Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียนชุดวิชาลูกเสือ กศน. สค32035 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

หนังสือเรียนชุดวิชาลูกเสือ กศน. สค32035 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Published by mediaksn586, 2019-11-13 21:31:10

Description: ให้สถานศึกษาสังกัด สำนักงาน กศน. ไว้ใช้ในการประกอบการเรียนการสอน

Search

Read the Text Version

38 สิ่งแรกท่ีทรงทําหลังจากตื่นบรรทมก็คือ ขัดหัวเข็มขัดและรองพระบาทสําหรับเครื่องแบบ ลกู เสือ ทําความสะอาดพระนขา (เล็บ) เตรยี มพรอมสําหรับการตรวจอยตู ลอดเวลา ในวันคลายวันสถาปนาคณะลูกเสือไทย เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 ในพิธี สวนสนามของลูกเสือ ณ กรีฑาสถานแหงชาติ ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา- ภมู ิพลอดลุ ยเดช และสมเดจ็ พระนางเจาสริ กิ ิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ไดเสด็จพระราชดําเนินทรง เปนประธานครั้งแรก สมเด็จพระเจาลกู ยาเธอ เจาฟา วชริ าลงกรณฯ ในขณะนั้น เสด็จฯ ไปทรง รว มกจิ กรรมกบั ลกู เสอื โรงเรยี นอื่นเปนคร้งั แรกทที่ รงรว มพธิ ีสวนสนามของลูกเสือ ซึ่งประชาชน คนไทยท่ีทราบขาวกอนหนาพากันเปนหวงเปนใยพระองคทานไปตาง ๆ นานา ดวยเกรงวา พระองคจ ะประชวรลง บางคนถึงกับกลา ววา “โถ ทลู กระหมอมจะทรงทนแดดไหวหรอื ทานจะ ทรงเปน ลมไหมนะ” โดยความหวงใยในพระองคของพสกนกิ รเรอื่ งนี้ เม่ือทรงทราบก็ไดรับสั่งวา “ตอ งไดซ ิ ทําไมจึงดูถูกกนั อยา งนน้ี ะ” ครน้ั ถึงวันสวนสนามก็ทรงปฏิบัติหนาท่ีของลูกเสือสํารองของโรงเรียนจิตรลดา ไดเปน อยา งดี เชนเดียวกับลูกเสือคนอ่ืน ๆ ในวันน้ัน ทรงถือปายชื่อโรงเรียนผานพระท่ีนั่งดวย พระอาการสงา และทรงรวมแสดงในนามหมลู ูกเสือโรงเรียนจิตรลดาดว ย สาํ หรับการท่ีทรงมีความอดทนและรูจักหนาท่ีของลูกเสือเปนท่ีประจักษชัดอีก คร้ังหนึ่งในการซอมใหญสวนสนามวันฉลองครบรอบวันกําเนิดลูกเสือไทย วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 ขณะน้ันทรงเปนลูกเสือโทแลว วันนั้นที่กรีฑาสถานแหงชาติฝนตกหนักอยางลืมหู ลมื ตาไมข น้ึ บรรดาผคู ุมการฝกซอมลงความเห็นวา ควรเชิญเสด็จเขาประทับในชายคา เพราะ อาจจะทาํ ใหประชวรหวัดได เจาหนาที่ผูใหญคนหน่ึงว่ิงออกไปท่ีสนาม ทูลเชิญเสด็จเขาท่ีประทับ ในชายคา ทรงมองหนาผูทูลเชิญพรอมกับส่ันพระเศียร แลวรับส่ังวา “ทําไมจะตองใหฉัน หลบเขาไปดวยละ ใคร ๆ เขาตากฝนไดฉันก็ตากไดเหมือนกัน ฉันแข็งแรงพอ” กอนหนาน้ัน เม่อื โรงเรียนจติ รลดาเขา พธิ ีประจาํ กองลกู เสอื สามัญ โดยสมทบกับหนวยโรงเรียนวชิราวุธ เปน กองลกู เสือ สังกัด อ.3 เมอื่ วันท่ี 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 ทรงสอบไดเปนลูกเสือโท เมื่อวันท่ี 9 มีนาคม พ.ศ. 2508 ในวนั น้นั ไดเสด็จฯ ไปทรงสอบเดนิ ทางไกล และประกอบอาหารทคี่ ายลูกเสือ วชิราวุธ ต.บางรัก อ.ศรรี าชา จ.ชลบุรี ตอ งเสด็จฯ ต้งั แตเ ชา มดื พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหา- ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงมพี ระราชดํารัสหามใครตามเสด็จนอกจากราชองครักษ ซึ่งใหตามเสด็จได เพียงหา ง ๆ การเสด็จเขา คายลกู เสือที่คายวชิราวุธคร้ังนั้น ทรงทําอาหารเอง ซึ่งที่ทรงโปรด ทาํ ทส่ี ดุ คอื “ขา วสวยคลุกไขปน เปนกอนทอด” โดยทรงโปรดการทําครัวเทากับความชางเสวย บางคราวทรงทําอาหารเองดวยหมอ และเตาดนิ เผาเลก็ ๆ แลว ประทับเสวยอยางเอร็ดอรอยรวมกับ ผตู ามเสดจ็ ทรงศึกษาท่ีโรงเรียนจิตรลดาถึงมัธยมศึกษาปท่ี 1 จึงเสด็จฯ ไปทรงศึกษาตอที่ องั กฤษ

39 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงกระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหจัดการศึกษาระดับอนุบาลข้ึน ณ พระท่ีนั่งอุดร ในพระที่น่ังอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต เมอื่ วนั ที่ 10 มกราคม พ.ศ.2498 ตอมาเมื่อ พ.ศ. 2500 เสด็จฯ มาประทับ ณ พระที่นั่งจิตรลดารโหฐาน จึงมี พระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหสรางอาคารเรียนถาวรในบริเวณพระตําหนักจิตรลดา- รโหฐาน พระราชวังดุสิต และพระราชทานนามโรงเรยี นวา “โรงเรียนจติ รลดา” บนั ทกึ เรือ่ งน้ีหนังสือพมิ พเดลินิวสนํามาจากหนังสือเฉลิมพระเกียรติที่กองทัพบก จัดทําข้ึน โดยเฉพาะเรื่องของ “วิชาลกู เสือ” ท่ที รงโปรด หากสาํ นกั งานลกู เสอื แหงชาติจะนําไปให “ลูกเสือ” ไดเรียนรจู ะเปน การดีย่งิ https://www.matichonweekly.com/column/article_17373 พระราชปณิธานและพระราโชบายในพระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัว ร.6 และสมเด็จพระเจา อยหู วั มหาวชริ าลงกรณ ฯ (ร.10) รชั กาลท่ี 6 ทรงไดพระราชทานกําเนิดลูกเสือไทยขึ้นเมื่อวันท่ี 1 กรกฎาคม 2454 และทรงใหความหมายของ \"ลูกเสือ\" วา \"ลกู เสอื บใชเสอื สตั วไ พ เรายืมชื่อมาใช ดวยใจกลา หาญ ปานกัน ใจกลา มใิ ชกลาอาธรรม เชน เสอื อรญั สญั ชาตชิ นคนพาล ใจกลา ตองกลา อยางทหาร กลา กอปรกจิ การ แหง ชาตปิ ระเทศเขตตน\" ทรงมีพระราชปณิธานในการฝกลกู เสือวา \"ขา ไมตอ งการตําราเรียนทเี่ ดินได ทข่ี า อยากไดนนั้ คอื เยาวชน ทเี่ ปน สุภาพบรุ ุษ ซื่อสตั ย สุจรติ มีอปุ นิสยั ใจคอด\"ี ราม วชริ าวธุ \"I do not want a walking school books. What I want are just manly young men, honest truthful, clean in habits and thoughts\" Vajiravudh

40 พระราชอัจฉรยิ ภาพของ รชั การที่ 6 ในการสรา งเด็กและเยาวชนทพี่ งึ ประสงค กจิ กรรมลกู เสือจงึ เปน เปนกิจกรรมเพ่อื ฝกฝน เด็กและเยาวชนใหมีความสามัคคี มานะอดทน เสยี สละเพ่ือสวนรวม โดยปลูกฝง ใหเ ด็กและเยาวชนเปนผมู รี ะเบยี บวนิ ัย เคารพกฎ ขอบังคับ และปฏบิ ตั ติ น เปนคนดีของสังคมและประเทศชาติ ปจจุบันสมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงเปน ประมุขคณะลกู เสอื แหง ชาติ สมเด็จพระเจาอยูหัว (ร.10) ทรงใหความสําคัญกับการพัฒนาเยาวชน โดยพระราชทานทุนการศึกษาระดับ ม.ปลาย ตอเนื่องจนจบ ป.ตรี (หรือเทียบเทา) ผานมูลนิธิ ทุนการศึกษาพระราชทาน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร จํานวน 154 ทุน/ป มาต้งั แตป พ.ศ. 2552 พระราชประสงคในการพฒั นาเยาวชน 1. มีความรู 2. มรี ะเบียบวนิ ยั 3. ไดรับการพัฒนาศกั ยภาพอยา งตอเนอ่ื ง 4. มีทศั นคตพิ ืน้ ฐานท่ีดี 5. ไดร ับการฝก อาชพี 6. เม่ือจบการศึกษาแลวจะตองเขา สูก ารมอี าชีพทม่ี ัน่ คง คุณลักษณะเด็กที่พงึ ประสงค รัชกาลท่ี 6 รัชกาลที่ 9 รชั กาลท่ี 10 เปนสภุ าพบรุ ษุ มีทัศนคติพ้นื ฐานทด่ี ีและไดร บั การพัฒนาศักยภาพ นิสยั ดี เปนคนดี อยา งตอ เนือ่ ง ซ่ือสัตย สุจรติ มีระเบยี บวินยั กลา ทีจ่ ะทาํ ประโยชนใ หก บั ประเทศ เปนคนดี มคี วามสามคั คี มีความอดทน เสยี สละเพื่อสว นรวม มรี ะเบยี บวนิ ัย เคารพขอบงั คบั

41 รชั กาลท่ี 6 รชั กาลที่ 9 รัชกาลท่ี 10 เปน คนเกง ไดรับการฝกอาชีพ มคี วามรู เม่ือจบการศึกษาแลวจะตองเขาสู การมีอาชพี ทมี่ ่ันคง (มุงเนนสาขาที่ตรงกับความตองการ ของประเทศ) คานยิ ม 12 ประการ ของ คสช. ใหนักเรยี นทอ งจาํ และนาํ ไปปฏบิ ตั ิ 1. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  2. ซ่อื สัตย เสียสละ อดทน 3. กตญั ูตอพอ แม ผปู กครอง ครูบาอาจารย 4. ใฝหาความรู หมัน่ ศกึ ษาเลา เรียน 5. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทย 6. มศี ลี ธรรม มนี ํ้าใจ และแบงปน 7. เขา ใจ เรยี นรูก ารเปนประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตริยทรงเปน ประมขุ 8. มรี ะเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย เคารพผใู หญ 9. มีสติรตู วั รคู ดิ รูทํา 10. รูจกั ใชห ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 11. มีความเขมแขง็ ทั้งและใจ ไมย อมแพตออํานาจฝายตา่ํ 12. คิดถงึ ประโยชนของสวนรวมมากกวา ผลประโยชนสวนตน กจิ กรรมทา ยเรื่องที่ 1 ประวัตกิ ารลกู เสือไทย (ใหผูเรียนไปทํากจิ กรรมทายเรอื่ งท่ี 1 ทส่ี มุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)

42 เรือ่ งที่ 2 ความรูท่วั ไปเก่ยี วกบั คณะลกู เสอื แหงชาติ 2.1 คณะลูกเสือแหง ชาติ คณะลูกเสือแหงชาติ ประกอบดวย บรรดาลูกเสือท้ังปวงและบุคลากรทางการ ลกู เสือ โดยมีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมุขของคณะลกู เสอื แหงชาติ ลูกเสือ หมายความวา เด็กและเยาวชนทั้งชายและหญิง ท่ีสมัครเขาเปนลูกเสือ ท้ังในสถานศกึ ษาและนอกสถานศึกษา สวนลกู เสือทีเ่ ปนหญิง ใหเ รยี กวา “เนตรนารี” บรรดาลูกเสือทั้งปวง หมายถึง ลูกเสือในโรงเรียน ลูกเสือนอกโรงเรียน ลกู เสือหลกั สูตรพเิ ศษ ลกู เสอื ชาวบา น ลกู เสอื ในโรงเรยี น หมายถงึ เยาวชนท่ีสมคั รเขา เปนลกู เสือในกองลูกเสือโรงเรียน ไดแก ลูกเสอื สํารอง ลูกเสือสามญั ลกู เสอื สามญั รุนใหญ และลกู เสอื วสิ ามญั ลกู เสอื นอกโรงเรยี น หมายถึง เยาวชนทไี่ มไดส มคั รเขาเปนลกู เสอื ในกองลูกเสือ โรงเรียน แตส มัครใจเขารว มกิจกรรมกบั ลกู เสือในโรงเรียน และลกู เสือหลักสูตรพิเศษ ลูกเสอื หลักสตู รพเิ ศษ หมายถึง ลูกเสอื ทสี่ มัครเขารบั การอบรมในหลกั สตู รพเิ ศษ ตาง ๆ เชน ลูกเสือชอสะอาด ลูกเสือปาไม ลูกเสือจราจร ลูกเสือปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ลกู เสอื อาสา กกต. ลูกเสือไซเบอร ลกู เสอื อนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม ฯลฯ ลกู เสอื ชาวบาน หมายถึง กลมุ ชาวบานทีม่ ารวมกันเพ่อื ทําประโยชนใหแกสงั คม ผานกระบวนการลูกเสอื โดยท่ีมกี ารทํางานหรือการเขาคายตาง ๆ คลายกับลูกเสือในโรงเรียน ลูกเสือชาวบานเริ่มตนมาตั้งแตป พ.ศ. 2514 โดยตํารวจตระเวนชายแดน ไดฝกอบรมให ชาวบานรูจักดูแลความปลอดภัยในหมูบาน การปองกันตนเอง ตลอดจนการสอดแนมรักษา ความปลอดภัยตามแนวชายแดน บคุ ลากรทางการลกู เสือ หมายความวา ผบู งั คบั บญั ชาลูกเสือ ผูตรวจการลูกเสือ กรรมการลูกเสือ อาสาสมคั รลูกเสอื และเจา หนา ท่ีลูกเสือ 2.2 การบริหารงานของคณะลูกเสอื แหง ชาติ ประกอบดวย 2.2.1 สภาลกู เสอื ไทย ประกอบดว ยคณะบุคคล ดังตอ ไปน้ี 1) นายกรฐั มนตรี เปน สภานายก 2) รองนายกรฐั มนตรี เปน อุปนายก 3) กรรมการโดยตาํ แหนง ไดแ ก รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ รฐั มนตรีวา การกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีวา การกระทรวงมหาดไทย ปลัดสาํ นกั นายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ปลดั กระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย ผูบัญชาการทหารสูงสุด ผูบัญชาการทหารบก ผูบัญชาการ ทหารเรือ ผูบัญชาการทหารอากาศ ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการสภากาชาดไทย อธิบดีกรมการปกครอง

43 อธบิ ดีกรมสงเสริมการปกครองทองถนิ่ ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ผูวาราชการจังหวัด และ ผูอํานวยการศนู ยป ฏบิ ตั ิการลูกเสือชาวบาน 4) กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนไมเกินแปดสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตง ตง้ั ตามพระราชอัธยาศยั ใหเลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติ เปนกรรมการและเลขานุการ รองเลขาธิการและผชู วยเลขาธกิ ารสํานักงานลูกเสือแหงชาติ เปน ผชู ว ยเลขานุการ สภาลูกเสือไทย อาจมีสภานายกกิตติมศักด์ิ อุปนายกกิตติมศักดิ์ และ กรรมการกติ ติมศกั ดิ์ ซ่ึงจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ อีกคร้ัง 2.2.2 คณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ เปนองคกรบริหารของคณะ ลกู เสอื แหง ชาติ ประกอบดว ยคณะบคุ คล ดงั ตอ ไปนี้ 1) รัฐมนตรวี าการกระทรวงศกึ ษาธิการ เปน ประธานกรรมการ 2) กรรมการโดยตําแหนง ไดแก ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และ ปลดั กระทรวงมหาดไทย เปนรองประธาน เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษา เลขาธิการสภากาชาดไทย เลขาธิการสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั ผูอ ํานวยการสํานักบริหารงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน และ ผอู ํานวยการศูนยป ฏบิ ตั กิ ารลูกเสือชาวบา น 3) กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนไมเกินสิบหาคน ซ่ึงสภานายกสภา ลูกเสือไทยแตงตั้งโดยคําแนะนําของกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ ตาม 1 และ 2 ซ่ึงใน จาํ นวนนต้ี องมาจากภาคเอกชนไมน อ ยกวา ก่ึงหนึง่ ใหเ ลขาธิการสํานักงานลกู เสือแหงชาติ เปนกรรมการและเลขานุการ รองเลขาธิการและผชู วยเลขาธกิ ารสํานักงานลกู เสือแหงชาติ เปนผชู ว ยเลขานุการ เลขาธกิ ารสาํ นักงานลูกเสือแหงชาติเปนผูรับผิดชอบการบริหารงาน ของสํานักงานลูกเสือแหงชาติ และเปนผูบังคับบัญชาพนักงานและลูกจางในสํานักงาน โดยรัฐมนตรวี าการกระทรวงศึกษาธกิ าร แตงตั้งรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการคนหน่ึงทําหนาท่ี เลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติ และแตงตั้งผูบริหารระดับสูงอื่นในกระทรวงศึกษาธิการ ทาํ หนาที่รองเลขาธกิ ารและผชู ว ยเลขาธกิ ารตามจํานวนทีเ่ หมาะสม 2.2.3 คณะกรรมการลูกเสือจังหวดั ประกอบดว ยคณะบุคคล ดังตอ ไปนี้ 1) ผูวา ราชการจังหวัด เปน ประธานกรรมการ 2) กรรมการโดยตําแหนง ไดแก รองผูวาราชการจังหวัด เปนรอง ประธานกรรมการ ปลัดจงั หวดั นายกเหลา กาชาดจงั หวัด ผูบ ังคบั การตํารวจภูธรจังหวัด นายก องคการบริหารสวนจังหวัด นายอําเภอ นายกเทศมนตรี นายกสมาคมการศึกษาเอกชนจังหวัด และผูอํานวยการสาํ นกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา

44 3) กรรมการประเภทผูแทนจาํ นวนหา คน ไดแก ผแู ทนสถาบันอุดมศึกษา ผแู ทนสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษา ผูแทนคายลูกเสือจังหวัด ผูแทนสมาคมหรือสโมสรลูกเสือ และ ผูแทนจากลูกเสอื ชาวบาน ซ่ึงเลือกกันเองกลุมละหนึ่งคน 4) กรรมการผทู รงคณุ วุฒิจํานวนไมเกินสิบคน ซึ่งประธานกรรมการ แตงตง้ั โดยคําแนะนาํ ของกรรมการลกู เสือจงั หวดั ตามขอ 2) และ 3) ในจํานวนนี้จะตองแตงตั้งจาก ภาคเอกชนไมน อ ยกวาก่ึงหนง่ึ ใหผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเขต 1 เปนกรรมการและ เลขานกุ าร ใหผูอํานวยการศูนยการศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด เปนกรรมการ และผูชว ยเลขานุการ 2.2.4 คณะกรรมการลูกเสอื เขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา คณะกรรมการลูกเสือเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประกอบดวยคณะบุคคล ดงั ตอไปนี้ 1) ผูอํานวยการสํานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา เปน ประธานกรรมการ 2) กรรมการโดยตําแหนง ไดแ ก ผูกํากบั การสถานีตํารวจภูธรของทุก อําเภอในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือผูกํากับการสถานีตํารวจนครบาลของทุกสถานีในเขตพ้ืนท่ี การศึกษาของกรุงเทพมหานคร 3) กรรมการประเภทผูแทน ไดแก ผูแทนองคกรปกครองสวน ทองถิ่น ผูแทนสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นท่ีการศึกษา ผูแทนสถานศึกษาเอกชน ผูแทน สถานศึกษาอาชีวศึกษา ผูแทนสถาบันอุดมศึกษา ผูแทนศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียน อําเภอ ผแู ทนคา ยลูกเสือ และผแู ทนสมาคมหรอื สโมสรลกู เสอื ซงึ่ เลอื กกนั เองกลุม ละหนง่ึ คน 4) กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนไมเกินเจ็ดคน ซ่ึงประธานกรรมการ แตงตั้งโดยคําแนะนําของกรรมการลูกเสือเขตพื้นท่ี ตามขอ 2) และ 3) ในจํานวนน้ีจะตอง แตงตัง้ จากภาคเอกชนไมนอ ยกวากึง่ หนง่ึ ใหร องผูอ ํานวยการสาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาที่ไดรับมอบหมายเปน กรรมการและเลขานุการและใหผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาแตงตั้งขาราชการใน สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาอีกไมเ กินสองคน เปนผูชวยเลขานุการ

45 แผนภูมแิ สดงตําแหนง คณะกรรมการลูกเสอื ตามพระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. 2551 คณะลูกเสอื แหงชาติ - พระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมุข - ประกอบดวยบรรดาลูกเสือทัง้ ปวง และบุคลากรทางการลูกเสอื สภาลกู เสือไทย - นายกรฐั มนตรีเปน “สภานายก” และรองรัฐมนตรีเปน “อุปนายก” - มกี รรมการโดยตาํ แหนง และกรรมการผูทรงคุณวฒุ ิ จํานวนไมเกนิ 80 คน ซ่ึงพระมหากษัตริย ทรงโปรดเกลา ฯ แตง ตงั้ ตามพระราชอธั ยาศัย - หนาทส่ี ําคัญคอื “วางนโยบายเพื่อความมน่ั คงและความเจรญิ กา วหนาของ คณะลูกเสือแหง ชาติ” คณะกรรมการ - รฐั มนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เปน ประธานกรรมการ บรหิ ารลกู เสือแหงชาติ - ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และปลัดกระทรวงมหาดไทย เปน รองประธาน กรรมการ คณะกรรมการลกู เสือจังหวดั - เลขาธิการสาํ นักงานลูกเสอื แหง ชาติ เปน กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการลูกเสอื - ผูวา ราชการจงั หวดั เปน ประธานกรรมการ เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา - รองผูวา ราชการจังหวดั เปน รองประธานกรรมการ - ผูอํานวยการสาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา เขต 1 เปน กรรมการและ เลขานกุ าร - ผูอํานวยการสาํ นักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา เปน ประธานกรรมการ - รองผอู ํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ทไ่ี ดรับมอบหมาย เปน กรรมการและเลขานุการ

46 2.3 การลูกเสอื ในสถานศกึ ษา การลูกเสอื ในสถานศกึ ษามีการจัดหนว ยลกู เสอื ดงั นี้ 1) กลมุ ลูกเสอื 2) กองลูกเสอื 3) หมลู ูกเสอื 1) กลุมลกู เสือ ประกอบดว ยลูกเสอื 4 ประเภท คือ กองลูกเสือสํารอง กองลูกเสอื สามัญ กองลูกเสือสามัญรุนใหญ และกองลูกเสือวิสามัญ ประเภทละ 1 กองเปนอยางนอย แตถา สถานศกึ ษาแหง ใดมลี ูกเสือเพียงประเภทเดียว การจัดกลุมลูกเสือตองมีกองลูกเสือประเภทน้ัน อยางนอย 4 กองข้นึ ไป หรือถามกี องลูกเสอื อยา งนอย 2 – 3 ประเภท การจัดกลุมลูกเสือตองมี ประเภทละ 2 กอง ข้ึนไป ผูรับผิดชอบกลุมลูกเสือ คือ ผูกํากับกลุมลูกเสือ และรองผูกํากับ กลมุ ลกู เสอื 2) กองลูกเสอื ผูรบั ผดิ ชอบกองลกู เสอื คอื ผูกาํ กบั กองลูกเสอื และรองผูกาํ กบั กองลกู เสือ 3) หมลู ูกเสือ ประกอบดวยลูกเสือ จํานวน 4 – 6 คน หรือ 6 – 8 คน (รวมทง้ั นายหมูและรองนายหมูลูกเสือ) ผูรับผิดชอบหมูลูกเสือ คือ นายหมูลูกเสือ และรองนายหมู ลกู เสอื การเรยี กช่อื หมูลกู เสือ กศน. ใหเ รียกเปนหมูเลข เชน หมู 1 กอง 1....หมู 2 กอง 1....หมู 3 กอง 1....หมู 4 กอง 1.... หมู 1 กอง 2....หมู 2 กอง 2....หมู 3 กอง 2....หมู 4 กอง 2.... หมู 1 กอง 3....หมู 2 กอง 3....หมู 3 กอง 3....หมู 4 กอง 3.... หมู 1 กอง 4....หมู 2 กอง 4....หมู 3 กอง 4....หมู 4 กอง 4....

47 แผนภูมแิ สดงการบรหิ ารงานกองลกู เสอื ภายในสถานศกึ ษา ผอู าํ นวยการลูกเสือโรงเรยี น รองผูอํานวยการลูกเสือโรงเรียน ผูกํากับกลุมลกู เสือ รองผกู ํากบั กลมุ ลูกเสือ ผกู าํ กับกองลูกเสือ ผูกํากับกองลูกเสอื ผูก าํ กับกองลูกเสอื กองที่ 1 กองที่ 2 กองท่ี 6 รองผูกํากบั กองลกู เสือ รองผกู ํากบั กองลูกเสือ รองผูก ํากบั กองลกู เสือ กองที่ 1 กองท่ี 2 กองท่ี 6 จํานวนหมูล ูกเสือ ในแตละกอง จาํ นวนหมลู ูกเสือ ในแตละกอง จํานวนหมูลูกเสือ ในแตละกอง มีจาํ นวน 2 – 6 หมู แตละหมูมี มจี ํานวน 2 – 6 หมู แตละหมูมี มีจาํ นวน 2 – 6 หมู แตละหมูมี นายหมูและรองนายหมู นายหมแู ละรองนายหมู นายหมแู ละรองนายหมู เปน ผูด ูแลหมูน้ัน ๆ เปนผูดแู ลหมูน ้ัน ๆ เปนผดู ูแลหมูน ั้น ๆ กจิ กรรมทายเร่อื งที่ 2 ความรทู ั่วไปเกีย่ วกับคณะลูกเสือแหงชาติ (ใหผ เู รยี นไปทํากิจกรรมทา ยเรื่องที่ 2 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)

48 หนวยการเรียนรูท่ี 3 การลูกเสอื โลก สาระสาํ คญั ผูใหกําเนิดลูกเสือโลก คือ โรเบิรต สตีเฟนสัน สมิท เบเดน โพเอลล (Robert Stephenson Smyth Baden Powell) หรือ บี.พี. เปนชาวอังกฤษ เกิดท่ีกรุงลอนดอน เม่ือวันท่ี 22 กุมภาพนั ธ พ.ศ. 2400 เปนเด็กกําพราบิดาตั้งแตอายุ 3 ขวบ ในวัยเด็กชอบใชชีวิตกลางแจง ศึกษาธรรมชาติ เลนกฬี า และชอบเปนผูนํา สอบเขาโรงเรียนนายรอยแซนดเฮิสต ไดที่ 2 และ ไดรับพระราชทานยศเปนรอยตรี เมื่ออายุ 19 ป ปฏิบัติหนาท่ีทหารอยางดีเดน ไดรับ พระราชทานยศเปน รอ ยเอก เมือ่ อายุ 26 ป เปน นายทหารทเ่ี ฉลียวฉลาด กลาหาญ สรางวีรกรรม ทย่ี ง่ิ ใหญท าํ การตอสูอยางหา วหาญ เพ่ือรักษาเมอื งมาฟคงิ (Mafeking) ใหรอดพนจากวงลอมและ การบุกรุกโจมตีของกองทัพบัวร (Boer) ท่ีแอฟริกาใต ไดรับการสรรเสริญวา “วีรบุรุษผูกลาหาญ แหง ยคุ ” เม่อื วันที่ 1 – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2450 บ.ี พี. ไดน าํ เด็กชายที่มอี ายุ 11 – 15 ป จากครอบครัว ท่ีมีฐานะแตกตา งกนั จาํ นวน 20 คน ไปเขา คายพกั แรมท่ีเกาะบราวนซี นับวาเปนการอยูคายพักแรม ของลูกเสือครั้งแรกของโลก และถือวาเกาะบราวนซี เปนคายลูกเสือแหงแรกของโลก เชนกัน ในป พ.ศ. 2463 สมาคมลูกเสืออังกฤษ จดั ประชุมลกู เสอื ท่ัวโลกเปนคร้ังแรก ที่ประเทศอังกฤษ มีลูกเสือกวา 8,000 คน จาก 34 ประเทศ เขารวมชุมนุมในการชุมนุมครั้งนี้ มีขอตกลง และ มมี ติเปน เอกฉันทใ ห ลอรด เบเดน โพเอลล หรอื บี.พี. เปนประมุขคณะลูกเสือแหงโลกตลอดกาล และ บี.พ.ี ถึงแกอ นิจกรรม เมอื่ วนั ที่ 8 มกราคม 2484 สิริอายุ 84 ป องคการลูกเสือโลก เปนองคการอาสาสมัครนานาชาติ มีความสําคัญในการ ทาํ หนาท่ีรักษา และดํารงไวซ่ึงความเปนเอกภาพของขบวนการลูกเสือแหงโลก และทําหนาท่ี สงเสรมิ กจิ การลูกเสือทวั่ โลก ใหมีการพัฒนาและกาวหนาอยา งตอเนอ่ื ง โดยมีธรรมนูญลูกเสือโลก เปนกฎหมายสําหรับยึดถือปฏิบัติ การมีองคกรหลัก 3 องคกร คือ สมัชชาลูกเสือโลก คณะกรรมการลูกเสือโลก และสํานักงานลูกเสือโลก ปจจุบัน (พ.ศ. 2561) มีสมาชิกกวา 40 ลา นคน ใน 169 ประเทศ ตามบัญญัติของธรรมนูญลูกเสือโลก ประเทศสมาชิกขององคการลูกเสือโลก แตล ะประเทศจะมอี งคก ารลูกเสอื แหงชาติไดเ พยี ง 1 องคการเทานั้น กิจการลูกเสือทุกประเทศ ยดึ มัน่ ในวตั ถปุ ระสงค หลกั การ และวิธีการของลูกเสือเหมือนกันทั่วโลก คือ มุงพัฒนาเยาวชน ดวยรากฐานของอุดมการณของลูกเสือ ซึ่งมีคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือเปนส่ิงยึดเหน่ียว จติ ใจนําสูการประพฤติปฏิบตั ติ นของความเปน พลเมอื งดี และความเปน พี่นอ งกนั ระหวางลูกเสือ ทวั่ โลก

49 ตวั ชี้วัด 1. อธบิ ายประวัติผใู หก ําเนิดลูกเสือโลก 2. อธบิ ายความสาํ คัญขององคก ารลกู เสือโลก 3. อธิบายความสัมพันธระหวางการลูกเสือไทยกบั การลกู เสือโลก ขอบขายรายวิชา เรื่องท่ี 1 ประวตั ผิ ใู หกาํ เนดิ ลกู เสือโลก เร่อื งท่ี 2 องคการลกู เสอื โลก เร่ืองที่ 3 ความสมั พันธร ะหวางลูกเสอื ไทยกับลูกเสือโลก เวลาที่ใชในการศึกษา 3 ชัว่ โมง สอื่ การเรยี นรู 1. ชดุ วิชาลกู เสอื กศน. รหสั รายวิชา สค32035 2. สมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรูประกอบชุดวิชา 3. สอ่ื เสริมการเรียนรูอ ื่น ๆ

50 เรอ่ื งท่ี 1 ประวตั ผิ ูใหก ําเนดิ ลกู เสอื โลก ลอรด เบเดน โพเอลล (B.P) ลอรด เบเดน โพเอลล เปนผูใหกําเนิดลูกเสือโลก มีชื่อเต็มวา โรเบิรต สติเฟนสัน สมิท เบเดน โพเอลล (Robert Stephenson Smyth Baden Powell) เรียกยอ ๆ วา บี.พี. (B.P.) เกิดวนั ท่ี 22 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2400 ท่ีกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ บิดาชื่อ เอช.จี.เบเดน โพเอลล เปนศาสตราจารย สอนวิชาเรขาคณติ และธรรมชาตศิ ึกษา ณ มหาวทิ ยาลัยออกซฟอรด มารดาชื่อ เฮนรเิ อทตา เกรซ สมิท เปน ธิดาของ พลเรอื เอก ดบั บิว. ที. สมทิ แหง ราชนาวีองั กฤษ สมรสกับ นางสาว โมลาฟ เซ็นตแคลร เมอ่ื อายไุ ด 55 ป ชวี ิตในวัยเด็ก เมอื่ บี.พี. อายุได 11 – 12 ป ไดเขา ศกึ ษาในโรงเรียนประถมศึกษาช่ือ โรสฮิลล ในกรงุ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ เขาเรียนในโรงเรียนมัธยมชื่อชาเดอรเฮาส กรุงลอนดอนได 2 ป ตอ มาโรงเรยี นไดยา ยไปตั้งอยูในชนบท ณ เมืองโกคาลมิง ในแควนเซอรเรย มีน้ําไหลผานและ มีปาใหญอยตู ดิ บรเิ วณโรงเรียน เขามกั ใชเวลาวา งหลบเขา ไปใชช วี ิตและศึกษาเกีย่ วกบั ธรรมชาติ โดยลาํ พัง ชวี ติ ในวัยเด็ก บ.ี พี. ไดรับความรพู ิเศษจากพลเรอื เอกสมิทผูเปนตา เกี่ยวกับการ วายน้าํ เลนสเกต ขี่มา การวัดแดด และดูดาว นอกจากน้ีเขายังชอบวาดภาพ รองเพลง แสดง ละคร มีความสนใจในธรรมชาติศึกษา ศึกษาชีวิตสัตว ตนไมตลอดจนความรูเชิงพราน และใน วนั ปดภาคเรยี นมักจะทอ งเทย่ี วพักแรมไปกบั พ่ีชายอกี 3 คน ปสุดทายท่ีเรียนอยูในชาเดอรเฮาส บี.พี. ไดไปสมัครสอบเขาเรียนใน มหาวิทยาลัยออกซฟอรด 2 ครั้งแตสอบไมได ในป พ.ศ. 2419 จึงสอบเขาโรงเรียนนายรอย แซนดเฮิสต ไดที่ 5 ไดรับตั้งแตเปนนายรอยตรีในกองทัพบกของอังกฤษ และถูกสงไป ประจําการทป่ี ระเทศอนิ เดีย เมื่ออายุ 19 ป ชวี ิตในการรับราชการทหาร บี.พี. รับราชการทหารในประเทศอินเดีย ประจํากองทหารมาอุสซารท่ี 13 เปนเวลา 8 ป โดยปฏิบัติหนาที่ดวยความเขมแข็ง และไดรับยศรอยเอก เมื่ออายุ 26 ป ในระหวางนี้มีเหตุการณท่ีแสดงลักษณะพิเศษหลายอยาง เชน ไดรับรางวัลชนะเลิศในการ แขง ขนั กฬี าแทงหมปู า ขณะอยูบ นหลังมา โดยใชหอกส้นั เมือ่ พ.ศ. 2426 และขณะท่ีมยี ศเปน รอยตรี ไดรับเงินเดือนนอยมาก เพียงปละ 120 ปอนด จึงดําเนินชีวิตอยางประหยัด คือ งดสูบบุหร่ี ดมื่ สรุ าแตนอ ย หารายไดพิเศษ โดยการเขยี นเรื่องและเขียนภาพลงหนังสอื พิมพ ชีวิตราชการทหารของทานสวนใหญอยูในประเทศอินเดียและแอฟริกา มีสิ่ง ประทับใจทเ่ี ก่ียวกับกจิ การลกู เสอื หลายครง้ั เชน

51 ครงั้ ท่ี 1 พ.ศ. 2431 ไดไปปราบชนเผา ซูลู ซงึ่ มีหัวหนาชื่อ ดินีส ซูลู ในแอฟริกาใต สําเร็จ เขาไดนําประสบการณบางอยางในคร้ังน้ี มาใชในกิจการลูกเสือดวย ไดแก บทเพลงอินกอน ยามา (หัวหนา ) อนิ กอน ยา - มา กอน – ยา – มา (ลูกค)ู อิน – วู – ยู ยาโบห ยาโบห อิน – วู – ยู (หัวหนา) (ลกู ค)ู สรอ ยคอของดินิส ซูลู ทําดว ยไมแกะเปน ทอ นเลก็ ๆ ซง่ึ ตอมา บี.พี. ไดนํามาเปน บีดเคร่ืองหมายวดู แบดจ สาํ หรับผทู ่ผี า นการอบรมผูบงั คบั บัญชาลูกเสอื ข้นั ความรูช้ันสงู คร้ังที่ 2 พ.ศ. 2432 ท่ีเกาะมอลตา บี.พี. ไดรับแตงตั้งเปนผูชวยทูตทหาร ทําหนา ทเ่ี ปน ทหารสบื ราชการลับ คร้ังที่ 3 พ.ศ. 2438 ทําการรบกับเผาอาซันดิ ซึ่งมีกษัตริยชื่อวา คิงเปรมเปห และไดรับชยั ชนะ เหตุการณค รั้งนี้ บี.พี. ไดป ระสบการณด งั ตอ ไปนี้ 1) การบุกเบิก เชน การโคนตน ไม การทําสะพาน การสรา งคา ยพัก 2) ทดลองการแตงกายของตนเอง ใชหมวกปกแบบโคบาล จนไดรับฉายา จากพวกพื้นเมืองวา คัมตะไค แปลวา คนสวมหมวกปกกวา ง 3) ประเพณีการจบั มอื ซาย จากการแสดงความเปนมิตรของคนพ้นื เมอื ง ครง้ั ท่ี 4 พ.ศ. 2439 พวกมาตาบลิ ี ซ่ึงเปน เผาหน่ึงของซูลู เดิมอยูในทรานสวาล และถูกพวกบัวรขับไล จึงอพยพไปอยูในมาติบีลีแลนด (ปจจุบันเรียกโรดิเซีย) พวกมาตาบิลี กอการกบฏรฐั บาลองั กฤษจึงสง่ั ทหารไปปราบ บี.พี. ไดปฏิบัติหนา ที่ดว ยความเขมแข็งและไดรับ ประสบการณเรื่องการสอดแนม โดยเฉพาะการปฏิบัติงานตอนกลางคืน เลยไดรับฉายาวา “อมิ ปซา ” แปลวา หมาปาไมเ คยนอนหลับ ครั้งท่ี 5 พ.ศ. 2442 เหตุการณท่ีเมืองมาฟอีคิง หลังจาก บี.พี. ไดกลับจากการ ปฏบิ ตั งิ านทอี่ ินเดีย 2 ป บ.ี พ.ี ไดร บั คําสั่งดว นใหเ ดินทางไปแอฟริกา เพ่อื หาทางปองกันการรุกราน ของพวกบัวร (ชาวดทั ซท่อี พยพไปอยูในแอฟรกิ าใต) ในทรานสวาลและออเรนจทรีสเตท ซ่ึงจะ ตั้งตนเปนเอกราช บี.พี. ไดนํากองทหารไปรักษาเมืองมาฟอีคิงซ่ึงถูกลอมโดยกองทหารบัวร เปนเวลานานถึง 217 วนั จึงมีกองทพั ใหญยกไปชวยและทาํ ใหพวกบวั รตอ งลาถอยไป ในการปอ งกนั เมืองมาฟอคี งิ บ.ี พ.ี ไดป ฏบิ ัตหิ นา ทดี่ วยความเขมแข็ง อดทน ราเริง ไมยอทอ ใชสติปญญาหาวิธีแกปญหา ทํากลอุบายลวงขาศึกใหเขาใจผิด คิดวา มีกําลังทหาร มากมาย และมีการปองกันรักษาเมืองอยางเขมแข็ง ตลอดจนใชเด็กอาสาสมัครท่ีไดรับการ อบรมแลว ปฏิบัติหนาทีส่ งขาว ปรากฏวาทาํ งานไดผลดี ทําให บี.พี. มีความประทับใจในตัวเด็ก และเห็นวา ถาใชเ ดก็ ใหถกู ทางแลวจะเกดิ ประโยชนแ กประเทศชาติอยางมาก จงึ ไดร เิ ร่ิมการลูกเสือ ในเวลาตอ มา จากเหตกุ ารณท เี่ มืองมาฟอีคิง ทาํ ให บ.ี พี. ไดร ับฉายาวา “ผูป องกันมาฟอีคิง”

52 การลกู เสือเกิดข้ึนในประเทศอังกฤษเปนแหงแรก ในโลก เมื่อ พ.ศ. 2451 โดยพลโท ลอรด เบเดน โพเอลล (Lord Baden Powell) หรือ B - P มูลเหตุจูงใจที่ตั้งกอง ลูกเสือข้ึนมาก็คือ ทานไปรับราชการทหาร โดยไปรักษา เมืองมาฟฟคิง (Mafiking) อันเปนเมืองข้ึนของอังกฤษใน สหภาพแอฟริกาใต ขณะน้ันเกิดสงครามขึ้นกับพวกบัวร (Boer) ในการผจญศึกใหญคราวนั้น ทานไดฝกเด็กขึ้น หนวยหน่ึง เพื่อชวยราชการสงคราม เชน เปนผูสื่อขาว สอดแนม รักษาความสงบเรยี บรอ ยภายใน รบั ใชในการงานตาง ๆ เชน ทําครัว เปนตน ปรากฏวา ไดผลดีมาก เพราะเด็กที่ไดรับการฝกเหลานั้นสามารถปฏิบัติหนาท่ีท่ีใชรับมอบหมายไดอยาง เขม แข็งวองไว ไดผ ลดีไมแพผ ใู หญแ ละบางอยางกลับทําไดดีกวาผูใหญเสยี อีก เมอ่ื ทานกลับจากราชการสงครามเมืองมาฟฟคิงแลว ทานไดรางโครงการอบรม เดก็ ขนึ้ มหี ลักการคลา ยลูกเสอื ในปจจบุ ัน ตอมาในป พ.ศ. 2450 ทานไดทดลองตั้ง Boy Scout ข้ึนเปน กองแรกที่ เกาะบราวนซ ี ไอแลนด (Brown Sea Island) โดยเกล้ียกลอมเด็กท่ีเท่ียวเตร อยูในทีต่ า ง ๆ มาอบรมแลว ทานไดค อยคุมการฝก ตามโครงการดวยตนเอง และไดผลดีสมความ มุงหมายทุกประการ จึงทาํ ใหเกิดความบนั ดาลใจ ในอันท่จี ะขยายกิจการใหกวางขวางออกไปใน วันขางหนา พอถึงป พ.ศ. 2455 รัฐบาลอังกฤษไดประกาศรับรองฐานะของลูกเสืออังกฤษ เปนทางการพรอ มกับออกกฎหมายคุมครองใหด ว ย จากนนั้ การลูกเสือองั กฤษก็เจริญแพรหลาย ออกไปเปน ลําดับมา คตพิ จนท ที่ า นลอรด บาเดน โพเอลล ไดใ หไ วแกล ูกเสือก็คอื BE PREPARED (จงเตรียมพรอม) • หนังสือ Scouting for boys พิมพออกจําหนาย ท้ังหมด 6 เลม และประเทศตาง ๆ ท่ีมีกิจการ Scout ก็มักเคย พมิ พอ อกเผยแพรส ําหรบั ผทู ีส่ นใจรวมท้ังประเทศไทยดวย • ตอ มา พลโท โรเบิรต เบเดน โพเอลล ไดรับการแตงต้ัง ใหเ ปน บารอน ซ่ึงบรรดาศักดิ์นี้พระราชทานโดยพระเจายอรจ ท่ี 5 ในป พ.ศ. 2472 ทําใหเขาเปนสมาชิกสภาขุนนาง ซ่ึงตาม ประเพณีของอังกฤษผูที่ไดรับพระราชทานบรรดาศักดิ์ ตั้งแต บารอนข้ึนไป จะตองมีชื่อสถานที่ตอทาย ซึ่งเขาเลือกเอา กิลเวลล (Gil Well Park) ทเี่ ปนชือ่ ของศูนยฝกอบรมผูบังคับบัญชา

53 ลกู เสอื นานาชาติ ทาํ ใหเ ขาไดช ื่อตามบรรดาศักด์ิวา บารอน เบเดน โพเอลล แหง กิลเวลล แตคนท่ัวไป มักนิยมเรียก ลอรด เบเดน โพเอลล ในการชุมนุม Scout คร้ังแรกของโลก ในป พ.ศ. 2463 ทีป่ ระชมุ ผูแ ทน Scout จากประเทศตา ง ๆ ก็ประกาศใหเขาเปนประมุขของ Scout ตลอดกาล และทกุ คนเรียกทา นอยา งยอ ๆ วา B-P กิจกรรรมทา ยเร่อื งที่ 1 ประวตั ผิ ใู หก ําเนดิ ลกู เสือโลก (ใหผเู รียนไปทํากจิ กรรมทา ยเร่ืองท่ี 1 ท่ีสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรูประกอบชดุ วชิ า)

54 เรอื่ งที่ 2 องคก ารลกู เสือโลก การลกู เสอื โลกเปน ขบวนการทางการศึกษาสําหรับเยาวชน มีวัตถุประสงคท่ีจะ สรางบคุ ลิกภาพและพฒั นาการทางดานสงั คม เปน องคการอาสาสมัครไมเกี่ยวของกับการเมือง เปด โอกาสสาํ หรับคนทวั่ ไป โดยขึน้ อยูบนพน้ื ฐาน ดังน้ี ปฏบิ ตั ิตามหลักการสําคัญของการลกู เสือท่ีไดกาํ หนดข้นึ โดยผใู หกาํ เนิดลูกเสือโลก และยดึ มน่ั ตามคาํ สอนของศาสนาทต่ี นเคารพนบั ถือ มีความจงรักภักดีตอชาติบานเมือง ชวยสราง เสริมสันติภาพความเขาใจอันดีและใหความรวมมือ มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง เขารวมในการพัฒนาสังคมดวยการยกยองและเคารพในเกียรติของบุคคลอ่ืน เพื่อความเปน อันหน่ึงอันเดียวกันท่ัวโลก เปนวิธีการพัฒนาเยาวชนใหเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ บ น พื้ น ฐ า นคํ า ป ฏิ ญ า ณ ตา ม ก ฎ ขอ ง ลู ก เ สื อ เ รี ย น รู โ ดย ก า ร ก ร ะ ทํ า วิ ธี ก า ร ร ะ บ บ ห มู พั ฒ น า ความกา วหนา ของบคุ คลโดยใชห ลกั สูตรและวิชาพเิ ศษลูกเสือกิจกรรมกลางแจง องคการลูกเสือโลก คือ องคการนานาชาตทิ ่มี ิใชองคการของรัฐบาลใดมีองคประกอบ ทีส่ ําคญั 3 ประการ คอื สมัชชาลูกเสือโลก คณะกรรมการลกู เสือโลก และสาํ นกั งานลูกเสอื โลก สมัชชาลูกเสือโลก (World Scout Conference) คือ ท่ีประชุมของผูแทนคณะลูกเสือ ประเทศตาง ๆ ทัว่ โลกเรมิ่ มีการประชุมกันเปนคร้ังแรกเมื่อป 1920 (พ.ศ. 2463) และหลังจากน้ัน โดยปกติมีการประชุมทุก ๆ 2 ป ต้ังแตครั้งที่ 1 ถึงคร้ังที่ 32 และจะเปลี่ยนเปนการประชุม ทุกระยะ 3 ป โดยเร่ิมต้ังแตครั้งที่ 33 เปนตนไป ซึ่งจัดข้ึน ณ ประเทศไทย ในป พ.ศ. 2536 ประเทศตาง ๆ ทไ่ี ดจดั ประชุมสมชั ชาลกู เสอื โลกแลว มดี งั น้ี ครัง้ ที่ 1 พ.ศ. 2463 ประเทศอังกฤษ ครั้งท่ี 2 พ.ศ. 2465 ประเทศฝรงั่ เศส ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2467 ประเทศเดนมารก คร้งั ท่ี 4 พ.ศ. 2469 ประเทศสวิสเซอรแลนด ครัง้ ที่ 5 พ.ศ. 2472 ประเทศองั กฤษ ครงั้ ท่ี 6 พ.ศ. 2474 ประเทศออสเตรยี คร้งั ที่ 7 พ.ศ. 2476 ประเทศฮังการี ครั้งท่ี 8 พ.ศ. 2478 ประเทศสวีเดน ครง้ั ท่ี 9 พ.ศ. 2480 ประเทศเนเธอรแลนด คร้ังท่ี 10 พ.ศ. 2482 ประเทศสกอตแลนด ครง้ั ที่ 11 พ.ศ. 2490 ประเทศฝรัง่ เศส ครั้งท่ี 12 พ.ศ. 2492 ประเทศนอรเ วย ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2494 ประเทศออสเตรีย คร้ังที่ 14 พ.ศ.2496 ประเทศลิคเทน สไตน ครง้ั ท่ี 15 พ.ศ. 2498 ประเทศแคนาดา ครงั้ ท่ี 16 พ.ศ.2500 ประเทศอังกฤษ ครั้งท่ี 17 พ.ศ. 2502 ประเทศอนิ เดยี ครง้ั ท่ี 18 พ.ศ.2504 ประเทศโปรตุเกส คร้ังที่ 19 พ.ศ. 2506 ประเทศกรซี ครั้งที่ 20 พ.ศ. 2508 ประเทศเมก็ ซิโก

55 ครง้ั ที่ 21 พ.ศ. 2510 ประเทศสหรัฐอเมริกา ครัง้ ที่ 22 พ.ศ. 2512 ประเทศฟน แลนด ครั้งท่ี 23 พ.ศ. 2515 ประเทศญป่ี นุ ครัง้ ที่ 24 พ.ศ. 2516 ประเทศเคนยา ครง้ั ท่ี 25 พ.ศ. 2518 ประเทศเดนมารก คร้งั ที่ 26 พ.ศ. 2520 ประเทศแคนาดา คร้งั ท่ี 27 พ.ศ. 2522 ประเทศองั กฤษ ครงั้ ท่ี 28 พ.ศ. 2524 ประเทศเซเนกลั ครง้ั ท่ี 29 พ.ศ. 2526 ประเทศสหรฐั อเมริกา ครั้งท่ี 30 พ.ศ. 2528 ประเทศเยอรมนตี ะวนั ตก ครง้ั ท่ี 31 พ.ศ. 2531 ประเทศออสเตรเลยี คร้งั ที่ 32 พ.ศ. 2533 ประเทศฝร่ังเศส ครง้ั ที่ 33 พ.ศ. 2536 ประเทศไทย (เริ่มตนการประชุม 3 ปต อ คร้งั ) ครั้งท่ี 34 พ.ศ. 2539 ประเทศนอรเ วย ครงั้ ที่ 35 พ.ศ. 2542 ประเทศชิลี ครั้งท่ี 36 พ.ศ. 2545 ประเทศกรีซ คร้งั ท่ี 37 พ.ศ. 2548 ประเทศตูนเี ซยี ครัง้ ท่ี 38 พ.ศ. 2551 ประเทศเกาหลใี ต คณะกรรมการลูกเสอื โลก มีหนา ทีโ่ ดยยอ ดงั น้ี 1) สง เสริมกจิ การลูกเสอื ท่วั โลก 2) แตงตง้ั เลขาธกิ าร และรองเลขาธกิ ารของสาํ นักงานลูกเสอื โลก 3) ควบคุมปฏิบตั งิ านของสาํ นกั งานลกู เสอื โลก 4) จดั หาเงินทนุ สาํ หรับสง เริมกจิ การลกู เสอื 5) ใหเคร่ืองหมายลกู เสอื สดุดี Bronze Wolf ของคณะลูกเสือแกผูที่ไดมีสวนชวยเหลือ กจิ กรรมลูกเสอื อยา งดเี ดน (ท่ีมา : http://www.krutujao.com/data/004.bp_world%20scout.htm) คนไทยคนทไี่ ดร ับเครือ่ งหมายลกู เสอื สดุดีบรอนซวูลฟ (Bronze Wolf Award) ซงึ่ เปน รางวลั สูงสุดของ องคก ารลกู เสอื โลก พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช พ.ศ. 2551

56 นายอภยั จนั ทวิมล เมื่อป พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) เขา รับในการประชมุ สมชั ชาลูกเสือโลก คร้งั ท่ี 20 พ.ศ. 2514 ณ กรุงโตเกยี ว ประเทศญ่ปี นุ นายจิตร ทังสุบตุ ร เมอ่ื ป พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) รับในการประชมุ สมัชชาลกู เสือเขตเอเชีย- แปซิฟก ครั้งที่ 10 พ.ศ. 2519 ณ กรงุ เตหรา น ประเทศอหิ ราน นายกอง วิสุทธารมณ เมื่อป พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980) รับในการประชมุ สมัชชาลูกเสือ เขตเอเชีย - แปซิฟก ครั้งท่ี 12 พ.ศ. 2525 ณ ประเทศออสเตรเลีย

57 นายเพทาย อมาตยกุล เม่อื ป พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) รบั ในการประชมุ สมัชชาลกู เสือเขตเอเชยี - แปซฟิ ก ครงั้ ท่ี 14 ณ กรุงเวลลงิ ตนั ประเทศนิวซีแลนด นายแพทยบญุ สม มารติน เม่อื ป พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) รบั ในการประชมุ สมัชชาลกู เสือโลก ครั้งท่ี 32 ณ กรุงปารสี ประเทศฝรั่งเศส นางสุมน สมสาร เมอ่ื ป พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) รับในการประชมุ สมชั ชาลกู เสือเขตเอเชีย - แปซิฟก ครง้ั ที่ 19 (พ.ศ. 2541) ณ ฮองกง

58 นายสธุ รรม พันธุศกั ด์ิ เม่ือป พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) รบั ในการประชมุ สมัชชาลูกเสอื เขตเอเชยี - แปซฟิ ก คร้ังที่ 19 (พ.ศ. 2541) ณ ฮองกง นายแพทยยงยทุ ธ วัชรดลุ ย เม่ือป พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) รบั ในการประชุมสมัชชาลกู เสือโลก คร้งั ที่ 38 พ.ศ. 2551 ณ เจจู ประเทศเกาหลี คนไทยสองทานทเี่ คยไดรบั เลือกเปนกรรมการลูกเสือโลก คอื 1. นายอภัย จันทวิมล (1965 - 1971) 2. นายแพทยบุญสม มารต นิ (1981 - 1987) สํานกั งานลกู เสือโลก (World Scout Bureau) 1920 ตง้ั ข้ึนทก่ี รงุ ลอนดอน เรยี กวา International Bureau 1958 ยา ยไปอยูทกี่ รุงออตตาวา ประเทศแคนาดา 1961 เปล่ียนช่ือเปน World Bureau ในการประชุมสมัชชาครั้งท่ี 18 ท่ีกรุงลิสบอน ประเทศโปรตเุ กส 1968 ยายไปอยทู ีเ่ มอื งเจนีวา ประเทศสวติ เซอรแลนด สํานักงานลูกเสือโลกมีเลขาธิการเปนผูบังคับบัญชา และมีเจาหนาที่ประมาณ 40 คน เปน ผชู ว ยนอกจากนี้ยังมสี ํานักงานสาขาอีก 6 เขต คอื 1. ภาคพื้นยุโรป (Europe) - มีประเทศสมาชกิ 41 ประเทศ สํานักงานใหญ ตัง้ อยูทกี่ รุงเจนวี า ประเทศสวสิ เซอรแ ลนด และกรุงบรสั เซลส ประเทศเบลเยี่ยม 2. ภาคพนื้ เอเชีย-แปซิฟก (Asia-Pacific) - มปี ระเทศสมาชิก 24 ประเทศ สํานักงานใหญตั้งอยูที่กรุงมนิลา ประเทศฟลิปปนส

59 3. ภาคพน้ื ยูเรเชีย (Eurasia) - มีประเทศสมาชิก 9 ประเทศ สํานกั งานใหญ ตง้ั อยทู ย่ี ลั ตา - เกอรช ัฟ สาธารณรัฐยูเครน และสาํ นักงานสาขา กรุงมอสโคว ประเทศรสั เซยี 4. ภาคพนื้ อนิ เตอรอ เมรกิ า (Interamerica) - มีประเทศสมาชกิ 32 ประเทศ สาํ นักงานใหญต ้ังอยูทีก่ รุงซานตเิ อโก ประเทศชิลี 5. ภาคพ้นื อาหรับ (Arab) - มีประเทศสมาชกิ 18 ประเทศ สํานักงานใหญต ้ังอยทู ่ี กรุงไคโร ประเทศอยี ิปต 6. ภาคพ้นื อาฟริกา (Africa) - มปี ระเทศสมาชกิ 37 ประเทศ สาํ นกั งานใหญ ตงั้ อยูทก่ี รงุ ไนโรบี ประเทศเคนยา และมสี าขาแยกออกไปคอื 6.1. สาํ นักงานสาขา 1 ตง้ั อยูท ีก่ รุงดาการ ประเทศเซเนกลั 6.2. สาํ นักงานสาขา 2 ต้งั อยูท่ี กรงุ เคปทาวน ประเทศอาฟรกิ าใต สาํ นักงานลูกเสือโลกมหี นา ทีโ่ ดยยอ ดังน้ี 1) ดาํ เนินการตามมตขิ องสมชั ชาและคณะกรรมการลกู เสือโลก 2) ติดตอกับประเทศสมาชิกและองคก ารทเ่ี กย่ี วของ 3) ประสานงานกบั ประเทศสมาชกิ 4) สง เสริมกจิ การลูกเสือโดยท่วั ไป (ทม่ี า : http://www.krutujao.com/data/004.bp_world%20scout.htm) กจิ กรรรมทา ยเรื่องท่ี 2 องคก ารลกู เสอื โลก (ใหผเู รยี นไปทํากิจกรรมทา ยเร่อื งท่ี 2 ทีส่ มุดบันทึกกจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)

60 เรื่องท่ี 3 ความสมั พนั ธระหวา งลกู เสอื ไทยกับลกู เสอื โลก การลูกเสือ เปนขบวนการทางการศกึ ษาสําหรบั เยาวชน ทีม่ ีวตั ถุประสงคเพ่ือสราง บคุ ลกิ ภาพ และพัฒนาการทางสงั คมใหกับเยาวชนใหเปนพลเมืองดีของประเทศ โดยใชวิธีการ ของลูกเสอื ยึดมั่นในคําปฏิญาณ และกฎเรียนรูโดยการกระทํา เนนการปฏิบัติกิจกรรมกลางแจง การใชระบบหมูแ ละความกา วหนาของบุคคล โดยใชหลักสตู ร และวชิ าพเิ ศษลกู เสอื การลูกเสือ เปน การอาสาสมคั รทาํ งานใหก ารศึกษาและพฒั นาเยาวชนโดยท่ัวไป ไมมีการแบงแยกกีดกันในเร่ืองเช้ือชาติ ผิวพรรณ วรรณะ ลัทธิทางศาสนาใด ๆ และไมอยู ภายใตอิทธิพลหรือเก่ียวของกับการเมือง โดยยึดปฏิบัติตามอุดมการณของผูใหกําเนิดลูกเสือโลก อยางม่ันคง วงการศึกษาท่ัวโลกถือวา การลูกเสือ เปนขบวนการที่ใหการศึกษาแกเยาวชน นอกระบบโรงเรียนภายใตพ น้ื ฐาน ดังน้ี 1. มีหนา ทต่ี อศาสนาท่ีตนเคารพนับถอื 2. มีความจงรกั ภกั ดีตอ ชาตบิ า นเมือง 3. มีความรบั ผิดชอบในการพฒั นาตนเอง 4. เขารว มในการพฒั นาสงั คมดว ยการยกยอ งและเคารพในเกียรตขิ องบุคคลอน่ื 5. ชว ยเสริมสรา งสันตภิ าพความเขา ใจอันดี เพื่อความมั่นคงเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน ท่ัวโลก กิจการของลูกเสือทุกประเทศยึดม่ันในวัตถุประสงค หลักการ และวิธีการของ ลูกเสอื เหมือนกนั ท่ัวโลก ทกุ ประเทศทีเ่ ขามาเปนสมาชิกโดยสมัครใจและเปนอิสระจากอิทธิพล ทางการเมอื ง มงุ พัฒนาเยาวชนดวยรากฐานของอุดมการณลูกเสือซึ่งมีคําปฏิญาณและกฎของ ลกู เสือเปนสงิ่ ยดึ เหนีย่ วจิตใจ นําสูการประพฤติปฏิบัติตนของความเปนพลเมืองดี และมีความ เปนพี่นอ งกนั ระหวา งลกู เสือทวั่ โลก การลกู เสือไทย โดยคณะลกู เสือแหงชาติ ไดจ ดทะเบยี นเปนสมาชิกขององคการ ลูกเสือโลก เมอ่ื ป พ.ศ. 2465 ใชคติพจนวา “เสียชีพอยาเสียสัตย” ทั้งนี้ คณะลูกเสือแหงชาติ ตอ งชาํ ระเงนิ คา บํารุงลกู เสอื โลก ใหแ กส าํ นักงานลูกเสือโลก และตองปฏิบัติตามธรรมนูญลูกเสือโลก เพื่อดํารงไว เพ่ือความเปนเอกภาพของขบวนการลูกเสือโลก นอกจากน้ันประเทศไทยยังเปน 1 ในจาํ นวน 27 ประเทศ ของสาํ นักงานภาคพื้นเอเชยี – แปซิฟก (Asia – Pacific Region : APR) ซ่ึงมสี ํานักงานใหญ ตงั้ อยทู กี่ รงุ มาดาติ ประเทศฟล ปิ ปน ส

61 กิจการของคณะลกู เสอื โลกและความสมั พันธระหวา งลกู เสอื นานาชาติ ภายหลังจากความสําเร็จของ บี.พี. ในการทดลองการอยูคายพักแรมของเด็ก ท่จี ัดข้นึ ระหวาง วันท่ี 1 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2450 ท่ีเกาะบราวนซี ซึ่งนับเปนคายลูกเสือแหงแรก ของโลก และการพิมพหนังสือเร่ือง “การลูกเสือสําหรับเด็กชาย” ออกจําหนาย ทําใหทั้งเด็ก และผูใหญตางก็อยากมีสวนรวมในกิจการลูกเสือ และในช่ัวระยะเวลาไมนานกิจการลูกเสือก็ได แพรหลายไปยังประเทศตาง ๆ ท่ัวโลก ตอมาในป พ.ศ. 2463 สมาคมลูกเสืออังกฤษไดจัดใหมี การชุมนมุ ลกู เสือจากทัว่ โลกเปน คร้ังแรก ทเ่ี มืองโอลิมเปย กรงุ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ ซ่ึงถือ เปน การชุมนมุ ลูกเสอื โลกคร้งั ท่ี 1 และการประชุมสมัชชาลกู เสอื โลกครง้ั ท่ี 1 ดวย ขณะเดียวกัน ก็ไดมีการจัดต้ังสาํ นกั งานลูกเสอื โลกขึ้น เพ่ือการบริหารงานกจิ การลกู เสอื ในป พ.ศ. 2465 ไดม ีการจัดประชุมสมัชชาลูกเสือโลกครั้งท่ี 2 ท่ีกรุงปารีส ประเทศ ฝรงั่ เศส โดยมผี เู ขารวมประชุมจาก 31 ประเทศ ที่ประชุมไดเลือกตั้งคณะกรรมการลูกเสือโลก จาํ นวน 9 คน เพ่ือทําหนา ทเ่ี ปนคณะกรรมการบริหารองคการลูกเสือโลก คณะลูกเสือโลก หมายถึง องคกรที่ทําหนาที่รักษาและดํารงไวซ่ึงความเปน เอกภาพ ทําหนาท่ีสงเสรมิ กจิ การลกู เสือทว่ั โลกใหมกี ารพัฒนาและกา วหนา อยา งตอเนื่อง โดยมี ธรรมนูญเปนกฎหมายสําหรับยึดถือปฏิบัติในการดําเนินกิจการลูกเสือทั่วโลก หรือที่เรียก ในปจ จุบันวา “องคก ารลูกเสือโลก” สาํ นกั งานลกู เสือโลก มีสาขา 5 แหง ท่ัวโลก 1. สาํ นักงานลกู เสือโลก เขตอเมริกา ซานโฮเซ, คอสตาริกา 2. สํานักงานลกู เสือโลก เขตยโุ รป เจนวี า, สวิตเซอรแ ลนด 3. สาํ นักงานลูกเสอื โลก เขตเอเชีย - แปซฟิ ก มะนิลา, ฟล ิปปน ส 4. สํานักงานลูกเสอื โลก เขตอาหรับ ไคโร, อียิปต 5. สํานกั งานลูกเสือโลก เขตแอฟริกา ไนโนบ,ี เคนยา เครือ่ งหมายลกู เสือโลก องคการลูกเสือโลก ประกอบดวยองคกรทสี่ าํ คญั 3 องคก ร คือ 1. สมัชชาลูกเสือโลก คือ ที่ประชุมใหญประกอบดวยผูแทนประเทศสมาชิก มาประชมุ รว มกนั ทกุ ๆ สามป ยกเวนกรณีท่ีปใดสถานการณของโลกมีความวุนวายหรือมีเรื่อง รายแรงหรือเศรษฐกจิ ปนปว นกใ็ หงดการประชุมในชวงเวลาดังกลาว เชนในป พ.ศ. 2484 ไมมี การประชุม เนื่องจากการถึงแกอสัญกรรมของ ลอรด เบเดน โพเอลล ผใู หก ําเนดิ ลูกเสือโลก สมัชชาลกู เสือโลกมีหนาที่ 1) พจิ ารณานโยบายและมาตรฐานของการลูกเสือทั่วโลก และกําหนดแนวทาง ใหอ งคก ารลูกเสอื สมาชกิ ทุกประเทศปฏบิ ตั ิตาม เพือ่ ใหบ รรลุวัตถุประสงคขององคก ารลกู เสอื โลก 2) กําหนดนโยบายทว่ั ไปขององคการลกู เสอื โลก

62 3) พิจารณาการเขาเปนสมาชิกขององคการลูกเสือโลกโดยยึดหลักเกณฑวา องคการลูกเสือแหงชาติท่ีสมัครเขาเปนสมาชิกน้ัน จะตองปฏิบัติตามวัตถุประสงค (Purpose) หลักการ (Principles) วิธีการ (Method) ขององคการลูกเสือโลก และยึดคําปฏิญาณและ กฎของลูกเสอื ตามทไ่ี ดบญั ญัตไิ วในธรรมนญู ลกู เสือโลก โดยเครง ครดั เสียกอน 4) พจิ ารณาใหองคการสมาชิกออกจากการเปนสมาชิกขององคการลูกเสือโลก ในกรณีทไ่ี มป ฏิบตั ิตามบทบญั ญัตทิ ี่กาํ หนดไวใ นธรรมนญู ลกู เสือโลก 5) เลือกตั้งกรรมการลูกเสือโลกใหครบจํานวนตามหลักเกณฑ และวิธีการท่ี กําหนดไวใ นธรรมนูญลกู เสอื โลก 6) พจิ ารณารายงาน และขอเสนอแนะของกรรมการลกู เสอื โลก 7) พจิ ารณาขอเสนอแนะจากองคการลกู เสอื สมาชกิ ฯ 8) พิจารณาแกไ ข ปรบั ปรุง เพ่ิมเตมิ ธรรมนูญลูกเสือโลก 9) ปฏบิ ัติหนา ท่ีอ่ืน ๆ ทกุ เรอื่ ง ตามทไี่ ดกาํ หนดไวใ นธรรมนูญลกู เสอื โลก 2. คณะกรรมการลกู เสือโลก คอื กรรมการทที่ ําหนาท่ีบริหารองคการลูกเสือโลก กรรมการลูกเสือโลกถือวาเปนผูบังคับบัญชาลูกเสืออาสาสมัครเพราะไมไดรับเงินเดือนจาก องคก ารลูกเสือโลก มจี าํ นวน 12 คน ซึง่ ไดรับเลอื กต้ังในทีป่ ระชมุ สมัชชาลูกเสือโลก ตามวิธีการ และเง่ือนไขและบทบัญญตั ิท่กี ําหนดไวในธรรมนญู ลูกเสอื โลก คณะกรรมการลกู เสอื โลก มหี นาที่ 1) ปฏิบัติหนาที่แทนสมัชชาลูกเสือโลกในชวงเวลาท่ีไมมีการประชุมสมัชชา ลูกเสอื โลก ในเรื่องทีต่ องมกี ารตัดสนิ ใจ ใหคาํ แนะนาํ ตาง ๆ และการกาํ หนดนโยบายตาง ๆ รวมท้ัง เปน ตัวแทนขององคการลกู เสอื โลกในกิจกรรมลกู เสอื แหงชาติ และกิจกรรมลูกเสือระหวางประเทศ 2) ชว ยสงเสรมิ กจิ การลกู เสือทัว่ โลก ดวยการเย่ียมเยียน การติดตอทางหนังสือ ใหการฝกอบรมตามหลักสูตรการฝกอบรมตาง ๆ ตลอดจนกิจกรรมอืน่ ๆ ทเ่ี ห็นสมควร 3) ใหคําแนะนําและความชวยเหลือแกองคการลูกเสือสมาชิก ในการดําเนิน กิจการลูกเสือใหบ รรลวุ ตั ถุประสงค หลกั การและวธิ กี ารกระบวนการลกู เสือ 4) ใหคําแนะนําแกองคการลูกเสือแหงชาติ ท่ีจะสมัครเขาเปนสมาชิกองคการ ลูกเสอื โลก 5) หยุดยั้งการเปนสมาชิกของสมาคมลูกเสือแหงชาติไวช่ัวคราว ในเมื่อไมได ปฏิบตั ิตาม หลกั การ และวธิ กี าร ท่กี ําหนดไวใ นธรรมนูญลกู เสอื โลก 6) จัดเตรียมวาระการประชมุ และระเบยี บการประชมุ สมัชชาลกู เสอื โลก 7) พิจารณาขอเสนอแนะขององคการลูกเสอื แหงชาติ (สมาคมลูกเสือแหงชาติ) 8) แตง ต้ังประธาน รองประธาน การประชมุ สมัชชาลูกเสอื โลก 9) แตง ตงั้ เลขาธกิ ารองคการลูกเสอื โลก และแตง ตั้งรองเลขาธิการฯ โดยคําแนะนํา ของเลขาธกิ ารฯ

63 10) ดแู ล แนะนาํ การบรหิ ารงานของสาํ นักงานลกู เสือโลก 11) อนุมัติงบประมาณของสาํ นักงานลูกเสอื โลก 12) รับผิดชอบในการหาเงินเพิม่ เติมเขากองทนุ ลูกเสอื โลก 13) อนมุ ัติธรรมนญู ลกู เสอื โลก และธรรมนูญลูกเสอื ของเขตตา ง ๆ ของโลก 14) พจิ ารณาแตงตัง้ ท่ปี รึกษาแกอ งคก ารตาง ๆ ที่ใหความชว ยเหลือและสนับสนุน กจิ การลกู เสือ 15) พิจารณาใหรางวัลเหรียญลูกเสือสดุดีแหงโลก ที่เรียกวา “บรอนซวูลฟ” (Bronze Wolf) 16) ปฏิบัติหนาท่ีอ่นื ๆ ทก่ี าํ หนดไวในธรรมนญู ลูกเสือโลก 3. สํานกั งานลกู เสือโลก คือ สํานักงานเลขาธิการขององคการลูกเสือโลก เปน ศูนยประสานงานระหวา งองคการลูกเสือโลกสมาชิกทว่ั โลกซ่ึงมีจาํ นวน 144 ประเทศ เพื่อสราง ความสัมพนั ธ รกั ษาและดาํ รงไวซง่ึ ความเปนเอกภาพของขบวนการลูกเสือโลก และเพ่ือใหการ ปฏบิ ตั งิ านเปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ จึงไดแบง เปน สาขา 5 เขต คอื 1) องคการลกู เสอื เขตแอฟรกิ า 2) องคก ารลกู เสือเขตอาหรบั 3) องคการลกู เสอื เขตเอเชยี -แปซฟิ ก 4) องคการลูกเสอื เขตยุโรป 5) องคการลกู เสือเขตอเมรกิ า สํานักงานลกู เสือมหี นา ที่ (1) ชวยสมัชชาลูกเสือโลก และคณะกรรมการลูกเสือโลก ในการปฏิบัติงาน ในหนา ทใี่ หประสบความสาํ เร็จดว ยดี โดยเฉพาะอยา งย่งิ จัดเตรยี มการประชมุ ทกุ ๆ เรอื่ ง (2) นําเอามตขิ องสมชั ชาลูกเสอื โลก และของคณะกรรมการลกู เสือโลกไปปฏิบัติ ใหเกดิ ผลเปนรูปธรรม (3) ใหบริการทุกเร่อื งทจ่ี าํ เปนตอการสงเสริมกจิ การลูกเสือทั่วโลกเชน เรื่องการ วิจยั เอกสารวิชาการการฝก อบรมผูบ ังคับบญั ชาลูกเสือ การฝก อบรมลูกเสือ การประชาสัมพันธ และการพิมพคูม ือตาง ๆ ออกเผยแพร (4) ดํารงไวซึ่งความสัมพันธกับองคการลูกเสือสมาชิกและใหความชวยเหลือ ในการพฒั นาการลูกเสอื (5) ชว ยพัฒนากิจการลกู เสือใหเ กดิ ขน้ึ ในประเทศตางๆท่ียงั ไมม กี ารลูกเสอื (6) ชวยเหลือองคการลูกเสือแหงชาติที่ยังไมไดเปนสมาชิกฯใหมีมาตรฐานที่ดี เพื่อจะไดเขา เปน สมาชิกขององคการลูกเสอื โลกในโอกาสตอ ไป

64 (7) หาทางให (ขอ (5),(6)) สมัครเขาเปนสมาชิกขององคการลูกเสือโลกหากมี ทางชวยเหลือไดกช็ วยเหลือโดยมิไดช กั ชา (8) ดูแลแนะนําการจัดกิจกรรมลูกเสือนานาชาติ หรือกิจกรรมลูกเสือของเขต ตาง ๆ ของโลก (9) สรา งความสมั พันธกับองคก ารนานาชาติอื่น ๆ ทีเ่ กย่ี วของกบั กจิ กรรมเยาวชน ความสมั พันธระหวา งลกู เสือนานาชาติ ในหลักการของขบวนการลูกเสือนั้น ถือวาลูกเสือท่ัวโลกมีความเปนพ่ีนองกัน ตามกฎของลูกเสือ ขอ 4 “ลูกเสือเปนมิตรของคนทุกคนและเปนพ่ีนองกับลูกเสืออื่นทั่วโลก” ดังนน้ั จงึ ตองมีกิจกรรมเพอ่ื สงเสรมิ มติ รภาพและสรา งความสมั พนั ธอ นั ดรี ะหวางกันซ่ึงแบงออก ไดดังนี้ 1. กิจกรรมเสนอแนะที่ลกู เสอื สามารถปฏบิ ัตไิ ดอยางเปนรูปธรรม คือ 1) การเขียนจดหมายถงึ เพอื่ นลกู เสือดวยกนั อาจผา นผูกํากับลูกเสือหรือ ผูตรวจการลูกเสือฝายตางประเทศของประเทศนั้น ๆ หรือลูกเสืออาจติดตอโดยตรงกับเพ่ือน ลกู เสือในตา งประเทศกไ็ ด Dear Pen – Pal Dept. W.S.,Box 4054 Santa Barbara, California 93103 U.S.A. 2) การตดิ ตอหาเพ่อื นทางคอมพิวเตอร สํานักงานลูกเสือโลกกับลูกเสือ อเมริกาไดรวมมือกันจัดโปรมแกรมมิตรภาพ จัดหาเพ่ือนลูกเสือทั่วโลก โดยไมคิดคาบริการ การหาเพือ่ นทางคอมพวิ เตอรใหจาหนาซอง ดังน้ี ลูกเสือจะตองแจง ช่ือ ตําบลที่อยู ความสนใจ ภาษาที่ใชในการติดตอ ประเทศ และความประสงคและจะสงรายละเอยี ดเกี่ยวกับลูกเสือทีต่ อ งการติดตอมาให 3) การแลกเปลีย่ นรูปภาพ คือ การแลกเปลี่ยนภาพถายกจิ กรรมของกอง หรือของกลมุ ลูกเสอื 4) การแลกเปล่ียนภาพสไลดกิจกรรมลูกเสือพรอมคําบรรยายสามารถ นาํ ไปแสดงหรือจัดนิทรรศการ 5) การแลกเปลี่ยนวารสารลูกเสือ ขาวสารของกองหรือกลุมลูกเสือกับ คณะลกู เสือตา งประเทศ 6) การแลกเปลี่ยนดวงตราไปรษณียท้ังที่เปนดวงตราไปรษณียทั่วไป และดวงตราไปรษณียล กู เสือ

65 2. กจิ กรรมงานชุมนมุ ลูกเสอื เชน 1) การชมุ นมุ ลกู เสือเขต 2) การชุมนุมลกู เสอื โลก กิจกรรมทา ยเรื่องที่ 3 ความสัมพนั ธระหวางลูกเสอื ไทยกับลูกเสอื โลก (ใหผ ูเรียนไปทาํ กิจกรรมทายเรือ่ งท่ี 3 ท่สี มุดบันทึกกจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชุดวิชา)

66 หนวยการเรยี นรทู ี่ 4 คณุ ธรรม จรยิ ธรรมของลูกเสือ สาระสําคญั คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือ เปนรากฐานท่ีสําคัญสําหรับขบวนการลูกเสือ อาจเปรียบเสมือนศีลของลูกเสือและเปนหลักสําคัญที่ทําใหลูกเสือประพฤติปฏิบัติตนใหมี คุณธรรม จริยธรรม หากลูกเสือไดเขาใจอยางแจมแจง และปฏิบัติตามคําปฏิญาณและกฎ อยูเสมอ อยางชนดิ ใหเปนหลกั ปฏิบัติในชวี ิตประจาํ วนั ใหไ ด โดยเฉพาะในเรื่องความจงรักภักดี ตอ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  ความเปนพี่นองของลูกเสือทั่วโลก การกระทําความดีตาง ๆ โดยเนนใหเห็นวาผูเปนพลเมืองดีนั้นจะตองเปนผูกระทําความดี และใชความดีน้ันใหเปน ประโยชนตอสงั คม ตวั ชว้ี ดั 1. อธิบายคําปฏญิ าณ และกฎของลูกเสือ 2. อธบิ ายคณุ ธรรม จริยธรรมจากคําปฏิญาณและกฎของลกู เสือ 3. ยกตวั อยางการนําคาํ ปฏิญาณและกฎของลูกเสอื ท่ีใชใ นชีวิตประจําวนั 4. อธิบายความสมั พนั ธร ะหวา งคุณธรรมจรยิ ธรรมในคาํ ปฏญิ าณและกฎของ ลกู เสือกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ขอบขา ยเนอื้ หา เรอ่ื งที่ 1 คาํ ปฏิญาณ และกฎของลกู เสือ เร่ืองท่ี 2 คุณธรรม จรยิ ธรรมจากคําปฏญิ าณและกฎของลกู เสือ เรอ่ื งท่ี 3 การนาํ คําปฏญิ าณ และกฎของลูกเสอื ทใี่ ชในชีวิตประจําวนั เรอ่ื งท่ี 4 ความสมั พนั ธร ะหวางคุณธรรมจริยธรรมในคําปฏญิ าณและกฎ ของลูกเสือกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เวลาท่ีใชใ นการศกึ ษา 6 ช่ัวโมง ส่อื การเรียนรู 1. ชดุ วชิ าลูกเสือ กศน. รหัสรายวิชา สค32035 2. สมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดวชิ า 3. สอื่ เสริมการเรยี นรูอน่ื ๆ

67 เร่ืองที่ 1 คําปฏิญาณ และกฎของลกู เสอื การอยูรวมกันในสังคม จําเปนตองอาศัย กฎ ระเบียบ เพื่อเปนรากฐานในการ ดาํ เนินชีวติ ใหเปนปกตสิ ุขของครอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศ ทีจ่ ะอยูรวมกนั ดวยความผาสุก และยัง่ ยนื 1.1 ความหมายคาํ ปฏิญาณของลกู เสือ คําปฏิญาณของลูกเสือ คือ คํามั่นสัญญาที่ลูกเสือทุกคนตองใหไวแก ผูบังคับบัญชา เปนถอยคําท่ีกลาวออกมาดวยความจริงใจและสมัครใจ คํากลาวน้ีสําคัญอยางยิ่ง ในชีวิตการเปนลูกเสือ เม่ือกลาวแลวตองปฏิบัติตามใหไดเปนการสงเสริมใหลูกเสือรักเกียรติ ของตน เพ่ือความเปนพลเมืองดีของชาติ โดยอาศัยคําปฏิญาณเปนอุดมการณนําไปปฏิบัติ ในชีวติ ได คาํ ปฏญิ าณของลูกเสอื ดว ยเกียรติของขา ขาสัญญาวา ขอ 1 ขา จะจงรกั ภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  ขอ 2 ขา จะชว ยเหลอื ผูอื่นทุกเม่ือ ขอ 3 ขา จะปฏิบตั ิตามกฎของลกู เสือ เพื่อความชดั เจนในคาํ ปฏญิ าณของลกู เสือท้งั 3 ขอ จึงมคี ําอธบิ ายเพ่ิมเติม ดงั น้ี ขอ 1 ขาจะจงรกั ภกั ดตี อ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ชาติ ประกอบดว ย แผน ดิน นา นนํ้า และประชาชนพลเมอื งท่อี ยูร วมกันโดยมี กฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมเปนหลักปฏิบัติ ลูกเสือทุกคนตองประพฤติ ปฏิบัตติ นใหเปนพลเมอื งดีของชาติ ศาสนา ทกุ ศาสนามีความมุงหมายเดยี วกัน คือ สอนใหทุกคนเปน คนดลี ะเวน ความช่วั ใหกระทาํ แตค วามดี ลกู เสอื ทกุ คนตองมศี าสนา ลูกเสือจะนับถอื ศาสนาใด ๆ กไ็ ด พระมหากษัตริย ทรงเปนประมุขของคณะลูกเสือแหงชาติ ลูกเสือทุกคน ตองปฏิบตั ิตนตามรอยพระยุคลบาท ขอ 2 ขา จะชว ยเหลอื ผูอน่ื ทกุ เมอื่ ลกู เสอื ทุกคนเปนผูมีจิตอาสา ไมน่ิงดูดาย เอาใจใสผูอ่ืน มีความพรอมท่ีจะ เสยี สละเพื่อสว นรวมทุกโอกาสท่ีพึงกระทําได ซึ่งเปนสิ่งหนึ่งที่ทําใหลูกเสือเปนผูมีเกียรติ และ ไดรับการยกยองชืน่ ชมจากประชาชนท่ัวไป ขอ 3 ขา จะปฏบิ ัติตามกฎของลกู เสอื กฎของลูกเสือเปรียบเสมือนศีลของลูกเสือท่ีเปนหลักยึดเหนี่ยวใหประพฤติ ปฏบิ ัติในสิง่ ดงี าม

68 1.2 ความหมายกฎของลกู เสือ กฎของลูกเสอื หมายถึง ขอปฏิบัติที่ลูกเสือตองยึดเปนแนวทางการประพฤติ ปฏิบตั ิตนในชีวติ ประจาํ วนั กฎของลกู เสอื มี 10 ขอ ดังนี้ กฎของลกู เสอื ขอ 1 ลกู เสอื มีเกยี รติเชือ่ ถอื ได ขอ 2 ลูกเสอื มีความจงรักภักดตี อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย และซอ่ื ตรง ตอผูม ีพระคณุ ขอ 3 ลกู เสอื มีหนา ทก่ี ระทําตนใหเ ปนประโยชนแ ละชวยเหลอื ผอู ืน่ ขอ 4 ลกู เสือเปนมติ รของคนทุกคน และเปน พี่นองกับลกู เสอื อ่ืนทัว่ โลก ขอ 5 ลูกเสือเปนผูส ุภาพเรยี บรอย ขอ 6 ลูกเสอื มีความเมตตากรุณาตอสตั ว ขอ 7 ลกู เสอื เชอ่ื ฟงคาํ ส่งั ของบิดามารดา และผบู งั คับบญั ชาดว ยความเคารพ ขอ 8 ลูกเสอื มใี จรา เรงิ และไมย อทอตอ ความยากลาํ บาก ขอ 9 ลูกเสือเปน ผมู ัธยสั ถ ขอ 10 ลูกเสอื ประพฤตชิ อบดวยกาย วาจา ใจ เพ่ือความชัดเจนในกฎของลูกเสือทัง้ 10 ขอ จึงมคี ําอธิบายเพิม่ เตมิ ดังนี้ ขอ 1 ลกู เสอื มเี กยี รติเชอ่ื ถือได ลกู เสอื ตอ งประพฤติตนเปนคนดี เปน ผูมรี ะเบียบวินัย ผูอ่ืนยอมจะช่ืนชมเชื่อถือ จะเปนที่ไววางใจแกคนทั้งหลาย โดยเฉพาะในขณะท่ีลูกเสือสวมเคร่ืองแบบอันทรงเกียรติ ยอ มจะไมท าํ ส่ิงใด ๆ ท่ีกอ ใหเกิด ความเสือ่ มเสียเกียรติของลูกเสอื ขอ 2 ลกู เสอื มีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และซ่อื ตรง ตอ ผมู ีพระคณุ ลกู เสอื ตอ งเทิดทูน สถาบันท้งั 3 ไดแก ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยบรรพบุรุษ ของเรายอมพลีชีพเพื่อชาติมาแลว เพ่ือรักษาสถาบันนี้ไว เพ่ือใหประเทศชาติของเราม่ันคง อยตู อ ไป จงทาํ หนาทีข่ องเราใหดที ี่สดุ ในฐานะที่เราเปนลูกเสือ ขอ 3 ลูกเสือมีหนา ทกี่ ระทําตนใหเ ปน ประโยชน และชว ยเหลือผูอื่น ลูกเสือตองเปนผูรูจักการเสียสละ ไมเห็นแกตัว พรอมที่จะบําเพ็ญประโยชน ใหก บั บา น สถานศกึ ษา สงั คม ชมุ ชน ตลอดจนประเทศชาติ ดวยการเขาไปมีสวนรวมในการทํา กิจกรรมตาง ๆ ตามความสามารถและโอกาส และพัฒนาตนเองใหมีความรูความสามารถ ใหพ ึง่ ตนเองได และสามารถชว ยเหลอื ผูอ่นื ได

69 ขอ 4 ลูกเสือเปน มติ รของคนทุกคน และเปน พ่ีนอ งกับลกู เสอื อืน่ ทัว่ โลก ลูกเสือจะตองเปนผูมี จิตใจโอบออมอารี รูจักเอ้ือเฟอเผื่อแผแกทุก ๆ คน โดยไมเลือกวาเปนเชื้อชาติ ศาสนาใด ๆ รวมทั้งมีความรูสึกเสมือนหนึ่งวาเปนพี่นองกับลูกเสือ อน่ื ทัว่ โลก ตอ งมกี ารทาํ งานรว มกนั ตองอยูรวมกัน ตองประพฤติปฏิบัติดี ทั้งกาย วาจา ใจ คือ ตองรูจักแสดงนํ้าใจกับผูอื่น ชวยเหลือผูอ่ืนอยางเต็มใจ เอื้อเฟอ เผื่อแผ เสียสละ มีอัธยาศัย ไมตรกี ับคนทัว่ ไป ยิ้มแยม แจมใส ขอ 5 ลูกเสอื เปน ผสู ุภาพเรยี บรอ ย ลูกเสือตองเปนผูท่ีมีกิริยาและวาจาสุภาพ ออนโยน ออนนอม มีสัมมาคารวะ ท้ังทางกาย วาจา และใจ ไมย กตนขม ทาน แตงกายสะอาดเรียบรอ ย แสดงทางวาจา เชน พูดจา ไพเราะ นุมนวล ไมก ลาวรายลว งเกนิ เตอื นตนใหประพฤติดปี ระพฤติชอบ มคี วามออ นนอ มถอมตน ขอ 6 ลกู เสอื มีความเมตตา กรุณาตอ สัตว ลูกเสือตอ งเปนคนทีม่ ีใจเมตตา กรณุ าตอ สตั ว ไมร งั แกสัตว หรือทรมานทารุณสัตว ใหร บั ความเจบ็ ปวด หรอื กักขงั สตั ว มใี จปรารถนาใหผ ูอ่ืนพนทุกข ขอ 7 ลกู เสอื เชอ่ื ฟง คาํ สั่งของบดิ า มารดา และผบู งั คับบญั ชาดว ยความเคารพ ลูกเสือตองเคารพและเช่ือฟงคําสั่งบิดามารดาซึ่งเปนผูใหกําเนิด เปนผูเลี้ยงดู เราจนเติบใหญมีพระคณุ อยางใหญห ลวง และตอ งเช่อื ฟง คําสั่งของครู อาจารย และผูบังคับบัญชา ที่ลว นมปี ระสบการณในชวี ติ ท่ีสามารถชี้แนะแนวทาง ใหสิ่งที่ดีแกเรา ลูกเสือจึงตองเคารพและ เชื่อฟง ขอ 8 ลกู เสอื มีใจรา เรงิ และไมยอ ทอ ตอความยากลาํ บาก ลกู เสือตองเปนผูท่ียิ้มแยมแจมใส ราเริงอยูเสมอ ไมยอทอตอความยากลําบาก แสดงถึงมิตรภาพ มีไมตรีจิตที่ดตี อ กันดวยความเต็มใจ ขอ 9 ลกู เสอื เปนผมู ธั ยสั ถ ลกู เสือตอ งเปนผูร จู ักเกบ็ หอมรอมริบ ประหยัด ใชจ า ยเฉพาะท่จี ําเปนตามฐานะ ของตน ตองประหยดั ทรัพยส ินท้ังของตนเองและผอู ื่นดว ยรวมทัง้ ตองไมรบกวนเบียดเบยี นผอู ่ืน ขอ 10 ลูกเสอื ประพฤตชิ อบดวยกาย วาจา ใจ ลกู เสอื ตอ งรูจกั สาํ รวมกาย วาจา และใจ คือ \"ทําดี คิดดี พูดดี” ไมทําใหตนเอง และผูอื่นเดือดรอน ตองรูจักเหน่ียวรั้ง ควบคุมสติ บังคับ ขมใจตนเอง ละอายตนเอง คํานึงถึง มรรยาทของตนเองตลอด จนไมคิดเบียดเบียนทํารายผูอ่ืน เปนผูที่สุภาพออนโยนปฏิบัติตน ใหเ หมาะกับกาลเทศะและสังคม

70 1.3 ความหมายคตพิ จนของลูกเสอื 1.3.1 คตพิ จนท ่วั ไปของลูกเสือ เสียชีพอยาเสียสัตย หมายความวา ใหลูกเสือรักษาความซ่ือสัตย มีสจั จะยง่ิ ชีวติ จะไมละความสตั ยถ งึ แมจะถูกบบี บงั คบั จนเปนอันตรายถึงกับชีวิตก็ตามก็ไมยอม เสยี สจั จะเพ่อื เกยี รติภูมิแหงตน 1.3.2 คติพจนของลูกเสือแตละประเภท ลกู เสอื สาํ รอง“ทําดที ี่สุด” ลูกเสอื สามัญ“จงเตรียมพรอม” ลกู เสือสามญั รุนใหญ“ มองไกล” ลูกเสอื วสิ ามัญ“บรกิ าร” ทาํ ดที ่ีสุด หมายความวา ปฏบิ ัตหิ นาทีข่ องตนอยูใหด ีทส่ี ดุ จงเตรยี มพรอม หมายความวา เตรียมความพรอมท้งั ทางดานรา งกายและ จิตใจในการปฏบิ ัตหิ นา ที่ทรี่ ับผดิ ชอบ มองไกล หมายความวา การมองใหกวางและไกล ฉลาดท่จี ะมองเห็นความ จรงิ ของส่งิ ตาง ๆ วา ผลจากการกระทาํ ภารกิจของตน อาจสงผลกระทบถึงภารกจิ อน่ื บคุ คลอืน่ บริการ หมายความวา การกระทําดวยความตั้งใจทีจ่ ะใหผ ูอนื่ มีความสะดวก หรือลดปญหา หรือความทุกขหวังเพียงใหผูรับบริการไดรับสิ่งที่เหมาะสมที่สุดเสมอโดยไมหวัง รางวัลหรือสงิ่ ตอบแทนใด ๆ กจิ กรรมทายเรอ่ื งท่ี 1 คาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื (ใหผ เู รยี นไปทํากจิ กรรมทา ยเรื่องท่ี 1 ท่ีสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)

71 เร่ืองที่ 2 คณุ ธรรม จริยธรรมจากคําปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ คณุ ธรรมจริยธรรมจากคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือเนนการประพฤติปฏิบัติตน ใหเ ปน พลเมืองดี พรอมท่ีจะนําความสุข ความเจรญิ ความมัน่ คงมาสบู ุคคลสังคม และประเทศชาติ ดงั นี้ 1. ความจงรกั ภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยบุคคลสามารถปฏิบัติตน ใหมีความซื่อสัตยตอชาติ รัก และหวงแหน ยอมเสียสละเลือดเน้ือและชีวิตเพ่ือใหชาติเปน เอกราชสืบไป อีกท้ังทํานุบํารุงศาสนาใหม่ันคงสถาพรสืบไปและปฏิบัติตนตามรอยพระยุคลบาท แหง องคพระมหากษตั ริย ผทู รงบาํ บดั ทกุ ขบาํ รุงสุขใหแ กร าษฎรดวยความเสยี สละ 2. ความรับผิดชอบตอหนาที่ บุคคลสามารถปฏิบัติกิจการงานของตนเองและ ที่ไดรับมอบหมายดวยความมานะพยายาม อุทิศกําลังกาย กําลังใจอยางเต็มความสามารถ ไมเห็นแกความเหน็ดเหนือ่ ย 3. ความมีระเบียบวินัย บุคคลสามารถเปนทั้งผูรูและปฏิบัติตามแบบแผน ท่ีตนเอง ครอบครัว และสังคม กําหนดไว โดยจะปฏิเสธกฎเกณฑหรือกติกาตางๆ ของสังคม ไมได คุณธรรมน้ตี อ งใชเวลาปลูกฝง เปนเวลานาน และตองปฏบิ ัติสม่ําเสมอจนกวาจะปฏิบัติเอง ไดแ ละเกิดความเคยชนิ 4. ความซื่อสัตย บุคคลสามารถปฏิบัติตนทางกาย วาจา จิตใจ ท่ีตรงไปตรงมา ไมแสดงความคดโกง ไมหลอกลวง ไมเอาเปรียบผูอ่ืน ลั่นวาจาวาจะทํางานส่ิงใดก็ตองทําให สําเร็จ ไมกลับกลอก มีความจรงิ ใจตอ ทุกคน จนเปนทไ่ี ววางใจของคนทุกคน 5. ความเสียสละ บุคคลสามารถปฏิบัติตนโดยการอุทิศกําลังกาย กําลังทรัพย กําลังปญญา เพ่ือชวยเหลือผูอ่ืนและสังคมดวยความต้ังใจจริง มีเจตนาที่บริสุทธ์ิ เปนท่ีรักใคร ไวว างใจ เปนทีย่ กยองของสงั คม ผูคนเคารพนับถือ นาํ พาซง่ึ ความสขุ สมบูรณใ นชวี ิต 6. ความอดทน บุคคลสามารถปฏิบัติตนเปนผูท่ีมีจิตใจเขมแข็ง ไมทอถอยตอ อุปสรรคใด ๆ มุงม่ันที่จะทํางานใหบังเกิดผลดีโดยไมใหผูอ่ืนเดือดรอน มีความอดทนตอความ ยากลําบาก อดทนตอการตรากตรําทํางาน อดทนตอ ความเจ็บใจ อดทนตอ กิเลส 7. การไมทําบาป บุคคลสามารถละเวนพฤติกรรมท่ีชั่วราย และไมสรางความ เดือดรอนใหท ้ังทางกาย วาจา ใจ 8. ความสามคั คีบคุ คลสรา งความสามัคคี รักใคร กลมเกลียวซ่ึงนําไปสูความสงบ รมเย็นของครอบครวั สงั คม ชุมชน และประเทศชาติ กจิ กรรมทายเรอ่ื งที่ 2 คุณธรรม จรยิ ธรรมจากคาํ ปฏิญาณและกฎของลกู เสือ (ใหผ เู รียนไปทาํ กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 2 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา)

72 เรื่องท่ี 3 การนาํ คาํ ปฏญิ าณและกฎของลกู เสือทใี่ ชใ นชีวติ ประจาํ วัน ปจจัยสาํ คัญอยางหนง่ึ ท่ที าํ ใหขบวนการลูกเสือวฒั นาถาวรกาวหนากวาขบวนการ อ่ืน ๆ ก็คือ คําปฏิญาณและกฎ ซึ่งผูเปนลูกเสือตองยอมรับและนําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน ดว ยความเคยชนิ เชน เมื่อผูเรียนไดเรียนเก่ียวกับคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือแลวผูเรียนจะตอง ทบทวนทําความเขา ใจใหถ อ งแทแ ละนําไปสูก ารปฏิบตั ใิ นชวี ิตประจาํ วนั ได ตวั อยางคําปฏญิ าณของลกู เสอื ตวั อยางกฎของลกู เสอื 1. ปฏบิ ัตติ นใหถ ูกตอ งตามขนบธรรมเนยี ม 1. การกระทาํ ใด ๆ จะตอ งไมก ระทําใหเสยี เกียรติ ประเพณแี ละวัฒนธรรม เชน การแตงกาย การแสดงความเคารพโดยการไหว 2. ปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมาย ขอบังคบั ของสังคม 2. มีใจโอบออมอารี เออ้ื เฟอ เผื่อแผแ กคน และประเทศชาติ เชน กฎจราจร การเลอื กต้ัง ทกุ เชื้อชาติ ทกุ ศาสนา 3. เขา รวมพีทางศาสนาตามแตโ อกาสที่ 3. มีกริ ยิ า วาจา สภุ าพออนโยน ออนนอ ม เหมาะสม เชน การไปวัดทําบญุ ตักบาตร กับทกุ เพศ ทุกวัย 4. รกั และหวงแหนแผนดินเกิดของตนเอง เชน 4. คอยชวยเหลอื ผอู ื่น มีจติ ใจเมตตา กรณุ าตอ ตอ งไมทําใหชื่อเสยี งประเทศเสยี หาย ส่ิงมีชวี ติ ไมฆา ไมท รมานหรอื ไมร ังแกผอู ื่น ใหไดร ับความเจบ็ ปวด 5. ชว ยเหลอื ผูอนื่ เมื่อมโี อกาส เชน การใช 5. เชือ่ ฟง คาํ ส่งั สอนของพอแม ครู อาจารย เวลาวา งในการอานหนงั สอื ใหคนตาบอดฟง การชว ยผูส งู อายุเดนิ ขามถนน 6. รูจกั ประหยดั อดออม ไมใชจ า ยสรุ ุย สุรา ย 7. มีหนาตาย้ิมแยมแจมใสเสมอ ไมยอทอตอ ความทุกขยาก กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 3 การนําคําปฏญิ าณ และกฎของลกู เสือทใ่ี ชใ นชีวิตประจาํ วัน (ใหผเู รียนไปทาํ กิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 3 ที่สมุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)

73 เร่อื งท่ี 4 ความสัมพนั ธระหวางคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในคําปฏิญาณและกฎของลกู เสอื กับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รัชกาลท่ี 9 ทรงมีความหวงใย พสกนกิ รของพระองคใ นการดาํ รงชีวติ ทรงเนน ยาํ้ แนวทางการดําเนินชวี ิตตามหลกั ธรรมคําสอน เพอื่ ใหป วงชนชาวไทยไดรอดพนจากวิกฤตกิ ารณทางเศรษฐกิจ และสามารถดํารงอยไู ดอ ยางมน่ั คง และยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภวิ ัตน และความเปลีย่ นแปลงตา ง ๆ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีเปาหมายเพ่ือใหเกิดความสมดุลและพรอมตอ การรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวางท้ังดานวัตถุสังคมสิ่งแวดลอมและ วัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี ความพอเพยี ง ประกอบดวย ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไป และไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบยี นตนเอง และผอู ่นื เชน การผลิต และการบรโิ ภคท่ีอยใู นระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะตอ งเปนไปอยางมีเหตุผลโดยพจิ ารณาจากเหตปุ จ จัยท่เี ก่ยี วของตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวา จะเกดิ ขน้ึ จากการกระทํานน้ั ๆ อยา งรอบคอบ การมีภมู ิคุม กันท่ีดีในตน หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอ มรบั ผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงดา นตาง ๆ ทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ โดยคํานงึ ถงึ ความเปน ไปไดข องสถานการณตาง ๆ ที่คาดวา จะเกิดข้ึนในอนาคตท้ังใกล และไกล เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาํ เนนิ กิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น ตองอาศัยทง้ั ความรู และคณุ ธรรมเปน พน้ื ฐาน กลา วคือ เงอื่ นไขความรู ประกอบดว ย ความรอบรูเกีย่ วกบั วชิ าการตา ง ๆ ที่เกี่ยวของอยาง รอบดานความรอบคอบท่ีจะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเช่ือมโยงกันเพ่ือประกอบการ วางแผน และความระมัดระวงั ในขั้นปฏิบตั ิ เง่ือนไขคุณธรรมที่ประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรมความซ่ือสัตย สจุ ริต และมีความอดทน มีความเพียรใชส ติปญ ญาในการดาํ เนนิ ชีวิต ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไดรับการเชิดชูเปนอยางสูงจากองคการสหประชาชาติ โดยนายโคฟ อันนัน ในฐานะเลขาธิการองคการสหประชาชาติไดทูลเกลาฯถวายรางวัล ความสําเร็จสูงสุดดานการพัฒนามนุษยแดพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เม่อื วนั ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 และไดมีปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงวาเปนปรัชญา ท่ีมีประโยชนตอประเทศไทยและนานาประเทศและสามารถเร่ิมไดจากการสรางภูมิคุมกัน ในตนเองสหู มบู านและสเู ศรษฐกจิ ในวงกวา งขน้ึ ในทสี่ ุด

74 ความสมั พนั ธร ะหวา งคณุ ธรรม จริยธรรมในคาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ กบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คณุ ธรรม จริยธรรมในคาํ ปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื การปฏิบตั ติ นหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ขอ 1 ลกู เสอื มเี กียรติเชือ่ ถอื ได ความซื่อสตั ย ขอ 2 ลูกเสือมคี วามจงรกั ภกั ดตี อ ชาติ ศาสนา ความกตญั ูกตเวที พระมหากษตั รยิ  และซ่อื ตรงตอผูม ีพระคณุ ขอ 3 ลูกเสือมีหนาทกี่ ระทาํ ตนใหเปนประโยชน ความมนี ้าํ ใจและจิตอาสา และชวยเหลอื ผูอื่น ขอ 4 ลกู เสอื เปน มิตรของคนทกุ คนและเปน พน่ี อ งกับ ความสามคั คี ลูกเสอื อืน่ ทว่ั โลก ขอ 5 ลูกเสอื เปน ผสู ุภาพเรยี บรอย ความสภุ าพ ขอ 6 ลูกเสือมคี วามเมตตากรณุ าตอ สัตว ความมีน้ําใจและจติ อาสา ขอ 7 ลกู เสือเช่อื ฟงคําสัง่ ของบดิ ามารดา และ ความมนี าํ้ ใจและจิตอาสา ผูบังคับบญั ชาดวยความเคารพ ขอ 8 ลกู เสอื มีใจราเรงิ และไมย อทอ ตอความยากลําบาก ความขยนั ขอ 9 ลกู เสอื เปนผมู ธั ยสั ถ ความประหยดั ขอ 10 ลกู เสือประพฤตชิ อบดว ยกาย วาจา ใจ ความมีวนิ ยั ความสะอาด จากตาราง จะเห็นวาลูกเสือสามารถนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ปฏิบตั ิใหสอดคลองกับคุณธรรม จรยิ ธรรมในคําปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื อยางไรถึงจะเรียกวา พอเพียง มีพระราชดํารัสองคหนึ่งกลาวไววา “พูดจา ก็พอเพียงปฏิบัติตนก็พอเพียง” คํานิยามบอกหลักการไววา ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และการสรา งภมู คิ มุ กนั ทดี่ ีในตัวจากผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึน จากทั้งภายนอกและภายใน ภายนอกกระทบเขามาภายในก็เปล่ียนแปลงดวยจะพอเพียงได ตองคํานึงถึง 3 หลักการ คือ คิดและทําอะไรอยาง พอประมาณ มีเหตุมีผล และมีภูมิคุมกัน ในตัวที่ดี ถาครบ 3 หลักการน้ี ถึงจะบอกไดวาพอเพียง ถาไมครบก็ไมพอเพียงและการสราง ความพอเพยี งใหเกดิ ขน้ึ ไดต อ งใชความรคู วบคูไ ปกบั คุณธรรม จากคาํ กลาวขางตนความสัมพนั ธร ะหวา งคุณธรรม จรยิ ธรรมในคําปฏิญาณและ กฎของลกู เสือกบั หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถนํามาสรุปเปนผลกระทบจากภายนอก และภายใน ไดด ังนี้

75 ผลกระทบจากภายใน “การสรางภูมิคุมกันท่ีดีในตัว” ลูกเสือจะตองจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย เชอื่ ฟงคําสงั่ สอนของบดิ ามารดา และผูบังคับบัญชาดวยความเคารพตองปฏิบัติตน ใหเปนผูเกียรติเช่ือถือได ตองแสดงความเปนมิตรตอทุกคนและเปนพี่นองกับลูกเสืออื่น ท่ัวโลกตองผูสุภาพเรียบรอย มีใจราเริง และไมยอทอตอความยากลําบาก และประพฤติชอบ ดวยกายวาจาใจ กลา วไดวาตองตานทานตอแรงยั่วยทุ ้ังหลาย ผลกระทบจากภายนอก “ความพอประมาณ” ลูกเสือตอ งเปนผมู ธั ยสั ถ ประหยดั อดออม อยอู ยางพอเพยี ง “ความมีเหตุผล” ลูกเสอื จะตองชว ยเหลอื ผูอน่ื ทกุ เมอ่ื ไมน่ิงดูดายเมอ่ื เห็นผูอื่นเดือดรอน ตอ งกระทําตนใหเ ปนประโยชนแ ละชวยเหลอื ผูอืน่ รวมถงึ การมีความเมตตากรุณาตอ สัตว การใชชีวิตอยางไมพอเพียง แลวจะเปนอยางไร เชน ใชจายไมพอเพียงดูแล สุขภาพอยางไรไมพ อเพียง บรโิ ภคอยางไมพอเพียง ทํางานอยางไมพอเพียงมากไปนอยไปหรือ ผูเรียนดูหนังสืออยางไรไมพอเพียง การใชชีวิตการปฏิบัติตนอยางไมพอเพียงนอยเกินไป มากเกินไปไมพอดีพอเหมาะพอควรกับความสามารถของเรากับสถานการณส่ิงแวดลอม มันสง ผลกระทบอะไรบางใหกับตัวเราเอง สงผลกระทบอะไรบางใหกับคนรอบขางกระทบกับ สังคมกระทบกบั สิง่ แวดลอม สงผลถึงอนาคตของตนเองและสังคม การประยกุ ตใ ชปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยพน้ื ฐานก็คอื การพ่ึงตนเอง เปน หลกั การทําอะไรอยางเปน ขนั้ เปนตอนรอบคอบระมดั ระวงั พิจารณาถึงความพอดีพอเหมาะ พอควร ความสมเหตสุ มผลและการพรอ มรบั ความเปลีย่ นแปลง การสรา งความสามัคคใี หเ กิดขึ้น บนพื้นฐานของความสมดุลครอบคลุมทั้งทางดานจิตใจ สังคมเทคโนโลยีทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดลอมรวมถงึ เศรษฐกจิ การประยกุ ตใ ชส าํ หรับประชาชนชาวไทย ไมฟุงเฟอประหยัดในทางท่ีถูกตอง ประพฤติชอบและประกอบอาชีพดวยความถูกตองสุจริตละเลิกการแกงแยงเบียดบังผูอื่น ไมหยุดน่ิงทจี่ ะหาทางยนื หยัดไดด วยตนเองเพิ่มพูนความดลี ดละความช่ัว กิจกรรมทายเรอื่ งท่ี 4 ความสัมพันธร ะหวา งคณุ ธรรม จริยธรรมในคําปฏิญาณและกฎ ของลกู เสือกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ใหผูเรียนไปทาํ กจิ กรรมทายเรือ่ งที่ 4 ทส่ี มุดบันทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)

76 หนว ยการเรียนรทู ่ี 5 วนิ ัย และความเปนระเบยี บเรียบรอ ย สาระสําคัญ วินัยและความเปนระเบียบเรียบรอย เปนส่ิงจําเปนมากในกองลูกเสือ คนที่มี คุณภาพ ควรไดรบั การฝกฝนใหมีระเบียบวินัย ลูกเสือที่มีระเบียบวินัย เชื่อฟงปฏิบัติตามคําสั่ง ผบู งั คบั บญั ชา ยอมที่จะเปนพลเมอื งดีในอนาคต ลกู เสือท่ไี ดร บั การฝก อบรมอยางดีสามารถเปน ผูนําได รูจักการทําตนเปนผูอยูใตบังคับบัญชาของผูท่ีเปนหัวหนา หรือทําตนในฐานะเปน ผูบังคับบัญชาเปนแบบอยางที่ดีได ซึ่งจะนําประโยชนมาใหตนทั้งในดานสวนตัวและหนาที่ การงาน กองลูกเสือใดมีระเบียบวินัยท่ีดีแลว กองลูกเสือนั้นก็จะมีความสุข ประสบผลสําเร็จ ในกิจการตาง ๆ ไดโดยงาย สง่ิ ท่จี ะชวยทําใหล กู เสือไดม ีระเบียบวินัยท่ีดี ไดแก การใชคําส่ังให ปฏบิ ัตอิ ยา งงาย ๆ พิธกี ารตาง ๆ การตรวจในการเปดประชุมกองและปดประชุมกอง หรือการ ตรวจการอยูคายพักแรมในตอนเชา เครื่องแบบมีความหมายสําหรับชื่อเสียงของขบวนการ กองลูกเสอื การอยูคายพักแรมตองทํางานรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ การเดินทางไกล ไดรับ ความเหน็ดเหนื่อย ตองอดทน เห็นใจซ่ึงกันและกัน ระเบียบแถว เปนวิธีการฝกท่ีจะตองให ปฏิบตั ติ ามคําบอกคาํ สง่ั ส่งิ แวดลอ ม ที่มองเหน็ เปนแบบอยางที่จะกระทําตาม และตัวอยางท่ีดี ของผูก ํากับเปน เรือ่ งสาํ คญั ท่สี ุดที่ลกู เสือจะเกิดศรทั ธายึดถือเปน แบบอยาง ตวั ชว้ี ัด 1. อธิบายความหมาย และความสําคัญของวินยั และความเปน ระเบียบเรียบรอย 2. อธบิ ายผลกระทบจากการขาดวนิ ัยและขาดความเปนระเบียบเรียบรอ ย 3. ยกตวั อยา งแนวทางการเสรมิ สรา งวินยั และความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ย 4. อธบิ ายระบบหมูลกู เสอื 5. อธิบายและยกตัวอยางการพฒั นาภาวะผนู ํา – ผตู าม ขอบขา ยเน้อื หา เรือ่ งท่ี 1 วินัยและความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ย 1.1 ความหมายของวินยั และความเปน ระเบยี บเรียบรอย 1.2 ความสาํ คัญของวนิ ยั และความเปน ระเบียบเรียบรอย เร่ืองท่ี 2 ผลกระทบจากการขาดวินัย และขาดความเปนระเบยี บเรยี บรอ ย เรอื่ งท่ี 3 แนวทางการเสริมสรา งวนิ ัยและความเปนระเบียบเรยี บรอ ย เรอ่ื งที่ 4 ระบบหมูลูกเสือ เรือ่ งที่ 5 การพัฒนาภาวะผนู าํ - ผตู าม

77 เวลาท่ีใชใ นการศึกษา 6 ช่ัวโมง ส่ือการเรียนรู 1. ชดุ วชิ าลูกเสือ กศน. รหสั รายวชิ า สค32035 2. สมุดบันทึกกิจกรรมการเรยี นรูป ระกอบชุดวิชา 3. สอ่ื เสรมิ การเรยี นรูอนื่ ๆ

78 เรอ่ื งท่ี 1 วนิ ัยและความเปน ระเบยี บเรยี บรอย การประกอบกิจกรรมทุกอยางหรือการฝกอบรมทุกประเภทที่ทํากับคนหมูมาก ถาขาดวินัยเสยี แลว ก็เทากับเปนการลมเหลวทุกส่ิงทุกอยางโดยส้ินเชิง ลูกเสือท่ีมีระเบียบวินัย เช่ือฟงปฏิบัติตามคําสั่งผูบังคับบัญชา ยอมท่ีจะเปนพลเมืองดีในอนาคต ลูกเสือท่ีไดรับการ ฝกอบรมอยางดีสามารถเปนผูนําได เพราะวาเปนคนที่รักษาสัตย ประพฤติตนตามกฎกติกา เปน คนมีน้ําใจเมตตาอารี เสียสละ สิ่งเหลาน้ียอมติดตัวไปเปนนิสัยเกิดขึ้นในตัวเองตลอดเวลา วินัยจึงเปนส่ิงจําเปนมากในกองลูกเสือ คนท่ีมีคุณภาพควรไดรับการฝกฝนใหมีระเบียบวินัย ทําใหรูจักการทําตนเปนผูอยูใตบังคับบัญชาของผูที่เปนหัวหนา หรือทําตนในฐานะเปน ผูบังคับบัญชาเปนแบบอยางที่ดีได ซึ่งจะนําประโยชนมาใหตน ท้ังในดานสวนตัวและหนาที่ การงาน วนิ ัยมีความจําเปนอยางยิ่งที่สรางและสงเสริม เยาวชนจะไดเปนพลเมืองที่มีคุณภาพ ตั้งแตยังอยูในเยาววัยเม่ือเติบใหญจะเปนกําลังสําคัญชวยพัฒนาประเทศชาติใหเจริญรุงเรือง สืบไป 1.1 ความหมายของวนิ ยั และความเปน ระเบยี บเรยี บรอย วนิ ัยและความเปน ระเบยี บเรยี บรอย หมายถึง การกระทาํ หรอื งดเวนการกระทํา ตามระเบยี บ กฎเกณฑ ขอบงั คบั สาํ หรับควบคุมความประพฤติทางกาย วาจา ของคนในสังคม ใหเรียบรอยดีงาม เปนแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อการอยูรวมกันดวยความสุขสบาย ไมกระทบกระทั่งซึง่ กันและกนั วนิ ยั และความเปนระเบียบเรียบรอยชวยใหคนในสังคมหางไกล ความชัว่ ทั้งหลาย สามารถอยรู วมกันเปนหมูเหลา ถาขาดวินัยและความเปนระเบียบเรียบรอย ตางคนตางทําตามอําเภอใจ ความขัดแยงและลักลั่นก็จะเกิดข้ึน ยิ่งมากคนก็ยิ่งมากเร่ือง ไมมีความสงบสุข การงานทที่ าํ กจ็ ะเสยี ผล วินัย มี 2 ประการ ก. วินยั ภายนอก ซ่งึ เกิดจากการใหกระทําหรอื งดเวน การกระทําในการฝกอบรม ตองเขมงวดตามลักษณะ หรือกิจการแตละประเภท เพื่อที่จะใหปฏิบัติจนเกิดลักษณะนิสัย วินัยภายนอกไมยั่งยืนอยูไดนาน หากวาผูท่ีไมพอใจก็อาจละเลย หรือวางเฉย เมื่อไมมีการ กําหนดไว หรือไมมีใครรูเ หน็ ข. วินัยภายใน เปนท่ีพึงประสงคเพราะเปนวินัยท่ีจะปฏิบัติดวยความเต็มใจ เพราะเห็นคณุ คาการฝก อบรมจงึ ตองเนนหนกั ในการสรา งวินยั ภายในดว ยการกวดขันการประพฤติ ปฏบิ ัติอยา งจริงจงั และตอ เน่อื ง วินัยภายในเปนสง่ิ ที่ตองการใหมอี ยูในทุกตวั ตน 1.2 ความสําคญั ของวินยั และความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ย ความสาํ คญั ของวนิ ัยในตนเองมอี ยา งนอย 2 ประการ ประการที่หน่ึง เหตุผลเกี่ยวกับประโยชนสวนตัวแตละบุคคล ในเร่ืองการ แสวงหาความรู เน่ืองจากปจจุบันมีอยูมากมาย ไมอาจบรรจุไวในหลักสูตรไดหมดแตละคน จึงควรแสวงหาความรูดวยตนเอง นอกเหนือจากท่ีปรากฏในหลักสูตรของสถานศึกษา ฉะนั้น

79 จึงจําเปนตองฝกใหมีการควบคุมตนเอง มีความเฉลียวฉลาด และมีความเปนอิสระ เพ่ือจะได แสวงหาความรเู พิ่มเติมใหมากท่สี ดุ ประการที่สอง ชุมชนจะเจริญและมีความมั่นคงย่ังยืนตอไปได จะตองอาศัย พลเมืองแตละคนทําความดีและเสยี สละใหแกช ุมชน ไมแสวงหาประโยชนสว นตวั เทา นัน้ ลักษณะของผมู ีวินยั ในตนเอง พฤตกิ รรมของผมู ีวนิ ยั ในตนเอง มดี งั นี้ 1) มคี วามเชอ่ื อํานาจภายในตนเอง 2) มคี วามเปนผนู ํา 3) มีความรบั ผดิ ชอบ 4) ตรงตอ เวลา 5) เคารพตอ ระเบียบกฎเกณฑท ั้งตอหนาและลบั หลงั ผูอ น่ื 6) มคี วามซือ่ สตั ยส ุจรติ 7) รจู กั หนา ที่และกระทําตามหนาท่ีเปนอยางดี 8) รจู ักเสียสละ 9) มีความอดทน 10) มีความตั้งใจเพยี รพยายาม 11) ยอมรบั ผลการกระทําของตน กิจกรรมทายเร่อื งที่ 1 วินัยและความเปนระเบยี บเรียบรอ ย (ใหผูเรียนไปทาํ กิจกรรมทา ยเรอื่ งที่ 1 ที่สมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า) เรื่องที่ 2 ผลกระทบจากการขาดวินัยและขาดความเปน ระเบียบเรียบรอ ย การท่ีบุคคลขาดวนิ ยั และความเปนระเบียบเรียบรอยในตนเองมีผลทําใหขาดวินัย ความเปนระเบียบเรียบรอยทางสังคมไปดวยวินัยในตนเองเปนพ้ืนฐานของการควบคุมตัวเอง ใหมีวินัยทางสังคมการมีวินัยในตนเองจึงเปนสิ่งที่ควรไดรับการสงเสริมเพื่อเปนพื้นฐานของ การควบคุมตนเองซ่ึงจะนําไปสูการสรางวินัยทางสังคม การมีวินัยจึงถือเปนพ้ืนฐานในการ ดําเนินกิจกรรมในสังคมและการรวมกันอยูของกลุมการปลูกฝงวินัยจะทําใหบุคคลยอมรับ กฎเกณฑท่ีสังคมกําหนดและวินัยยังเปนวัฒนธรรมทางสังคมซ่ึงจะทําใหเด็กเรียนรูพฤติกรรม ที่สังคมยอมรับทําใหพัฒนาตนเองสูความเปนผูใหญที่สามารถควบคุมตนเองไดมีมโนธรรมที่ดี และมีความมนั่ คงทางอารมณ ดว ยเหตุนีก้ ารปลูกฝง ความมีวนิ ัยในตนเองใหแกคนในชาติเพื่อสราง ความเจริญรุงเรืองแกบานเมืองน้ันควรเริ่มตนที่เยาวชนโดยใหประพฤติและฝกฝนจนเปนนิสัย เพื่อจะไดเปน ผูใหญท ีม่ ีวินัยในอนาคต

80 วินัยที่ดีเกิดจากความรักความเล่ือมใสศรัทธา เด็ก ๆ ยอมเชื่อฟงและเคารพ เล่อื มใสผทู ีฉ่ ลาดกวาตน มีอายมุ ากกวา ตน รูปรางใหญก วาตน ผกู ํากับลกู เสือจงึ เปน กญุ แจดอก สําคญั ในการสรา งสมวนิ ยั ใหเ กิดขนึ้ ในตัวเดก็ ผกู ํากับลกู เสอื จงึ ตอ งวางตัวใหด ที สี่ ดุ มีบุคลิกภาพ ที่นานับถือ ย้ิมแยมแจมใสพูดจากชัดถอยชัดคํา เด็กก็จะเกิดความสนใจ รักใครนับถือนิยม ชมชอบและเลือ่ มใสศรทั ธา เด็กกจ็ ะใหความรวมมอื ในอันที่จะปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑตาง ๆ ซ่ึงผล ที่สุด การปฏิบัติตามคําสั่งหรือปฏิบัติตัวใหอยูในระเบียบวินัยของลูกเสือก็จะดูเปนของงาย และผูกาํ กบั ลูกเสอื ก็ควรจะกวดขนั ในเร่ืองวินัย และการเชื่อฟงปฏิบัติตามคําสั่งดวยความรวดเร็ว และเครง ครดั แมใ นเรื่องเลก็ ๆ นอย ก็ไมค วรปลอยเลยไป กองลกู เสอื ใดมรี ะเบยี บวนิ ัยท่ีดีแลว กองลูกเสือน้ันก็จะมีความสุข ประสบผลสําเร็จ ในกิจการตาง ๆ ไดโ ดยงาย สง่ิ ท่จี ะชวยทาํ ใหลกู เสือไดมรี ะเบียบวนิ ัยทีด่ ี ไดแก 1. การใชค ําสงั่ ใหป ฏบิ ัตอิ ยา งงาย ๆ เปนคําสง่ั ตรง ๆ มีจุดหมายที่แนนอน ไมใช เปนคําสัง่ ทเี่ กิดจากการขมขู 2. พธิ กี ารตา ง ๆ เพราะในพิธีการตา ง ๆ ทําใหล ูกเสืออยใู นอาการสาํ รวม 3. การตรวจในการเปดประชุมกองและปดประชุมกอง หรือการตรวจการอยู คา ยพกั แรมในตอนเชา เปนการชวยใหลูกเสือไดรักษามาตรฐานและระเบียบวินัยของกองลูกเสือ ใหมีระดบั ดีขน้ึ 4. เครอื่ งแบบมคี วามหมายสําหรับชอื่ เสียงของขบวนการกองลกู เสอื บคุ คลภายนอก เขาจะมองและตัดสินเราดวยสิ่งที่เขาเห็นเทาน้ัน ผูแตงเคร่ืองแบบจะตองสํารวมกิริยาวาจา ไมกระทาํ การใดทจี่ ะทําใหเ ส่ือมเสยี 5. การอยคู า ยพักแรมตองทาํ งานรวมกนั อยา งมีประสิทธภิ าพ 6. การเดินทางไกล ไดรับความเหนด็ เหนือ่ ย ตองอดทน เห็นใจซึง่ กนั และกัน 7. ระเบยี บแถว เปนวิธกี ารฝก ท่ีจะตอ งใหปฏิบตั ิตามคาํ บอกคาํ สั่ง 8. สง่ิ แวดลอ มทมี่ องเหน็ เปน แบบอยางท่ีจะกระทาํ ตาม 9. ตัวอยางท่ีดีของผูกํากับเปนเรื่องสําคัญที่สุดท่ีลูกเสือจะเกิดศรัทธายึดถือ เปนแบบอยาง กจิ กรรมทายเรอ่ื งท่ี 2 ผลกระทบจากการขาดวนิ ัย และขาดความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ย (ใหผ ูเรียนไปทํากจิ กรรมทา ยเรอื่ งท่ี 2 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)

81 เร่ืองที่ 3 แนวทางการเสรมิ สรา งวนิ ัยและความเปน ระเบยี บเรียบรอ ย การจะพัฒนาวินัยในตนเองจะตองเริ่มตนตั้งแตเด็กในวัยทารกและใหแรงจูงใจ ทางจรยิ ธรรมแกเด็กทีโ่ ตแลว การพัฒนาวินัยในตนเองจะตอ งอาศัยความรวมมือจากสถาบันตาง ๆ ท่แี วดลอ มตัวเดก็ และตอ งใชว ธิ กี ารกระตุนหรอื พฒั นาวินัยในตนเองของเดก็ อยา งเหมาะสมดวย วิธีการพฒั นาวนิ ัยในตนเอง 1. สรางวนิ ัยดวยการทาํ ใหเ ปน พฤตกิ รรมเคยชิน สรางวินัยดวยการทําใหเปนพฤติกรรมเคยชิน วิธีฝกวินัยท่ีดีท่ีสุดตองอาศัย ธรรมชาติของมนุษยท่ีดําเนินชีวิตกันดวยความเคยชินเปนสวนใหญ แลวก็ยึดม่ันในความ พึงพอใจในพฤติกรรมที่เคยชินนั้น การฝกคนตองใชความสามารถและตองมีระบบตอง สอดคลอ งกับธรรมชาติใหเกดิ พฤติกรรมเคยชนิ ถอื วา ตองสรางวินัยใหเ ปนพฤติกรรมเคยชนิ 2. การสรา งวินัยโดยใชปจ จัยอนื่ ชวยเสริม วินัยจะทําใหเกิดความสุขและประพฤติปฏิบัติดวยความพึงพอใจ โดยใช ปจจัยอยางอื่นมาชวยอีกก็ได เชน มีกัลยาณมิตร วินัยก็เกิดไดงาย มีศรัทธาและความรักเปน องคประกอบเสริม ในการสรางวินยั จากพฤติกรรมท่ีเคยชนิ คอื 2.1 เปนตนแบบทด่ี ขี องพฤติกรรม (ศีล) 2.2 มคี วามรัก ทาํ ใหเกดิ ความอบอนุ มคี วามเปนกันเองพรอ มศรทั ธาและ ความสขุ (จติ ใจ) 2.3 มเี หตุมีผล เขาใจเหตุผลและเหน็ คณุ คา ในสง่ิ ที่ทํา (ปญ ญา) 2.4 สรางวินัยดวยแรงหนุนของสภาพจิตใจ คือ การตั้งเปนอุดมคติในจิตใจ ทําใหใจมีความฝกใฝมุงมั่นอยางแรง มีเปาหมายอยางแรง เปนอุดมคติ ใฝตั้งใจจริงปฏิบัติตาม วนิ ัยมีความภูมใิ จรกั ษาวินยั 3. สรางวนิ ัยโดยใชกฎเกณฑบงั คับ การสรางวินัยโดยใชกฎหมาย หรือกฎเกณฑบังคับควบคุมโดยมีการลงโทษ วธิ ีนี้กส็ รางวินัยได บางครั้งไดผลแตเมื่อกฎเกณฑน้ันไมบีบบังคับรุนแรงเกินไป และมีชวงเวลา ยาวพอทจ่ี ะใหคนผานเขาสูความเคยชินจนเขาไมรูตัว พอกลายเปนความเคยชินไปแลวก็เขาสู กฎธรรมชาติตามวธิ ีแรก คือเปนวินัยพ้ืนฐานที่เกิดขึ้นโดยการสรางพฤติกรรมเคยชินมันกลายเปน เรื่องของความเคยชินตามธรรมชาติที่มารับทอดจากการใชอํานาจบีบบังคับ อันน้ันตางหาก ทไ่ี ดผล 4. การเสรมิ สรา งวินยั ในตนเอง วนิ ัยนนั้ เกย่ี วขอ งกับความสมั พันธร ะหวา งมนุษยกบั มนษุ ย และความสัมพันธ ระหวา งมนุษยกับธรรมชาติ สังคมมนุษยจําเปนตองมีวินัยเพื่อทําใหเกิดระบบระเบียบ ซึ่งเปน ปจ จัยสําคญั ในการสรางความสงบสุข และความเจริญกาวหนาแกชีวิตและสังคม วินัยน้ันกอน อ่นื ตอ งเริ่มจากตนเองกอ นเปนอันดับแรก

82 วินัยในตนเอง หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการควบคุมอารมณและ พฤติกรรม โดยเกิดจากความรูสึกมองเห็นคุณคาในการปฏิบัติดวยตนเอง มิไดเกิดจากอิทธิพล ภายนอก เชน ระเบยี บ คาํ ส่งั การบังคบั ถึงแมจ ะมีอุปสรรคก็ยงั ไมเ ปลี่ยนพฤติกรรมนั้น กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 3 แนวทางการเสริมสรางวินยั และความเปน ระเบียบเรียบรอย (ใหผูเรยี นไปทํากิจกรรมทายเรอ่ื งท่ี 3 ทส่ี มุดบันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา) เรื่องท่ี 4 ระบบหมูลูกเสอื ระบบหมูลูกเสือเปนการเสริมสรางวินัยและความเปนระเบียบเรียบรอยในการ ทํางาน และการปฏิบตั ิภารกิจของสมาชกิ ภายในหมู กอง กลุม เพ่ือความกาวหนาของสวนรวม ดวยความเต็มใจและพอใจของสมาชกิ ทุกคนนายหมูลูกเสือทุกคนจะดูแลสมาชิกภายในหมูของ ตนเอง เปนการกระจายอํานาจ และแบง หนา ท่กี ันรบั ผดิ ชอบตามระบอบประชาธิปไตย การจัดหนา ทภ่ี ายในหมลู กู เสอื 1. นายหมลู กู เสือ ทําหนา ทีเ่ ปนผนู ําของหมู ดูแลสมาชิกภายในหมู 2. รองนายหมลู กู เสือ ทาํ หนา ที่ชว ยนายหมู ชว ยดแู ลสมาชกิ ภายในหมู 3. พลาธิการ ทําหนาท่ีดูแลวัสดุ อุปกรณ บัญชีตาง ๆ และความเปน ระเบียบเรียบรอ ย 4. คนครัว ทําหนาทแี่ มค รัว จัดทาํ เตา หลุมเปยก หลุมแหง ที่ลา ง และควํา่ จาน 5. ผชู วยคนครวั ทําหนา ทชี่ วยแมค รวั ทกุ ประการ 6. คนหาฟน ทําหนา ท่จี ดั หาเชอ้ื เพลงิ หาฟน เก็บฟน ไมใ หเ ปย กฝน 7. คนหาน้าํ ทําหนา ที่จดั หาน้ํา สําหรับประกอบอาหาร น้ําด่ืม นํ้าใช 8. ผูช ว ยเหลือทัว่ ไป ทําหนา ที่ชว ยงานคนอ่นื ๆ พัฒนาท่พี ัก กําจัดขยะ ทาํ ราวตากผา (ถามี 8 คนขึ้นไป ใหเพม่ิ ผูชว ยคนหาฟน หาน้ําหรือตําแหนง อน่ื ๆ ตามความ เหมาะสม) ใหแ ตล ะคนรบั รบู ทบาทในการทํางานภายในหมู ใชระบบหมู ฝกและพัฒนาการ เปน ผูนํา - ผูต าม รบั ฟงความคดิ เห็น และการยอมรบั ซ่ึงกันและกัน กิจกรรมลกู เสือ มหี ลกั การสงเสรมิ ประชาธิปไตย โดยสมาชิกทุกคนสามารถพูด สามารถแสดงออกไดเสมอ เชน การเลอื กเลนเกม เพลง การทําความดี การทํากิจกรรมที่นาสนใจ เปน ตน การประชุมนายหมู หมายถึง การประชุมนายหมูทุกหมู โดยมีหัวหนานายหมู เปนประธานในทีป่ ระชมุ ใหน ายหมูน าํ มติหรอื ขอตกลงจากท่ปี ระชุมไปแจง แกล กู หมู

83 การประชุมลูกหมู หมายถึง การประชุมภายในหมู โดยมีนายหมูเปนประธาน ในทปี่ ระชมุ นายหมจู ะเปนผูกระตุนใหทุกคนพูดคุย เสนอความคิด แสดงเหตุผลในเรื่องตาง ๆ เชน เสนอวา จะทํากจิ กรรมอะไร ไปทํากจิ กรรมที่ไหน ใครมีหนาทอ่ี ะไร เปน ตน การพบหมู แตกตางจากการประชุมหมู เพราะจะนัดพบเฉพาะหมูของตนเอง เพ่ือนดั หมายไปทํากิจกรรมเพอ่ื แสดงความสามารถ การพบกันของสมาชิกจะประสบความสําเร็จ คอื การใหโอกาสทกุ คนเปน ผนู าํ บทบาทหนา ทข่ี องนายหมแู ละรองนายหมู บทบาทหนา ท่ีของนายหมูและรองนายหมู แตละหมูจะมีการเลือกนายหมูและ รองนายหมู ตามระบอบประชาธิปไตย การเลือกต้ังนายหมูควรมีการสับเปลี่ยนใหสมาชิกคนอ่ืน มโี อกาสเปน นายหมแู ละรองนายหมู เพอ่ื เปนการเปลี่ยนกันทํางาน และฝก ความรับผดิ ชอบ ในฐานะผนู าํ บทบาทของนายหมแู ละรองนายหมู มีดังน้ี 1. บรหิ ารงานในหมู 2. ใหค าํ ปรึกษาแกสมาชกิ 3. เปน ผูนําในการประชุม 4. แบงงานใหส มาชกิ ทํา 5. เปน ตัวแทนในการประชมุ กับหมอู ่ืนๆ 6. แจงผลการประชุม 7. ชวยเหลือสมาชกิ 8. จดบันทกึ เหตุการณทสี่ าํ คญั ๆ ของหมู ศึกษาบทบาทการทําหนาท่ขี องนายหมู ชว ยเหลือนายหมใู นการดูแลสมาชิก และปฏบิ ตั หิ นา ท่ีเม่ือนายหมูไ มอ ยู ระบบหมูเปนการฝกใหสมาชิกไดรวมกันทํางานอยางเปนระบบ สรางวินัยและ ความเปนระเบียบเรียบรอยโดยยึดหลักประชาธิปไตย มีนายหมูและรองนายหมูเปนผูนํา มีการ ประสานงานกนั เปนอยางดที ัง้ ในหมขู องตนเองและหมูอ ื่นๆ มีการรวมแสดงความคิดเห็น การมี สวนรว มในการบรหิ ารงานหมูตลอดจนการชวยเหลือเกือ้ กูลกนั กิจกรรมทายเรอื่ งท่ี 4 ระบบหมลู กู เสือ (ใหผ ูเรยี นไปทาํ กจิ กรรมทายเรือ่ งท่ี 4 ท่ีสมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)

84 เรอื่ งที่ 5 การพฒั นาภาวะผูนาํ - ผตู าม ผูนาํ และภาวะผนู ํา หมายถึง บุคคลท่ีไดร ับการแตงต้ัง หรือไดรับการยกยองให เปนผูตัดสินใจ และสามารถนําพาสมาชิกในกลุมรวมมือกันปฏิบัติภารกิจดวยความเต็มใจ จรงิ ใจ เพอ่ื ใหภาระงานลุลว งไปดวยดี ลักษณะของผนู าํ ทด่ี ี ประกอบดวย 1. มีนํ้าใจจะพฒั นามุงเปลย่ี นแปลงคุณภาพชีวติ ใหด ีขึน้ 2. มคี วามเชอื่ ม่ันในตนเอง 3. เปน ผูที่รกั การทํางานรว มกับสมาชกิ ภายในหมูและกอง 4. เปน ผทู เี่ รียนรสู ่ิงใหม ๆ และยอมรับเอาแนวความคิดและเทคโนโลยี ใหม ๆ มาใช 5. มบี คุ ลิกลักษณะของการเปนผูนาํ 6. มคี วามคิดริเริม่ สรา งสรรค มองเหน็ ความตอ งการของกลมุ 7. เปน ผูเ สียสละมงุ ทาํ ประโยชนตอสว นรวม 8. เปน ผูทีม่ ีความสามารถในการรวมกลุม 9. เปน ผทู ีม่ คี วามสามารถในการประสานงานกับหมูอ่ืน ๆ 10. เปนผูท ี่มคี วามสนใจตองาน 11. เปน ผูเขา ใจในขบวนการเปลย่ี นแปลง 12. เปนผทู มี่ ีมนษุ ยสมั พันธทด่ี ี คณุ สมบตั ขิ องผนู าํ ทีด่ ี ผนู ําทด่ี ีควรจะประกอบดว ยคณุ สมบัตทิ สี่ ําคัญ ดังน้ี 1. มีความรู การเปนผูนําน้ัน ความรูเปนสิ่งจําเปนที่สุด เพราะจะเปน เครอื่ งมือชวยรักษาสถานการณต าง ๆ ไดเ ปน อยา งดี 2. มีความคิดริเริ่ม ความคิดริเริ่มคือความตองการท่ีจะปฏิบัติส่ิงใด สิ่งหนง่ึ โดยไมตอ งมีคําสง่ั และแสดงขอ คดิ เหน็ ทีจ่ ะแกไขสิ่งใดสิง่ หน่ึงใหด ขี ึ้นหรอื เจริญข้ึน 3. มีความกลาหาญ ความกลาหาญคือลักษณะอาการที่ไมกลัวตออันตราย ความลําบากหรือความเจ็บปวดใด ๆ โดยสามารถควบคุมความกลัวไวได ความกลาหาญนี้จะตองมี ท้งั ทางกาย วาจา และจิตใจจงึ จะปฏิบัติเปนผูนาํ ที่ดไี ด 4. มีความเดด็ ขาด ความเด็ดขาดหรือความสามารถที่จะตัดสินใจหรือ ตกลงใจไดท ันทีเมอ่ื ตกลงสง่ั การใด ๆ แลว จะสัง่ ไดอยางเด็ดขาด สน้ั และชดั เจน 5. มคี วามแนบเนียน ความแนบเนยี น คอื ความสามารถที่จะตอ งติดตอ เกี่ยวของ หรือมคี วามสัมพันธก บั ผูอ ่ืน ดวยกิริยาอาการและวาจาที่ถูกตองเหมาะสม โดยไมทํา ใหผูท่เี ราตดิ ตอ ดวยเกดิ ความกระดา งกระเด่อื งหรอื ไมพ อใจแกต นได

85 6. มีความยตุ ธิ รรม ความยตุ ิธรรมคอื การปฏิบัติตนใหถูกตองตามความ ยตุ ิธรรมและศีลธรรม วางตนเปนกลางไมเอนเอียง ในการท่ีจะกอใหเกิดประโยชนหรือโทษตอ ผูหน่งึ ผูใดความยตุ ิธรรมนคี้ อื ความเทยี่ งตรงนัน่ เองและไมเกย่ี วกับความยุติธรรมทางกฎหมาย 7. ทาทาง ทาทาง คือ การแสดงออก ซ่ึงรูปรางลักษณะของรางกายท่ี ตอ งประสงค มกี ริ ิยาอาการและเครอื่ งแตง กายท่ถี ูกตอ งเหมาะสม 8. มีความอดทน ความอดทน คือ ความสามารถของรางกายและ ความคิดจิตใจที่อดทนตอการปฏิบัติกิจการหรือหนาที่อยางใดอยางหนึ่งที่สมเหตุสมผลหรือ หนาที่อยางใดอยางหน่ึงที่สมเหตุสมผลใหตอเนื่องและบรรลุผลสําเร็จ ความอดทนน้ีเปนพลัง อนั หน่งึ ที่จะผลักดนั งานของเราไปสจู ุดหมายปลายทางไดอยา งแทจริง 9. มีความกระตือรือรน ความกระตือรือรน คือ การมีจิตใจจดจอที่ดี และมีความเอาใจใสตอหนาที่หรือกิจการที่จะตองปฏิบัติอยูเสมอซ่ึงเปนคุณสมบัติที่จะใหเรา ตดิ ตอกับบุคคลอน่ื ไดง า ย นอกจากน้ีความกระตอื รอื รนยงั ชว ยใหกจิ การตา ง ๆ ของหนวยสําเร็จ ลลุ ว งไปดว ยดี 10. มคี วามไมเ ห็นแกตวั ความไมเ ห็นแกตัว คือ การขจัดเสียซ่ึงความสุข หรือผลประโยชนแหง ตน โดยทค่ี นอนื่ กลับเสียประโยชน ซึ่งก็หมายความวาเปนการขมขืนหรือ บังคับ ความโลภ ความหลงและความอยากไดของตนเอง คนที่ไมเห็นแกตัวน้ันยอมเปนคนที่มี ความซือ่ สัตย สจุ รติ ตรงไปตรงมาและไมทําลายผูอ น่ื 11. มีความตืน่ ตวั ความต่ืนตัว คือ ความระมัดระวัง ความสุขุมรอบคอบ ความไมป ระมาท ไมยดื ยาด ทําอะไรทันทที ันควันและมคี วามวองไวปราดเปรียวอยเู สมอ 12. มคี วามชงั่ ใจ (ดลุ พินจิ ) คือ อํานาจแหงความคิดที่สามารถพิจารณา ส่งิ ตา ง ๆ หรือเหตตุ าง ๆ อยา งถูกตอ ง โดยช่งั นํา้ หนกั เหตุผลนน้ั ๆ และสรปุ เปนขอ ๆ ลงความเห็น หรือขอตกลงใจอนั เฉยี บแหลม 13. มีความสงบเสงี่ยม ความสงบเสง่ียม คือ ความไมห ยิ่งยโส จองหอง และไมม ีความภูมิใจในสง่ิ ท่ไี รเ หตุผล 14. มคี วามเห็นอกเห็นใจ ความเห็นอกเห็นใจ คือ คุณสมบัติประจําตัว อันเปน แบบอยางของมนษุ ย คอื ตองประกอบดวยความเมตตาปราณี ความกรุณา ความสงสาร ความเห็นอกเห็นใจผูอ่ืนในลักษณะที่ไมเสียผลประโยชนของสวนรวม อันเปนการแบงเบา ความรสู ึกของผทู อ่ี ยรู ว มกัน 15. มีความจงรักภักดี ความจงรักภักดี คือ สภาพหรือคุณสมบัติ ประจาํ ตัวของการเปนบุคคลทีซ่ ่ือสัตยสุจริตและซ่อื ตรงตอผอู น่ื ตอหนา ที่ ตอรัฐน่ันเอง การเปน ผนู ํานน้ั จาํ เปน ตอ งมคี วามจงรักภกั ดีตอ หมูคณะหรือสว นรวม ท้งั นีเ้ พือ่ ความไววางใจ

86 16. มีการสังคมที่ดี การสังคมท่ีดี คือ การมีบุคลิกภาพที่จะเขาสังคม ไดอยางถูกตอง หมายความวา การที่เราเปนผูนําที่ดีน้ันจะตองปรับตัวเองใหคบคาสมาคมกับ เพ่อื นมนษุ ยด วยกันอยา งถกู ตอ งแนบเนียน และตองพยายามศึกษาปรับตนใหเขากับสังคมตาง ๆ ทเี่ ราจะไปติดตอใหไ ดและถูกตองอกี ดวย 17. มกี ารบังคับตนเอง การบังคับตนเอง คือ การบังคับจิตใจโดยผาน ทางอารมณซ ่งึ รับมาจากประสาทท้ัง 5 เพื่อมิใหแสดงออกซึง่ กริ ิยาอาการตาง ๆ ที่ไมเหมาะสมแก ผูอ่ืนไดการบังคับตนเองน้ันนับวาเปนส่ิงสําคัญมากของผูนํา เพราะตลอดเวลาผูนํามักจะเปน เปาสายตาของผรู ว มงานอยเู สมอ ผตู าม และภาวะผตู าม ผตู าม หมายถงึ ผูปฏิบัติงานในองคการที่มีหนาที่และความรับผิดชอบท่ีจะตอง รับคาํ ส่ังจากผูบ ังคับบัญชามาปฏบิ ตั ใิ หสาํ เรจ็ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค คุณลกั ษณะพฤติกรรมของผตู าม 5 แบบ มีดังน้ี 1) ผตู ามแบบหา งเหิน ผตู ามแบบน้ีเปน คนเฉอ่ื ยชาแตม ีความเปนอิสระและ มคี วามคดิ สรา งสรรคส งู ผูตามแบบหางเหินสว นมากเปนผูตามทมี่ ีประสทิ ธผิ ล มีประสบการณ และผานอุปสรรคมากอ น 2) ผตู ามแบบปรบั ตาม ผตู ามแบบน้ี เรยี กวา ผูตามแบบครับผม เปนผูทม่ี ี ความกระตือรอื รน ในการทาํ งาน แตขาดความคดิ สรางสรรค 3) ผูตามแบบเอาตัวรอด ผูต ามแบบน้ีจะเลือกใชลักษณะผตู ามแบบใดข้ึนอยูกบั สถานการณทจี่ ะเออ้ื ประโยชนก ับตวั เองใหม ากทส่ี ดุ และมคี วามเสยี่ งนอ ยทส่ี ดุ 4) ผตู ามแบบเฉื่อยชา ผูตามแบบนีช้ อบพงึ่ พาผูอืน่ ขาดความอิสระ ไมมี ความคิดรเิ ร่มิ สรางสรรค 5) ผตู ามแบบมปี ระสทิ ธผิ ล ผตู ามแบบน้ีเปน ผูที่ทีความต้ังใจในการปฏิบัติงาน สูงมคี วามสามารถในการบริหารจัดการงานไดดวยตนเอง กจิ กรรมทายเรื่องท่ี 5 การพฒั นาภาวะผูนาํ – ผตู าม (ใหผูเ รียนไปทํากิจกรรมทายเร่ืองที่ 5 ที่สมุดบนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นรูประกอบชดุ วิชา)

87 หนวยการเรียนรทู ่ี 6 ลูกเสือ กศน.กบั การพฒั นา สาระสําคญั การลูกเสือไทย ไดถือกําเนิดโดยองคพระมหากษัตริยไทย ในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจา อยหู วั รัชกาลท่ี 6 ซึ่งมคี วามเจริญรุดหนา อยางมีคุณคา และ สมเดจ็ พระเจาอยหู ัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 มีพระบรมราโชบาย ดา นการศึกษากบั ความมน่ั คง มีพระราชประสงคเ ห็นคนไทยมวี ินัย รูหนาที่ มีความรับผิดชอบ สราง วนิ ัยโดยกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ดังน้ัน สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยสํานักงาน กศน. ซึง่ เปนหนวยงานหลกั ในการสงเสรมิ การศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน มีความตระหนักและ เหน็ คณุ คาของกิจการลกู เสือ ซึ่งเปนพระราชมรดกอันลํ้าคาย่ิงท่ีพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา- เจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 ไดพระราชทานไวใหแกปวงชนชาวไทย จึงไดนอมนํากิจการลูกเสือ กระบวนการลูกเสอื รวมท้ังเนอ้ื หาความรูตา ง ๆ ทเ่ี ก่ียวของกบั การลกู เสือมาเปนหลักในการจัด กิจกรรม สงเสริมประสบการณใหผูเรียน กศน. ในฐานะท่ีเปนลูกเสือ กศน. ใหมีทักษะชีวิต สามารถดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุข สามารถนําอุดมการณ คําปฏิญาณและกฎของ ลูกเสอื มาใชใ นชวี ิตประจําวัน มีระเบียบวินัย มีคุณธรรมจริยธรรม และมีความสงางามในการ ดํารงตนใหเปนพลเมืองดี มีจิตสาธารณะการใหบริการ และบําเพ็ญประโยชนตอชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตัวช้ีวดั 1. อธบิ ายความเปนมา และความสําคัญของลกู เสือ กศน. 2. อธิบายลกู เสือ กศน. กบั การพฒั นา 3. ระบบุ ทบาทหนา ท่ขี องลกู เสือ กศน. ทมี่ ตี อตนเอง ครอบครวั ชุมชน และสังคม 4. ระบุบทบาทหนา ที่ของลูกเสือ กศน. ทมี่ ตี อ สถาบันหลักของชาติ ขอบขา ยเนอื้ หา เรื่องท่ี 1 ลกู เสอื กศน. 1.1 ความเปนมาของลกู เสอื กศน. 1.2 ความสําคัญของลกู เสอื กศน. เรอ่ื งที่ 2 ลูกเสือ กศน. กบั การพฒั นา เรือ่ งที่ 3 บทบาทหนา ท่ีของลูกเสือ กศน. ท่มี ีตอ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสงั คม เรือ่ งท่ี 4 บทบาทหนา ท่ีของลกู เสือ กศน. ท่มี ีตอสถาบนั หลักของชาติ