Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ งานฝึกฝีมือ 1

แผนการจัดการเรียนรู้ งานฝึกฝีมือ 1

Published by aunyodwarit, 2018-09-17 00:01:37

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ งานฝึกฝีมือ 1

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ วิชา งานฝึกฝีมอื 1 โดย นายยศวรศิ เพ่ิมบุญ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห3์ 1สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 1

รายการตรวจสอบและอนุญาตใหใ้ ช้ ชอ่ื วชิ า งานฝกึ ฝีมอื 1 รหัสวชิ า 2100-1003 ควรอนุญาตใหใ้ ชก้ ารสอนได้ ควรปรับปรุงเกี่ยวกับ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ..................................................... (.......................................................) หัวหน้าหมวด / แผนกวิชา ............../......................../.................... เหน็ ควรอนญุ าตใหใ้ ชก้ ารสอนได้ ควรปรับปรุงดงั เสนอ อืน่ ๆ . ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ..................................................... (.......................................................) รองผู้อานวยการฝา่ ยวิชาการ ............../......................../.................... อนญุ าตให้ใช้การสอนได้ อนื่ ๆ .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ..................................................... (.......................................................) ผู้อานวยการ ............../......................../.................... 2

คานา แผนการจัดการเรียนรู้ วิชางานฝึกฝีมือ 1 รหัส 2100-1003 เล่มน้ี จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยเน้นให้ผู้เรียนมีสมรรถนะในการปฏิบัติงานตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ของสานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร แผนการจัดการเรียนรู้นี้ มีด้วยกันทั้งหมด 13 หน่วยการเรียน ประกอบด้วย ความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน เครือ่ งมอื ทั่วไปในงานช่างอตุ สาหกรรม งานวดั และตรวจสอบ งานเลื่อย งานตะไบ งานร่างแบบงานสกัด งานเจาะ งานทาเกลียว งานเครื่องมือกลเบ้ืองต้น งานลับคมตัด งานประกอบและงานหล่อเบื้องต้น โดยครูผู้สอนควรใช้ควบคู่กับหนังสือเรียน วิชางาน ฝึกฝีมือ 1 (2100-1003) ที่เรียบเรียงโดยครูอานาจ ทองแสน และฝ่ายวิชาการศูนย์หนงั สอื เมอื งไทย หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนกากรจัดการเรียนรู้เล่มนี้ จะสามารถให้ความรู้และเกิดประโยชน์แก่ผู้สอนผู้เรียน ตลอดจนผู้สนใจศึกษาทั่วไปเป็นอย่างดี หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้เรียบเรียงและฝ่ายวิชาการศูนยห์ นังสือเมืองไทย ขอนอ้ มรับคาติชมเพ่ือประโยชนใ์ นการปรบั ปรงุ แกไ้ ขในโอกาส ตอ่ ไป ยศวริศ เพ่มิ บุญ 3

สารบญั หนา้ 3คานา 4สารบัญ 5หลกั สตู รรายวชิ า 6หน่วยการเรียนรู้ 10โครงการจัดการเรียนรู้ 11สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ 21ตารางวเิ คราะหห์ ลักสตู รรายวชิ า 34แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ าน 38แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 เครือ่ งมือพืน้ ฐานในงานชา่ งอุตสาหกรรม 41แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 งานวดั และตรวจสอบ 45แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 4 งานเลื่อย 49แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 งานตะไบ 53แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 งานตะไบ 56แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 7-8 งานตะไบ 59แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 9 งานรา่ งแบบ 63แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 10 งานสกัด 66แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 งานเจาะ 70แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 12 งานทาเกลยี ว 74แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 13 งานเครื่องมือกลเบ้ืองต้น 78แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14-15 งานเครื่องมือกลเบ้ืองต้น 82แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 16 งานลบั คมตัด 86แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 17 งานลบั คมตดั 90แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 18 งานประกอบ 94แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 19 งานหลอ่ เบ้ืองตน้4

หลักสูตรรายวชิ า ชื่อวชิ า งานฝกึ ฝีมอื 1 รหัสวิชา 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น ปวช.จดุ ประสงค์รายวิชา (Objective of Subject) 1. ร้แู ละเขา้ ใจเกย่ี วกบั การใช้ การบารงุ รักษาเคร่ืองมือและเครอ่ื งมือกลเบอื้ งตน้ 2. ปฏบิ ตั ิงานโดยใชเ้ ครื่องมือได้อยา่ งถูกต้องและปลอดภยั 3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการทางานด้วยความอดทน ปลอดภัย ผลงานประณีต เรียบร้อย ละเอียดรอบคอบ เป็นระเบียบ สะอาด ตรงต่อเวลามีความซ่ือสัตย์ รับผิดชอบ และรักษา สภาพแวดลอ้ มสมรรถนะรายวิชา (Competency of Subject) 1. เตรยี มเครื่องมือและเครอ่ื งมือกลเบ้ืองต้นตามคู่มอื 2. วัดและร่างแบบช้นิ งานโลหะ 3. แปรรูปและประกอบชิ้นงานโลหะด้วยเคร่ืองมอื กลทั่วไป 4. ลบั คมตัดเคร่อื งมือกลท่ัวไป 5. หลอ่ ชิ้นงานตามแบบกาหนดคาอธบิ ายรายวชิ า (Explanation of Subject) ปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ การบารุงรักษาเครื่องมือและเคร่ืองมือกลเบ้ืองต้น งานวัดและตรวจสอบงานร่างแบบ งานเล่ือย งานสกัด งานตะไบ งานเจาะ งานลับคมตัด งานทาเกลียว งานเครื่องมือกลเบ้อื งตน้ งานหลอ่ เบือ้ งตน้ และการประกอบช้ินงาน ส่งิ แวดล้อมและความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 5

หนว่ ยการเรยี นรู้ ชือ่ วิชา งานฝึกฝีมอื 1 รหัสวชิ า 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ช้นั ปวช.หน่วยที่ ชอื่ หน่วย จานวน ทมี่ า คาบ ABCDE 21 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน   1.1 นิยามศพั ท์ด้านความปลอดภยั 2   1.2 ความสูญเสียทเี่ กิดขึ้นจากอุบัติเหตุ  1.3 ประเภทของอุบตั เิ หตุ 6   1.4 สาเหตขุ องการเกิดอุบัติเหตุในการปฏบิ ัติงาน  1.5 แนวปฏิบัติเก่ียวกบั ความปลอดภัยในการ ปฏบิ ัตงิ าน  1.6 หลักการป้องกันอุบัติเหตุจากการปฏบิ ัติงาน 1.7 หลกั ในการปฏิบัตงิ านให้เกิดความปลอดภยั  1.8 สแี ละสัญลักษณเ์ ครื่องหมายความปลอดภยั 2 เคร่ืองมอื พ้นื ฐานในงานช่างอุตสาหกรรม 2.1 เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์จับยดึ  2.2 เครือ่ งมอื สาหรบั การเคาะ 2.3 เครอื่ งมือสาหรับการถอดและการประกอบ  2.4 เครื่องมอื สาหรับ บีบ ตัดและล็อกชิน้ งาน 2.5 เครื่องมือสาหรับตัดงานโลหะแผน่  2.6 การบารงุ รักษาเครื่องมอื ในงานชา่ ง อุตสาหกรรม  3 งานวดั และตรวจสอบ   3.1 ความหมายของเครอื่ งมอื วดั และการวัดขนาด 3.2 มาตรฐานการวัดความยาว  3.3 เครื่องมอื วดั และตรวจสอบในงานชา่ ง อุตสาหกรรม            6

หน่วยที่ ชอื่ หน่วย จานวน ที่มา คาบ ABCDE 3.4 การใชเ้ ครือ่ งมือวดั และตรวจสอบในงานชา่ ง  อุตสาหกรรม 64 งานเลอ่ื ย 4.1 ความหมายของการเล่อื ย  4.2 การเลอ่ื ยดว้ ยเล่ือยมือ 4.3 การเลือ่ ยดว้ ยเครื่องเล่ือยกลแบบชัก 5 งานตะไบ   5.1 ความหมายของการตะไบ 5.2 สว่ นประกอบของตะไบ 24  5.3 คมตัดของตะไบ 5.4 ชนดิ และการใช้งานของตะไบ  5.5 การปฏิบัตงิ านตะไบ 5.6 เทคนิคการตะไบผิวราบ  5.7 การทาความสะอาดและการบารงุ รักษาตะไบ 6 งานรา่ งแบบ 6.1 ความหมายของการร่างแบบ   6.2 วัตถุประสงค์ของการร่างแบบ 6.3 เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ในงานรา่ งแบบ   6.4 วิธีการร่างแบบ 6.5 ตวั อยา่ งการร่างแบบ  7 งานสกัด   7.1 ความหมายของการสกัด 7.2 ชนิดของสกัด 6 7.3 คมตัดของสกัด 7.4 การปฏิบัติงานสกัด  7.5 ความปลอดภยั ในการใชส้ กดั 8 งานเจาะ 8.1 ความหมายของการเจาะ     6        6  7

หน่วยที่ ชอื่ หน่วย จานวน ท่มี า คาบ ABCDE 8.2 จุดมงุ่ หมายในการเจาะ  8.3 ชนิดเคร่ืองเจาะ หน้าทีแ่ ละสว่ นประกอบของ  เคร่ืองเจาะ 8.4 เครือ่ งมอื และอปุ กรณ์ในงานเจาะ  8.5 ความเรว็ ในงานเจาะ 8.6 ขน้ั ตอนการเจาะรูด้วยเครอ่ื งเจาะ  8.7 ความปลอดภัยการใช้เครื่องเจาะตัง้ พนื้ 8.8 การบารงุ รักษาเครื่องเจาะต้งั พ้ืน  9 งานทาเกลยี ว 9.1 การทาเกลียวใน  9.2 การทาเกลียวนอก10 งานเครอื่ งมือกลเบ้ืองตน้   10.1 ความหมายของงานกลึง 10.2 เครื่องกลงึ ยันศนู ย์ 6 10.3 มดี กลงึ 10.4 ความเรว็ รอบ ความเร็วตัด อัตราปอ้ น และ  ความลกึ ของการป้อนตดั ในงานกลงึ   10.5 ความปลอดภัยในการใช้เคร่ืองกลึง 10.6 การบารงุ รักษาเคร่ืองกลึง 18 11 งานลับคมตัด 11.1 เคร่ืองเจยี ระไนต้ังพื้น  11.2 เครื่องมือวัดและตรวจสอบคมตัด 11.3 การลับมีดกลึงปอกขวา   11.4 การลับมดี กลงึ ปาดหนา้ 11.5 การลับดอกสว่าน  11.6 การลับสกัด12 งานประกอบ  12.1 ความหมายของการประกอบ    12          6  8

หน่วยที่ ช่อื หน่วย จานวน ท่มี า คาบ ABCDE 12.2 ชนดิ ของการประกอบ 12.3 หลักการเบื้องตน้ ของการประกอบ 6 13 งานหลอ่ เบ้ืองตน้  13.1 หลกั การของการหล่อโดยใชท้ รายทา   แบบหล่อ 13.2 เครื่องมอื และอุปกรณพ์ นื้ ฐาน   13.3 กระสวน  13.4 ระบบจ่ายน้าโลหะ   13.5 การหล่อโดยใช้ทรายทาแบบหลอ่  ปฐมนเิ ทศ 2 ทดสอบปลายภาคเรียน 2 ปัจฉิมนเิ ทศ 2 108 รวมหมายเหตุ A = หลกั สูตรรายวิชา B = ประสบการณ์ของตนเอง C = สอบถามจากผูเ้ ชี่ยวชาญ D = ตาราหรือเอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง E = อินเทอรเ์ นต (Internet) 9

โครงการจดั การเรยี นรู้ ช่อื วิชา งานฝึกฝมี ือ 1 รหัสวชิ า 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ชั้น ปวช.สปั ดาหท์ ี่ หนว่ ยท่ี ช่ือหนว่ ย/รายการสอน จานวนคาบ 1 2 1 ปฐมนเิ ทศ 2 1 2 2 1 ความปลอดภยั ในการปฏิบัติงาน 6 3 6 4-7 2 เครือ่ งมอื พืน้ ฐานในงานช่างอตุ สาหกรรม 24 8 6 9 3 งานวัดและตรวจสอบ 6 10 6 11 4 งานเล่ือย 6 18 12 - 14 5 งานตะไบ 12 15 - 16 6 6 งานร่างแบบ 4 17 2 18 7 งานสกดั 2 18 108 18 8 งานเจาะ 9 งานทาเกลยี ว 10 งานเครือ่ งมือกลเบ้ืองตน้ 11 งานลับคมตดั 12 งานประกอบ 13 งานหล่อเบ้ืองต้น สอบปลายภาค ปจั ฉิมนิเทศ รวม 10

สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์การปฏิบัติชอ่ื วชิ า งานฝึกฝมี อื 1 รหัสวชิ า 2100-1003ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับชนั้ ปวช. ชื่อเรือ่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติหน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในการปฏบิ ัติงาน สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 1.1 นยิ ามศพั ท์ด้านความปลอดภยั แสดงความรู้เก่ียวกับความปลอดภยั ในการ 1.2 ความสญู เสียท่ีเกดิ ข้ึนจากอุบัติเหตุ ปฏิบัตงิ านตามค่มู อื 1.3 ประเภทของอุบตั ิเหตุ 1.4 สาเหตุของการเกดิ อุบตั เิ หตุใน จุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives) ด้านความรู้ การปฏิบัตงิ าน 1. บอกความหมายของนยิ ามศัพท์ ด้านความ 1.5 แนวปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับความปลอดภยั ใน ปลอดภยั ได้ 2. อธบิ ายความสญู เสยี ทีเ่ กิดขึน้ จากอุบตั ิเหตไุ ด้ การปฏิบตั ิงาน 3. ระบปุ ระเภทของอบุ ัตเิ หตุได้ 1.6 หลกั การป้องกันอบุ ตั เิ หตุจาก 4. ระบสุ าเหตขุ องการเกดิ อบุ ตั เิ หตใุ น การปฏบิ ตั งิ านได้ การปฏบิ ัตงิ าน 5. อธิบายแนวปฏิบตั เิ ก่ียวกบั ความปลอดภยั 1.7 หลักในการปฏบิ ัติงานใหเ้ กดิ ความ ในการปฏบิ ัติงานได้ 6. อธบิ ายหลักการป้องกันอบุ ตั ิเหตุจาก ปลอดภยั การปฏบิ ตั งิ านได้ 1.8 สีและสญั ลกั ษณเ์ คร่อื งหมายความ 7. อธิบายหลกั ในการปฏบิ ตั งิ านให้เกิดความ ปลอดภยั ได้ ปลอดภัย 8. อธิบายสีและสญั ลกั ษณ์เคร่อื งหมายความ ปลอดภัยได้หนว่ ยท่ี 2 เครื่องมอื พน้ื ฐานในงานชา่ ง สมรรถนะย่อย (Element of Competency)อตุ สาหกรรม แสดงความรเู้ ก่ยี วกับเครือ่ งมือพน้ื ฐานในงานช่าง 2.1 เครื่องมือและอปุ กรณ์จบั ยดึ อุตสาหกรรมตามคมู่ ือ 2.2 เคร่อื งมือสาหรับการเคาะ 2.3 เครื่องมือสาหรับการถอดและการประกอบ จุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives) 2.4 เคร่ืองมือสาหรบั บบี ตัดและล็อกชน้ิ งาน ด้านความรู้ 2.5 เคร่อื งมอื สาหรับตดั งานโลหะแผน่ 1. ระบชุ ่อื และหน้าทีข่ องอปุ กรณ์จบั ยดึ ได้ 11

ชอ่ื เรอื่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ 2.6 การบารุงรกั ษาเครือ่ งมอื ในงานชา่ ง 2. ระบุชื่อและหน้าทข่ี องเครอ่ื งมอื สาหรบัอตุ สาหกรรม การเคาะได้หน่วยที่ 3 งานวดั และตรวจสอบ 3. ระบชุ ือ่ และหนา้ ที่ของเครื่องมอื สาหรบั 3.1 ความหมายของเคร่อื งมอื วัดและ การวัดขนาด การถอดและการประกอบได้ 3.2 มาตรฐานการวดั ความยาว 4. ระบุชอ่ื และหน้าทขี่ องเครอ่ื งมือสาหรับ บีบ 3.3 เคร่อื งมอื วดั และตรวจสอบในงาน ช่างอตุ สาหกรรม ตัดและล็อกชิน้ งานได้ 3.4 การใชเ้ คร่อื งมือวัดและตรวจสอบ 5. ระบชุ ื่อและหน้าทขี่ องเครอ่ื งมือสาหรับ ในงานช่างอุตสาหกรรม ตัดงานโลหะแผน่ ได้ 6. บารงุ รกั ษาเคร่ืองมอื พน้ื ฐานที่ใชใ้ นงาน ช่างอตุ สาหกรรมได้ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความรเู้ กยี่ วกบั งานวัดและตรวจสอบ ตามคู่มือ จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ด้านความรู้ 1. บอกความหมายของเครื่องมือวัดและการ วดั ขนาดได้ 2. อธบิ ายมาตรฐานหนว่ ยวัดความยาวระบบ เมตรกิ ระบบอังกฤษ และระบบเอสไอ (SI Units) ได้ 3. เปรียบเทยี บมาตรฐานหนว่ ยวัดความยาว ระบบเมตริก ระบบอังกฤษ และระบบเอสไอได้ 4. บอกชอื่ เคร่อื งมอื วัดแบบมีสเกลและไม่มี สเกลได้อยา่ งน้อยประเภทละ 5 ชือ่ 5. อธบิ ายการแบง่ สเกลของเวยี ร์เนียรค์ าลิเปอร์ วดั ละเอียด 1/50 mm และ 1/1,000 น้ิวได้ 6. อ่านค่าเวยี รเ์ นยี รค์ าลเิ ปอร์วดั ละเอยี ด 1/50 mm และ 1/1,000 น้ิว ได้ 7. อธิบายวิธีการใช้งานเวอรเ์ นยี รไ์ ฮเกจได้ 8. อธบิ ายวิธีการแบง่ สเกลของไมโครมเิ ตอร์ วัดละเอียด 1/100 mm และ 1/10000 นิว้ ได้ 12

ชื่อเรอ่ื ง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ 9. อา่ นคา่ ไมโครมิเตอรว์ ัดละเอยี ด 1/100 mmหน่วยท่ี 4 งานเล่ือย 4.1 ความหมายของการเล่ือย และ 1/1,000 น้ิวได้ 4.2 การเลื่อยด้วยเลอ่ื ยมือ 10. บารุงรักษาเครอื่ งมือวัดและตรวจสอบได้ 4.3 การเล่ือยดว้ ยเครือ่ งเล่ือยกลแบบชกั สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)ใบงานท่ี 1 โครงซี – แคลม็ ป์ แสดงความรเู้ กี่ยวกับงานเลอื่ ยตามคมู่ อื (หมายเลขแบบ BWT-02-01) จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives)ใบงานที่ 2 เกลยี วส่งกาลัง ดา้ นความรู้ (หมายเลขแบบ BWT-02-02) 1. บอกความหมายของการเลื่อยได้ 2. บอกชือ่ และหนา้ ที่ของสว่ นประกอบเลอื่ ยมอื ได้ใบงานท่ี 3 แขนหมุน 3. อธิบายวธิ กี ารจบั ชน้ิ งานเลอ่ื ยได้ (หมายเลขแบบ BWT-02-03) 4. อธบิ ายวธิ กี ารยนื เลอ่ื ยได้ 5. อธิบายวิธีการเลื่อยดว้ ยเลือ่ ยมอื ได้ใบงานที่ 4 ปลอกยดึ แขนหมนุ 6. บอกชอ่ื และหน้าทีข่ องสว่ นประกอบของ (หมายเลขแบบ BWT-02-04) เคร่อื งเลื่อยกลแบบชักได้ 7. อธิบายวิธกี ารเลอื่ ยด้วยเคร่ืองเล่อื ยกลแบบใบงานท่ี 5 แป้นยึด ชกั ได้ (หมายเลขแบบ BWT-02-05) 8. บารงุ รักษาเลือ่ ยมอื และเคร่ืองเลอ่ื ยกลแบบ ชกั ได้ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) แสดงความรูเ้ กย่ี วกับงานเล่อื ยตามค่มู ือ จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives) ด้านทกั ษะ 1. เลือกใช้ใบเลื่อยมอื และใบเลอื่ ยกลแบบชัก ไดเ้ หมาะสมกับวสั ดชุ ้นิ งานท่ีจะนามาเล่ือย 2. จับยดึ ชน้ิ งานเลื่อยไดถ้ ูกต้องและเหมาะสม กบั รปู ทรงของวสั ดทุ จ่ี ะนามาเล่ือยได้ 3. ปฏิบตั งิ านเลอ่ื ยช้นิ งานด้วยเล่ือยมอื ได้ 4. ปฏิบตั งิ านเลอ่ื ยมือได้อย่างปลอดภยั 5. บารงุ รกั ษาเลอ่ื ยมือและเครอ่ื งเลือ่ ยกลแบบ ชักได้ 13

ชื่อเรอื่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏิบัติหนว่ ยที่ 5 งานตะไบ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 5.1 ความหมายของการตะไบ แสดงความรเู้ ก่ียวกับงานตะไบตามคูม่ ือ 5.2 สว่ นประกอบของตะไบ 5.3 คมตัดของตะไบ จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives) 5.4 ชนดิ และการใชง้ านของตะไบ ดา้ นความรู้ 5.5 การปฏบิ ัตงิ านตะไบ 1. บอกความหมายของการตะไบได้ 5.6 เทคนคิ การตะไบผิวราบ 2. บอกชือ่ ส่วนประกอบของตะไบได้ 5.7 การทาความสะอาดและการบารงุ รกั ษา 3. อธิบายมุมของคมตดั ตะไบได้ 4. อธบิ ายชนดิ ของมมุ คมตดั หลกั กับคมตัดรอง ตะไบ ของตะไบคมตดั คู่ได้ 5. บอกชนิดของตะไบที่มีใชง้ านในปัจจุบนั ได้ใบงานที่ 6 โครงซี - แคล็มป์ 6. อธบิ ายวธิ ีการเลือกความสูงของโต๊ะปากกา (หมายเลขแบบ BWT-02-01) สาหรับตะไบ วิธีการจับตะไบ วิธีการยืนตะไบ ได้ 7. การออกแรงกดตะไบ เทคนคิ การตะไบ และ วธิ กี ารทาความสะอาดและการบารงุ รักษา ตะไบได้ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) แสดงความรเู้ กี่ยวกับงานตะไบตามค่มู ือ จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives) ดา้ นทักษะ 1. เลอื กตะไบมาใช้งานได้ 2. ประกอบตะไบเข้ากับดา้ มจับได้ 3. เลือกความสูงโตะ๊ ปากกาได้ 4. จบั ช้นิ งานตะไบได้ 5. จับตะไบได้ 6. ยนื ปฏิบตั ิงานตะไบได้ 7. ออกแรงในการกดตะไบได้ 6. ยนื ปฏิบตั งิ านตะไบได้ 7. ออกแรงในการกดตะไบได้ 8. ทาความสะอาดตะไบได้ 9. ตะไบผวิ ช้นิ งานได้ราบเรยี บ 14

ช่ือเรื่อง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิหนว่ ยท่ี 6 งานรา่ งแบบ 10. ปฏิบตั งิ านตะไบดว้ ยความปลอดภัย สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 6.1 ความหมายของการรา่ งแบบ แสดงความรเู้ กีย่ วกับงานร่างแบบตามคมู่ ือ 6.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการร่างแบบ 6.3 เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ในงานรา่ งแบบ จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives) 6.4 วิธกี ารร่างแบบ ด้านความรู้ 6.5 ตัวอย่างการรา่ งแบบ 1. บอกความหมายของการร่างแบบได้ 2. บอกวตั ถุประสงคข์ องการร่างแบบได้ใบงานท่ี 7 โครงซี - แคล็มป์ 3. บอกช่ือ หน้าท่ีของเครื่องมือและอปุ กรณ์ (หมายเลขแบบ BWT-02-01) ในงานร่างแบบได้ 4. อธิบายวิธกี ารรา่ งแบบได้หนว่ ยท่ี 7 งานสกดั 7.1 ความหมายของการสกัด สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 7.2 ชนดิ ของสกดั แสดงความรเู้ กยี่ วกับงานรา่ งแบบตามคมู่ อื 7.3 คมตัดของสกดั 7.4 การปฏบิ ัติงานสกัด จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance Objectives) 7.5 ความปลอดภัยในการใชส้ กัด ดา้ นทกั ษะ 1. ร่างแบบลงบนชนิ้ งานได้ใบงานที่ 7 โครงซี - แคล็มป์ 2. ใช้เคร่ืองมอื และอปุ กรณใ์ นงานร่างแบบได้ (หมายเลขแบบ BWT-02-01) เหมาะสมกับชน้ิ งาน สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) แสดงความรเู้ ก่ยี วกับงานสกดั ตามคูม่ ือ จุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives) ดา้ นความรู้ 1. บอกความหมายของการสกดั ได้ 2. ระบชุ ่ือชนดิ ของสกดั ได้ 3. อธบิ ายลักษณะรปู รา่ งคมตดั ของสกัดได้ 4. อธบิ ายวิธีการจับสกัดได้ 5. อธิบายวิธีการจับชน้ิ งานสกดั ได้ 6. บอกความปลอดภยั ในการใชส้ กัดได้ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความรู้เกยี่ วกับงานสกัดตามคมู่ ือ 15

ช่ือเรือ่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ จุดประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives)หน่วยท่ี 8 งานเจาะ 8.1 ความหมายของการเจาะ ดา้ นทกั ษะ 8.2 จดุ มุ่งหมายในการเจาะ 1. จับชนิ้ งานสกดั ได้ 8.3 ชนิดเครอ่ื งเจาะ หนา้ ทแ่ี ละสว่ นประกอบ 2. สกัดชิ้นงานได้ ของเครอ่ื งเจาะ 3. ปฏบิ ัตงิ านสกัดดว้ ยความปลอดภัย 8.4 เครอ่ื งมอื และอปุ กรณใ์ นงานเจาะ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 8.5 ความเร็วในงานเจาะ แสดงความรู้เกีย่ วกับงานเจาะตามคู่มือ 8.6 ขัน้ ตอนการเจาะรดู ว้ ยเครอ่ื งเจาะ 8.7 ความปลอดภยั การใชเ้ ครอ่ื งเจาะตัง้ พ้นื จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives) 8.8 การบารุงรักษาเคร่อื งเจาะตง้ั พนื้ ดา้ นความรู้ 1. บอกความหมายของงานเจาะได้ใบงานที่ 7 โครงซี - แคล็มป์ 2. บอกชนดิ ของเคร่ืองเจาะได้ (หมายเลขแบบ BWT-02-01) 3. บอกหน้าทสี่ ่วนประกอบของเครอ่ื งเจาะ ต้ังพื้นได้หนว่ ยท่ี 9 งานทาเกลียว 4. บอกชอื่ หน้าทข่ี องเครอื่ งมอื และอุปกรณ์ 9.1 การทาเกลยี วใน ในงานเจาะได้ 9.2 การทาเกลยี วนอก 5. คานวณความเร็วรอบในงานเจาะได้ 6. บอกความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองเจาะ ต้งั พ้ืนได้ 7. อธิบายการปรบั ความเร็วรอบของเครอ่ื งเจาะได้ 8. อธบิ ายขัน้ ตอนการเจาะรูดว้ ยเคร่อื งเจาะได้ 9. อธบิ ายวิธีการบารุงรกั ษาเคร่อื งเจาะตง้ั พ้ืนได้ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความรู้เก่ยี วกบั งานเจาะตามคู่มอื จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives) ดา้ นทกั ษะ 1. ตอกนาศนู ย์ได้ 2. เจาะรูชิน้ งานได้ถูกต้องตามแบบ 3. ปฏิบตั งิ าน งานเจาะได้อย่างปลอดภัย สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความรเู้ กย่ี วกับงานทาเกลยี วตามคู่มือ 16

ช่ือเรื่อง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)ใบงานท่ี 8 โครงซี - แคลม็ ป์ (หมายเลขแบบ BWT-02-01) ด้านความรู้ 1. อธิบายลักษณะของฟนั ดอกตา๊ ปเกลยี วหนว่ ยท่ี 10 งานเครื่องมอื กลเบือ้ งตน้ 10.1 ความหมายของงานกลึง ดอกที่ 1–3 ได้ 10.2 เคร่ืองกลงึ ยนั ศูนย์ 2. คานวณหาขนาดรูเจาะก่อนตา๊ ปเกลยี วได้ 10.3 มีดกลงึ 3. คานวณหาขนาดรเู จาะก่อนตา๊ ปเกลียวได้ 10.4 ความเร็วรอบ ความเร็วตัด อัตราปอ้ น 4. บอกวิธกี ารจับช้นิ งานต๊าปเกลียวดว้ ยปากกาได้ และความลึกของการป้อนตัดในงานกลึง 5. อธิบายขนั้ ตอนการต๊าปเกลียวได้ 10.5 ความปลอดภัยในการใชเ้ ครื่องกลงึ 6. คานวณหาขนาดเพลากอ่ นดายเกลียวได้ 10.6 การบารุงรักษาเครอ่ื งกลงึ 7. อธิบายขน้ั ตอนการดายเกลยี วได้ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) แสดงความรเู้ กี่ยวกบั งานทาเกลยี วตามคมู่ ือ จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ด้านทักษะ 1. เตรยี มเครอื่ งมอื และอปุ กรณ์ทาเกลยี วในได้ 2. จับยดึ ชน้ิ งานดว้ ยปากกาจบั งานเพ่ือทา เกลียวในได้ 3. ประกอบ–ถอดดอกตา๊ ปเข้ากบั ดา้ มจบั ได้ 4. หมนุ กดดอกตา๊ ปเพ่ือทาเกลยี วในได้ 5. ตรวจความฉากและปรบั ดอกต๊าปใหไ้ ดฉ้ าก กับผิวช้ินงาน 6. ตรวจสอบเกลียวในได้ 7. ปฏบิ ัติงานทาเกลยี วในไดอ้ ย่างปลอดภยั สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความรู้เก่ยี วกับงานเครื่องมือกลเบอ้ื งตน้ ตามคมู่ ือ จุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives) ดา้ นความรู้ 1. บอกความหมายของงานกลงึ ได้ 2. บอกชือ่ และหนา้ ที่ของส่วนประกอบของ เครอ่ื งกลงึ ไดอ้ ย่างนอ้ ย 5 ชื่อ 3. บอกชอื่ และชนิดของมดี กลงึ ได้อย่างนอ้ ย 3 ช่ือ 17

ช่ือเรอ่ื ง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ 4. อธบิ ายคุณลกั ษณะของมมุ มดี กลึงได้ใบงานที่ 13 งานกลึงปาดหนา้ กลงึ ปอก และงาน 5. คานวณความเร็วรอบ ความเรว็ ตัด และอัตรา ดายเกลยี ว เกลียวส่งกาลัง (หมายเลขแบบ BWT-02-02) ปอ้ นงานกลงึ ได้ 6. บอกความปลอดภยั ในการใชเ้ คร่ืองกลงึ ได้ใบงานที่ 14 งานกลงึ ปาดหน้าและกลงึ ปอกแขน หมุน (หมายเลขแบบ BWT-02-03) อย่างนอ้ ย 5 ขอ้ 7. อธบิ ายวธิ ีการบารุงรกั ษาเคร่อื งกลงึ ได้ใบงานท่ี 15 งานกลงึ ปาดหน้าและงานเจาะรูปลอก สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ยึดแขนหมุน แสดงความรูเ้ ก่ยี วกบั งานเครอ่ื งมอื กลเบ้ืองต้น (หมายเลขแบบ BWT-02-04) ตามคู่มือใบงานท่ี 16 งานกลงึ ปาดหน้า งานกลงึ เรยี วและ จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives) งานเจาะรแู ป้นยดึ ดา้ นทักษะ (หมายเลขแบบ BWT-02-05) 1. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์สาหรบั งานกลึงได้ 2. ปฏบิ ตั งิ านกลึงได้ตามแบบส่งั งานหน่วยที่ 11 งานลบั คมตดั 3. ปฏิบตั ิงานกลึงได้อยา่ งปลอดภัย 11.1 เครื่องเจยี ระไนตงั้ พนื้ 4. เตรียมเคร่ืองมอื และอปุ กรณส์ าหรับงานเจาะได้ 11.2 เครอ่ื งมอื วดั และตรวจสอบคมตัด 5. ปฏบิ ัตงิ านเจาะไดต้ ามแบบสั่งงาน 11.3 การลบั มดี กลึงปอกขวา 6. ปฏิบตั งิ านเจาะได้อย่างปลอดภยั 11.4 การลบั มีดกลงึ ปาดหนา้ 7. เตรียมเครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์สาหรบั งาน ทาเกลียวได้ 8. ทาเกลยี วนอกและเกลยี วในไดต้ ามแบบสงั่ งาน 9. ปฏบิ ัตงิ านทาเกลียวไดอ้ ย่างปลอดภยั 10. วัดและตรวจสอบขนาดด้วยเวอรเ์ นยี ร์ คาลิเปอร์ได้ 11. บารุงรักษาเคร่ืองกลึง และอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ในงานกลงึ ได้ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) แสดงความรู้เกีย่ วกับงานลบั คมตดั ตามค่มู ือ จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives) ดา้ นความรู้ 1. ระบชุ อื่ สว่ นประกอบของเครอ่ื งเจยี ระไน แบบตง้ั พ้ืนได้ 18

ชอ่ื เรอื่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏิบัติ 11.5 การลับดอกสว่าน 2. อธิบายหลักการทางานกบั เคร่อื งเจยี ระไน 11.6 การลบั สกดั แบบตั้งพนื้ ได้ใบงานท่ี 9 งานลบั มีดกลงึ ปอกขวา 3. อธิบายวิธีการบารุงรกั ษาเคร่ืองเจยี ระไนใบงานที่ 10 งานลบั มดี กลงึ ปาดหน้าใบงานท่ี 11 งานลบั ดอกสวา่ น แบบตัง้ พื้นได้ใบงานที่ 12 งานลับสกัด 4. บอกความปลอดภัยในการใชเ้ ครอื่ งเจียระไนหนว่ ยท่ี 12 งานประกอบ แบบตั้งพ้ืนได้ 12.1 ความหมายของการประกอบ 5. ระบชุ ื่อเคร่ืองมอื วดั และตรวจสอบคมตดั ได้ 12.2 ชนิดของการประกอบ 6. อธิบายขั้นตอนการลับมีดกลึงปอกขวาได้ 12.3 หลกั การเบือ้ งตน้ ของการประกอบ 7. บอกขอ้ ควรปฏบิ ัติในการลบั มดี กลงึ ปอกขวาได้ 8. อธิบายขน้ั ตอนการลบั มดี กลึงปาดหนา้ ได้ 9. อธบิ ายขน้ั ตอนการลบั ดอกสว่านได้ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) แสดงความรู้เก่ยี วกบั งานลบั คมตดั ตามคู่มอื จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives) ดา้ นทกั ษะ 1. ใชเ้ คร่ืองเจียระไนต้งั พนื้ ลับคมตดั ได้ 2. ลบั มีดกลงึ ปอกขวาได้ 3. ลบั มดี กลึงปาดหน้าได้ 4. ลบั ดอกสวา่ นได้ 5. ลบั คมตัดของสกัดปากแบนปลายคมตดั 60 องศาได้ 6. ปฏิบัตงิ านลับคมตัดได้อยา่ งปลอดภยั สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความรเู้ กยี่ วกับงานประกอบตามคูม่ ือ จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance Objectives) ดา้ นความรู้ 1. บอกความหมายของการประกอบได้ 2. บอกช่อื ชนิดของการประกอบได้ 3. อธิบายขั้นตอนการวางแผนการประกอบได้ 19

ชื่อเร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิใบงานที่ 17 ซี - แคล็มป์ (C - Clamp) สมรรถนะย่อย (Element of Competency) (หมายเลขแบบ BWT – 02) แสดงความรูเ้ ก่ยี วกบั งานประกอบตามคู่มือหน่วยท่ี 13 งานหลอ่ เบอ้ื งตน้ จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives) 13.1 หลกั การของการหล่อโดยใชท้ ราย ด้านทกั ษะ ทาแบบหล่อ 1. เตรียมเครอ่ื งมือในการประกอบได้ 13.2 เคร่ืองมอื และอปุ กรณ์พื้นฐาน 2. อา่ นแบบภาพประกอบและภาพแยกช้ินได้ 13.3 กระสวน 3. วางแผนการประกอบช้ินงานได้ 13.4 ระบบจา่ ยน้าโลหะ 4. ปฏิบตั ิงานประกอบไดอ้ ย่างปลอดภยั 13.5 การหลอ่ โดยใช้ทรายทาแบบหล่อ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความรู้เกย่ี วกบั งานหลอ่ เบือ้ งตน้ ตามค่มู อื จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance Objectives) ดา้ นความรู้ 1. อธบิ ายหลักการของการหลอ่ โดยใช้ทราย ทาแบบหลอ่ ได้ 2. บอกช่ือและหนา้ ที่ของเครื่องมือและอปุ กรณ์ ในการทาแบบหล่อทรายได้ 3. อธิบายคุณลักษณะของกระสวนได้ 4. อธบิ ายขอ้ แตกตา่ งของกระสวนแบบชิ้นเดียว และกระสวนแยกชนิ้ ได้ 5. อธบิ ายส่วนประกอบของระบบจา่ ยน้าโลหะได้ 6. อธบิ ายข้ันตอนการหลอ่ โดยใช้ทรายทาแบบ หลอ่ ได้ 20

ตารางวิเคราะหห์ ลกั สตู รรายวิชา ชือ่ วิชา งานฝกึ ฝีมือ 1 รหัสวิชา 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวช. พุทธิพสิ ยั พฤตกิ รรม ความ ูร้ความจา ความเข้าใจชอ่ื หนว่ ย ประยุก ์ต-นาไปใช้ ิวเคราะห์ สูงกว่า ัทกษะพิ ัสย จิตพิ ัสย รวม ลา ัดบความสาคัญหน่วยที่ 1 ความปลอดภยั ในการปฏบิ ัติงาน1.1 นยิ ามศัพท์ดา้ นความปลอดภยั 1 - - - - - - 111.2 ความสญู เสยี ท่ีเกดิ ขึ้นจากอบุ ตั ิเหตุ - 1 - - - - - 1 11.3 ประเภทของอบุ ตั เิ หตุ 1 - - - - - - 111.4 สาเหตุของการเกดิ อบุ ตั ิเหตุในการ 1 - - - - - - 11 ปฏิบัติงาน1.5 แนวปฏบิ ตั ิเก่ยี วกับความปลอดภัยใน - 1 - - - - - 11 การปฏิบัตงิ าน1.6 หลักการปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุจากการ - 1 - - - - - 11 ปฏบิ ตั ิงาน1.7 หลกั ในการปฏิบตั ิงานใหเ้ กดิ ความ - 1 - - - - - 11 ปลอดภยั รวม 3 4 - - - - - ลาดับความสาคญั 21- - - - -หมายเหตุ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะจะมีความ สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) ตามหลักสูตรเดิมเพียงแต่ รปู แบบการเขยี นต่างกันแตจ่ ุดหมายปลายทางเหมือนกนั 21

ตารางวเิ คราะห์หลกั สูตรรายวชิ า ชอ่ื วิชา งานฝึกฝีมอื 1 รหัสวิชา 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชัน้ ปวช. พุทธพิ สิ ยั พฤติกรรม ความ ูร้ความจา ความเข้าใจชอ่ื หน่วย ประยุก ์ต-นาไปใช้ ิวเคราะห์หนว่ ยท่ี 2 เครอ่ื งมือพน้ื ฐานในงานชา่ ง สูงกว่า อุตสาหกรรม ัทกษะพิ ัสย จิตพิ ัสย 2.1 เครอ่ื งมอื และอุปกรณจ์ ับยึด รวม 2.2 เครือ่ งมอื สาหรับการเคาะ ลา ัดบความสาคัญ 2.3 เคร่ืองมือสาหรับการถอดและการ 1 - - - - - - 11 ประกอบ 1 - - - - - - 11 2.4 เครอื่ งมือสาหรบั บีบ ตัดและลอ็ ก 1 - - - - - - 11 ช้ินงาน 1 - - - - - - 11 2.5 เครอ่ื งมอื สาหรับตัดงานโลหะแผน่ 1 - - - - - - 11 2.6 การบารุงรกั ษาเครื่องมือในงานชา่ ง - 1 - - - - - 11 51- - - - - อตุ สาหกรรม 12- - - - - รวม ลาดับความสาคัญหมายเหตุ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะจะมีความ สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) ตามหลักสูตรเดิมเพียงแต่ รปู แบบการเขียนต่างกนั แตจ่ ุดหมายปลายทางเหมือนกนั 22

ตารางวเิ คราะห์หลกั สตู รรายวิชา ชือ่ วิชา งานฝกึ ฝมี อื 1 รหัสวิชา 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวช. พทุ ธิพิสัย พฤติกรรม ความรู้ความจา ความเ ้ขาใจชอ่ื หน่วย ประยุกต์-นาไปใช้ ิวเคราะห์ สูงกว่า ทักษะพิสัย จิตพิสัย รวม ลาดับความสาคัญหน่วยที่ 3 งานวดั และตรวจสอบ3.1 ความหมายของเครือ่ งมอื วดั และการ 1 - - - - - - 13 วัดขนาด3.2 มาตรฐานการวัดความยาว - 1 - 1 - - - 223.3 เคร่ืองมอื วัดและตรวจสอบในงานช่าง 1 1 - - - - - 22 อุตสาหกรรม3.4 การใชเ้ ครื่องมือวัดและตรวจสอบใน - 31 - - - - 41 งานชา่ งอตุ สาหกรรม รวม 2 5 1 1 - - - ลาดับความสาคัญ 2133- - -หมายเหตุ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะจะมีความ สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) ตามหลักสูตรเดิมเพียงแต่ รูปแบบการเขยี นต่างกนั แตจ่ ดุ หมายปลายทางเหมือนกนั 23

ตารางวเิ คราะห์หลกั สูตรรายวชิ า ชือ่ วชิ า งานฝึกฝีมอื 1 รหัสวิชา 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช. พุทธพิ สิ ัย พฤตกิ รรม ความรู้ความจา ความเ ้ขาใจชื่อหนว่ ย ประยุกต์-นาไปใช้ ิวเคราะห์หนว่ ยที่ 4 งานเลื่อย สูงกว่า 4.1 ความหมายของการเล่ือย ทักษะพิสัย 4.2 การเลอ่ื ยด้วยเล่อื ยมือ ิจตพิสัย 4.3 การเล่อื ยด้วยเครื่องเลือ่ ยกลแบบชัก รวม รวม ลา ัดบความสาคัญ ลาดบั ความสาคัญ 1--- - - - 13 131 - - 1171 111 - - - - 32 342 - --- 213 - ---หมายเหตุ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะจะมีความ สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) ตามหลักสูตรเดิมเพียงแต่ รปู แบบการเขยี นต่างกันแต่จดุ หมายปลายทางเหมอื นกัน 24

ตารางวิเคราะหห์ ลกั สตู รรายวิชา ช่ือวชิ า งานฝกึ ฝมี ือ 1 รหัสวิชา 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวช. พุทธิพสิ ยั พฤตกิ รรม ความรู้ความจา ความเ ้ขาใจช่ือหน่วย ประยุกต์-นาไปใช้ ิวเคราะห์หนว่ ยที่ 5 งานตะไบ สูงกว่า 5.1 ความหมายของการตะไบ ทักษะพิสัย 5.2 ส่วนประกอบของตะไบ จิตพิสัย 5.3 คมตดั ของตะไบ รวม 5.4 ชนดิ และการใชง้ านของตะไบ ลาดับความสาคัญ 5.5 การปฏิบัตงิ านตะไบ 5.6 เทคนคิ การตะไบผิวราบ 1 - - - - - - 13 5.7 การทาความสะอาดและการบารุง 1 - - - - - - 13 รักษาตะไบ - 2 - - - - - 22 รวม 1 - - - - - - 13 ลาดบั ความสาคัญ - 2 - - - 1141 - 2 - - - 1141 - 1 - - - - - 13 37- - -22 21- - -33หมายเหตุ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะจะมีความ สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) ตามหลักสูตรเดิมเพียงแต่ รปู แบบการเขยี นตา่ งกนั แต่จดุ หมายปลายทางเหมือนกนั 25

ตารางวิเคราะหห์ ลกั สูตรรายวชิ า ชอื่ วชิ า งานฝกึ ฝีมือ 1 รหัสวชิ า 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้นั ปวช. พุทธพิ สิ ัย พฤติกรรม ความรู้ความจา ความเ ้ขาใจชือ่ หนว่ ย ประยุกต์-นาไปใช้ ิวเคราะห์ สูงกว่า ทักษะพิสัย จิตพิสัย รวม ลาดับความสาคัญหนว่ ยที่ 6 งานร่างแบบ6.1 ความหมายของการร่างแบบ 1 - - - - - - 116.2 วัตถปุ ระสงคข์ องการร่างแบบ 1 - - - - - - 116.3 เครอื่ งมือและอปุ กรณ์ในงานรา่ งแบบ 1 - - - - - - 1 16.4 วิธกี ารร่างแบบ 1 - - - - - - 116.5 ตวั อย่างการร่างแบบ --------- รวม 4 - - - - - - ลาดบั ความสาคญั 1- - - - - -หมายเหตุ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะจะมีความ สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) ตามหลักสูตรเดิมเพียงแต่ รปู แบบการเขยี นต่างกนั แต่จุดหมายปลายทางเหมอื นกัน 26

ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สูตรรายวิชา ชอ่ื วิชา งานฝกึ ฝีมือ 1 รหัสวิชา 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดับช้นั ปวช. พทุ ธพิ สิ ัย พฤติกรรม ความรู้ความจา ความเ ้ขาใจชือ่ หนว่ ย ประยุกต์-นาไปใช้ ิวเคราะห์หนว่ ยท่ี 7 งานสกัด สูงก ่วา 7.1 ความหมายของการสกดั ทักษะพิสัย 7.2 ชนดิ ของสกัด จิตพิสัย 7.3 คมตดั ของสกดั รวม 7.4 การปฏิบตั งิ านสกัด ลาดับความสาคัญ 7.5 ความปลอดภยั ในการใชส้ กดั รวม 1 - - - - - - 12 ลาดับความสาคัญ 1 - - - - - - 12 - 1 - - - - - 12 - 2 - - - 1141 1- - - - - - -- 33- - -11 11- - -22หมายเหตุ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะจะมีความ สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) ตามหลักสูตรเดิมเพียงแต่ รปู แบบการเขียนตา่ งกนั แตจ่ ดุ หมายปลายทางเหมอื นกัน 27

ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สูตรรายวชิ า ชอื่ วชิ า งานฝึกฝมี ือ 1 รหัสวิชา 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชนั้ ปวช. พุทธิพสิ ัย พฤติกรรม ความรู้ความจา ความเ ้ขาใจช่ือหน่วย ประยุกต์-นาไปใช้ ิวเคราะห์หนว่ ยท่ี 8 งานเจาะ สูงกว่า 8.1 ความหมายของการเจาะ ทักษะพิสัย 8.2 จุดมุ่งหมายในการเจาะ จิตพิสัย 8.3 ชนดิ เคร่อื งเจาะ หน้าท่ีและสว่ น รวม ประกอบของเครอ่ื งเจาะ ลาดับความสาคัญ 8.4 เคร่ืองมอื และอปุ กรณใ์ นงานเจาะ 8.5 ความเร็วในงานเจาะ 1 - - - - - - 13 8.6 ข้ันตอนการเจาะรูด้วยเครอื่ งเจาะ --------- 8.7 ความปลอดภยั การใชเ้ ครื่องเจาะ ตั้งพน้ื 3 - - - - - - 31 8.8 การบารงุ รกั ษาเครือ่ งเจาะตง้ั พื้น รวม 1 - - - - - - 13 ลาดบั ความสาคัญ - 1 - 1 - - - 22 - 1 - - - 1 - 22 1 - - - - - - 13 - 1 - - - - - 13 63 - 1 - 1 - 12 - 3 - 3 -หมายเหตุ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะจะมีความ สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) ตามหลักสูตรเดิมเพียงแต่ รปู แบบการเขียนตา่ งกนั แตจ่ ุดหมายปลายทางเหมอื นกัน 28

ตารางวิเคราะหห์ ลกั สตู รรายวิชา ชอ่ื วิชา งานฝึกฝีมือ 1 รหัสวิชา 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้นั ปวช. พทุ ธิพิสัย พฤตกิ รรม ความรู้ความจา ความเ ้ขาใจชอื่ หน่วย ประยุกต์-นาไปใช้ ิวเคราะห์หน่วยที่ 9 งานทาเกลียว สูงกว่า 9.1 การทาเกลยี วใน ทักษะพิสัย 9.2 การทาเกลยี วนอก จิตพิสัย รวม รวม ลาดบั ความสาคญั ลาดับความสาคัญ 12 - 3 - 1 - 71 - 1 - 1 - 1 - 32 13 - 4 - 2 - 42 - 1 - 3 -หมายเหตุ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะจะมีความ สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) ตามหลักสูตรเดิมเพียงแต่ รปู แบบการเขยี นตา่ งกันแตจ่ ดุ หมายปลายทางเหมือนกนั 29

ตารางวิเคราะหห์ ลกั สตู รรายวชิ า ชอื่ วิชา งานฝึกฝีมอื 1 รหัสวิชา 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ชั้น ปวช. พุทธิพสิ ยั พฤตกิ รรม ความรู้ความจา ความเ ้ขาใจชื่อหน่วย ประยุกต์-นาไปใช้ ิวเคราะห์ สูงกว่า ทักษะพิสัย จิตพิสัย รวม ลาดับความสาคัญหนว่ ยท่ี 10 งานเครอ่ื งมือกลเบ้ืองต้น10.1 ความหมายของงานกลึง 1 - - - - - - 1210.2 เคร่ืองกลงึ ยันศูนย์ 2 - - - - - - 2110.3 มดี กลงึ - 1 - - - - - 1210.4 ความเรว็ รอบ ความเร็วตัด อตั รา ปอ้ น และความลึกของการป้อนตดั - - - 1 - - - 1 2 ในงานกลึง10.5 ความปลอดภัยในการใช้เครือ่ งกลึง 1 - - - - 1 - 2 110.6 การบารุงรกั ษาเครื่องกลงึ - 1 - - - 1 - 21 รวม 4 2 - 1 - 2 - ลาดับความสาคัญ 12 - 3 - 2 -หมายเหตุ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะจะมีความ สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) ตามหลักสูตรเดิมเพียงแต่ รูปแบบการเขยี นต่างกนั แต่จุดหมายปลายทางเหมอื นกัน 30

ตารางวเิ คราะห์หลกั สูตรรายวชิ า ชื่อวชิ า งานฝึกฝมี ือ 1 รหัสวิชา 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชัน้ ปวช. พทุ ธพิ สิ ยั พฤติกรรม ความรู้ความจา ความเ ้ขาใจชอื่ หน่วย ประยุกต์-นาไปใช้ ิวเคราะห์หนว่ ยที่ 11 งานลบั คมตดั สูงกว่า 11.1 เครื่องเจียระไนตงั้ พน้ื ทักษะพิสัย 11.2 เคร่ืองมือวดั และตรวจสอบคมตัด จิตพิสัย 11.3 การลับมีดกลึงปอกขวา รวม 11.4 การลบั มีดกลงึ ปาดหน้า ลาดับความสาคัญ 11.5 การลับดอกสว่าน 11.6 การลับสกัด 22 - - - - - 41 รวม 1 - - - - - - 14 ลาดบั ความสาคญั 11 - - - 1 - 32 - 1 - - - 1 - 23 - 1 - - - 1 - 23 --------- 45- - -3- 21- - -3-หมายเหตุ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะจะมีความ สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) ตามหลักสูตรเดิมเพียงแต่ รปู แบบการเขียนต่างกนั แต่จดุ หมายปลายทางเหมือนกนั 31

ตารางวเิ คราะห์หลกั สูตรรายวชิ า ชอ่ื วิชา งานฝึกฝมี อื 1 รหัสวิชา 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้นั ปวช. พุทธพิ สิ ัย พฤตกิ รรม ความรู้ความจา ความเ ้ขาใจชอ่ื หน่วย ประยุกต์-นาไปใช้ ิวเคราะห์หนว่ ยท่ี 12 งานประกอบ สูงกว่า 12.1 ความหมายของการประกอบ ทักษะพิสัย 12.2 ชนิดของการประกอบ จิตพิสัย 12.3 หลักการเบื้องต้นของการประกอบ รวม รวม ลาดับความสาคัญ ลาดับความสาคญั 1 - - - - - - 12 1 - - - - - - 12 - 1 - - - 1 - 21 21- - -1- 12- - -2-หมายเหตุ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะจะมีความ สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) ตามหลักสูตรเดิมเพียงแต่ รปู แบบการเขยี นต่างกนั แต่จุดหมายปลายทางเหมอื นกัน 32

ตารางวิเคราะหห์ ลกั สูตรรายวชิ า ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมอื 1 รหัสวชิ า 2100-1003 ท.ป.น. 0-6-2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้นั ปวช. พทุ ธพิ สิ ัย พฤติกรรม ความรู้ความจา ความเ ้ขาใจชอื่ หนว่ ย ประยุกต์-นาไปใช้ ิวเคราะห์หน่วยท่ี 13 งานหลอ่ เบอ้ื งตน้ สูงกว่า 13.1 หลักการของการหลอ่ โดยใชท้ ราย ทักษะพิสัย ทาแบบหลอ่ จิตพิสัย 13.2 เคร่ืองมือและอุปกรณ์พ้ืนฐาน รวม 13.3 กระสวน ลาดับความสาคัญ 13.4 ระบบจ่ายน้าโลหะ 14.5 การหลอ่ โดยใชท้ รายทาแบบหล่อ - 1 - - - - - 12 รวม ลาดับความสาคญั 1 - - - - - - 12 - 2 - - - - - 21 - 1 - - - - - 12 - 1 - - - - - 12 15- - - - - 21- - - - -หมายเหตุ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะจะมีความ สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) ตามหลักสูตรเดิมเพียงแต่ รปู แบบการเขียนต่างกนั แตจ่ ดุ หมายปลายทางเหมอื นกัน 33

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 หน่วยท่ี 1ช่อื วิชา : งานฝกึ ฝมี ือ 1 เวลาเรยี นรวม 6 คาบช่อื หน่วย : ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน สอนครัง้ ท่ี 1/18ชื่อเรื่อง : นิยามศัพท์ด้านความปลอดภัย, ความสูญเสียท่ีเกิดข้ึนจากอุบัติเหตุ,ประเภทของอุบัติเหตุ, สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุในการปฏิบัติงาน, แนวปฏิบัติเก่ียวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน, หลักการป้องกันอุบัติเหตุจากการ จานวน 2 คาบปฏิบัติงาน, หลักในการปฏิบัติงานให้เกิดความปลอดภัย, สีและสัญลักษณ์เคร่อื งหมายความปลอดภัยหัวข้อเร่ือง 1.1 นิยามศัพท์ด้านความปลอดภัย 1.2 ความสูญเสยี ท่ีเกดิ ขน้ึ จากอุบัติเหตุ 1.3 ประเภทของอุบตั เิ หตุ 1.4 สาเหตุของการเกิดอบุ ัติเหตุในการปฏิบัตงิ าน 1.5 แนวปฏิบัตเิ กย่ี วกับความปลอดภัยในการปฏบิ ัติงาน 1.6 หลักการป้องกันอุบตั เิ หตจุ ากการปฏิบัติงาน 1.7 หลักในการปฏบิ ัติงานใหเ้ กดิ ความปลอดภยั 1.8 สแี ละสญั ลกั ษณเ์ ครือ่ งหมายความปลอดภัยสาระสาคัญ/แนวคดิ สาคัญ การปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยเป็นส่ิงสาคัญอย่างหน่ึงในการประกอบอาชีพ ความปลอดภัยน้ีนับได้ว่าเป็นหัวใจของการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปฏิบัติงานด้วนช่างอุตสาหกรรมไม่ว่าจะเป็นสาขาใด ๆ ก็ตามล้านแต่มีความเส่ียงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย นามาซ่ึงความสูญเสียท้ังร่างกายและทรัพย์สิน ดังน้ันช่างผู้ปฏิบัติงานจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ความสาคัญเก่ียวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเปน็ อนั ดบั แรก รวมท้งั ปฏิบัตติ ามหลกั ความปลอดภัย กฎของโรงงาน หรือสถานประกอบการโดยเคร่งครดั ท้งั น้เี พอื่ ให้เกดิ ความปลอดภยั จากอันตรายหรืออบุ ัตเิ หตตุ ่าง ๆ ทอี่ าจเกิดขึน้ ได้ขณะปฏบิ ัตงิ านสมรรถนะ แสดงความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏบิ ัตงิ าน34

จุดประสงคก์ ารสอน 1. บอกความหมายของนิยามศัพท์ ดา้ นความปลอดภยั ได้ 2. อธบิ ายความสญู เสยี ที่เกิดขึ้นจากอบุ ัตเิ หตไุ ด้ 3. ระบุประเภทของอุบัติเหตุได้ 4. ระบุสาเหตขุ องการเกิดอุบตั เิ หตุในการปฏบิ ัติงานได้ 5. อธิบายแนวปฏิบัตเิ ก่ียวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงานได้ 6. อธิบายหลกั การป้องกันอุบัตเิ หตจุ ากการปฏิบัตงิ านได้ 7. อธิบายหลักในการปฏิบัติงานให้เกิดความปลอดภัยได้ 8. อธิบายสแี ละสญั ลักษณ์เครอ่ื งหมายความปลอดภยั ได้เนือ้ หาสาระ ตามหนังสือเรียนวชิ างานฝึกฝีมือ 1 หนา้ 2-20สื่อการเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรียนวิชางานฝึกฝีมอื 1 (2100-1003) 2. ภาพฉาย (Power Point) 3. กระดาน 4. แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านกจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่ 1) ขน้ั นาเข้าส่บู ทเรยี น 1. ครูตัง้ คาถามเพือ่ นาเขา้ สู่บทเรียนเรื่อง ความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน 2. นักเรียนตอบคาถามทีค่ รูถาม ขนั้ เรียนรู้ 1. ครูอธบิ ายทฤษฎตี า่ ง ๆ ในบทเรียนเรื่อง ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน พร้อมตั้งคาถามใหน้ ักเรยี นหาคาถาม 2. นักเรียนจดบันทึกเนือ้ หาที่ครูอธิบาย 3. นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ข้ันสรปุ ครูสรปุ เน้อื หาสาระสาคญั ในบทเรยี นให้นกั เรียนตระหนักถงึ ความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน 35

การวัดผลและประเมนิ ผล 1. การสงั เกตพฤติกรรม 2. การตอบคาถาม 3. แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 1 ความปลอดภัยในการปฏบิ ัตงิ านงานทมี่ อบหมาย 1. แบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยท่ี 1 ความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน 2. ให้นักเรียนเขียนภาพโปสเตอร์เกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงานคนละ 2 ภาพ ขนาดเท่ากับกระดาษ A4 พรอ้ มระบายสีอย่างสวยงามเอกสารอ้างองิ หนังสือเรยี นวชิ างานฝึกฝมี ือ 1 (2100-1003) 36

บันทึกหลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนกั เรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพี่ บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป้ ัญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงชอ่ื ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนักเรียน ครูผู้สอน 37

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 หน่วยท่ี 2ชอ่ื วิชา : งานฝกึ ฝีมอื 1 เวลาเรยี นรวม 6 คาบชอื่ หน่วย : เคร่ืองมือพื้นฐานในงานช่วงอุตสาหกรรม สอนคร้งั ที่ 1/18ชือ่ เรือ่ ง : เครื่องมือและอุปกรณ์จับยึด, เคร่ืองมือสาหรับการเคาะ, เคร่ืองมือสาหรับการถอดและการประกอบ, เครื่องมอื สาหรับ บบี ตดั และล็อกช้ินงาน, เคร่อื งมือสาหรับ จานวน 2 คาบตดั งานโลหะแผ่น, การบารงุ รักษาเคร่ืองมอื ในงานช่างอตุ สาหกรรมหัวขอ้ เรื่อง 2.1 เคร่อื งมอื และอุปกรณจ์ ับยึด 2.2 เครือ่ งมอื สาหรับการเคาะ 2.3 เครื่องมือสาหรับการถอดและการประกอบ 2.4 เครอื่ งมอื สาหรับ บีบ ตัดและลอ็ กช้ินงาน 2.5 เครอ่ื งมอื สาหรับตัดงานโลหะแผน่ 2.6 การบารงุ รกั ษาเครื่องมอื ในงานช่างอตุ สาหกรรมสาระสาคัญ/แนวคดิ สาคญั การปฏบิ ัติงานดา้ นช่างอุตสาหกรรม จาเปน็ จะตอ้ งใชเ้ คร่ืองมือช่วยในการทางานมากมายหลายชนิดท้ังท่เี ปน็ เคร่อื งมอื ทวั่ ไป เครื่องมือประจาเครื่องจักรแต่ละชนิดและเคร่ืองมือเฉพาะอย่าง ดังน้ันผู้ปฏิบัติงานจะต้องศึกษา ช่ือ ชนิด หน้าท่ีการใช้งานและการบารุงรักษาเคร่ืองมือแต่ละประเภท ทั้งนี้เพื่อให้การทางานเป็นไปอย่างถูกต้อง มีประสทิ ธิภาพและมีความปลอดภยั ขณะปฏบิ ตั งิ านสมรรถนะ แสดงความรู้และทกั ษะเก่ียวกับเครื่องมือพนื้ ฐานในงานช่วงอุตสาหกรรมจดุ ประสงคก์ ารสอน 1. ระบุชื่อและหนา้ ทขี่ องอุปกรณ์จับยึดได้ 2. ระบุชอ่ื และหน้าท่ขี องเคร่ืองมือสาหรับการเคาะได้ 3. ระบุชื่อและหน้าทขี่ องเครื่องมือสาหรับการถอดและการประกอบได้ 4. ระบชุ ือ่ และหน้าทข่ี องเครื่องมือสาหรับ บบี ตัดและล็อกช้ินงานได้ 5. ระบุชอ่ื และหน้าทีข่ องเครื่องมือสาหรับตัดงานโลหะแผ่นได้ 6. บารุงรักษาเครอ่ื งมือพนื้ ฐานที่ใชใ้ นงานช่างอตุ สาหกรรมได้ 38

เน้อื หาสาระ ตามหนังสือเรียนวชิ างานฝกึ ฝีมือ 1 หนา้ 26-38สอ่ื การเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรียนวิชางานฝึกฝีมอื 1 (2100-1003) 2. กระดาน 3. แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 2 เครอ่ื งมือพ้นื ฐานในงานช่วงอุตสาหกรรมกิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ี่ 1) ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน 1. ครตู ้ังคาถามเพ่อื นาเขา้ สู่บทเรียนเรื่อง เครอื่ งมือพ้ืนฐานในงานชว่ งอุตสาหกรรม 2. นักเรยี นตอบคาถามที่ครูถาม ข้ันเรียนรู้ 1. ครูอธิบายทฤษฎีต่าง ๆ ในบทเรยี นเรื่อง เครอ่ื งมอื พื้นฐานในงานชว่ งอุตสาหกรรม พรอ้ มตง้ัคาถามใหน้ กั เรียนหาคาถาม 2. นกั เรยี นจดบันทึกเนื้อหาทีค่ รอู ธิบาย 3. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 2 เคร่อื งมอื พืน้ ฐานในงานช่วงอตุ สาหกรรม ข้ันสรุป ครูสรุปเนื้อหาสาระสาคัญในบทเรียนให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญ ของการเลือกใช้เครือ่ งมอื พื้นฐานในงานชา่ งอตุ สาหกรรมการวดั ผลและประเมนิ ผล 1. การสังเกตพฤติกรรม 2. การตอบคาถาม 3. แบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยที่ 2 เครอื่ งมอื พ้ืนฐานในงานชว่ งอุตสาหกรรมงานทม่ี อบหมาย 1. แบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยที่ 2 เครอ่ื งมอื พ้นื ฐานในงานช่างอตุ สาหกรรม 2. ให้นักเรียนเขียนรายชื่อและหน้าท่ีของเครื่องมือพื้นฐานในงานช่างอุตสาหกรรมที่มีอยู่ในห้องเครื่องมอื (Tool Room)เอกสารอ้างองิ หนังสือเรยี นวชิ างานฝึกฝมี ือ 1 (2100-1003) 39

บนั ทึกหลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรยี นของนกั เรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาท่ีพบ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ปัญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงช่ือ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนักเรียน ครูผสู้ อน 40

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 หน่วยท่ี 3ชื่อวิชา : งานฝึกฝีมอื 1 เวลาเรียนรวม 6 คาบชือ่ หน่วย : งานวดั และตรวจสอบ สอนครง้ั ท่ี 2/18ชอื่ เรื่อง : ความหมายของเครื่องมือวัดและการวัดขนาด, มาตรฐานการวัดความยาว,เครือ่ งมอื วดั และตรวจสอบในงานชา่ งอตุ สาหกรรม, การใช้เครื่องมือวัดและตรวจสอบ จานวน 6 คาบในงานช่างอตุ สาหกรรมหัวข้อเรอื่ ง 3.1 ความหมายของเครื่องมือวัดและการวัดขนาด 3.2 มาตรฐานการวัดความยาว 3.3 เครอ่ื งมอื วดั และตรวจสอบในงานช่างอุตสาหกรรม 3.4 การใช้เครื่องมือวัดและตรวจสอบในงานช่างอุตสาหกรรมสาระสาคัญ/แนวคดิ สาคัญ การปฏิบัติงานด้านช่างอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระบวนการผลิตช้ินส่วน เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ นั้น ช่างผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีการวัดและตรวจสอบขนาดของชิ้นงานท่ีอยู่ระหว่างการผลิตหรือหลังการผลติ ทัง้ นเ้ี พอื่ ใหช้ น้ิ งานที่ผลิตขึ้นมาสามารถนาไปประกอบเป็นผลติ ภัณฑ์ หรือนามาใช้ทดแทนชนิ้ ส่วนเดิมท่ชี ารุดเสยี หาย และนาไปใช้งานได้ ดังนั้นช่างผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในระบบการวัดและการใช้เครื่องมือวัด ตลอดจนการบารุงรักษาเครื่องมือวัดท่ีถูกต้อง จึงจะทาให้การปฏิบัติงานเปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพสมรรถนะ แสดงความรูเ้ กี่ยวกบั งานวดั และตรวจสอบชน้ิ งานจุดประสงคก์ ารสอน 1. บอกความหมายของเครื่องมือวัดและการวดั ขนาดได้ 2. อธบิ ายมาตรฐานหน่วยวัดความยาวระบบเมตริก ระบบองั กฤษ และระบบเอสไอ (SI Units) ได้ 3. เปรียบเทียบมาตรฐานหน่วยวัดความยาวระบบเมตริก ระบบองั กฤษ และระบบเอสไอได้ 4. บอกชอ่ื เครื่องมือวัดแบบมสี เกลและไม่มสี เกลได้อยา่ งนอ้ ยประเภทละ 5 ช่ือ 5. อธิบายการแบง่ สเกลของเวยี รเ์ นยี ร์คาลิเปอร์วัดละเอียด 1/50 mm และ 1/1,000 นิ้วได้ 6. อ่านค่าเวียรเ์ นยี ร์คาลิเปอรว์ ดั ละเอียด 1/50 mm และ 1/1,000 นว้ิ ได้ 7. อธิบายวิธกี ารใชง้ านเวอร์เนยี ร์ไฮเกจได้ 41

8. อธบิ ายวธิ ีการแบง่ สเกลของไมโครมเิ ตอร์วัดละเอียด 1/100 mm และ 1/10000 น้วิ ได้ 9. อ่านค่าไมโครมเิ ตอรว์ ัดละเอียด 1/100 mm และ 1/1,000 นว้ิ ได้ 10. บารุงรักษาเครื่องมือวัดและตรวจสอบได้เนอ้ื หาสาระ ตามหนังสือเรียนวิชางานฝึกฝีมอื 1 หน้า 48-88สื่อการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียนวชิ างานฝึกฝีมอื 1 (2100-1003) 2. ภาพฉาย (Power Point) 3. กระดาน 4. ส่ือของจริง 5. แบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยที่ 3 งานวดั และตรวจสอบกิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 2) ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูต้ังคาถามเพือ่ นาเข้าสู่บทเรียนเรื่อง งานวัดและตรวจสอบ 2. นกั เรยี นตอบคาถามทคี่ รูถาม ขน้ั เรียนรู้ 1. ครูอธิบายทฤษฎีต่าง ๆ ในบทเรียนเร่ือง งานวัดและตรวจสอบ พร้อมกับต้ังคาถามให้นักเรยี นหาคาตอบ 2. ครูนาช้ินงานลกั ษณะต่าง ๆ และเครือ่ งมือวัดมาสาธติ วิธีการวัดขนาดของช้นิ งาน 3. นกั เรยี นฝกึ ใชเ้ ครอ่ื งมือวดั และตรวจสอบ 4. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยที่ 3 งานวัดและตรวจสอบ ขนั้ สรปุ ครสู รุปเนอ้ื หาสาระสาคญั ในบทเรียนให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญ ปัญหาที่เกิดข้ึน และแนวทางการแกไ้ ขปัญหาการวดั ผลและประเมินผล 42

1. การตอบคาถาม 2. แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยท่ี 3 งานวดั และตรวจสอบงานทม่ี อบหมาย แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยท่ี 3 งานวัดและตรวจสอบเอกสารอ้างองิ หนังสือเรยี นวชิ างานฝกึ ฝีมือ 1 (2100-1003) 43

บันทึกหลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาท่ีพบ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ปัญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงช่อื ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรยี น ครผู สู้ อน 44

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 หน่วยท่ี 4ชือ่ วิชา : งานฝึกฝีมือ 1 เวลาเรียนรวม 6 คาบชอื่ หน่วย : งานเลอื่ ย สอนครงั้ ที่ 3/18ช่ือเรื่อง : ความหมายของการเลื่อย, การเล่ือยด้วยเล่ือยมือ, การเล่ือยด้วยเครื่อง จานวน 6 คาบเลอื่ ยกลแบบชักหัวขอ้ เรือ่ ง 4.1 ความหมายของการเล่อื ย 4.2 การเลื่อยดว้ ยเล่ือยมอื 4.3 การเลอ่ื ยด้วยเคร่ืองเลื่อยกลแบบชักสาระสาคญั /แนวคดิ สาคัญ ในโรงงานอุตสาหกรรมโดยทั่วไปแล้วจะมีการตัดแยกวัสดุ เพื่อนาไปใช้ในการแปรรูปหรือเพ่ือให้สามารถจัดเก็บวัสดุได้ง่าย ดังนั้นงานเลื่อยจึงมีความสาคัญมากท่ีผู้ปฏิบัติงานจึงต้องศึกษาเกี่ยวกับการเล่ือย ทงั้ นเี้ พื่อใหม้ ีความรู้และความเข้าใจ เพ่ือช่วยปฏิบัติงานได้อย่างถูกตอ้ งสมรรถนะ แสดงความรู้และทกั ษะเกย่ี วกับงานเล่อื ยช้ินงานจุดประสงคก์ ารสอน 1. บอกความหมายของการเลอ่ื ยได้ 2. บอกชอ่ื และหนา้ ทข่ี องส่วนประกอบเลอื่ ยมือได้ 3. อธบิ ายวิธีการจับชน้ิ งานเล่อื ยได้ 4. อธิบายวิธีการยนื เลื่อยได้ 5. อธบิ ายวธิ ีการเลอ่ื ยดว้ ยเลอ่ื ยมือได้ 6. บอกชอ่ื และหน้าทีข่ องสว่ นประกอบของเครื่องเล่อื ยกลแบบชกั ได้ 7. อธบิ ายวิธกี ารเล่ือยด้วยเครอ่ื งเล่ือยกลแบบชักได้ 8. บารุงรักษาเลื่อยมือและเครอ่ื งเลอ่ื ยกลแบบชักได้ 45

เน้ือหาสาระ ตามหนังสือเรียนวชิ างานฝึกฝีมอื 1 หน้า 102-119สอื่ การเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียนวิชางานฝึกฝีมอื 1 (2100-1003) 2. กระดาน 3. สือ่ ของจริง 4. แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยท่ี 4 งานเลอ่ื ย 5. ใบงานที่ 1-5กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 3) ขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน 1. ครูตง้ั คาถามเพ่อื นาเข้าสู่บทเรยี นเร่ือง งานเล่ือย 2. นกั เรียนตอบคาถามท่ีครูถาม ข้นั เรยี นรู้ 1. ครูอธิบายทฤษฎีตา่ ง ๆ ในบทเรียนเรอื่ ง ความหมายของการเล่ือย การเลือ่ ยด้วยเล่ือยมือการเลือ่ ยดว้ ยเคร่ืองเลื่อยกลแบบชกั พร้อมกับต้ังคาถามให้นักเรียนหาคาตอบ 2. นกั เรียนจดบันทึกเน้ือหาที่ครอู ธิบาย 3. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยที่ 4 งานเลอื่ ย 4. ครูแจกใบงานที่ 1-5 พรอ้ มกบั ให้นักเรียนเตรียมเครอ่ื งมือและอุปกรณใ์ นงานเล่ือย 5. ครูอธบิ ายลาดับขน้ั ในการปฏิบัตงิ าน และข้อควรระวัง 6. นกั เรยี นปฏบิ ัตงิ านเลอ่ื ยตามใบงานท่ี 1-5 ขน้ั สรุป ครูสรุปเนื้อหาสาระในบทเรียนให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญ ปัญหาที่เกิดข้ึนขณะปฏบิ ัตงิ านเล่อื ย และแนวทางการแกไ้ ขปัญหาการวัดผลและประเมนิ ผล 1. การสงั เกตพฤติกรรม 2. การตอบคาถาม 3. แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 4 งานเลอ่ื ย 4. ใบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานใบงานที่ 1-5 46

งานท่มี อบหมาย 1. แบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยที่ 4 งานเลื่อย 2. ใบงานที่ 1-5ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสาเร็จของผเู้ รยี น 1. ชิ้นงานโครงซี - แคลม็ ป์ (หมายเลขแบบ BWT-02-01) 2. เกลยี วส่งกาลงั (หมายเลขแบบ BWT-02-02) 3. แขนหมนุ (หมายเลขแบบ BWT-02-03) 4. ปลอกยึดแขนหมุน (หมายเลขแบบ BWT-02-04) 5. แปน้ ยดึ (หมายเลขแบบ BWT-02-05)เอกสารอ้างองิ หนังสอื เรยี นวชิ างานฝกึ ฝมี ือ 1 (2100-1003) 47

บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรยี นของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาท่พี บ.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป้ ัญหา..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ลงช่อื ............................................... ลงชอ่ื ............................................... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรยี น ครูผู้สอน 48

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5 หน่วยท่ี 5ชอ่ื วิชา : งานฝกึ ฝมี ือ 1 เวลาเรียนรวม 24 คาบชือ่ หน่วย : งานตะไบ สอนครั้งท่ี 4/18ชื่อเร่ือง : ความหมายของการตะไบ, ส่วนประกอบของตะไบ, คมตัดของตะไบ, จานวน 6 คาบชนดิ และการใชง้ านของตะไบหวั ข้อเร่อื ง 5.1 ความหมายของการตะไบ 5.2 ส่วนประกอบของตะไบ 5.3 คมตัดของตะไบ 5.4 ชนิดและการใชง้ านของตะไบสาระสาคญั /แนวคดิ สาคญั งานตะไบ (Filing) เป็นงานปรับขนาดและผิวพื้นฐานท่ีมีความสาคัญ ดังน้ันช่างอุตสาหกรรมเกือบทุกสาขาวิชาจึงต้องมีการศึกษา เพ่ือท่ีจะเป็นแนวทางในการปรับขนาดและผิวงานด้วยเคร่ืองมือเคร่ืองจักรอ่ืน ๆ ต่อไป สาหรับในหน่วยน้ีจะทาการศึกษาเกี่ยวกับ ความหมาย ส่วนประกอบ ชนิด วิธีการใช้และการบารุงรกั ษาตะไบ ทั้งน้ีเพ่ือให้สามารถเลือกใช้ตะไบได้ตรงกับวัตถุประสงค์การใช้งาน และตามลักษณะของวสั ดุทนี่ ามาปรบั ขนาดและผวิ งานตอ่ ไปสมรรถนะ แสดงความรู้และทักษะเกย่ี วกับงานตะไบจุดประสงคก์ ารสอน 1. บอกความหมายของการตะไบได้ 2. บอกชอื่ ส่วนประกอบของตะไบได้ 3. อธบิ ายมมุ ของคมตัดตะไบได้ 4. อธิบายชนิดของมมุ คมตัดหลักกับคมตัดรองของตะไบคมตัดคู่ได้ 5. บอกชนิดของตะไบทมี่ ีใช้งานในปัจจุบันได้ 6. ตะไบชน้ิ งานไดข้ นาดตามแบบ 49

เน้อื หาสาระ ตามหนังสอื เรียนวชิ างานฝึกฝมี ือ 1 หน้า 128-142ส่ือการเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียนวิชางานฝึกฝีมอื 1 (2100-1003) 2. กระดาน 3. สื่อของจริง 4. แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 5 งานตะไบ 5. ใบงานที่ 6กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ่ี 4) ขั้นนาเขา้ ส่บู ทเรียน 1. ครูต้ังคาถามเพ่ือนาเขา้ สู่บทเรียนเร่ือง งานตะไบ 2. นักเรียนตอบคาถามท่ีครูถาม ขน้ั เรียนรู้ 1. ครูอธบิ ายทฤษฎีต่าง ๆ ในบทเรียนเรื่อง ความหมายของการตะไบ ส่วนประกอบของตะไบคมตดั ของตะไบ ชนิดและการใช้งานของตะไบ พร้อมกบั ต้ังคาถามให้นักเรยี นหาคาตอบ 2. นกั เรียนจดบนั ทกึ เนื้อหาทีค่ รูอธบิ าย 3. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 5 งานตะไบ 4. ครูแจกใบงานที่ 6 พรอ้ มกับให้นักเรียนเตรียมเคร่อื งมอื และอปุ กรณ์ในงานตะไบ 5. ครอู ธิบายลาดบั ขนั้ ในการปฏิบัตงิ าน และขอ้ ควรระวงั 6. นกั เรยี นปฏิบัตงิ านตะไบตามใบงานที่ 6 7. นักเรยี นทาความสะอาดตะไบและบรเิ วณพนื้ ที่ปฏบิ ัตงิ าน ขน้ั สรปุ ครูสรุปเน้ือหาสาระในบทเรียนให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญ ปัญหาที่เกิดข้ึนขณะปฏบิ ัติงานตะไบ และแนวทางการแกไ้ ขปญั หาการวัดผลและประเมนิ ผล 1. การสงั เกตพฤติกรรม 2. การตอบคาถาม 3. แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 5 งานตะไบ 4. ใบประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานใบงานที่ 6 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook