Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการใช้งาน HRMS

คู่มือการใช้งาน HRMS

Published by wiangnon.pongsai519, 2020-03-14 00:31:48

Description: คู่มือการใช้งาน HRMS

Search

Read the Text Version

คมู่ อื การใช้งาน ระบบสารสนเทศการบรหิ ารจัดการความเส่ียงของสถานพยาบาล (Healthcare Risk Management System: HRMS) (พฒั นาโดย สรพ. ณ มีนาคม 2561) งานพฒั นาคุณภาพโรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น (เอกสารนเี้ พ่ือประกอบการใช้งานโปรแกรม HRMS on Cloud ของโรงพยาบาล ตั้งแต่ เมษายน 2561 เป็นตน้ ไป)

~2~ ระบบสารสนเทศการบริหารจัดการความเส่ยี งของสถานพยาบาล 1. ท่ีมา การเข้าร่วมใช้งานโครงการพัฒนาการรายงานและเรียนรู้ความเสี่ยงทางคลินิกและเหตุการณ์ไม่ พงึ ประสงค์ (National Reporting and Learning System: NRLS) หลกั การและเหตผุ ล การดาเนนิ งานของสถานพยาบาลในสภาพสังคมยุคโลกาภิวตั น์ ซ่ึงเป็นสงั คมระบบดิจติ อล เพอ่ื ใหท้ ัน ต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกและปัญหาภาวะสุขภาพของประชาชน สภาพแวดล้อมทางสังคม และความคาดหวัง ของผู้รับบริการได้อย่างมีคุณภาพ รวมทั้งเกิดความปลอดภัยต่อผู้รับและผู้ให้บริการน้ัน จาเป็นต้องอาศัยระบบ ฐานข้อมูลที่สามารถเช่ือมโยงข้อมูลถึงกัน ตั้งแต่ระดับบุคคล องค์กร ต่อเน่ืองจนถึงระดับประเทศเป็นเครื่องมือ ชว่ ยสนบั สนนุ การดาเนนิ งานและการบริหารจัดการองคก์ รอยา่ งเปน็ ระบบ เพื่อการพัฒนาทยี่ ั่งยืนและปลอดภยั  สถานพยาบาลท้ังภาครัฐและภาคเอกชนมีระบบสาระสนเทศการบริหารจัดการความเสี่ยงของ สถานพยาบาล (Healthcare Risk Management System: HRMS) ใช้เป็นเคร่ืองมือในการบริหาร จัดการความเส่ียง สามารถเก็บบันทึกและวิเคราะห์ข้อมูลที่เป็นการวัดผลและเทียบเคียงวัดระดับ คุณภาพการดูแลผู้ป่วย และพัฒนางานที่ตอบสนองคุณภาพความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วยได้อยา่ ง มีประสิทธิภาพ ครอบคลุม ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และสามารถเช่ือมโยงข้อมูลเข้าสู่ระบบ ฐานข้อมูลกลางระดบั ประเทศแบบอัตโนมตั ิ  ประเทศไทยมีระบบฐานข้อมูลกลางท่ีเชื่อมโยง/รับข้อมูลจากระบบ HRMS ของสถานพยาบาลแบบ real time และพัฒนาเป็นระบบรายงานและเรียนรู้ความเสี่ยงทางคลินิกและเหตุการณ์ไม่พึง ประสงค์ (National Reporting and Learning System: NRLS) ซ่ึงสามารถนาข้อมูลไปใช้ในเวที สาหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเหตกุ ารณ์ไม่มีประสงค์เหลา่ น้ัน เป้าหมาย ความคาดหวงั ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั  เปน็ การพฒั นาระบบ HRMS on Cloud และ ระบบ NRLS อย่างตอ่ เน่อื ง เพ่ือเพ่ิมประสิทธภิ าพของ ระบบให้ตอบสนองความต้องการในการใช้งานของสถานพยาบาล และเปน็ ระบบท่รี ับรองการใช้งาน แบบ Any-time, Any-where, Any-Device, Any-Platform (ผ่าน Web Browser) บนอุปกรณ์ Smart Phone  เพ่อื สนบั สนนุ ใหส้ ถานพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ มีเคร่อื งมอื (ระบบ HRMS on Cloud) ท่ใี ช้ในการ บริหารจดั การความเสยี่ งเป็นของตนเองโดยเฉพาะ โดยไมเ่ พ่ิมภาระในการจัดหาและดแู ล Server  เป็นการพัฒนาระบบ/เวทีสาหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ และความ ผิดพลาดที่เกิดข้ึน ตามนโยบายความปลอดภัยของผู้ป่วยและบุคลากรสาธารณสุข (Patient and Personnel Safety: 2P Safety) 2. การใชง้ านระบบ HRMS on Cloud ของโรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์  เดอื นเมษายน 2561 : ระยะทดลองใช้งานโปรแกรมในกลมุ่ บุคลากรทีเ่ ก่ียวข้อง  เดือนพฤษภาคม 2561 เป็นต้นไป : เร่ิมการรายงานอุบัติการณ์ผ่านระบบโปรแกรม HRMS on Cloud ทัง้ หมด ตามแนวทางการรายงานของ (โรงพยาบาลศรีนครินทร์ และ สรพ.)

~3~ 3. การใชง้ านระบบในแต่ละสทิ ธิ์ ของกลุ่มผู้ใชง้ านระบบ HRMS on Cloud 3.1 กลมุ่ ผดู้ แู ลระบบ (Admin) 3.2 กลมุ่ เจา้ หน้าที่ หรอื ผใู้ ชท้ วั่ ไป 3.3 กลุ่มหัวหนา้ งาน/หนว่ ยงาน 3.4 กลุม่ กรรมการบรหิ ารความเสี่ยง 3.5 กลมุ่ ผู้กรอกขอ้ มลู Data Set

~4~ 3. กลุ่มผใู้ ช้ และระดับสิทธิ์การใชง้ านระบบ HRMS on Cloud กลุ่มผู้ใช้ในระบบ HRMS on Cloud แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ตามระดับสิทธ์ิ บทบาทและหน้าที่ รบั ผิดชอบในการเข้าใช้งานระบบ ดังนี้ 3.1 กลมุ่ ผ้ดู แู ลระบบ (Admin) มบี ทบาทหนา้ ทีใ่ นการบริหารจดั การระบบทั้งหมด (ยกเว้น การบรหิ ารจดั การความเสี่ยง ซ่งึ เป็นการ ยืนยัน/ แก้ไขอุบัติการณ์ความเสี่ยง) ทั้งในส่วนของการ Set up ระบบ การจัดการข้อมูลพ้ืนฐาน และการให้ สทิ ธิ์การเข้าใชง้ านระบบแกผ่ ้ใู ช้ ดงั เช่น - การบันทกึ ข้อมูล “พนักงาน” - การเพ่มิ ข้อมลู พนักงาน - การแก้ไขหรือดูรายละเอยี ดข้อมูล - การลบขอ้ มลู ในฐานขอ้ มูล - การเพม่ิ ขอ้ มลู “อบุ ัติการณ์ความเส่ียงยอ่ ยใน รพ.” - การเลือกรูปแบบและกาหนดหน่วยงานที่ต้องบันทึกข้อมูล “รายการชุดข้อมูลกลางของ ระบบ (Data set)” (รายการที่ 1-22 ตามภาคผนวก) - การกาหนด “สิทธิ์การใช้งานระบบ” และการเข้าถึงข้อมูล เป็นการกาหนดสิทธิ์และ ขอบเขตในการเข้าใช้งานระบบและเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้งานระบบ (users) ตามบทบาท และหนา้ ทรี่ บั ผิดชอบ - สิทธิ์การเข้าถงึ รายงานอุบตั ิการณ์ความเสย่ี งระดบั กล่มุ หน่วยงาน (กลมุ่ ภารกิจ) - สทิ ธกิ์ ารเขา้ ถึงรายงานอบุ ัติการณ์ความเสีย่ งระดบั ประเภทหนว่ ยงาน (กลมุ่ งาน) - สทิ ธก์ิ ารเขา้ ถงึ รายงานอุบัตกิ ารณค์ วามเสี่ยงระดับหน่วยงาน การบริหารจดั การระบบในสิทธิ์ Admin ดงั นี้ ผู้ดูแลระบบ (Admin) มีสิทธิ์ในการเข้าถึงและเรียกดูรายงานความเส่ียงได้ท้ังหมด (แต่ไม่มี สิทธ์ิในการบริหารจดั การความเสย่ี ง ซ่ึงเป็นการยืนยัน/ แก้ไขอุบัติการณ์ความเสย่ี ง) รวมถึงการดูแล และจดั การฐานข้อมลู ของระบบ ดังนี้ - การแก้ไขขอ้ มูลรายงานอุบตั กิ ารณ์ความเส่ียงท่ีอยู่ในสถานะ “รอยืนยนั ” เป็นการแก้ไข เฉพาะรายการข้อมูลที่ผิดไปจากความต้องการจริงของผู้ใช้ ซ่ึงอาจเกิดจากการคลิกเลือกตัวเลือก ผดิ พลาดไปจากความตอ้ งการ - การแก้ไขข้อมูลรายงานอุบัติการณ์ความเส่ียงท่ีอยู่ในสถานะ “ยืนยันแล้วเป็น อุบัตกิ ารณ์ความเสีย่ ง/ รอแก้ไข” เปน็ การแก้ไขเฉพาะรายการขอ้ มลู ทีผ่ ยู้ ืนยนั อบุ ัตกิ ารณ์ความเสี่ยง คลกิ เลือกผดิ ไปจากความต้องการจริง

~5~ 3.2 กล่มุ เจ้าหนา้ ที่ หรอื ผใู้ ช้ทว่ั ไป เป็นกลุ่มบุคลากร/ เจ้าหน้าที่ทุกคนของโรงพยาบาล ท่ีมีบัญชีผู้ใช้ในระบบ จึงจะมีสิทธ์ิเข้าสู่หน้าจอ ระบบ HRMS on Cloud ไดจ้ ากเวบ็ ไซต์ทีก่ าหนด คือ www.srim-hrms.com เพอ่ื ทาการบันทกึ รายงานการ เกดิ อบุ ัตกิ ารณ์ความเสี่ยง และเรยี กดรู ายงานภาพรวมของระบบไดต้ ามทรี่ ะบบกาหนดไว้ การใช้งานระบบในสทิ ธขิ์ องเจา้ หนา้ ที่ (ผู้ใช้ทวั่ ไป) บคุ ลากรทุกคนขององค์กรที่มีช่อื ในบัญชผี ูใ้ ช้ของระบบ ซง่ึ อยู่ในกลุ่มผูใ้ ช้ “เจา้ หนา้ ที่” หรือผู้ใชท้ ั่วไป มีบทบาทหน้าที่ในการบันทึกรายงานเก่ียวกับการเกิดเหตุการณ์ หรือเกิดอุบัติการณ์ความเส่ียง และการ ร่วมกันติดตาม/ เฝ้าระวังรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงซึ่งอยู่ในสถานะต่างๆ ท้ังท่ีเป็นของหน่วยงานท่ีตน สงั กดั หรือขององค์กร ซึ่งผู้ใชท้ ่วั ไปสามารถเขา้ ใชง้ านระบบ ดงั นี้ - การบันทกึ รายงานอบุ ัตกิ ารณค์ วามเสี่ยง ผ้ใู ช้งานระบบ (Users) ในทกุ กลุม่ ผู้ใช้ทีม่ บี ัญชผี ้ใู ชใ้ นระบบ สามารถทาการบันทกึ รายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยงได้ทุกคน โดยรายงานในนามของหน่วยงานท่ีตนสังกัดหรือหน่วยงานที่อยู่ภายใต้สังกัดซึ่งอยู่ใน ความรบั ผิดชอบ การบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ในสิทธิ์ของกลุ่มผู้ใช้ “เจ้าหน้าที่ หรือผู้ใช้ท่ัวไป” มีข้ันตอน และวิธีการดาเนินการเช่นเดียวกันกับการบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเส่ียงในสิทธ์ิของ Admin สิทธิ์ของ กรรมการบรหิ ารความเส่ียง และสิทธ์ิของหวั หน้ากลุ่ม/ หนว่ ยงาน ดังทีไ่ ด้กลา่ วมาแลว้ - การตดิ ตามและเฝ้าระวังรายงานอุบตั ิการณค์ วามเสย่ี งซ่งึ อยู่ในสถานะต่าง ๆ เป็นการติดตามและเฝ้าระวังข้อมูลจานวนรายงานอุบัติการณ์ความเส่ียงซ่ึงอยู่ในสถานะต่างๆ ตามที่ แสดงผลในหน้าจอหลัก (ตามรูปที่ 1) ท่ีหน่วยงานของตนเองต้องมีส่วนร่วมหรือเกี่ยวข้องกับการดาเนินการ บรหิ ารจดั การอุบตั กิ ารณ์ความเสยี่ งน้ันๆ มีขนั้ ตอนและวธิ ีการดาเนนิ การ ดังนี้ รปู ท่ี 1 หนา้ จอหลักแสดงข้อมูลจานวนรายงานความเสยี่ งที่อยใู่ นสถานะต่างๆ (ดใู นกรอบเส้นปะสแี ดง)

~6~ 2 2 2

~7~ 3.3 กลุ่มหวั หน้างาน/ หน่วยงาน มีบทบาทหน้าท่ีในการบริหารจัดการความเสี่ยง (การยืนยันว่าเหตุการณ์ท่ีมีการรายงานน้ันเป็น อุบัติการณ์ความเส่ียงหรือไม่ และแก้ไขหรือร่วมแก้ไขอุบัติการณ์ความเส่ียง) ของกลุ่ม/ ประเภท/ หน่วยงาน โดยมีสิทธิ์เข้าถึงรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงได้เฉพาะในกลุ่ม/ ประเภท/ หน่วยงาน ท่ีตนสังกัดหรืออยู่ใน ความรับผิดชอบเทา่ นนั้ การใชง้ านระบบในสิทธ์ิของหวั หน้างาน/ หน่วยงาน หัวหน้างาน/ หน่วยงาน มีบทบาทหน้าท่ีในการเป็นผู้บันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง กรณี ประสบเหตุความเสี่ยงเองหรือประสงค์จะรายงานความเส่ียงเข้าสู่ระบบรวมถึงการ บริหารจัดการความเสี่ยง ได้แก่ การยืนยัน/ แก้ไขอุบัติการณ์ความเส่ียง รวมท้ังการเรียกดูข้อมูลรายละเอียดของรายงานอุบัติการณ์ ความเส่ียง โดยสามารถเข้าถึงข้อมูลรายงานอุบัติการณ์ความเส่ียงได้เฉพาะรายงานที่เป็นของกลุ่มภารกิจ/ กลุ่มงาน/ หน่วยงาน ที่ตนสังกดั หรอื อยู่ในความรับผดิ ชอบเท่าน้ัน ตามรายละเอยี ดดงั น้ี การบันทกึ รายงานอุบตั ิการณ์ความเสี่ยง สามารถทาการบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงได้ทุกคน โดยรายงานในนามของหน่วยงานทต่ี น สังกัดหรือหน่วยงานที่อยู่ภายใต้สังกัดซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบ โดยการบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเส่ียง ในสทิ ธิข์ องกลมุ่ ผใู้ ช้ “หวั หน้างาน/ หน่วยงาน” มขี น้ั ตอนและวธิ กี ารดาเนนิ การ ตามรายละเอยี ดหนา้ ที่ 28 การยนื ยันอุบัตกิ ารณ์ความเสย่ี งทีอ่ ยู่ในสถานะ “รอยืนยัน” ผู้ใช้ในระดับสิทธิ์หัวหน้างาน/ หน่วยงาน สามารถยืนยันอุบัติการณ์ความเสี่ยงได้เฉพาะรายงาน อบุ ตั กิ ารณ์ทห่ี น่วยงานในสังกัด/ หนว่ ยงานท่ีอยู่ในความรับผดิ ชอบ เป็นหนว่ ยงานทรี่ ายงาน เทา่ นน้ั การยืนยันอุบัติการณ์ความเส่ียง เป็นการพิจารณาและตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสมเก่ียวกับ เรอื่ งอบุ ตั ิการณค์ วามเสี่ยง ประเดน็ ปัญหา (เกิดอะไร อย่างไร) และระดับความรนุ แรง ของรายงานอบุ ัติการณ์ ความเส่ียงท่ีมีการบันทึกรายงานเหตุการณ์เข้ามาในระบบ เพ่ือยืนยันว่ารายงานเหตุการณ์นั้นเป็นอุบัติการณ์ ความเสี่ยงหรือไม่ อย่างไร และหากเป็นอุบัติการณ์ความเส่ียงจริง ใครควรเป็นผดู้ าเนินการแก้ไขและแก้ไขใน ระดับใด ได้แก่ ระดับกลุ่มหน่วยงาน (กลุ่มภารกิจ) หรือ ระดับประเภทหน่วยงาน (กลุ่มงาน) หรือ ระดับ หน่วยงาน ซ่งึ มีขน้ั ตอนและวธิ ีการยืนยัน ดังนี้ 1) เมื่อผู้ใช้ login เข้าสู่ระบบตามระดับสิทธิ์แล้ว ไปที่เมนู “บันทึกข้อมูล” คลิกเลือกรายการเมนู ย่อย “ตรวจสอบขอ้ มลู เพ่ือยนื ยัน/ แก้ไขอบุ ตั ิการณ์ความเส่ียง” ระบบจะแสดงหนา้ จอแสดงรายละเอียดของ รายงานอุบัตกิ ารณ์ความเส่ยี งท้ังหมดทผี่ ้ใู ช้มสี ิทธเ์ิ ขา้ ถึงข้อมลู จากนน้ั กรอกข้อมูลคาสาคัญในช่อง “ค้นหา :” เพื่อค้นหารายงานอุบัติการณ์ความเส่ียงท่ีต้องการยืนยัน (ตามตัวอย่างจากรูปท่ี 3 ต้องการค้นหารายงาน อุบัติการณ์ความเสี่ยงท่ีอยู่ในสถานะ “รอยืนยัน”) ระบบจะแสดงรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงทั้งหมดท่ีมคี า สาคัญเปน็ สว่ นประกอบ

~8~ รปู ท่ี 3 หนา้ จอแสดงรายละเอยี ดรายงานอุบตั ิการณ์ความเสีย่ งทั้งหมดที่คน้ หาดว้ ยคาสาคญั 2) คลกิ ที่ปุ่ม ของรายงานอบุ ัตกิ ารณค์ วามเสี่ยงท่ีต้องการยืนยัน ระบบจะแสดงหน้าจอ ดงั รปู ท่ี 4 รปู ที่ 4 หน้าจอแสดงรายละเอยี ดของรายงานอุบัติการณค์ วามเสีย่ งท่ีรอการยืนยัน

~9~ 5 5 6 6

~ 10 ~ 7-8 รูปที่ 7 หนา้ จอแสดงการเลือกระบุกลมุ่ ภารกิจ/ กลุม่ งาน/ หนว่ ยงานหลักท่แี ก้ไขปญั หา และระบุกลุ่มภารกจิ / กลมุ่ งาน/ หนว่ ยงานรว่ มแกไ้ ขปัญหา

~ 11 ~ รปู ที่ 8 แสดงการยนื ยันอบุ ัตกิ ารณ์ความเส่ียงสาเรจ็ และเปล่ียนสถานะเป็น “ยืนยันแล้วเปน็ อุบตั ิการณ์ความเส่ียง/ รอแกไ้ ข” การแก้ไขอุบัติการณค์ วามเสี่ยงที่อยู่ในสถานะ “ยืนยันแล้วเป็นอุบัติการณ์ความเสยี่ ง/ รอแกไ้ ข” หรอื สถานะ “อยรู่ ะหวา่ งดาเนินการของกลุ่ม/ หน่วยงานหลัก” สามารถทาการแก้ไขอบุ ัติการณ์ความเสย่ี งท่ีอยู่ในสถานะ “ยืนยนั แล้วเป็นอบุ ัติการณ์ความเสีย่ ง/ รอ แก้ไข” หรือสถานะ “อยู่ระหว่างดาเนินการของกลุ่ม/ หน่วยงานหลัก” ได้นั้นเป็นผู้ใช้เฉพาะที่อยู่ในกลุ่มผใู้ ช้ “หวั หน้างาน/ หน่วยงาน” ซึง่ แยกระดบั สิทธิ์ของการแก้ไขอุบัตกิ ารณ์ความเส่ียงและการเข้าถึงข้อมลู รายงาน อบุ ตั กิ ารณ์ความเสี่ยงตามระดับชนั้ ของโครงสรา้ งหน่วยงานขององค์กร คอื สิทธิก์ ารเขา้ ถึงรายงานอุบัติการณ์ ความเส่ียงระดับกลุ่มหน่วยงาน (กลุ่มภารกิจ), สิทธิ์การเข้าถึงรายงานอุบัติการณ์ความเส่ียงระดับประเภท หน่วยงาน (กลมุ่ งาน), และสทิ ธิ์การเข้าถงึ รายงานอบุ ตั ิการณ์ความเสย่ี งระดับหน่วยงาน โดยผูใ้ ช้ในกลุ่มสทิ ธนิ์ ี้ แต่ละคน จะสามารถทาการแก้ไขอุบัติการณ์ความเสี่ยงและเข้าถึงข้อมูลรายงานอุบัติการณ์ความเส่ียงได้ใน ระดับและจานวนกลุ่มหน่วยงาน (กลุ่มภารกิจ)/ ประเภทหน่วยงาน (กลุ่มงาน)/ หน่วยงานซ่ึงอยู่ในความ รบั ผดิ ชอบที่แตกต่างกัน ตามที่ Admin กาหนดให้

~ 12 ~ ขน้ั ตอนการยนื ยนั และการแกไ้ ขดังน้ี 9 รปู ที่ 9 หนา้ จอแสดงรายละเอียดรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงทั้งหมดท่ีค้นหาดว้ ยคาสาคัญ

~ 13 ~ 102 รูปที่ 10 แสดงรายละเอียดรายงานอุบตั ิการณ์ความเสย่ี งท่ีอยู่ในสถานะ “ยืนยันแล้วเปน็ อุบตั กิ ารณ์ความเส่ยี ง/ รอ แก้ไข” หรอื สถานะ “อยู่ระหวา่ งดาเนินการของกล่มุ / หน่วยงานหลัก”

~ 14 ~ 11 รปู ท่ี 11 แสดงการบนั ทกึ รายละเอียดการจัดการแก้ไขอุบตั ิการณ์ความเส่ียงของกล่มุ / หน่วยงานร่วมแกไ้ ขปัญหา 12

~ 15 ~ กรอกรายละเอียดการดาเนินการแก้ไข ปัญหา รูปท่ี 12 แสดงการบนั ทกึ รายละเอียดการจดั การแก้ไขอุบตั ิการณค์ วามเสย่ี งของกลุ่ม/ หน่วยงานหลัก 4) ระบผุ ลการดาเนินการแก้ไขปญั หาในระดบั กลมุ่ / หนว่ ยงาน ซึ่งมี 3 กรณีให้เลอื กตามการดาเนินการ จัดการแก้ไขปัญหา (อยรู่ ะหว่างการดาเนนิ การแกป้ ญั หาระดบั หน่วยงาน, สนิ้ สุดการแกป้ ัญหาระดับหน่วยงาน โดยยตุ ิ ปัญหาได้, ส้ินสดุ การแกป้ ัญหาระดบั หน่วยงาน แต่ไม่สามารถยุติปัญหาได้) โดยหากเลือก “สน้ิ สุดการแก้ปญั หาระดับ หนว่ ยงาน โดยยตุ ปิ ัญหาได้” แสดงว่ากลุม่ / หนว่ ยงานสามารถแกไ้ ขอุบตั ิการณ์ความเส่ียงและยุตปิ ญั หาได้ พร้อมทงั้ ระบรุ ะบบงานท่มี ีการปรับปรุงหรือมีการพัฒนา (ถ้ามี) ลงในชอ่ ง “ระบบงานที่มกี ารปรบั ปรงุ /พฒั นา :” กดปมุ่ เพือ่ แนบไฟล์รายละเอยี ดเพิม่ เติม (ถ้ามี) และระบวุ นั ทสี่ ้ินสุดการแก้ไขปัญหาตามจรงิ ลงในช่อง “วันท่ีสิ้นสดุ การแก้ไขปัญหา ระดบั กลุม่ / หนว่ ยงาน* :” จากนนั้ กดปุ่ม ระบบจะแสดงขอ้ ความแจ้งให้ ยืนยันการบนั ทึกขอ้ มลู จากนั้นกดป่มุ ระบบจะแสดงข้อความวา่ บันทึกขอ้ มูลสาเร็จ กดปุ่ม อีก คร้ัง ดงั รูปที่ 13 (หลังจากนนั้ สถานะของรายงานอบุ ัติการณ์ความเสย่ี งน้จี ะเปลยี่ นสถานะเป็น “อยู่ระหว่างดาเนินการ ของกรรมการความเส่ียง”) รูปที่ 13 หน้าจอแสดงการสิน้ สุดการแก้ไขปัญหา โดยสามารถยตุ ิปัญหาได้ในระดับกลุม่ / หนว่ ยงาน

~ 16 ~ 3.4 กลมุ่ กรรมการบริหารความเสี่ยง มีบทบาทหน้าที่ในการบริหารจัดการความเสี่ยงของสถานพยาบาลท้ังระบบ (การยืนยันว่าเหตุการณ์ ที่มีการรายงานนั้นเป็นอุบัติการณ์ความเส่ียงหรือไม่, พิจารณาผลการแก้ไขอุบัติการณ์ความเส่ียงระดับกลุ่ม/ หน่วยงานเพ่ือปิดเคส และ แก้ไขอุบัติการณ์ความเสี่ยงในกรณีท่ีไม่สามารถแก้ไขได้ในระดับกลุ่ม/หน่วยงาน) โดยมีสิทธิเ์ ขา้ ถึงรายงานความเสย่ี งไดท้ ้งั องคก์ ร การใชง้ านระบบในสทิ ธ์ิของกรรมการบริหารความเส่ยี ง กรรมการบริหารความเสี่ยง มีบทบาทหน้าที่ในการบริหารจัดการความเสี่ยงของสถานพยาบาลท้ัง ระบบ โดยมีสิทธิ์ในการยืนยันวา่ เหตุการณ์ท่ีมีการบันทึกรายงานมานั้นเป็นอุบัติการณ์ความเส่ียงหรือไม่ การ แกไ้ ขอุบัติการณ์ความเส่ียงทีผ่ ่านการแก้ไขปัญหาในระดับหัวหนา้ งาน/ หน่วยงานมาแล้ว (รายงานอบุ ตั ิการณ์ ความเส่ียงท่ีอยู่ในสถานะ “อยู่ระหว่างดาเนินการของกรรมการความเสี่ยง”) การเข้าถึงและเรียกดูข้อมูล รายละเอียดของรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงท้ังหมด รวมทั้งการดาเนินการเก่ียวกับองค์ความรู้หรือวธิ ีการ/ แนวทางการแกไ้ ขอุบตั ิการณค์ วามเส่ียงเชิงระบบขององค์กร ดงั น้ี การบันทกึ รายงานอบุ ตั กิ ารณค์ วามเสย่ี ง ผู้ใช้งานระบบ (Users) ในทุกกลุม่ ผ้ใู ช้ท่มี บี ญั ชีผ้ใู ชใ้ นระบบ สามารถทาการบันทึกรายงานอบุ ตั ิการณ์ ความเสี่ยงได้ทุกคน โดยรายงานในนามของหน่วยงานท่ีตนสังกัดหรือหน่วยงานที่อยู่ภายใต้สังกัดซึ่งอยู่ใน ความรับผดิ ชอบ การบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง ในสิทธิ์ของกลุ่มผู้ใช้ “กรรมการบริหารความเส่ียง” มี ข้ันตอนและวิธีการดาเนินการเช่นเดียวกันกับการบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงในสิทธิ์ของ Admin ดังท่ีได้กลา่ วมาแล้ว การยืนยนั อุบตั ิการณค์ วามเส่ยี งท่ีอยใู่ นสถานะ “รอยืนยัน” ผู้ใช้งานระบบ (User) ท่ีสามารถทาการยืนยนั อุบัติการณ์ความเสี่ยงได้น้ันเป็นผู้ใช้เฉพาะที่อยู่ในกลมุ่ ผู้ใช้ “กรรมการบริหารความเส่ียง” และกลุ่มผู้ใช้ “หัวหน้างาน/ หน่วยงาน” โดยผู้ใช้ในระดับสิทธิ์ กรรมการบริหารความเสี่ยงสามารถทาการยืนยันอุบัติการณ์ความเสี่ยงได้ทุกรายงานท้ังระบบ ส่วนผู้ใช้ใน ระดับสิทธิ์หัวหน้างาน/ หน่วยงาน สามารถยืนยันอุบัติการณ์ความเสี่ยงได้เฉพาะรายงานอุบัติการณ์ที่ หนว่ ยงานในสงั กดั / หน่วยงานท่อี ยู่ในความรับผิดชอบ เปน็ หนว่ ยงานที่รายงาน เทา่ นั้น การยืนยันอุบัติการณ์ความเสี่ยง เป็นการพิจารณาและตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสมเก่ียวกับ เรือ่ งอุบัตกิ ารณค์ วามเสย่ี ง ประเด็นปญั หา (เกดิ อะไร อยา่ งไร) และระดบั ความรุนแรง ของรายงานอุบตั ิการณ์ ความเส่ียงท่ีมีการบันทึกรายงานเหตุการณ์เข้ามาในระบบ เพ่ือยืนยันว่ารายงานเหตุการณ์นั้นเป็นอุบัติการณ์ ความเสี่ยงหรือไม่ อย่างไร และหากเป็นอุบัติการณ์ความเสยี่ งจริง ใครควรเป็นผ้ดู าเนนิ การแก้ไขและแก้ไขใน ระดับใด ได้แก่ ระดับกลุ่มหน่วยงาน (กลุ่มภารกิจ) หรือ ระดับประเภทหน่วยงาน (กลุ่มงาน) หรือ ระดับ หน่วยงาน ซงึ่ มีขนั้ ตอนและวธิ ีการยนื ยนั ดงั นี้ 1) เม่ือผู้ใช้ login เข้าสู่ระบบตามระดับสิทธิ์แล้ว ไปท่ีเมนู “บันทึกข้อมูล” คลิกเลือกรายการเมนู ย่อย “ตรวจสอบขอ้ มูลเพ่ือยืนยัน/ แกไ้ ขอบุ ตั ิการณ์ความเส่ียง” ระบบจะแสดงหนา้ จอแสดงรายละเอียดของ รายงานอุบตั ิการณ์ความเสย่ี งทั้งหมดท่ีผใู้ ช้มสี ิทธิ์เข้าถึงข้อมูล จากน้นั กรอกขอ้ มูลคาสาคัญในชอ่ ง “ค้นหา :” เพื่อค้นหารายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงท่ีต้องการยืนยัน (ตามตัวอย่างจากรูปที่ 14 ต้องการค้นหารายงาน อุบัติการณ์ความเสี่ยงที่อยู่ในสถานะ “รอยืนยัน”) ระบบจะแสดงรายงานอุบัติการณ์ความเส่ียงท้ังหมดที่มีคา สาคญั เป็นสว่ นประกอบ

~ 17 ~ รูปที่ 14 หนา้ จอแสดงรายละเอียดรายงานอุบัติการณ์ความเส่ยี งท้งั หมดที่คน้ หาดว้ ยคาสาคัญ 2) คลกิ ที่ป่มุ ของรายงานอุบัตกิ ารณค์ วามเสี่ยงทตี่ ้องการยืนยัน ระบบจะแสดงหน้าจอ ดงั รปู ท่ี 15 รปู ท่ี 15 หนา้ จอแสดงรายละเอยี ดของรายงานอุบตั ิการณค์ วามเสยี่ งที่รอการยนื ยัน

~ 18 ~ 16 16 17 17

~ 19 ~ 18-19 รูปที่ 18 หนา้ จอแสดงการเลือกระบกุ ลุ่มภารกจิ / กลมุ่ งาน/ หน่วยงานหลกั ท่แี ก้ไขปญั หา และระบุกลุ่มภารกิจ/ กล่มุ งาน/ หนว่ ยงานรว่ มแกไ้ ขปัญหา

~ 20 ~ รูปที่ 19 แสดงการยนื ยันอุบตั ิการณค์ วามเสยี่ งสาเร็จ และเปลีย่ นสถานะเปน็ “ยืนยันแล้วเปน็ อบุ ัติการณ์ความเสี่ยง/ รอแก้ไข” 20

~ 21 ~ 20 21

~ 22 ~ รปู ท่ี 21 แสดงรายละเอียดรายงานอุบตั ิการณ์ความเส่ียงท่ีอย่ใู นสถานะ “อยูร่ ะหวา่ งดาเนนิ การของ กรรมการความเสย่ี ง”

~ 23 ~ 3) ทาการตรวจสอบ วิเคราะห์ และพจิ ารณาข้อมลู เกย่ี วกับอบุ ัติการณ์ความเสีย่ งท่ีเกิดข้ึนและผลการ ดาเนินการแก้ไขปัญหาในระดับกลุ่ม/ หน่วยงาน ว่ามีความถูกต้อง เหมาะสมตามสภาพปัญหาและความ รุนแรงของผลกระทบท่ีเกิดข้ึน หรือมีแนวทางการป้องกันการเกิดปัญหาช้าหรือไม่ (ข้อมูลในช่องท่ีเป็นสีทึบ ไม่สามารถเปล่ียนแปลงแก้ไขได้) โดยสามารถปรับเปลี่ยนและเพิ่มเติมข้อมูลตามความเป็นจริง ดังนี้ (เครื่องหมาย *ดอกจันทร์แดง หมายถึง เป็นข้อกาหนดที่ผู้ใช้จะต้องกรอกข้อมูลหรือเลือกข้อมูลในช่องนั้น หากไมก่ รอกหรือไม่เลอื ก ระบบจะไมอ่ นญุ าตให้ทาการบันทึกข้อมลู ) - การปรับเปลี่ยน เพ่ิมเติมข้อมูลในฟิลด์ต่างๆ ที่มีการบันทึกมาตั้งแต่ข้ันตอนการยืนยัน และการ แก้ไขอบุ ตั ิการณ์ความเสย่ี งจากระดับกลุ่ม/ หนว่ ยงาน ตามท่รี ะบบเปิดใหแ้ กไ้ ขได้ (ขอ้ มูลในช่องที่ไมใ่ ชส่ ีทบึ ) - การบันทึกผลการพิจารณาผลการดาเนินการแก้ปัญหาในระดับกลุ่ม/ หน่วยงาน และ/ หรือบันทึก รายละเอียดการดาเนนิ การแก้ไขปัญหาในระดับกรรมการบริหารความเสี่ยง ลงในชอ่ ง “รายละเอยี ดการแก้ไข ของกรรมการความเสย่ี ง* :” - การบันทึกผลลัพธ์ท่ีเกิดจากกระบวนการทางานในการแก้ไขปัญหา ที่แสดงรายละเอียดว่ามีการ ปรับปรุงระบบงานอะไร หรือมีการพัฒนาระบบอย่างไร ลงในช่อง “ผลลัพธ์ทางกระบวนการทางาน ** :” พร้อมไฟลแ์ นบ (ถา้ มี) - การบันทึกข้อมูลผลกระทบทางสังคม ว่ามีผลกระทบอะไร อย่างไร (ถ้ามี) ลงในช่อง “ผลลัพธ์ทาง สังคม (ถา้ มี) :” 4) การสรปุ ผลการดาเนินการแก้ไขอุบัติการณค์ วามเสย่ี งเพ่ือปดิ เคส โดยการปิดเคสแตล่ ะเคสจะต้อง ระบุวันท่ีส้ินสุดการแก้ไขปัญหาซึ่งเป็นวันท่ีเสร็จสิ้นการดาเนนิ การแก้ไขปัญหาจริง โดยหากระบุผลการแก้ไข อุบัติการณ์ความเส่ียงเป็น “แก้ไขได้ในระดับกลุ่ม/ หน่วยงาน” ระบบจะแสดงวันท่ีสิ้นสุดการแก้ไขปัญหา ระดับกลุ่ม/ หน่วยงาน เป็นวันท่ีส้ินสุดการแก้ไขปัญหาโดยอัตโนมัติ แต่ถ้าหากระบุผลการแก้ไขอุบัติการณ์ ความเส่ียงเป็น “แก้ไขได้ในระดับกรรมการความเส่ียง” จะต้องระบุวันที่ส้นิ สดุ การแก้ไขปัญหาตามวันทีเ่ สรจ็ สิ้นการดาเนินการแก้ไขปัญหาจริง ก่อนการกดปุ่ม ระบบจะแสดงข้อความแจ้งให้ยืนยันการ บันทกึ ขอ้ มูล จากนัน้ กดปมุ่ ระบบจะแสดงข้อความวา่ บันทกึ ข้อมูลสาเร็จ กดปุ่ม อีก คร้ัง หลงั จากน้นั ระบบจะเปล่ยี นสถานะอุบัติการณ์ความเสี่ยงน้นั เป็น “อุบตั ิการณ์ความเสย่ี งที่ไดร้ บั การแก้ไข แล้ว” ดังรปู ที่ 22 รปู ที่ 22 แสดงการแก้ไขอุบตั ิการณ์ความเสี่ยงสาเร็จ (ปดิ เคส) และเปลย่ี นสถานะเป็น “อบุ ัติการณ์ความเส่ยี งท่ีได้รบั การแก้ไขแล้ว”

~ 24 ~ 23 23 24 24

~ 25 ~ 3.5 กลุ่มผู้กรอกข้อมูล Data Set มีบทบาทหน้าที่ในการกรอกและบันทึกข้อมลู ในชุดข้อมลู กลางของระบบ (Data Set) ของหน่วยงาน ตา่ งๆ ตามที่ admin กาหนดให้ การใช้งานระบบในสิทธข์ิ องผูก้ รอกข้อมลู Data Set ผู้ใช้ท่ีอยู่ในกลุ่มผู้ใช้ “ผู้กรอกข้อมูล Data Set” มีสิทธ์ิในระบบบริหารจัดการความเส่ียงได้ เช่นเดียวกันกับผู้ใช้ในสิทธิ์ของเจ้าหน้าท่ี (ผู้ใช้ท่ัวไป) แต่มีสิทธิ์เพิ่มเติมเฉพาะของกลุ่มผู้ใช้นี้ คือ มีบทบาท หน้าท่ีในการกรอกและบันทึกข้อมูลในรายการชุดข้อมูลกลางของระบบ (Data Set) ตามรูปแบบการบันทึก (บันทึกแบบรายวัน หรือแบบรายเดือน) ของหน่วยงานต่างๆ ซึ่งเป็นแหล่งของการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลใน รายการชุดขอ้ มลู กลางเหลา่ นนั้ ตามที่ admin กาหนดให้ การตดิ ตามและเฝา้ ระวังรายงานอุบัติการณค์ วามเสย่ี งซ่งึ อยู่ในสถานะตา่ งๆ ผู้ใช้ในสิทธิ์ผู้กรอกข้อมูล Data Set สามารถติดตามและเฝ้าระวังข้อมูลจานวนรายงานอุบัติการณ์ ความเส่ียงซ่ึงอยู่ในสถานะต่างๆ ที่หน่วยงานของตนเองมีส่วนร่วมหรือเกี่ยวข้องกับการดาเนินการบริหาร จัดการอุบัติการณ์ความเสี่ยงน้ันๆ ได้เช่นเดียวกันกับกลุ่มผู้ใช้ “เจ้าหน้าที่” หรือผู้ใช้ทั่วไป ซึ่งมีข้ันตอนและ วธิ กี ารดาเนินการ ดังทีก่ ลา่ วมาแล้ว การบนั ทึกรายงานอบุ ัติการณค์ วามเส่ียง ผู้ใช้งานระบบ (Users) ในทุกกลมุ่ ผูใ้ ช้ท่ีมบี ญั ชีผู้ใชใ้ นระบบ สามารถทาการบันทึกรายงานอุบตั ิการณ์ ความเส่ียงได้ทุกคน โดยรายงานในนามของหน่วยงานที่ตนสังกัดหรือหน่วยงานท่ีอยู่ภายใต้สังกัดซึ่งอยู่ใน ความรับผิดชอบ การบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเส่ียง ในสิทธิ์ของกลุ่มผู้ใช้ “ผู้กรอกข้อมูล Data Set” มีข้ันตอน และวิธีการดาเนินการเช่นเดียวกันกับการบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเส่ียงในสิทธ์ิของ Admin สิทธ์ิของ กรรมการบรหิ ารความเส่ียง สิทธข์ิ องหวั หนา้ งาน/ หน่วยงาน และสทิ ธ์ขิ องเจา้ หน้าท่ี (ผใู้ ชท้ ่ัวไป) ดังท่ีได้กล่าว มาแลว้ การกรอกและบนั ทึกขอ้ มูล Data Set เป็นการกรอกและบันทึกข้อมูลในรายการชุดข้อมูลกลางของระบบ (Data Set) ของหน่วยงานต่างๆ ซ่ึงเป็นแหล่งของการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลในรายการชุดข้อมูลกลางเหล่านั้น ตามที่ admin กาหนดให้ โดย ระบบจะทาการรวบรวมขอ้ มูลของแตล่ ะหน่วยงาน รวมเป็นขอ้ มูลภาพรวมขององคก์ รโดยอัตโนมัติ

~ 26 ~ ท้ังน้ี การบันทึกข้อมูลซึ่งเป็นรายการข้อมูลในชุดข้อมูลกลางของระบบ (Data Set) จะสามารถ บันทึกหรือแก้ไขข้อมูลของเดือนก่อนหน้าได้ภายในวันที่ 25 ของเดือนปัจจุบัน เมื่อพ้นกาหนดระยะเวลา ดงั กลา่ วนีแ้ ล้วระบบจะปดิ ล็อคไมใ่ ห้ทาการบันทกึ หรือแก้ไขข้อมูลย้อนหลงั ได้อีก รูปแบบของการบันทึกข้อมูล Data Set แบ่งออกเปน็ 2 รปู แบบ ดงั น้ี 1. การบันทกึ ขอ้ มูล Data Set แบบรายวนั เป็นการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล Data Set ของหน่วยงานที่เป็นแหล่งของข้อมูล ด้วยการเก็บ รวบรวมข้อมูลเป็นแบบรายวัน ซึ่งต้องกรอกและบันทึกข้อมูลเป็นประจาทุกวัน โดยระบบจะรวมยอด ประจาเดือนของหน่วยงานให้โดยอัตโนมัติ จากนั้นจะทาการสรุปยอดรวมเป็นยอดข้อมูลประจาเดือนของ องค์กร 2. การบนั ทึกข้อมลู Data Set แบบรายเดอื น เป็นการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล Data Set ของหน่วยงานที่เป็นแหล่งของข้อมูล ด้วยการเก็บ รวบรวมขอ้ มูลยอดรวมท้งั เดือนก่อนนายอดรวมน้ันมากรอกและบนั ทึกลงในระบบเปน็ ประจาทุกเดือนๆ ละ 1 ครง้ั โดยระบบจะทาการรวมยอดของทุกหน่วยงานสรปุ รวมเป็นยอดรวมประจาเดือนขององค์กรโดยอตั โนมตั ิ

~ 27 ~ 4. ระบบสารสนเทศการบริหารจัดการความเส่ยี งของสถานพยาบาล (Healthcare Risk Management System: HRMS) สาหรับบคุ ลากรโรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์ 4.1 ขัน้ ตอนการเขา้ ส่รู ะบบโปรแกรม HRMS on Cloud 4.2 ข้ันตอนการบนั ทึกการรายงานอุบัติการณค์ วามเสยี่ ง

~ 28 ~ ระบบสารสนเทศการบรหิ ารจดั การความเสีย่ งของสถานพยาบาล (Healthcare Risk Management System: HRMS) สาหรับบคุ ลากรโรงพยาบาลศรนี ครินทร์ 4.1 เขา้ สู่ www.srim-hrms.com และทาการกรอก User ID & Password * เพ่อื Login กรอก Username & Password เพอ่ื Login เข้าสรู่ ะบบ รปู ท่ี 1 แสดงการเข้าใช้งานระบบ HRMS on Cloud ผ่านโดเมนเนมของสถานพยาบาล * User ID & Password งานพฒั นาคณุ ภาพ รพ. (HA) ได้ดาเนินการสง่ ให้แตล่ ะหนว่ ยงานตามระดับสทิ ธกิ์ ารเข้าใชง้ านโปรแกรมแล้ว เมื่อ เมษายน 2561 (หากพบปัญหาการใชง้ านโปรดติดต่อ คณุ วภิ ากรณ์ พรมทองมี งาน HA โทร. 6 3424)

~ 29 ~ 4.2 การบนั ทกึ รายงานอุบตั ิการณ์ความเสย่ี ง ผู้ใช้งานระบบ (Users) หมายถึง ผู้เข้าใช้โปรแกรมนี้เพ่ือรายงานอุบัติการณ์ความเสย่ี ง/อุบัติการณ์ (ทุกระดับ สิทธิที่มีบัญชีผู้ใช้ในระบบ) สามารถบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเส่ียงได้ทุกคน โดยรายงานในนามของหน่วยงานที่ ตนสงั กดั หรอื หนว่ ยงานท่อี ยู่ภายใตส้ ังกดั ซึ่งอย่ใู นความรับผิดชอบ การบันทกึ รายงานอบุ ัตกิ ารณ์ความเสย่ี ง เป็นการรายงาน/ การลงบนั ทึกการเกดิ เหตุการณเ์ ก่ยี วกับอุบตั ิการณ์ มขี ้ันตอนและวิธีการดาเนินการ ดังน้ี 1) เม่ือผู้ใช้ login เข้าสู่ระบบตามระดับสิทธิ์แล้ว คลิกท่ีปุ่ม หรือไปท่ีเมนู “บันทึกข้อมูล” แล้วคลิกเลือกรายการ “บันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเส่ียง” ระบบจะแสดงหน้าจอสาหรับการลง บันทึกรายงานการเกดิ เหตกุ ารณ์อบุ ัติการณ์ความเส่ยี ง ดังรปู ที่ 2-3 รูปที่ 2 แสดงหนา้ หลกั ของระบบ HRMS on Cloud

~ 30 ~ รปู ท่ี 3 แสดงหนา้ จอสาหรบั การลงบนั ทึกรายงานการเกิดเหตุการณ์อบุ ัตกิ ารณค์ วามเสี่ยง 2) กรอกขอ้ มูลในชอ่ งตา่ งๆ ของการรายงานอุบตั ิการณค์ วามเสยี่ งโดย  เคร่ืองหมาย * ดอกจันทร์แดง หมายถึง ข้อมูลที่บังคับการกรอก ซึ่งเป็นข้อกาหนดท่ีผู้ใช้ จะต้องกรอกข้อมูลหรือเลือกข้อมูลในช่องนั้น หากไม่กรอกหรือไม่เลือกระบบจะไม่อนุญาต ให้ทาการบนั ทกึ ขอ้ มลู  เครื่องหมาย ** หมายถึง ข้อมูลตาม Standard Data Set & Terminologies ที่ต้องส่งเข้า สูร่ ะบบ NRLS (มรี ายการทง้ั หมด 23 รายการตามภาคผนวก) โดยขอ้ ความของแต่ละช่องท่ใี ห้กรอกข้อมูลนนั้ มคี วามหมาย ดงั นี้

~ 31 ~ รายการ ความหมาย หน่วยงานท่ีรายงาน * หนว่ ยงานต้นสังกดั และ/ หรือ หน่วยงานภายใต้สังกดั ทอ่ี ยู่ในความรับผดิ ชอบ ของผ้ทู ่ีค้นพบเหตกุ ารณ์และเปน็ ผรู้ ายงานการเกิดเหตกุ ารณ์น้นั ๆ ประเภท**/ ชนดิ **/ สถานท่เี กดิ เหต*ุ สถานที่ท่ีเกิดเหตุการณ/์ อบุ ัติการณ์ความเสีย่ งรายการนั้นๆ เป็นอบุ ัตกิ ารณค์ วามเสย่ี งในเรือ่ งใด** ระบวุ า่ เหตกุ ารณ์/ อุบัติการณ์ความเส่ียงท่ีเกิดขึ้นนน้ั เป็นอุบตั ิการณ์ความเสยี่ ง เรือ่ งใด (รหสั ของอุบตั ิการณ์ความเสีย่ งจะบอกท่ีมาว่าเปน็ อุบตั กิ ารณ์ความเสี่ยง ของประเภทยอ่ ยในประเภท หมวด และกลุ่มอุบตั กิ ารณใ์ ด) อบุ ัติการณ์ความเสย่ี งย่อย หวั ขอ้ อบุ ัติการณ์ความเสยี่ งย่อยของแต่ละรายการอบุ ตั ิการณค์ วามเสี่ยงเร่ือง นน้ั สรุปประเด็นปญั หา** การสรปุ เรือ่ งราวการเกิดอบุ ตั ิการณค์ วามเสี่ยงพอสังเขปโดยบอกให้รวู้ า่ เกิด อะไร อย่างไร ระดับความรนุ แรง** ระบุว่าระดับความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดข้ึนจากเหตุการณ/์ อบุ ตั ิการณ์ ความเส่ยี งน้นั อยู่ในระดับใด ผู้ทีไ่ ดร้ ับผลกระทบ** ระบวุ า่ การเกิดอบุ ัติการณ์ความเสี่ยงน้นั ใครเป็นผูท้ ่ีได้รบั ผลกระทบหลักจาก เหตุการณน์ ้ันๆ ทั้งน้ีหากเปน็ รายบคุ คล ให้ระบุ เพศ*: และ อาย*ุ : ดว้ ยเสมอ วันทเี่ กดิ อุบัติการณ์ความเส่ียง** ระบุว่าวันทเี่ กิดเหตุการณ/์ อุบัตกิ ารณ์ความเส่ียงน้ัน เกิดวันที่เทา่ ไหร่ (วนั ท่ี เกิดอุบตั ิการณ์ความเส่ียงนนั้ อาจไมใ่ ชว่ นั ท่คี น้ พบหรอื วนั ท่ีลงบันทึกรายงาน อบุ ตั ิการณค์ วามเส่ียง) วนั ท่คี ้นพบ* ระบุว่าวันที่ค้นพบการเกิดอบุ ัติการณค์ วามเสย่ี งนน้ั คือวนั ทเ่ี ทา่ ไหร่ (อาจเปน็ วัน เดยี วกนั กับวันทเ่ี กิดเหตุการณ์ หรอื หลงั จากท่ีเกิดเหตุการณแ์ ล้วกไ็ ด้ แตร่ ะบบ จะไม่อนุญาตให้ระบุวนั ที่มากกวา่ วนั ท่ปี จั จุบนั ซ่งึ ลงบันทึกรายงานอบุ ัติการณ์ ความเส่ียงน)ี้ ชว่ งเวลาที่เกดิ อบุ ัติการณค์ วามเสี่ยง ** เวร หมายถงึ ระบวุ า่ รอบเวรที่เกดิ เหตกุ ารณน์ ั้นเกิดข้นึ ในรอบเวรใด หรือหาก สามารถระบุเวลาทชี่ ดั เจนและต้องการระบุเวลาท่เี กดิ เหตกุ ารณ์จรงิ ก็ให้เลอื ก ระบุเวลาท่เี กดิ เหตุการณ์ ในช่อง หรอื เวลา : แหล่งทมี่ า/ วธิ กี ารการค้นพบ* ระบวุ ่าการค้นพบเหตุการณ์/ อุบัติการณค์ วามเส่ียงรายการนัน้ คน้ พบด้วย วิธีการใด รายละเอยี ดการเกิดเหตุ* ให้ระบรุ ายละเอียดการเกดิ เหตกุ ารณ์/ อุบตั ิการณค์ วามเสี่ยงนนั้ ๆ สามารถ แนบไฟลเ์ พ่ิมเติมทชี่ ่อง Choose Files (การกดปุม่ Choose Files คร้ังเดียว สามารถแนบไฟล์ไดม้ ากกว่า 1 ไฟล์ หรอื หากกดปุ่มเพ่ือแนบไฟล์ทลี ะคร้งั ระบบจะบนั ทกึ ไฟลท์ ี่แนบล่าสุดเพียงไฟล์เดยี ว ทง้ั นี้ขนาดของไฟลแ์ นบรวมกนั ทัง้ หมดต่อการบันทึกรายงานอบุ ตั กิ ารณ์ความเสย่ี งครัง้ น้ันจะต้องไมเ่ กิน 10 MB.) การจัดการเบื้องตน้ * ให้ระบุจากเหตุการณ์/ อบุ ตั ิการณค์ วามเสี่ยงที่เกิดขน้ึ น้ี ผู้ทคี่ น้ พบปัญหาและ บันทกึ รายงานอุบตั ิการณค์ วามเสย่ี ง มกี ารจัดการหรอื ดาเนินการเบ้อื งตน้ อยา่ งไรไปแลว้ บา้ ง สามารถแนบไฟลเ์ พ่ิมเติมท่ชี ่อง Choose Files

~ 32 ~ 3) เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จแล้ว กดปุ่ม ระบบจะแสดงข้อความแจ้งให้ยืนยันการบันทึกข้อมูล จากน้ัน กดปุ่ม ระบบจะแสดงข้อความว่าบันทึกข้อมูลสาเร็จ กดปุ่ม จากนั้นระบบจะแสดง ข้อความ (popup) แจ้งให้ทราบว่าการบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงน้ันสาเร็จ กดปุ่ม อีกครั้งระบบ จะกลบั เข้าสู่หน้าจอของการติดตาม เฝา้ ระวังอบุ ัตกิ ารณ์ความเสีย่ ง ดงั รปู ท่ี 4 รูปที่ 4 หนา้ จอการกรอกรายละเอียดขอ้ มูลการบันทึกรายงานอบุ ตั กิ ารณค์ วามเสีย่ งสาเร็จ [จบขนั้ ตอนการบนั ทึกรายงาน]

~ 33 ~ ภาคผนวก

~ 34 ~

~ 35 ~

~ 36 ~

~ 37 ~

~ 38 ~

~ 39 ~ รายการชุดข้อมลู กลาง (Data Set) ของระบบ NRLS เปน็ รายการข้อมูลกลางทีโ่ รงพยาบาลสมาชกิ ระบบ NRLS ทุกแหง่ ท้ังสมาชิกที่มีการสง่ ข้อมูลเข้าส่รู ะบบ NRLS แบบ real time โดยอัตโนมตั ิ โดยเบ้อื งต้นประกอบดว้ ยรายการข้อมลู จานวน 23 รายการ ตามรายละเอียดรายการ ชดุ ข้อมูล ดังน้ี รหัส รายการชุดข้อมลู กลาง ความหมาย และการจัดเกบ็ ข้อมลู หนว่ ยนับ หมายเหตุ RR001 จานวนวนั นอนผปู้ ว่ ยใน ยอดรวมจานวนผปู้ ่วยใน ณ เวลา 24.00 น. ในแต่ละวนั (กรณมี ีผปู้ ว่ ย วนั ที่รับและจาหนา่ ยในวันเดยี วกันใหน้ บั เพิ่มเปน็ 1 วันนอน) RR002 จานวนวันนอนผูป้ ่วย ใน ยอดรวมจานวนผปู้ ่วยในหออภบิ าลผู้ปว่ ยหนกั -ไอซียู ณ เวลา 24.00 วนั หออภบิ าลผปู้ ่วยหนัก- น. ในแตล่ ะวัน (กรณมี ีผ้ปู ว่ ยท่ีรับและจาหนา่ ยในวันเดียวกันให้นบั เพิม่ ไอซยี ู เปน็ 1 วนั นอน) RR003 จานวนราย visit ผูป้ ่วย ยอดรวมจานวนครงั้ ผูป้ ว่ ยทเ่ี ข้ารับการตรวจรกั ษาในหนว่ ยบริการ ราย visit นอก ในเวลาราชการ ผู้ป่วยนอก ในเวลาราชการ ในแตล่ ะวนั (กรณผี ปู้ ว่ ย 1 คน เขา้ รบั การ ตรวจรกั ษาในหนว่ ยบรกิ ารผ้ปู ว่ ยนอกมากกว่า 1 หนว่ ยบรกิ ารในวนั เดยี วกัน ให้นับราย visit ตามจานวนหนว่ ยบรกิ าร) RR004 จานวนราย visit ผปู้ ่วย ยอดรวมจานวนครัง้ ผปู้ ่วยทเ่ี ขา้ รับการตรวจรักษาในหน่วยบรกิ าร ราย visit นอก นอกเวลาราชการ ผปู้ ่วยนอก ในวันหยุดราชการและในช่วงนอกเวลาราชการ ในแต่ละ วัน (กรณผี ปู้ ว่ ย 1 คน เขา้ รบั การตรวจรกั ษาในหนว่ ยบริการผปู้ ่วย นอกมากกว่า 1 หน่วยบรกิ ารในวนั เดียวกนั ให้นับราย visit ตาม จานวนหนว่ ยบริการ) RR005 จานวนผู้ปว่ ยนอก ใน ยอดรวมจานวนผปู้ ว่ ยท่เี ขา้ รับการตรวจรกั ษาในหนว่ ยบรกิ ารผู้ป่วย รายคน เวลาราชการ นอก ในเวลาราชการ ในแตล่ ะวนั (กรณีผ้ปู ว่ ย 1 คน เขา้ รบั การตรวจ รักษาในหน่วยบรกิ ารผูป้ ่วยนอกมากกว่า 1 หน่วยบรกิ ารในวันเดยี วกนั ใหน้ ับเปน็ 1 รายคนตาม HN ของผูป้ ว่ ยรายนนั้ ๆ) RR006 จานวนผู้ปว่ ยนอก นอก ยอดรวมจานวนผปู้ ่วยท่เี ข้ารับการตรวจรกั ษาในหน่วยบรกิ ารผู้ป่วย รายคน เวลาราชการ นอก ในวันหยุดราชการและในชว่ งนอกเวลาราชการ ในแตล่ ะวัน (กรณผี ปู้ ว่ ย 1 คน เข้ารับการตรวจรักษาในหน่วยบรกิ ารผปู้ ่วยนอก มากกว่า 1 หนว่ ยบรกิ ารในวนั เดียวกนั ให้นบั เป็น 1 รายคนตาม HN ของผ้ปู ่วยรายนัน้ ๆ) RR007 จานวนผู้ป่วยฉุกเฉิน ยอดรวมจานวนผู้ป่วยฉกุ เฉินวิกฤต (สแี ดง) ทีเ่ ขา้ รับการตรวจรกั ษาใน รายครงั้ วิกฤต (สแี ดง) ของ หนว่ ยอบุ ตั ิเหตุ-ฉุกเฉนิ ในแตล่ ะวนั (กรณผี ู้ปว่ ย 1 คน เข้ารับการ หนว่ ยอบุ ัติเหตุ-ฉุกเฉิน ตรวจรกั ษาในหนว่ ยอบุ ตั ิเหตุ-ฉกุ เฉนิ มากกว่า 1 คร้งั ในวนั เดียวกนั ให้ นับตามจานวนครัง้ ที่เข้ารบั การตรวจรกั ษาในวันนั้น) RR008 จานวนผ้ปู ว่ ยฉุกเฉิน ยอดรวมจานวนผู้ป่วยฉกุ เฉนิ เร่งดว่ น (สเี หลือง) ทเี่ ขา้ รบั การตรวจ รายคร้ัง เร่งดว่ น (สีเหลือง) ของ รกั ษาในหนว่ ยอบุ ตั ิเหตุ-ฉกุ เฉนิ ในแตล่ ะวัน (กรณผี ูป้ ว่ ย 1 คน เขา้ รบั หนว่ ยอบุ ตั ิเหตุ-ฉุกเฉิน การตรวจรกั ษาในหนว่ ยอบุ ตั เิ หตุ-ฉกุ เฉินมากกวา่ 1 ครัง้ ในวนั เดยี วกัน ใหน้ ับตามจานวนครงั้ ท่ีเข้ารบั การตรวจรกั ษาในวันน้นั )

~ 40 ~ รหสั รายการชุดขอ้ มลู กลาง ความหมาย และการจัดเก็บข้อมลู หน่วยนบั หมายเหตุ RR009 จานวนผู้ปว่ ยฉุกเฉินไม่ ยอดรวมจานวนผู้ป่วยฉกุ เฉินไมร่ ุนแรง (สีเขยี ว) ทีเ่ ขา้ รบั การตรวจ รายครั้ง รนุ แรง (สเี ขียว) ของ รักษาในหนว่ ยอบุ ตั ิเหตุ-ฉกุ เฉิน ในแต่ละวัน (กรณผี ู้ป่วย 1 คน เขา้ รบั หน่วยอบุ ัตเิ หตุ-ฉุกเฉนิ การตรวจรักษาในหน่วยอุบตั เิ หตุ-ฉุกเฉินมากกวา่ 1 คร้ังในวนั เดยี วกนั ใหน้ ับตามจานวนคร้ังที่เขา้ รับการตรวจรกั ษาในวนั นั้น) RR010 จานวนผปู้ ว่ ยทัว่ ไป (สี ยอดรวมจานวนผู้ปว่ ยทว่ั ไป (สขี าว) และ/ หรือผ้รู บั บริการสาธารณสขุ รายครงั้ ขาว) และ/ หรอื อ่ืน (สดี า) ทเ่ี ขา้ รับการตรวจรกั ษาในหนว่ ยอบุ ัติเหตุ-ฉุกเฉนิ ในแตล่ ะ ผู้รับบริการสาธารณสขุ วัน (กรณีผู้ปว่ ย 1 คน เข้ารบั การตรวจรกั ษาในหนว่ ยอบุ ตั ิเหตุ-ฉกุ เฉนิ อน่ื (สดี า) ของหนว่ ย มากกว่า 1 คร้ังในวนั เดยี วกนั ให้นบั ตามจานวนคร้งั ท่เี ข้ารับการตรวจ อบุ ัติเหตุ-ฉกุ เฉนิ รกั ษาในวันน้นั ) RR011 จานวนผปู้ ว่ ยทม่ี กี ารส่ง ยอดรวมจานวนผปู้ ว่ ยท่ีมกี ารส่งตอ่ (Refer) เพอื่ ไปรับการตรวจรักษา รายคน ตอ่ (Refer) ต่อ (ยกเวน้ การนัด Follow Up) ในแต่ละวนั (นับรวมการสง่ ต่อของ ทง้ั ผ้ปู ว่ ยนอก ผู้ปว่ ยอุบัตเิ หตุ-ฉกุ เฉิน และผ้ปู ่วยใน) RR012 จานวนครงั้ การผา่ ตัด ยอดรวมจานวนครง้ั การผ่าตดั ซึ่งเปน็ การทาหัตถการทุกหัตถการ รายคร้งั (ยกเวน้ การผ่าตัดคลอด: cesarean section) ท่ที าในหอ้ งผา่ ตดั ทงั้ ใน หตั ถการทด่ี มยาและไมด่ มยา ในแต่ละวนั RR013 จานวนผู้ป่วยผ่าตัด ยอดรวมจานวนผปู้ ว่ ยผา่ ตดั ซงึ่ เปน็ ผปู้ ว่ ยท่ีได้รบั การทาหัตถการทกุ รายคน หตั ถการ ทั้งในหัตถการท่ดี มยาและไมด่ มยา ทที่ าในห้องผ่าตดั (ยกเว้น หญงิ ผา่ ตดั คลอด: cesarean section) ในแตล่ ะวนั RR014 จานวนผา่ ตดั คลอด: ยอดรวมจานวนครงั้ การผา่ ตดั คลอด: cesarean section ในแตล่ ะวัน รายคร้ัง cesarean section RR015 จานวนผูค้ ลอด ยอดรวมจานวนผู้คลอด จากการคลอดทุกประเภท (ยกเวน้ ผคู้ ลอด รายคน จากการผา่ ตัดคลอด) ในแตล่ ะวนั RR016 จานวนทารกแรกเกดิ มี ยอดรวมจานวนทารกแรกเกดิ มชี พี จากการคลอดทกุ ประเภทของหญิง รายคน ชีพ ตง้ั ครรภข์ ณะอยูใ่ นโรงพยาบาลหรอื ขณะมาโรงพยาบาล ในแต่ละวนั RR017 จานวนผู้ปว่ ยเสยี ชวี ติ ใน ยอดรวมจานวนผปู้ ว่ ยที่เสยี ชีวติ ในโรงพยาบาล ยกเว้นการเสียชวี ติ ของ รายคน โรงพยาบาล ผปู้ ่วยทห่ี น่วยอุบตั เิ หตุ-ฉกุ เฉิน ในแตล่ ะวนั RR018 จานวนวนั ใชเ้ ครื่องช่วย ยอดรวมจานวนผปู้ ่วยทใ่ี ช้เครื่องชว่ ยหายใจ ณ เวลา 24.00 น. ในแต่ Device หายใจ ละวัน (รวมผปู้ ่วยซึง่ อย่ใู นกระบวนการ wean off และผปู้ ่วยทพี่ งึ่ off day เครอ่ื งช่วยหายใจไม่ถึง 24 ชั่วโมง) RR019 จานวนวันใส่คาสายสวน ยอดรวมจานวนผู้ปว่ ยที่ใสค่ าสายสวนปสั สาวะ ณ เวลา 24.00 น. ใน Device ปัสสาวะ แตล่ ะวัน (รวมผ้ปู ว่ ยท่พี งึ่ off สายสวนปสั สาวะไม่ถึง 24 ชว่ั โมง) day RR020 จานวนวันใสค่ าสาย ยอดรวมจานวนผปู้ ว่ ยท่ใี ส่คาสาย Central line ณ เวลา 24.00 น. ใน Device Central line แตล่ ะวัน (รวมผปู้ ่วยทพ่ี ึ่ง off สาย Central line ไมถ่ งึ 24 ช่ัวโมง) day RR021 จานวนใบสัง่ ยาตามราย ยอดรวมจานวนใบส่ังยาผู้ป่วยนอกตามราย visit ทง้ั หมด ทงั้ ในและ ใบส่งั visit ของผูป้ ่วยนอก นอกเวลาราชการ ในแตล่ ะวนั

~ 41 ~ รหัส รายการชดุ ขอ้ มลู กลาง ความหมาย และการจัดเกบ็ ขอ้ มลู หนว่ ยนบั หมายเหตุ RR022 จานวนใบสั่งยาผปู้ ว่ ย ยอดรวมจานวนใบสง่ั ยาผูป้ ว่ ยนอกตามจานวนผปู้ ว่ ยทเี่ ข้ารับการตรวจ ใบสัง่ นอก รักษาในหนว่ ยบรกิ ารผปู้ ่วยนอกทง้ั หมด ท้ังในและนอกเวลาราชการ ในแตล่ ะวัน RR023 จานวนตาแหนง่ การใส่ จานวนตาแหนง่ ที่ใส่คา IV. Fluid / Hep-lock ของผ้ปู ่วยใน ในแต่ละ ตาแหน่ง IV. Fluid / Hep-lock วนั นบั ยอด ณ เวลา 24.00 น.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook