเจนเหลวที่ความดันปกติจะระเหยกลายเปน ไอที่ อุณหภูมิ 196o C ณ อุณหภูมินี้เปนอุณหภูมิตํ่าสุดที่สามารถทําใหอาหารเย็นลงไดอยางรวดเร็ว และ เนอื่ งจากไนโตรเจนเปน แกสเฉือ่ ย ไมเ ปนอันตรายกบั อาหารและผูบริโภค 5) การใชเ คร่ืองทาํ ความเยน็ เครอ่ื งทาํ ความเย็นทใ่ี ชก นั โดยท่ัวไป โดยเฉพาะตามบา นเรอื น คอื ตเู ย็น เรอื่ งที่ 3 การถนอมอาหารโดยการทาํ แหง หลักการในการทําแหง มหี ลายวิธี คือ 1) ใชก ระแสลมรอ นสัมผสั กับอาหาร เชน ตูอ บแสงอาทิตย ตอู บลมรอน (Hot air dryer) เปน ตน 2) พนอาหารท่เี ปนของเหลวไปในลมรอน เครอ่ื งมือทใ่ี ชค อื เครอ่ื งอบแหง แบบพนฝอย (Spray dryer)
130 3) ใหอาหารขน สัมผสั ผวิ หนาของลกู กลิง้ รอน เคร่อื งมอื ท่ีใชคอื เครือ่ งอบแหง แบบลกู กล้ิง (Drum dryer หรอื Roller dryer) 4) กําจัดความช้ืนในอาหารในสภาพที่ทํานํ้าใหเปนน้ําแข็งแลวกลายเปนไอในหองสุญญากาศ ซงึ่ เปนการทาํ ใหอ าหารแหงแบบเยอื กแขง็ โดยเครอื่ งอบแหง แบบเยอื กแข็ง (Freeze dryer) 5) ลดความชน้ื ในอาหารโดยใชไมโครเวฟ (Microwave) หลักในการทําอาหารใหแหง คือ จะตองไลน้ําหรือความชื้นที่มีอยูในผลิตผลการเกษตรออกไป แตจ ะยงั มคี วามชื้นเหลอื อยใู นผลติ ภณั ฑม ากนอ ยแลวแตช นดิ ของอาหาร การถายเทความรอน จะเกดิ ตรงจุดท่ีมีความแตกตางของอณุ หภมู ิ คือ อุณหภูมิของเครื่องมือที่ใช ในการอบ และอาหารที่ตอ งการทาํ ใหแ หง การถา ยเทความรอนมี 3 แบบ คอื 1) การนําความรอ น เปน การถายเทความรอ นจากโมเลกลุ หนึ่งไปยงั อกี โมเลกลุ หน่งึ ท่ีอยูขางเคียง ซึง่ จะเกิดกับอาหารท่ีมลี กั ษณะเปนของแขง็ 2) การพาความรอ น จะเกดิ กับอาหารทเี่ ปนของเหลว โดยกระแสความรอ นจะถูกพาผานชอ งวางที่ เปน อากาศหรอื แกสจากของเหลวชนิดหนึ่งไปยงั ของเหลวอีกชนิดหนงึ่ 3) การแผร งั สี เปนการถา ยเทความรอนโดยการแผร งั สคี วามรอนไปยังอาหารซงึ่ จะเกดิ ขึ้นในกรณี อบอาหารในสญุ ญากาศ และการอบแหงแบบเยอื กแขง็ ในทางปฏิบัติ การถายเทความรอ นในการอบแหง อาจเกดิ ขน้ึ พรอ มกันท้งั 2 หรือ 3 แบบกไ็ ด ทง้ั น้ี ขึ้นอยูกบั ลกั ษณะของอาหารที่นาํ ไปอบแหง การเคลื่อนที่ของน้าํ ในอาหาร น้ําหรอื ความชนื้ จะเคล่อื นทีม่ าทผ่ี ิวหนาของอาหารเม่ือไดรับความ รอ นในระหวางการอบ เครอ่ื งอบแหง เครื่องมอื ทใ่ี ชในการอบอาหารจาํ นวนมากในคราวเดยี วกันใหแ หง นัน้ มหี ลายแบบ แตละแบบก็มี หลายขนาด 1) ตูอบหรือโรงอบที่ใชความรอนจากแสงอาทิตย โดยมีหลักการทํางานคือ ตูหรือโรงอบ ประกอบดวยแผงรับแสงอาทิตย ซงึ่ ทําดวยวสั ดใุ ส เม่ือแสงอาทิตยซ ง่ึ สว นใหญเปน รงั สคี ล่ืนส้ัน ตกลงบน แผงรับแสงนแ้ี ลวจะทะลผุ า นไปยังวสั ดสุ ดี ํา ภายในตแู ละเปลีย่ นเปนรังสีความรอน ซึ่งความรอนนี้จะไป กระทบกบั อาหารทาํ ใหน ้าํ ในอาหารระเหยออกมา และผานออกไปทางชองระบายอากาศของตูอบ หรือ โรงอบ มีผลทาํ ใหอาหารแหง ในระหวางการอบควรกลบั ผลิตภณั ฑน ้ัน วันละ 1-2 คร้ัง เพอ่ื ใหผิวหนาของ ผลติ ภัณฑทุกสวนไดส ัมผัสกบั ความรอน ทําใหแหงเรว็ และสมํา่ เสมอ สวนมากตูอ บแสงอาทิตยนี้จะใชก บั พวกผกั ผลไม และธัญพชื ขอดสี าํ หรับการใชตอู บที่ใชค วามรอ นจากแสงอาทิตย คอื (1) ไดผลติ ภณั ฑสีสวย และสมาํ่ เสมอ (2) สะอาดเพราะสามารถควบคุมไมใหฝนุ ละอองหรือแมลงเขา ไปได
131 (3) ใชเวลานอยกวาการตากแดดตามธรรมชาติทําใหประหยัดเวลาในการตากได ประมาณหน่ึงในสาม (4) ประหยดั พื้นทีใ่ นการตาก เพราะในตอู บสามารถวางถาดที่จะใสผลผลิตไดหลายถาด หรอื หลายชั้น (5) ประหยัดแรงงาน เพราะไมตองเก็บอาหารท่ีกําลังตากเขาที่รมในตอนเย็นและ เอาออกตากในตอนเชาเหมือนสมยั กอ น ซ่ึงมีผลทําใหต นทุนในการผลติ อาหารแหง ลดลง เครื่องอบแหงแบบลูกกลิ้ง เคร่ืองอบแหงดว ยลมรอ นแบบตหู รือถาด 2) เครอ่ื งอบแหงทใี่ ชความรอ นจากแหลง อ่ืน ความรอนท่ีใชกับเครอื่ งอบประเภทน้สี วนมากจะได จากกระแสไฟฟา หรือแกส สว นมากใชในระดับอตุ สาหกรรมซึ่งมีหลายแบบหลายขนาด โดยใชหลักการ ทแี่ ตกตา งกันแลว แตประโยชนข องการใชส อย เชน (1) เครือ่ งอบแหงดวยลมรอนแบบตูหรือถาด ตูอบบุดวยวัสดุที่เปนฉนวนมีถาดสําหรับ วางอาหารทีจ่ ะอบ เคร่อื งมือชนดิ นีจ้ ะใชอ บอาหารท่มี ปี รมิ าณนอ ย หรือสาํ หรับงานทดลอง (2) เครอื่ งอบแหงดวยลมรอนแบบตอเนื่อง มีลักษณะคลายอุโมงค นําอาหารที่ตองการ อบแหงวางบนสายพานท่ีเคลื่อนผานลมรอนในอุโมงค เม่ืออาหารเคลื่อนออกจากอุโมงคก็จะแหงพอดี ตวั อยา งอาหาร เชน ผกั หรอื ผลไมอบแหง เปน ตน (3) เคร่ืองอบแหงแบบพนฝอย การทํางานของเคร่ืองอบแบบนี้ คือ ตองฉีดของเหลวที่ ตอ งการทาํ ใหแ หงพน เปน ละอองเขาไปในตทู ่มี ลี มรอ นผา นเขามา เชน กาแฟผงสําเร็จรูป ไขผง นํ้าผลไม ผง ซบุ ผง เปน ตน (4) เครื่องอบแหงแบบลูกกลิ้งเคร่ืองทําแหงแบบนี้ใหความรอนแบบนําความรอน ซ่งึ ประกอบดว ยลูกกลิ้งทาํ ดวยเหล็กปลอดสนิม อาหารที่จะทําแหงตองมีลักษณะขนและปอนเขาเคร่ือง ตรงผิวนอกของลกู กลิ้งเปนแผน ฟลมบาง ๆ ความรอ นจะถา ยเทจากลูกกล้งิ ไปยงั อาหาร (5) เครื่องอบแหง แบบเยอื กแขง็ ประกอบดว ยเครื่องที่ทาํ ใหอาหารเย็นจัด (freezer) แผน ใหความรอนและตูสุญญากาศ หลักการในการทําแหงแบบน้ี คือ การไลน้ําจากอาหารออกไปในสภาพ
132 สญุ ญากาศ การถา ยเทความรอนเปนแบบการนําความรอน ตัวอยางผลิตภัณฑที่ประสบความสําเร็จมาก ทส่ี ดุ คือ กาแฟผงสําเรจ็ รปู (6) ตูอบแหงแบบท่ีใชไมโครเวฟ ขณะน้ีไดมีการใชไมโครเวฟคลื่นความถ่ี 13x106 ไซเกิล เพ่อื ลดความชื้นของผกั เชน กะหล่าํ ปลแี ละผลติ ภณั ฑทไี่ ดจะมคี ณุ ภาพดี สสี วย ตัวอยางผลิตภัณฑ ท่ีใชตูอบแหงแบบไมโครเวฟรวมกับการใชสุญญากาศ คือ ผลิตภัณฑน้ําสมผง ซ่ึงยังคงคุณภาพของ สี กลิ่นและรสของสม ไว เรื่องท่ี 4 การถนอมอาหารโดยการหมกั ดอง ปจ จบุ นั ความกา วหนา ทางเทคโนโลยใี นดา นจุลชีววิทยามีมากข้ึน สามารถใชกระบวนการหมัก เพื่อผลิตผลิตภัณฑใหม ๆ ไดมากขึ้น และมีการใชจุลินทรียบริสุทธิ์และสายพันธุที่มีประสิทธิภาพให ผลผลิตสูงสุด ซีอ้ิวและเตาเจี้ยว ผลิตภัณฑท้ัง 2 ชนิดนี้ มักจะผลิตพรอมกัน เนื่องจากใชวัตถุดิบอยาง เดียวกัน ในปจจุบนั มีการใชสปอรเ ชอ้ื รา แอสเพอรจ ิลลัส ฟลาวสั โคลมั นารสิ เพอ่ื ผลติ ซีอ้ิว ทําใหไดซีอิ้ว ทม่ี คี ณุ ภาพสม่าํ เสมอตลอดป ซง่ึ เดมิ เคยมีปญหาเร่อื งการปนเปอ นจากเชอ้ื ราชนิดอ่ืน ๆ ในฤดฝู น ทําใหได ซีอิ้วที่มีคุณภาพไมด เี ทา ทีค่ วร และทส่ี ําคัญยง่ิ คือ สปอรเ ช้ือราท่ใี ชต อ งไมส รางสารอฟลาทอกซิน ซ่ึงเปน สารกอ มะเรง็ เรอื่ งที่ 5 การถนอมอาหารโดยใชร งั สี รังสี หมายถึง คลื่นแสงหรือคลายกับแสง ซ่ึงมีความยาวคลื่นท้ังสั้นและยาว การแผรังสีของ สารกัมมนั ตภาพมลี ักษณะคลา ยสายน้าํ ของอนุภาค หรอื คลนื่ ซง่ึ มาจากหนว ยเลก็ ท่สี ุดของสสารคือปรมาณู ธาตุชนิดหนึง่ ประกอบดว ยปรมาณูชนดิ ตาง ๆ ซ่งึ มลี กั ษณะทางเคมเี หมอื นกันแตม นี ้าํ หนกั ตางกนั ปรมาณู ชนิดตาง ๆ ของธาตุเดยี วกนั แตมีนํา้ หนักแตกตา งกันน้เี รียกวา ไอโซโทป รงั สีทใ่ี ชใ นการถนอมอาหารนัน้ อาจใชรงั สีใดรงั สหี นึง่ ดงั น้ี 1) รังสีแกมมา เปนรังสีที่นิยมใชมากในการถนอมอาหาร สารที่เปนตนกําเนิดรังสีน้ี คือ โคบอล-60 หรือซเี ซียม-137 2) รังสีเอกซ ไดจ ากเคร่อื งผลติ รงั สเี อกซท ีท่ ํางานดวยระดับพลังงานท่ีตํ่ากวา หรือ เทากับ 5 ลาน อเิ ลก็ ตรอนโวลต 3) รังสีอิเล็กตรอน ไดจากเครื่องผลิตรังสีอิเล็กตรอนที่ทํางานดวยระดับพลังงานท่ีตํ่ากวาหรือ เทากับ 10 ลา น อิเล็กตรอนโวลต 5.1 หลกั การถนอมอาหารดวยรงั สี รังสีท่ีฉายลงไปในอาหารจะไปทําลายหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรียหรือทําใหการ เปลยี่ นแปลงทางเคมีลดลง ซงึ่ มีผลทาํ ใหการเก็บรักษาอาหารน้ันมีอายุยืนนานโดยไมเนาเสีย ทั้งน้ีข้ึนอยู กบั ชนดิ ของอาหารและปรมิ าณรงั สที อ่ี าหารไดร บั และวตั ถุประสงคในการฉายรงั สี ซ่งึ พอจะสรุปไดดังนี้
133 1) ควบคุมการงอกของพืชผักในระหวางการเก็บรักษา ปริมาณรังสีท่ีฉายบนอาหาร ประมาณ 0.05-0.12 กโิ ลเกรย ซ่ึงกระทรวงสาธารณสุขอนุญาตใหอาหารนั้นมีปริมาณรังสีเฉลี่ยสูงสุดได ถงึ 0.15 กโิ ลเกรย เชน กระเทียม หอมใหญ มนั ฝรง่ั เปน ตน ซึ่งสามารถควบคุมการงอกและลดการสูญเสีย นํ้าหนกั ในระหวา งการเกบ็ ในหอ งเย็นไดน านกวา 6 เดือน 2) การควบคุมการแพรพันธุของแมลงในระหวางการเก็บรักษา ปริมาณรังสีท่ีฉายบน อาหารประเภทนี้ประมาณ 0.2-0.7 กิโลเกรย และกระทรวงสาธารณสุขอนุญาตใหอาหารน้นั มปี ริมาณรังสี เฉล่ียสูงสดุ ได 1 กโิ ลเกรย เชน ขาว ถวั่ เคร่อื งเทศ ปลาแหง เปนตน ซง่ึ รงั สีจะทําลายไขแมลงและควบคุม การแพรพ ันธขุ องแมลงและตวั หนอนในระหวางการเก็บรักษา หรอื ระหวา งรอการจาํ หนา ย 3) ยดื อายกุ ารเกบ็ รักษาอาหารสด การฉายรังสีอาหารทะเลและเนอื้ สตั วดว ยรงั สีประมาณ 1-3 กโิ ลเกรย จะชวยลดปริมาณแบคทีเรียลงไดมาก ทําใหสามารถเก็บรกั ษาไดนานข้ึน แตทั้งนี้ตองบรรจุ ในภาชนะและเก็บในหองเย็น สวนผลไม เชน มะมวง กลวย ถาฉายรังสีดวยปริมาณ 0.3-1 กิโลเกรย จะชะลอการสุกและควบคุมการแพรพันธุของแมลงในระหวางการเก็บรักษา ทําใหอายุการเก็บนานข้ึน สวนสตรอเบอร่ี ถาฉายรังสีดวยประมาณ 3 กิโลเกรย จะชวยทําลายจลุ นิ ทรียท่ีเปนสาเหตุทําใหเนาเสียลง บางสวน ทําใหย ืดอายกุ ารเกบ็ รักษาหรอื ในระหวางการจําหนายและการฉายรังสี ประมาณ 1-2 กิโลเกรย จะสามารถชะลอการบานของเห็ด ทําใหก ารจาํ หนา ยมรี ะยะนานข้นึ 4) ทําลายเชื้อโรคและพยาธิในอาหาร ผลิตภัณฑที่ทําจากเนื้อสัตวอาจมีพยาธิหรือเชื้อ โรคติดอยูได เชน พยาธิใบไมตับที่มีในปลาดิบ สามารถทําลายไดดวยรังสีต่ําประมาณ 0.15 กิโลเกรย แหนมซ่ึงเปนผลติ ภณั ฑจ ากหมูทค่ี นไทยนยิ มรบั ประทานดิบ ๆ ถาฉายรังสีในประมาณ 2-3 กิโลเกรย จะ เพยี งพอทจ่ี ะทําลายเชอื้ ซาลโมเนลลา ซงึ่ เปนสาเหตุทําใหเกิดทองรวงและทําลายพยาธิท่ีอาจจะติดมากับ เนอื้ หมูกอ นทําแหนมก็ได 5.2 กระบวนการฉายรงั สี ในประเทศไทยการฉายรังสีอาหาร ควบคุม และดําเนินการโดย สํานักงานพลังงานปรมาณูเพ่ือ สนั ติ กระทรวงวทิ ยาศาสตรเทคโนโลยแี ละการพลังงาน สวนมาตรฐานเก่ียวกับปริมาณของรังสีที่ใชและ ความปลอดภัยตอ งเปนไปตามประกาศของกระทรวงสาธารณสขุ อาหารที่จะผานกระบวนการฉายรังสีมี ทั้งผลผลติ การเกษตรหลงั การเก็บเกี่ยว และผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูปและกึ่งสําเร็จรูป ดังน้ัน การบรรจุ หีบหอ อาจมคี วามจําเปน ตามชนดิ ของผลติ ภณั ฑ เชน แหนม หมูยอ ซึ่งหอหุมดวยใบตอง สวนหอมใหญ มันฝรง่ั ไมมสี งิ่ หอหมุ เปน ตน ในการฉายรงั สผี ลิตผลเหลาน้ีตองบรรจุในภาชนะหรือหีบหอท่ีเหมาะสม นําไปผานพลังงานคลื่นไฟฟาในรูปของรังสี ซ่ึงอยูในตึกแยกหางจากตึกกําเนิดรังสีและไดรับการ ออกแบบใหม่ันคงแข็งแรงไดมาตรฐานดานความปลอดภัย เปนหลักประกันวาจะไมเปนอันตรายหรือ กอใหเกดิ ปญหาส่ิงแวดลอมตอ ชมุ ชนได
134 5.3 ปริมาณรังสที ี่ใชใ นการถนอมอาหาร หนว ยของรงั สีเรยี กวา เกรย อาหารใดกต็ ามเมอื่ ผานการฉายรงั สแี ลว รังสไี ดคายหรอื ถา ยพลังงาน ใหเทา กบั 1 จลู ตอ อาหารจาํ นวน 1 กิโลกรัม เรยี กวา 1 เกรย หนวยของรังสีวัดเปนแรด ซง่ึ 100 แรดเทา กับ 1 เกรย และ 1,000 เกรยเทากับ 1 กิโลเกรย องคการอนามัยโลก และทบวงการพลังงานปรมาณูระหวาง ประเทศ ไดสรปุ วา การฉายรังสีอาหารใดก็ตามดวยระดับรงั สี ไมเ กิน 10 กโิ ลเกรย จะมีความปลอดภัยใน การบริโภค และไมทําใหคุณคา ทางโภชนาการเปลย่ี นแปลงไป แตอ ยา งไรก็ตามปริมาณของรังสีที่อาหาร ไดรับตองเปนไปตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งแตกตางกันตามชนิดของอาหารและตาม วัตถุประสงควา ดว ยการถนอมอาหารในระดับตาง ๆ 5.4 การแสดงฉลาก อาหารอาบรังสตี อ งมฉี ลากแสดงขอ ความเพ่ือใหผ บู รโิ ภคไดรบั ทราบขอ มูล ซึง่ เปนประโยชนใน การเลือกซือ้ อาหารมาบรโิ ภค โดยในฉลากจะตองระบุรายละเอียดดังตอ ไปนี้ 1) ชอื่ และทีต่ ้ังของสาํ นกั งานใหญของผผู ลิตและผูฉ ายรังสี 2) วัตถปุ ระสงคใ นการฉายรงั สี โดยแสดงขอ ความวา \"อาหารที่ไดผ านการฉายรงั สเี พื่อ........แลว\" (ความที่เวน ไวใ หร ะบวุ ตั ถุประสงคข องการฉายรังส)ี 3) วนั เดือนและปท ี่ทําการฉายรังสี 4) แสดงเครื่องหมายวาอาหารนัน้ ๆ ไดผ านการฉายรังสีแลว อาหารสําเร็จรูป หมายถึง อาหารท่ีผูขายปรุงไวเรียบรอยแลว ผูซื้อสามารถนําไปอุนหรือ รบั ประทานไดท ันที อาหารสาํ เร็จรปู นร้ี วมถึงอาหารทผี่ บู รโิ ภคส่ังใหประกอบหรือปรุงใหม การเลือกซ้ือ ควรสงั เกตสถานทขี่ ายสะอาด ภาชนะใสอาหารมสี ่งิ ปกปด กันแมลงและฝุนละออง ผูขายแตงกายสะอาด ถกู หลักสขุ าภบิ าลอาหาร อาหารสําเร็จรูปที่พรอมบริโภคทันที หมายถึง อาหารท่ีผลิตเรียบรอยพรอมบริโภคที่บรรจุใน ภาชนะพรอมจําหนา ยไดท นั ที เชน น้ําพริกสําเร็จรปู (นาํ้ พริกเผา นํา้ พรกิ สวรรค น้าํ พริกตาแดง แจวบอง) ขนมตาง ๆ (ขนมรังแตน ขาวแตน กระยาสารท ทองมวน ทองตัน ทองพับ กรอบเค็ม กระหรี่ปป ขาวเกรียบทีท่ อดแลว ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ขนมปงกรอบ คุกกี้ เอแคร ขนมอบกรอบ ขนมขบ เคีย้ ว) พืชผกั และผลไมแ ปรรูป (กลวยตาก กลวยฉาบ กลวยอบเนย กลวยกวน สับปะรดกวน มะมวงดอง ฝรั่งดอง มะยมหยี มะมวงหยี ฝรั่งหยี มะดันแชอิ่ม มะมวงแชอ่ิม) ผลิตภัณฑจากสัตว (ไขเค็มตมสุก หมู หยอง หมูทุบ หมแู ผน หมสู วรรค ปลาแผน หมูแผน เนอื้ สวรรค ฯลฯ) อาหารพรอ มปรงุ หมายถงึ อาหารที่ผูขายจัดเตรียมวัตถุดิบ พรอมเคร่ืองปรุงไวเปนชุดผูบริโภค สามารถซอื้ แลวนําไปประกอบเองท่บี าน ควรสงั เกตวนั เดือน ป ทผ่ี ลิตหรอื วันหมดอายเุ พราะลักษณะของ อาหารยังไมไดผ า นความรอ น มโี อกาสบดู เสียหรอื เสือ่ มคุณภาพไดมากทีส่ ุด
135 เร่ืองที่ 6 อาชพี จาํ หนา ยอาหารสําเร็จรูปตามหลักสุขาภบิ าล อาชพี จาํ หนายอาหารสําเรจ็ รปู คือ กระบวนการเคล่ือนยา ยผลิตภัณฑจากผูผลิตอาหารสําเร็จรูป ไปยงั ผูบรโิ ภค โดยคํานึงหลกั สุขาภบิ าล ตั้งแตข้ันตอนการผลิต การบรรจุหีบหอ บรรจุภัณฑ การขนสง และการจดั เกบ็ เพอื่ รอจําหนาย กระท่งั ผลิตภณั ฑถ งึ ผบู ริโภค ดังรูป กระบวนการผลติ การขนสงและ ผูบ ริโภค และบรรจุภณั ฑ เก็บรักษา ชองทางการจัดจําหนาย ประกอบดวย ผูผลิต คนกลาง และผูบริโภค ซึ่งอาจจะใชชองทางตรง จากผูผ ลิตไปยงั ผบู ริโภค และใชช อ งทางออ ม จากผผู ลิต ผา นคนกลาง ไปยงั ผูบ รโิ ภค ดงั รปู ผูผลติ ผบู รโิ ภค ผผู ลติ คนกลาง ผูบรโิ ภค ตลาดผลติ ภัณฑอ าหารสําเร็จรปู 1. ตลาดภายในประเทศ 2. ตลาดระหวางประเทศระดับอาเซียน 3. ตลาดระหวา งประเทศระดับภมู ภิ าคอน่ื ทว่ั โลก สวนประสมทางการตลาดสําหรับผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูป หมายถึง การดําเนินงานเก่ียวกับ การผลติ การจําหนาย การกําหนดราคา และการสงเสรมิ การขายไดส ดั สวนกัน เหมาะสมกบั ความตองการ ของลกู คา สภาพการแขงขนั และสอดคลอ งกับความตอ งการของสงั คม (หรอื เรียกวา 4Ps)
136 1. Product หมายถึง ผลติ ภัณฑอ าหารสําเร็จรูปถูกหลกั สุขาภบิ าลและตรงตามความตองการของ ลูกคา 2. Price หมายถงึ ราคามีความเหมาะสม ลูกคาพงึ พอใจและยอมรับ 3. Place หมายถึง การจัดจาํ หนายโดยพิจารณาชองทางการจาํ หนาย หรือขายผานคนกลาง หรือ พจิ ารณาการขนสงวา มีบทบาทในการแจกตัวอยางสินคาไดอยางไร หรอื ขั้นตอนการเกบ็ รกั ษาเพื่อรอ จาํ หนา ย ท้งั น้ีตองคาํ นงึ ถงึ หลักสุขาภบิ าล 4. Promotion หมายถึง การสงเสริมการตลาด การใชส่ือตาง ๆ ใหเหมาะสมกับตลาดเปาหมาย หรอื การส่อื สารใหลกู คาไดทราบสถานทจ่ี ดั จําหนา ยสินคา ราคา ซงึ่ ประกอบดวยกระบวนการ คอื การขายโดยใชพนกั งานขาย การสงเสริมการขายดวยวิธีการแจกของตัวอยาง แจกคูปอง ของแถม การใช แสตมปเ พอ่ื แลกสินคา ตลอดจนการใหรางวัลตาง ๆ และการประชาสัมพันธ รูปแบบการขาย 1. การขายสง หมายถึง การขายสนิ คา ใหกบั ผซู อื้ โดยการขายแตล ะครั้งจะมีปริมาณ จํานวนมาก เพ่ือใหราคาสินคา มรี าคาถกู มากพอท่ีจะนาํ ไปขายตอได 2. การขายปลีก หมายถึง การขายสินคาและบริการแกลูกคาท่ีซ้ือสินคาและบริการไปใชสนอง ความตอ งการของตนเองโดยตรง มิใชเ พือ่ ธุรกิจการขายตอ 3. การขายตรง หมายถึง การทําตลาดสินคาหรือบริการในลักษณะของการนําเสนอขายตอ ผูบริโภคโดยตรง ณ ท่ีอยูอาศัยหรือสถานท่ีทํางานของผูบริโภคหรือของผูอื่น หรือสถานที่อ่ืนที่มิใช สถานทปี่ ระกอบการคาเปน ปกติธุระ โดยผา นตัวแทนขายตรงหรอื ผูจาํ หนา ยอสิ ระชน้ั เดียวหรอื หลายชัน้ การเลอื กทําเลสาํ หรบั การประกอบอาชีพ สิ่งแรกที่ตองทํากอนคือ การหาทําเลท่ีดี เหมาะสมกับ ธุรกจิ โดยจะตองคํานึงถงึ แหลง ประกอบการหรอื ผผู ลติ ปรมิ าณลกู คา และการคมนาคมทีส่ ะดวก เรอ่ื งท่ี 7 การจดั ตกแตงรา นและการจัดวางสนิ คา อาหารสําเร็จรปู ตามหลักสุขาภบิ าล การจัดตกแตง รา นคา มีความสาํ คัญตอ งคาํ นึงถึงส่งิ ตอ ไปน้ี 1. แสงสวางภายในราน แสงสวางธรรมชาติมักไมเพียงพอและแสงแดดมักทําความเสียหาย ใหแ กสินคา การใชแสงไฟฟา แมจ ะมีคา ใชจา ยสูงแตก จ็ ูงใจลูกคา ใหเขา มาซื้อสินคาไดม ากกวารานที่ ดูมั่วซ่ัว ในรานควรเลอื กใชแสงจากหลอดฟลอู อเรสเซนต กอนตดั สินใจเร่อื งแสงสวา งควรรูว า คาไฟฟา จะเปนสกั เทาใด และตอ งใชจ าํ นวนก่ีดวงถงึ จะคุมคา กับการขายสนิ คาดว ย 2. การตกแตงสีภายนอกและภายในราน นอกจากการทาสีรานคาใหสดใสสวาง สวยงามแลว สขี องหบี หอ และตัวสนิ คาก็สามารถนํามาตกแตงใหรานคาดูดีข้ึนจะตองใหผูคนเห็นสินคา ชัดเจนและ สวยงาม
137 3. การจัดวางสินคาบริเวณทางเขาราน ใกล ๆ ทางเขาราน เปนที่เหมาะสําหรับจัดวางสินคาท่ี ตองการเสนอขายเปนพเิ ศษ เพราะเปนทีท่ ล่ี กู คา ทุกคนตอ งเดินผา นเขา ออก จงึ ตอ งจดั สินคา ไวบ รเิ วณนใี้ ห เตะตาจริง ๆ โดยเฉพาะบริเวณโตะชําระเงินที่ลูกคาเขาแถวรอท่ีจะชําระเงิน ควรหาของเล็ก ๆ นอย ๆ ทีล่ กู คาอาจลมื ซือ้ มาจัดวางไว 4. การจัดหมวดหมูของสินคา สินคาที่มีลักษณะคลายคลึงกัน หรือใชรวมกันจะตองจัดวางไว ดวยกนั เชน นาํ้ ดมื่ เครื่องด่มื ประเภทน้าํ อัดลม ประเภทขนมปง สดและเบเกอรี่ ขนมขบเคีย้ ว เปนตน 5. การติดปายบอกประเภทของสินคา เพื่อใหรูวาสินคาอยูที่ใด เปนการติดปายบอกชนิดของ สินคาตามท่จี ดั ไว เปนหมวดหมแู ลว เพือ่ สะดวกในการคนหาสินคา ตามทลี่ กู คาตองการ อาจจะติดไวตาม ผนังหอง และก่ึงกลางเหนือช้ันวางของ สินคาใดวาง ณ จุดใด ควรวางอยูเปนประจํา และไมควร เปล่ยี นแปลงที่วางสนิ คาบอ ยเกนิ ไป เพราะจะทําใหลกู คา ตอ งเสียเวลาคนหาในคร้ังตอไปท่ีแวะเขามาซ้ือ สนิ คา ทีร่ า น 6. การตดิ ปายราคาสนิ คา ปจ จุบนั ลูกคาสวนใหญมักสนใจในรายละเอียดของสินคาเพิ่มมากขึ้น ท้ังรูปแบบของบรรจุภัณฑ ช่ือสินคา คําแนะนําการใชผลิตภัณฑน้ันๆ วันผลิตและวันหมดอายุ ดังน้ัน จะตอ งติดปายบอกราคาเพมิ่ ใหก ับตัวสินคาซง่ึ เปน สง่ิ สําคญั ท่สี ดุ ลงไปดว ย คือ ตองติดราคาบอกไวบนตัว สินคาทกุ ช้ินให ชัดเจนพอท่ีลูกคาและพนักงานเก็บเงินจะอานได หรือ สินคาบางประเภทที่ขายกันเปน จาํ นวนมาก อาจจะตดิ ราคาในรปู ของแผน ปา ยหรอื โปสเตอร จะเปน การชว ยประหยดั แรงงานและเวลาได หากเปนสินคาชนิดเดียวกันแตตางย่ีหอกัน อาจจะติดราคาไวท่ีชั้นวางสินคาจะชวยใหลูกคาเห็นและ เปรียบเทียบราคากันได ถึงแมวาจะตองใชเวลาและแรงงานในการติดราคากันใหม เมื่อสินคามีราคา เปลี่ยนแปลงใหม แตก็เปนการใหประโยชนและรายละเอียดเพ่ิมเติมรวมถึงความสะดวกกับลูกคา ทง้ั ยงั เปน การสะดวกในการเรียกเกบ็ เงินคา สินคาอกี ดวย
138 การจัดวางสินคา มคี วามสําคญั ตอการจูงใจลูกคาใหเลือกซ้ือสินคา เพื่อใหสะดวกและเกิดความ พงึ พอใจควรคาํ นึงถึงสง่ิ ตอไปนี้ 1. ความพงึ พอใจของลกู คา 2. จดั สนิ คาไวในบริเวณทีเ่ ราจะขาย 3. จดั สินคาไวใ นระดบั สายตาใหมากที่สุด 4. จดั สนิ คา ดานหนาบนช้นั ใหเ ตม็ อยูเสมอ 5. ช้นั ปรับระดับไดต ามขนาดของสินคาจะเปน การดี 6. การใชกลอ งหนุนสินคา ใหด ูงดงามแมจ ะมีสินคาไมมากนกั 7. ความเปนระเบียบเรียบรอย สินคาบางชนิด มีหลายแบบ หลายขนาด ควรจัดใหเปนระเบียบ สะดวกในการเปรียบเทียบของลูกคา ดังนั้น สินคาที่เหมือน ๆ กันควรเอาไวดวยกัน และควรจัดตาม แนวนอนอยูใ นระดับเดยี วกนั หรือจะจดั ในแนวดิง่ ดว ยกไ็ ด 8. สินคา มากอ นตองขายกอน เราตอ งขายสินคาเกา กอนสนิ คาใหมเสมอ พยายามวางสินคา มากอ น ไวแถวหนา เสมอ ควรทําสนิ คาทมี่ ากอนใหดูสดใสสะอาดเหมอื นสินคาใหม 9. ปองกนั หลีกเลี่ยงการรวั่ ไหลของสนิ คา โดยการจดั วางผังทางเดนิ ภายในรานใหล ูกคา เดินไปมา ไดส ะดวก คือ หยิบก็งา ย หายก็รู สนิ คาบบุ ชํารุด ใกลห มดอายุควรจัดเปนสินคาลดราคาพิเศษ ลางสต็อก ดวยการจัดแยกขายไวตา งหาก การจัดการและดูแลคลงั สินคาตามหลักสขุ าภบิ าล การจัดการคลังสินคา เปนการจัดการในการรับ การจัดเก็บ หมายถึง การจัดสงสินคาใหผูรับ เพื่อกิจกรรมการขาย เปาหมายหลักในการบริหาร ดําเนินธุรกิจ ในสวนที่เกี่ยวของกับคลังสินคา ก็เพ่ือใหเกิดการดําเนนิ การเปน ระบบใหค ุม กบั การลงทนุ การควบคมุ คุณภาพของการเก็บ การหยิบสินคา การปอ งกนั ลดการสญู เสียจากการดาํ เนนิ งานเพือ่ ใหต น ทุนการดําเนินงานต่ําที่สุด และการใชประโยชน เต็มทีจ่ ากพนื้ ท่ี คุณลักษณะเพอื่ ความเปนเลิศในงานขาย การบริการทดี่ จี ะเกดิ ขึ้นจากตัวบคุ คล โดยอาศัยทักษะ ประสบการณ เทคนิคตาง ๆ ท่ีจะทําให ผรู ับบรกิ ารเกดิ ความพงึ พอใจ และอยากกลับเขา มาใชบรกิ ารอีก มีดงั ตอไปน้ี ตองมีจิตใจรักในงานดานบริการ (Service Mind) ผูใหบริการตองมีความสมัครใจทุมเทท้ัง แรงกายและแรงใจ มคี วามเสยี สละ ผทู จี่ ะปฏบิ ัตหิ นาทไ่ี ดต อ งมใี จรกั และชอบในงานบริการ ตอ งมีความรูใ นงานท่ใี หบริการ (Knowledge) ผูใหบ ริการตองมคี วามรูใ นงานทีต่ นรับผิดชอบ ที่สามารถตอบขอซักถามจากผูรับบริการไดอยางถูกตองและแมนยํา ในเรื่องของสินคาที่นําเสนอ เพื่อมิใหเกิดความผิดพลาด เสียหายและตองขวนขวายหาความรูจาก เทคโนโลยีใหม ๆ เพ่ิมข้ึนอยาง สมํา่ เสมอ
139 มีความชางสังเกต (Observe) ผูทํางานบริการจะตองมีลักษณะเฉพาะตัวเปนคนมีความชาง สังเกต เพราะหากมีการรบั รูวาบริการอยา งไรจึงจะเปนที่พอใจของผรู ับบรกิ ารกจ็ ะพยายามนํามา คิดสรางสรรค ใหเกิดบริการที่ดียิ่งขึ้น เกิดความพอใจและตอบสนองความตองการของลูกคาหรือ ผูร ับบรกิ ารได มากยิง่ ขึน้ ตอ งมคี วามกระตอื รือรน (Enthusiasm) พฤตกิ รรมความกระตือรือรน จะแสดงถึงความมจี ติ ใจ ในการตอ นรบั ใหช ว ยเหลือแสดงความหว งใย จะทําใหเ กิดภาพลกั ษณท ่ดี ี ในการชว ยเหลือผรู บั บริการ ตอ งมีกิริยาวาจาสภุ าพ (Manner) กิรยิ าวาจาเปนสิ่งที่แสดงออกจากความคิด ความรูสึกและ สงผลใหเ กดิ บคุ ลกิ ภาพท่ีดี ดังนัน้ เพ่อื ใหลูกคาหรือผรู ับบรกิ ารมีความสบายใจทีจ่ ะตดิ ตอ ขอรบั บริการ ตองมคี วามคิดรเิ รม่ิ สรา งสรรค (Creative) ผใู หบ รกิ ารควรมีความคิดใหม ๆ ไมควรยึดติดกับ ประสบการณหรือบริการท่ีทําอยู เคยปฏิบัติมาอยางไรก็ทําไปอยางนั้นไมมีการปรับเปล่ียนวิธีการ ใหบ รกิ าร จึงควรมีความคิดใหม ๆ ในการปฏิรูปงานบริการใหด ีขึ้น ตอ งสามารถควบคุมอารมณได (Emotional control) งานบริการเปนงานที่ใหความชวยเหลือ จากผูอ ่นื ตองพบปะผูค นมากมายหลายชนชน้ั มีการศกึ ษาทีต่ างกัน ดังน้ัน กิริยามารยาทจากผูรับบริการ จะแตกตา งกนั เมอ่ื ผูรบั บรกิ ารไมไดด ังใจ อาจจะถูกตําหนิ พูดจากาวรา ว กริ ิยามารยาทไมดี ซงึ่ ผใู หบ รกิ าร ตอ งสามารถควบคุมสตอิ ารมณไ ดเ ปน อยางดี ตองมีสติในการแกปญหาท่ีเกิดข้ึน (Calmness) ผูรับบริการสวนใหญจะติดตอขอความ ชวยเหลือตามปกติ แตบ างกรณีลูกคาทม่ี ปี ญหาเรงดวน ผใู หบ รกิ ารจะตองสามารถวเิ คราะหถึงสาเหตุและ คิดหาวธิ ใี นการแกไขปญหาอยา งมสี ติ อาจจะเลือกทางเลอื กท่ีดีที่สุดจากหลายทางเลือกในการใหบริการ แกล กู คา มีทศั นคติตองานบรกิ ารดี (Attitude) การบรกิ ารเปน การชว ยเหลอื ผูทํางานบริการเปนผูให จึงตองมีความคิดความรูสึกตองานบริการในทางท่ีชอบ และเต็มใจที่จะใหบริการ ถาผูใดมีความคิด ความรูสกึ ไมช อบงานบริการ แมจ ะพอใจในการรบั บริการจากผูอ นื่ กไ็ มอาจจะทํางานบริการใหเปนผลดี ได ถาบุคคลใดมีทัศนคติตองานบริการดี ก็จะใหความสําคัญตองานบริการ และปฏิบัติงานอยางเต็มที่ เปน ผลใหงานบรกิ ารมคี ณุ คา และนําไปสูความเปน เลิศ มีความรับผิดชอบตอลูกคาหรือผูรับบริการ (Responsibility) ในดานงานทางการตลาด และ การขาย และงานบริการ การปลกู ฝง ทศั นคติใหเ หน็ ความสําคัญของลกู คา หรือผูรับบริการดวยการยกยอง วา “ลูกคาคือบุคคลท่ีสําคัญท่ีสุด” และ “ลูกคาเปนฝายถูกเสมอ” ท้ังนี้ก็เพื่อใหผูใหบริการมีความ รับผดิ ชอบตอลกู คาอยางดีทส่ี ุด
140 เรื่องท่ี 8 พฤติกรรมผบู รโิ ภคกับชองทางการจําหนา ยอาหารสาํ เร็จรูป พฤติกรรมของผูบริโภค (Consumer behavior) หมายถึง การแสดงออกรวมท้ังกระบวนการในการ ตดั สินใจของแตล ะบุคคลทเ่ี กีย่ วของโดยตรงกับการใชส ินคาและบริการ ประโยชนข องการศึกษาพฤตกิ รรมผูบรโิ ภค 1. ชว ยใหน กั การตลาดเขาใจถึงปจ จัยที่มีอิทธิพลตอ การตัดสินใจซือ้ สินคา ของผูบ รโิ ภค 2. ชว ยใหผ เู ก่ยี วของสามารถหาหนทางแกไ ขพฤตกิ รรมในการตัดสนิ ใจซ้ือสินคา ของผบู รโิ ภคใน สงั คมไดถูกตองและสอดคลอ งกับความสามารถในการตอบสนองของธรุ กจิ มากยิง่ ขึน้ 3. ชวยใหก ารพฒั นาตลาดและการพัฒนาผลิตภัณฑส ามารถทาํ ไดดขี ้นึ 4. เพอ่ื ประโยชนในการแบง สวนตลาด เพ่อื การตอบสนองความตอ งการของผูบริโภค ใหตรงกับ ชนิดของสินคาทีต่ อ งการ 5. ชวยในการปรบั ปรุงกลยุทธก ารตลาดของธุรกจิ ตาง ๆ เพ่อื ความไดเ ปรียบคูแขงขัน การประเมินความพงึ พอใจของผบู ริโภค ความพึงพอใจ หมายถงึ ความรูสกึ ภายในจติ ใจของมนษุ ยซ่ึงจะไมเหมือนกัน ซึ่งข้ึนอยูกับแตละ บุคคลวา จะคาดหมายกบั สิ่งหน่ึงสิง่ ใด ถา คาดหวังหรือมคี วามตงั้ ใจมากเมอ่ื ไดรบั การตอบสนองดว ยดี จะมี ความพึงพอใจมาก แตใ นทางตรงขา มอาจผดิ หวงั หรือไมพ ึงพอใจเปนอยางย่งิ เมื่อไมไดรับการตอบสนอง ตามท่คี าดหวงั ไวหรือไดร ับนอยกวา ทค่ี าดหวังไว ทัง้ นีข้ น้ึ อยกู บั สิ่งท่ีตั้งใจไววาจะมมี ากหรือมีนอย ปจ จยั สาํ คัญเพือ่ ประเมินคณุ ภาพของการบริการ 1. ความสะดวก หมายถึง ความสะดวกในการเขาพบหรือติดตอกับผูใหบริการ ซ่ึงครอบคลุม ทั้งเวลาท่ีเปดดําเนินการ สถานท่ีต้ังและวิธีการท่ีจะสามารถอํานวยความสะดวกใหแกผูบริโภคในการ เขา พบหรอื ตดิ ตอกบั ผใู หบ ริการ เชน สถานท่ีใหบรกิ ารต้ังอยใู นทที่ ่สี ะดวกแกการไปตดิ ตอ เปน ตน 2. การตดิ ตอ สื่อสาร หมายถงึ การส่อื สารและใหข อมูลแกลูกคาดวยภาษาที่งายตอการเขาใจและ การรับฟงความคิดเห็น ตลอดจนขอเสนอแนะ หรือคําติชมของลูกคาในเรื่องตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกับการ ใหบริการขององคก าร 3. ความสามารถ หมายถึง การท่ีผูใหบริการมีความรูความสามารถและทักษะที่จะปฏิบัติงาน บรกิ ารไดเปน อยา งดี เชน ความรูแ ละทักษะใหข อมูลผลติ ภณั ฑ เปน ตน 4. ความสุภาพ หมายถึง การท่ีผูใหบริการมีความสุภาพเรียบรอย มีความนับถือในตัวลูกคา รอบคอบ และเปนมิตรตอผูบริโภค เชน การใหบริการดวยใบหนาท่ีย้ิมแยมแจมใสและการส่ือสารดวย ความสภุ าพ เปนตน 5. ความนาเช่ือถือ หมายถึง ความเชื่อถือไดและความซื่อสัตยของผูใหบริการ ช่ือเสียงและ ภาพลกั ษณท่ดี ี 6. ความคงเสนคงวา หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติงานท่ีไดสัญญาไวอยางแนนอนและ แมน ยํา เชน การใหบ รกิ ารตามท่ีไดแจงไวก ับแกลกู คา เปน ตน
141 7. การตอบสนองอยางรวดเรว็ หมายถงึ ความเต็มใจของผูใหบริการที่จะใหบริการอยางรวดเร็ว เชน การใหบริการแกผรู ับบริการ ณ เคานเ ตอรจ ายเงนิ แบบทันทีทันใด เปนตน การสํารวจความพึงพอใจ การสาํ รวจความพงึ พอใจลกู คาเปน เครอื่ งมือทีส่ าํ คัญและมบี ทบาทในการพฒั นาและปรับปรุงการ ทํางานในองคก ารอยางมาก ขอมูลทไ่ี ดจากการสํารวจเปน ขอมลู ปอนกลับไปสูหนวยงานท่ีแสดงใหเห็น ถงึ พฤตกิ รรมและความตองการของลกู คา เชน พฤติกรรมการเลอื กซ้ือ/ใชบริการ และเปนตัวช้ีวัดผลการ ปฏิบัติงานขององคการที่แมนยํา เทคนิคการวัดความพึงพอใจ อาจเร่ิมจาก การสังเกต การสัมภาษณ แบบสอบถาม จนถึงกระบวนการทําวจิ ยั มหาตมะ คานธกี ลา วไววา “ลูกคา คือ แขกคนสําคัญท่ีสุด ท่ีไดมาเยือนเรา ณ สถานท่ีแหงนี้ เขามิไดมาเพ่ือพึ่งพิงเรา เรา ตางหาก ท่ตี อ งพงึ่ พาอาศัยเขา เขามิใชบ ุคคลทีม่ าขัดจงั หวะการปฏบิ ตั ิงานของพวกเรา หากแตวา การรับใช เขาคอื วัตถปุ ระสงคแ หงงานของพวกเรา เขามิใชบคุ คลแปลกหนาแตเขา คือ สวนหน่ึงของสถานท่ีแหงน้ี บรกิ ารจากพวกเรา มิใชก ารสงเคราะหเ ขา เขาตา งหากทกี่ ําลงั สงเคราะหพวกเรา ดว ยการยอมใหพวกเรามี โอกาสไดรับใชเขา” การสง เสรมิ การขาย การสง เสริมการขายเปน กจิ กรรมที่กระตุนการตัดสนิ ใจซ้ือสินคา หรือบรกิ าร โดยการจัดกิจกรรม การตลาดและสงเสรมิ การขายตาง ๆ เชน การเสนอของแถม การแสดงสนิ คา และการจัดวางสินคา การลด ราคา การตลาดทางไกล การตลาดทางไปรษณยี และวธิ กี ารอื่น ๆ เพ่อื ชวยกระตุนยอดขาย วิธีการสง เสริมการขาย การสงเสริมการขายดานลดราคาสวนใหญเปนการลดราคาสินคา โดยอาจจะลดจากราคาขาย ปกติ เชน การจัดโปรโมชน่ั ตา ง ๆ เปนชว งเวลา การลดราคา 25% ทกุ วนั พธุ เปน ตน หรอื การเพ่ิมปริมาณ สินคา โดยขายราคาเทาเดิม เชน แลกตาซอย เอ็กตรา 300 เพ่ิมปริมาณแตไมเพิ่มราคา เปนตน ยอดขายที่ เพมิ่ ขนึ้ จากการลดราคานี้ จะมีตนทุนจากกาํ ไรท่ลี ดลง การตดั สินใจใชก ลยุทธน้ีจึงควรตองพิจารณาอยาง รอบคอบ และควรคํานงึ ถงึ ผลกระทบตอ ชื่อเสยี งของตราสนิ คาดวย การสงเสริมการขายโดยการใชคปู อง คูปอง เปน อีกวธิ กี ารหน่งึ ในการลดราคา วัตถุประสงคห ลกั ของการใชก ารสงเสรมิ การขายโดย ใชค ูปอง คือ การกระตนุ ใหลูกคา ใชคปู องใหม ากท่สี ดุ โดยมีเทคนิคการแจกคูปองหลายอยา ง ตัวอยางเชน - การติดคปู องไวบ นบรรจภุ ณั ฑเ พือ่ กระตุน การซื้อซ้าํ - การแจกคูปองในหนังสือพิมพ หรือนิตยสารเพื่อใหผ บู รโิ ภคไปใชซ ื้อสนิ คา การสงเสริมการขายโดยการใหของแถมเปนวิธีท่ีมีใชกันมาก โดยลูกคาจะไดรับของแถม เม่ือซ้อื ครบตามทีก่ าํ หนด เชน ซือ้ สินคาครบสิบชิน้ กจ็ ะไดร ับของแถมหน่งึ ชนิ้ เปนตน
142 การสงเสริมการขายโดยการแขงขันและใหรางวัลเปนอีกวิธีหนึ่งที่มีใชกันมากในปจจุบัน โดยเฉพาะตามงานแสดงสนิ คาตาง ๆ ก็จะมสี าวสวย (Pretty) แตงตวั นารัก มากลาวแนะนาํ ถงึ สรรพคณุ ทีด่ ี ของสนิ คา และจดั เกมสตอบคาํ ถามงา ย ๆ พรอมของรางวลั เล็ก ๆ นอ ย ๆ เพือ่ เรยี กรองความสนใจของลูกคา ทเ่ี ดินผานไปมาและมีการแจกของชาํ รว ยเลก็ ใหกบั ผูท ่ีเขา รวมกจิ กรรมและตอบคําถามไดถ กู ตอ ง เปนตน การสงเสรมิ การขายโดยการชิงโชค ซ่งึ วิธนี ้กี ็อาจจะมีหลายวิธี แตท่ีนิยมกันก็คือ การแนบใบ ลุนรางวลั มาพรอ มกบั สนิ คา หรือใหตัดชิน้ สวน หรือ ปายฉลาก สต๊ิกเกอร อยางใดอยางหน่ึง สงไปรวม ชงิ โชค ซง่ึ วธิ ีการนก้ี จ็ ะตองระมดั ระวังเร่อื งความสะดวกในการทจ่ี ะสงชิ้นสว น หรือชิ้นสวนจะตองไมถ กู แอบแกะอานดูกอ นที่ผูซอ้ื จะเปน ผูแ กะคนแรก การสงเสรมิ การขายสาํ หรับลกู คาประจํา เปนการกระตุนใหลูกคาประจํามาซื้อสินคาหรือใช บริการบอย ๆ เชน สายการบิน มีการสะสมไมลเพื่อแลกเปนตั๋วเครื่องบินฟรี เมื่อสะสมไมลได ตามท่กี าํ หนด หรือรา นอาหารญปี่ นุ ฟูจิ หรอื เซน มกี ารประทับตราเมอ่ื รับประทานอาหารครบทุก 300 บาท และนาํ มาแลกเปนบัตรสวนลด หรืออาหาร 1 จานเมื่อครบตามที่กําหนด เปนการกระตุนใหลูกคามาซื้อ สนิ คา หรอื ใชบ รกิ ารบอย ๆ หรอื ปม น้ํามันมีการทําบตั รสมาชิกแลวใหส วนลดพิเศษสาํ หรับสมาชิก เปนตน การสง เสรมิ การขาย ณ จุดวางสินคามีผลการวิจยั พฤติกรรมผูบริโภคในรานคาปลีกออกมาวา ยอดขายจะเพิ่มข้ึนถาลูกคาสามารถเห็นสินคา ณ จุดวางสินคา การจัดวางสินคาที่นาสนใจ ใหขอมูล เหมาะสม และวางในตําแหนงท่ีสังเกตไดงาย จะชวยใหลูกคาซื้อสินคามากข้ึน ในปจจุบันจะเห็นไดวา สนิ คา อุปโภคบรโิ ภคทวี่ างจําหนา ยในซุปเปอรม ารเกต็ มกี ารจดั เรยี งเปนแถวอยางเปน ระเบยี บ ถาตองการ ใหส นิ คาเปน ทสี่ งั เกตไดงา ย พน้ื ทีว่ างสนิ คา ตอ งอยใู นระดับสายตา และตั้งวางสินคาเปนแถวอยางชัดเจน และเปนระเบยี บ การสง เสริมการขายโดยการแจกสนิ คา ตวั อยางใหท ดลองใช วิธนี ี้ใหลูกคาไดทดลองใชสินคา ดูกอน กอนท่ีจะตัดสินใจซ้ือ ซ่ึงวิธีนี้ก็อาจสามารถดึงลูกคาท่ีใชสินคาของคูแขงอยูใหหันมาทดลอง ของใหมโ ดยทไ่ี มต อ งเสียเงินซื้อ เพราะบางคร้ังลูกคามีความคิดวาของท่ีใชอยูเดิมก็ดีท่ีสุดอยูแลว ทําไม ตอ งไปเสยี เงินซอื้ สินคาอื่นมาทดลองใช อยา งไรก็ตาม การสงเสรมิ การขาย ควรยึดหลักทวี่ า ทาํ ส่ิงทงี่ า ย ๆ ทไี่ มใหลกู คา รสู กึ ยงุ ยาก ในการทีจ่ ะเขารวมกจิ กรรมท่ีเราวางไว เทคโนโลยเี พิม่ ชองทางการจําหนาย E-Commerce การพาณชิ ยอิเลก็ ทรอนิกส คือ การดําเนินธุรกิจการคาหรือการซ้ือขายบนระบบ เครือขายอินเทอรเนต โดยผูซื้อ (Customer) สามารถดําเนินการ เลือกสินคา คํานวนเงิน ตัดสินใจซื้อ สินคา โดยใชวงเงนิ ในบัตรเครดิต ไดโ ดยอัตโนมัติ ผูขาย (Business) สามารถนําเสนอสินคา ตรวจสอบ วงเงินบตั รเครดิตของลกู คา รับเงนิ ชาํ ระคา สนิ คา ตัดสินคา จากคลังสินคา และประสานงานไปยังผูจัดสง สนิ คา โดยอัตโนมตั ิ กระบวนการดงั กลาวจะดาํ เนนิ การเสร็จสิ้นบนระบบเครอื ขา ย Internet
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163