àÍ¡ÊÒÃÃÇÁº·¤´ÑÂÍ‹
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง สารบัญ รายการ หน้า กำหนดการประชมุ วิชาการ “The 2nd National Conference on Health Sciences Research and iv Innovation: Knowledge Transformation towards Thailand 4.0” กำหนดการนำเสนอผลงานวชิ าการแบบปากเปลา่ v คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน: กรณศี กึ ษาล่มุ นำ้ ยมตอนบน 1 ความรู้ การรับรเู้ ร่ืองฉลากโภชนาการและการใชข้ อ้ มูลบนฉลากโภชนาการของผูส้ งู อายุ จังหวดั อุบลราชธานี 2 ปรมิ าณเชือ้ จลุ ชพี ในอากาศทีศ่ ึกษาในแผนกทสี่ ะอาดของโรงพยาบาลแห่งหน่งึ สังกดั กรงุ เทพมหานคร 3 ผลการพฒั นาระบบการดูแลผสู้ งู อายุระยะยาวด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำบล 4 แคมปส์ น อำเภอเขาค้อ จงั หวัดเพชรบูรณ์ การศึกษาระดับความยากงา่ ยในการอา่ นเนือ้ หาของส่ือสขุ ภาพในสถานบรกิ ารสขุ ภาพ 6 การมีสว่ นรว่ มของชุมชนในการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมการออกกำลงั กายของประชาชน หมู่ 9 บ้านควนยายม่อม 7 ตำบลหนองชา้ งแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวดั ตรงั คุณภาพชวี ติ และความสามารถในการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจำวนั ในผู้สูงอายุ 8 ผลของโปรแกรมการส่งเสรมิ ความรอบร้ดู า้ นสขุ ภาพในการปอ้ งกนั โรคพิษสนุ ขั บ้า ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษา 9 โรงเรยี นนามนพทิ ยาคม อำเภอนามน จงั หวดั กาฬสินธุ์ ปัจจัยท่มี คี วามสมั พันธต์ ่อความสขุ ของผู้สงู อายุในอำเภอวังทอง จังหวดั พษิ ณโุ ลก 10 ปจั จยั ทม่ี ีความสัมพันธต์ ่อภาวะซมึ เศรา้ ของผสู้ ูงอายุ ในพ้นื ทต่ี ำบลแห่งหนง่ึ อำเภอเมอื ง จังหวดั สมุทรสงคราม 11 การปนเปื้อนของสารตะกัว่ จากสไี ม้ สเี ทยี น ดนิ นำ้ มัน ของเลน่ เครอ่ื งเล่น และสที าผนังหอ้ งเรยี น ในศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ 12 เขตอำเภอเมือง จงั หวดั นครราชสมี า การประเมนิ ปริมาณการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกจากการจดั การมลู ฝอยของเทศบาลเมืองน่าน จงั หวัดน่าน 13 การประเมินการปนเป้อื นปรมิ าณแบคทีเรยี และเชื้อราในอากาศภายใน ห้องเรียน และหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารชวี วิทยา 14 มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศูนยล์ ำปาง การกำจัดฟลอู อไรดใ์ นน้ำด้วยวสั ดดุ ูดซบั ท่ีสงั เคราะห์จากของเสีย 15 การศึกษาประสิทธภิ าพของกากตะกอนจากการผลติ นำ้ ประปาในการผลติ เปน็ อิฐบล็อก 16 การเปรยี บเทยี บประสิทธภิ าพของน้ำส้มสายชูและน้ำมะกรูดในการลดปรมิ าณ Escherichia coli ทป่ี นเปอื้ นใน 17 ผักกาดหอม Ammonia Removal from Chicken Manure by Using Air Stripping Process 18 Electricity Generation from Wastewater of Chicken Farm 19 ศกึ ษาพฤติกรรมการบรโิ ภคและคณุ ภาพน้ำด่ืมสำหรับนกั ศกึ ษา มหาวิทยาลยั แม่ฟา้ หลวง จงั หวดั เชยี งราย 20 การศึกษาการพฒั นาศักยภาพการใชป้ ระโยชน์กากของเสียอตุ สาหกรรมโดยใชห้ ลกั 3Rs 21 รูปแบบทดี่ ีในการประกันสุขภาพแรงงานข้ามชาตทิ ไ่ี มม่ ี MOU : กรณีศกึ ษา M-Fund 22 i
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง รายการ หน้า การเปรยี บเทียบประสิทธผิ ลของคลอเฮกซดิ ีน กลโู คเนต และโพวโิ ดนไอโอดนี ในการทำความสะอาดลน้ิ 23 สำหรับกลุม่ ผสู้ ูงอายตุ ดิ เตียง ผลการลดเชื้อแบคทีเรยี บนลิน้ โดยการใช้โพวโิ ดนไอโอดีนในกลุ่มผ้สู งู อายทุ มี่ ภี าวะปากแห้ง 24 ปัจจยั ท่ีมคี วามสัมพนั ธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผปู้ ่วยโรคไตเรอื้ รงั ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จงั หวดั 25 พิษณโุ ลก ประโยชน์ของโปรแกรมการตรวจสขุ ภาพประจำปี สำหรับประชาชนทว่ั ไป ทมี่ าตรวจสขุ ภาพท่โี รงพยาบาลศิรริ าช 26 การมีสว่ นร่วมของชุมชนในการปอ้ งกนั โรคไข้เลอื ดออกของประชาชน หมทู่ ่ี 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบอื อำเภอยา่ นตา 27 ขาว จังหวดั ตรัง การมสี ว่ นรว่ มเพอ่ื สร้างเสริมการออกกำลังกายของประชาชนหม่ทู ่ี 7 ชมุ ชนบา้ นนานิน ตำบลทุ่งกระบอื อำเภอย่านตา 28 ขาว จังหวัดตรัง ความชกุ และความสัมพนั ธ์ของแบบแผนการด่มื เครื่องด่มื แอลกอฮอล์ ภายหลงั การเล่นกฬี าฟุตบอลเพศชายเพ่อื นำไปใช้ 29 ในการพัฒนามาตรการปอ้ งกัน SSKRU Senior Fitness Test: ชดุ อปุ กรณท์ ดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรับผสู้ งู วยั ไทย โดยใช้เทคโนโลยี Internet 30 of Thing การพัฒนาโปรแกรมการสง่ เสรมิ สขุ ภาพช่องปากตอ่ พฤติกรรมการดแู ลสุขภาพช่องปากของนักเรยี นอายุ 12 ปี 31 เขตพ้ืนที่อำเภอวดั โบสถ์ จังหวดั พษิ ณโุ ลก ผลติ ภณั ฑ์สารโคแอค็ กูแลนทแ์ ละโพลิเมอร์แอดจากธรรมชาตเิ พอ่ื บำบัดคุณภาพน้ำ 32 ภาวะซมึ เศรา้ ของผมู้ ารับบริการคลนิ ิกสขุ ภาพจิต โรงพยาบาลกระทมุ่ แบนและปจั จัยทเี่ กีย่ วขอ้ ง 33 การระบตุ ำแหน่งระดบั จลุ ภาคของ Vesicular Inhibitory Amino Acid Transporter ในต่อมนำ้ ลายหลกั ของหนไู มซ์ 34 การศึกษาระดบั ซีเทอมินอลเทโลเปปไทดข์ องคอลลาเจนชนิดที่หน่ึงในนำ้ ลายผู้ป่วยภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการ 35 ใชย้ า ผลของโปรแกรมป่ันจกั รยานวัดงานทม่ี ผี ลตอ่ ความสามารถในการใชอ้ อกชิเจนสงู สุดของวยั ร่นุ ชาย 36 ปจั จยั ส่วนประสมการตลาด 4C’s ท่สี ่งผลตอ่ การเลือกใชศ้ ูนย์บรกิ ารฟิตเนสของประชาชนในเขตอำเภอเมอื งจงั หวดั 37 อดุ รธานี ผลของการออกกำลงั กายโดยการเต้นบาสโลบตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ในผสู้ ูงอายุ 38 SSKRU Muscle Fit Test: ความเท่ียงและความเปน็ ปรนยั ของเครื่องมอื อเิ ล็กทรอนกิ สเ์ พอื่ วัดความแขง็ แรงและ 39 ทนทานของกลา้ มเนือ้ สำหรบั นกั เรยี นมธั ยมศึกษาตอนปลาย ความสัมพนั ธร์ ะหว่างการทำงานของสมองดา้ นการจดั การและประสทิ ธภิ าพในการเดินของผสู้ ูงอายุในชมุ ชน 40 ผลของนวตั กรรมจากผ้าพ้นื เมืองตอ่ อาการปวดคอ บา่ ไหล่ ในกลมุ่ วยั กลางคน 41 The Risk of an Eating Disorder among University’s Female Students 42 Prevalence of needle stick injuries among nursing students in China: A systematic review 43 ii
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง รายการ หน้า สภาพแวดลอ้ มเชิงความรอ้ นภายนอกอาคารและภายในอาคารสำหรบั การปฏิบตั ิกจิ กรรมทางกายทส่ี ง่ ผลต่อ 44 สมรรถภาพทางกายในเขตพ้ืนทยี่ ่านใจกลางเมอื งของภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนบน ประเทศไทย กรณศี ึกษา: อุดรธานี – ขอนแก่น – หนองคาย 45ประสิทธิผลของเบาะรองนง่ั เพอื่ ลดความสน่ั สะเทอื นของกลมุ่ พนกั งานขบั รถยกชนดิ นง่ั ขบั 45 ในทา่ เรือแห่งหนงึ่ จังหวัดกรุงเทพมหานคร ประสิทธผิ ลของโปรแกรมการสรา้ งเสริมสขุ ภาพตามแบบจำลองการวางแผนส่งเสริมสุขภาพตอ่ พฤตกิ รรมการป้องกัน 46 โรค iii
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง กำหนดการประชมุ วิชาการดา้ นวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ “The 2nd National Conference on Health Sciences Research and Innovation: Knowledge Transformation towards Thailand 4.0” วันที่ 16-17 มกราคม พ.ศ. 2563 ณ อาคารพลเอก สำเภา ชูศรี (E4) มหาวทิ ยาลัยแมฟ่ า้ หลวง จังหวัดเชียงราย 16 มกราคม พ.ศ.2563 08.00 - 09.00 น. ลงทะเบยี น 09.00 - 09.15 น. พิธีเปดิ และกล่าวต้อนรบั โดย อธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ ้าหลวง 09.15 - 09.45 น. ปาฐกถาพิเศษ หวั ขอ้ “มุมมองการพัฒนาวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพในอนาคต” โดย อธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลัยแมฟ่ า้ หลวง 09.45 - 10.45 น. การเสวนาวิชาการ หวั ข้อ “ทิศทางการสนับสนนุ การสร้างเสริมนวตั กรรมทางดา้ นสุขภาพ เพือ่ Thailand 4.0” โดย ผู้แทนจาก ● ดร. กอ้ งศักดิ์ ยอดมณี ผ้วู า่ การการกฬี าแห่งประเทศไทย ● ดร.ปรญิ ญา จติ อรา่ ม สภาวิชาชพี สาธารณสขุ ชุมชน ● รศ.ดร. รัชนี สรรเสรญิ คณบดสี ำนักวชิ าวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง 10.45 - 11.00 น. พักรบั ประทานอาหารวา่ ง (ในห้องประชุม) 11.00 - 12.00 น. อภิปรายพิเศษ หวั ขอ้ “อนาคตและความท้าทาย มมุ มองการขา้ มพรมแดนกบั สขุ ภาพขา้ มแดน ในประเทศอนภุ มู ิภาคลมุ่ น้ำโขง” Transboundary to Border Health among GMS Countries; Forward and Challenge นำการอภปิ รายโดย ● Dr. Myint Kyaw, Shan East State Health Director, Ministry of health and sport, Kyaing Tong, Myanmar. ● ดร. แกว้ คำ สริ ทิ มั รองหัวหน้าแผนกสาธารณสขุ แขวงบอ่ แก้ว แขวงบอ่ แก้ว สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ● คณุ พิมณฑิพา มาลาหอม นกั วิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ศนู ย์ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ ดา้ นสาธารณสุข สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดอุบลราชธานี ● อาจารย์ ดร. พษิ ณรุ กั ษ์ กันทวี สำนักวิชาวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพมหาวทิ ยาลัยแม่ฟ้าหลวง 12.00 - 13.00 น. พกั รบั ประทานอาหารกลางวนั 13.00 - 15.00 น. นำเสนอผลงานวิจยั แบบบรรยายและนำเสนอผลงานนวตั กรรม iv
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง 15.00 - 16.00 น. นำเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ และพกั รบั ประทานอาหารว่าง 17 มกราคม พ.ศ. 2563 09.00 - 11.00 น. ปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ “ศาสตรฮ์ วงจยุ้ และการประยุกตใ์ ช้เพ่อื สันตสิ ขุ ในชวี ิต” โดย ดร.ธรรมวฒั น์ อปุ วงษาพฒั น์ 11.00 -12.00 น. ปาฐกถาพเิ ศษ หัวข้อ “Action Research for Community Development in Thailand 4.0 ” โดย ศาสตราจารย์ ดร.เกษราวัลย์ นิลวรางกูล สำนกั วิชาวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ มหาวิทยาลยั แม่ฟา้ หลวง 11.00 - 12.00 น. นำเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยายและนำเสนอผลงานนวัตกรรม 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.00 น. นำเสนอผลงานวจิ ยั แบบบรรยาย 14.00 - 15.00 น. นำเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ และพักรับประทานอาหารวา่ ง 15.00 - 16.00 น. พธิ มี อบเกยี รตบิ ตั รและพธิ ปี ดิ *กำหนดการอาจมีการเปลีย่ นแปลงตามความเหมาะสม v
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง กำหนดการนำเสนอผลงานทางวชิ าการแบบปากเปล่า (Schedule for Oral Presentation) หอ้ งท่ี 1 : Public Health Chairman Dr.Pamonsri Sriwongpan Co-chairman Assit.Prof.Siwarak kitchanapaiboon วนั ที่ 16 มกราคม 2563 เวลา ช่อื ผนู้ ำเสนอ ช่ือเร่ือง 13:30-13:45 นิโลบล เอี่ยมเยน็ การเปรยี บเทียบประสิทธผิ ลของคลอเฮกซดิ นี กลโู คเนต และ โพวิโดนไอโอดนี ในการทำความสะอาดลนิ้ สำหรบั กลุ่มผสู้ งู อายุ ตดิ เตยี ง 13:45-14:00 ณัฏฐธิดา จันทศลิ า ผลการลดเช้ือแบคทีเรยี บนลน้ิ โดยการใช้โพวโิ ดนไอโอดีนใน กลมุ่ ผสู้ งู อายทุ มี่ ภี าวะปากแห้ง 14:00-14:15 สมตระกลู ราศิริ คณุ ภาพชีวิตของประชาชน: กรณศี ึกษาลมุ่ น้ำยมตอนบน 14:15-14:30 เบญจมาภรณ์ รงุ่ สาง ภาวะซึมเศรา้ ของผมู้ ารบั บริการคลนิ ิกสุขภาพจติ โรงพยาบาล กระทุม่ แบนและปจั จยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง 14:30-14:45 รัศมี สุขนรนิ ทร์ ปัจจยั ทม่ี ีความสัมพนั ธต์ อ่ ความสขุ ของผูส้ ูงอายใุ นอำเภอวัง ทอง จงั หวัดพิษณโุ ลก วันท่ี 17 มกราคม 2563 Chairman Assit.Prof.Siwarak kitchanapaiboon Co-chairman Dr.Peeradone Srichan เวลา ชือ่ ผู้นำเสนอ ชือ่ เรื่อง 11:00-11:15 บรรณกร เสือสงิ ห์ ผลการพัฒนาระบบการดแู ลผสู้ งู อายุระยะยาวดว้ ยวิธี ผสมผสานการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ตำบล แคมปส์ น อำเภอเขาคอ้ จงั หวัดเพชรบรู ณ์ 11:15-11:30 มนัสนันท์ มาทอง ความชกุ และความสมั พันธ์ของแบบแผนการด่ืมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ภายหลงั การเล่นกฬี าฟตุ บอลเพศชายเพื่อนำไปใช้ ในการพัฒนามาตรการปอ้ งกัน 11:30-11:45 วันวิสาข์ สายสนัน่ ณ อยธุ ยา ปัจจยั ทมี่ คี วามสัมพันธ์ตอ่ ภาวะซมึ เศรา้ ของผสู้ งู อายุ ในพน้ื ที่ ตำบลแหง่ หนึ่ง อำเภอเมือง จังหวดั สมทุ รสงคราม vi
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง Knowledge transformation towards Thailand 4.0 ชื่อเรอ่ื ง ห้องที่ 2 : Medical Science and Sport Sciences การระบตุ ำแหนง่ ระดบั จลุ ภาคของ Vesicular Inhibitory Amino Acid Transporter ในต่อมนำ้ ลายหลกั ของหนไู มซ์ Chairman Assit.Prof.Dr.Marisa Poomiphak SSKRU Muscle Fit Test: ความเท่ยี งและความเป็นปรนัย ของเคร่ืองมอื อเิ ล็กทรอนิกสเ์ พ่ือวัดความแขง็ แรงและทนทาน Co-chairman Dr.Wipob Suttana ของกล้ามเนอ้ื สำหรับนกั เรยี นมธั ยมศึกษาตอนปลาย วนั ท่ี 16 มกราคม 2563 เวลา ชอ่ื ผนู้ ำเสนอ 13:30-13:45 อรรถพล ปดิ สายะ 13:45-14:00 เตชภณ ทองเตมิ หอ้ งที่ 3 : Environmental Health and Occupational Health Chairman Dr. Krailak fakkaew Co-chairman Assit.Prof.Kowit Numbunmee วันท่ี 16 มกราคม 2563 เวลา ชื่อผนู้ ำเสนอ ชอื่ เรอื่ ง Electricity Generation from Wastewater of Chicken 13:30-13:45 พรรณนภิ า ดอกไม้งาม Farm การประเมินปรมิ าณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการจัดการ 13:45-14:00 ปยิ ะนุช ยินดีผล มูลฝอยของเทศบาลเมืองนา่ น จงั หวดั น่าน Ammonia Removal from Chicken Manure by Using 14:00-14:15 สุดารตั น์ พนู ศรี Air Stripping Process Prevalence of needle stick injuries among nursing 14:15-14:30 DONGYANG-WANG students in China: A systematic review ประสทิ ธผิ ลของเบาะรองนั่งเพือ่ ลดความสั่นสะเทือนของกล่มุ 14:30-14:45 ศริ ประภา สนิ ใจ พนักงานขบั รถยกชนดิ นงั่ ขบั ในทา่ เรอื แห่งหนึง่ จงั หวัดกรงุ เทพมหานคร 14:45-15:00 จติ ตราภรณ์ บญุ ดี ศกึ ษาพฤตกิ รรมการบรโิ ภคและคณุ ภาพนำ้ ดม่ื สำหรับ นกั ศึกษา มหาวิทยาลยั แมฟ่ ้าหลวง จังหวัดเชยี งราย vii
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง Knowledge transformation towards Thailand 4.0 คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน: กรณศี ึกษาล่มุ นำ้ ยมตอนบน สมตระกลู ราศริ ,ิ ธติ ริ ตั น์ ราศิร,ิ ประกฤต ประภาอนิ ทร์* วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสริ นิ ธร จงั หวัดพิษณุโลก Corresponding Author e-mail: [email protected] บทคัดย่อ บทนำ: ปัจจุบันมีการพัฒนาวชิ าการและเทคโนโลยีอย่างมาก ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตประชาชน ในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและส่งิ แวดลอ้ ม ล่มุ น้ำยมตอนบนนบั ได้ว่ามปี ญั หาความขัดแยง้ ความเหน็ ตา่ งในการสรา้ งแหลง่ เก็บน้ำขนาดใหญ่ เป็นปัญหาในสังคมไทยมายาวนาน จึงควรมีการศึกษาคุณภาพชีวิตของชุมชนในพื้นที่เพื่อที่จะได้นำข้อมูลมากำหนดแผนงาน โครงการ/กิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน อันจะนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ให้ดีขึ้น วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของประชาชน ในประเด็น ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลปัญหาการประกอบอาชีพ การดูแล รักษา ตนเองหรือครอบครัวเมือ่ เกิดการเจ็บป่วย ปัญหาสิ่งแวดล้อมภายในชมุ ชน สภาพ/ลักษณะของส่ิงอำนวยความสะดวกภายในชุมขน และความต้องการในการพฒั นาคุณภาพชีวิต และข้อเสนอแนะอื่น ๆ วิธีวิจัย: การศึกษาครั้งนีเ้ ป็นการศึกษาช่วงเวลาใดเวลาหนง่ึ ใช้ข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ สุ่มตัวอย่างโดยเจาะจงพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงในลุ่มน้ำยมตอนบน ได้แก่ ตำบลเตาปูน และตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่ กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณ จำนวน 384 คน เครื่องมือได้แก่ แบบสอบถาม กลุ่มตวั อยา่ ง การศึกษาเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยประชาชน จำนวน 12 คน รวม 24 คน ใช้กระบวนการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน การวเิ คราะหข์ ้อมูลเชงิ คณุ ภาพ เป็นการวเิ คราะหข์ ้อมลู เชงิ เนอื้ หา ผลการวิจัย: ประชาชนส่วน ใหญ่มีความต้องการในการให้พัฒนาคุณภาพชีวิต ได้แก่ อาชีพ กรรมสิทธิท์ ี่ดิน พ่อพันธุ์แม่พันธ์สัตว์ น้ำในช่วงฤดูแล้งภยั แล้ง อ่าง เก็บน้ำให้เพยี งพอกับการเกษตร การจัดการขยะ การเผาป่า ทำใหเ้ กิดควัน โรคไขเ้ ลือดออกระบาดในหมูบ่ ้าน ปญั หายาเสพติด ส่ิง อำนวยความสะดวก ได้แก่ ไฟฟ้า โทรศัพท์ ระบบน้ำประปา น้ำดิบในการทำสุราชุมชน ความต้องการบุคลากรท างการแพทย์ เครื่องมอื ทางการแพทย์ อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: จากผลการศึกษา พบวา่ ประชาชนยนิ ดแี ละเห็นด้วยกับการพัฒนาแหล่ง น้ำ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง เพื่อการมีน้ำในการอุปโภค และบริโภค ควรมีการจัดลำดับความสำคัญเพื่อให้เกิดการพัฒนาในจุดท่ี จำเป็นและเร่งด่วนในแตล่ ะพ้ืนท่ี ควรมกี ารพฒั นาอาชีพเสริม การพัฒนาแหลง่ น้ำควรดำเนนิ การให้สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการทไ่ี ด้ สำรวจ ฤดูฝนหากมพี ื้นที่เก็บกักน้ำ ฤดูแล้งจะทำให้มีนำ้ ใช้ ระบบประปามีน้ำ สามารถดำเนินการผลิตสุราชุมชนทำได้ การพิสูจน์ กรรมสทิ ธทิ ่ดี ิน ควรมีการดำเนนิ การร่วมกนั ไปดว้ ยกบั การพฒั นาแหลง่ นำ้ ความต้องการทางดา้ นสขุ ภาพ อปุ กรณ์เครื่องมือทางควร มีแผนการบูรณาการหน่วยงานรองรบั ปัจจุบัน และอนาคต เพื่อรองรับปัญหาท่ีอาจจะเกดิ ข้ึน คำสำคัญ: คุณภาพชีวติ , ประชาชน, ลุ่มนำ้ ยม 1
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง ความรู้ การรับรเู้ รอ่ื งฉลากโภชนาการและการใชข้ อ้ มลู บนฉลากโภชนาการของผู้สูงอายุ จังหวัดอบุ ลราชธานี ธญิ าพร รอบโลก1, พรี ชญา ไขปัญญา2, อรุ ารัช บรู ณะคงคาตรี3, สารสิทธิ์ โรจนธ์ นะธญั ญา3 , เกศณิ ี หาญจงั สิทธ์ิ3 1โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลนาโพธิ์ 2 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลปงนอ้ ย 3 วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอบุ ลราชธานี Corresponding Author e-mail: [email protected]; 098-217-9008 บทคัดยอ่ บทนำ : การรับประทานอาหารที่ดีจะช่วยลดความเสี่ยง ของโรคติดต่อเรื้อรังที่ทวคี วามรุนแรงมากขึ้นในผู้สูงอายุ ฉลาก โภชนาการเปน็ เครื่องมือสำคัญที่จะช่วยในการเลือกอาหารเหมาะสมกับสุขภาพ วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาปัจจัยทีม่ ีความสัมพนั ธ์ กับพฤติกรรมการใช้ฉลากโภชนาการของผู้สูงอายุในจังหวดั อุบลราชธานี วิธีวิจัย: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาภาคตดั ขวาง โดย กลุม่ ตวั อยา่ งเปน็ ผู้มอี ายุต้งั แต่ 60 ปขี ้นึ ไป จำนวน 105 คน เก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยการสมั ภาษณ์ เคร่ืองมอื มีความเทยี่ ง 0.66 และ มีความเช่อื ม่นั ตัง้ แต่ 0.89-0.98 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ใช้ สถติ ิเชิงพรรณนา Chi-Square Test และ fisher's exact test ผลการวจิ ยั : ผู้สูงอายุ ร้อยละ 69.52 รู้จักฉลากโภชนาการ แต่ใช้ฉลากในการซื้อหรือบริโภคเพียง 44.9% ของผู้สูงอายุทั้งหมด ผู้สูงอายุที่ร้จู กั และใช้ฉลากเปน็ ประจำจะสนใจขอ้ มูลวันเดอื นปที ห่ี มดอายมุ ากท่ีสุดถงึ 73.3% ผทู้ ่ีไมใ่ ชฉ้ ลากสว่ นใหญใ่ ห้เหตุผลวา่ ตวั อักษรมขี นาด เล็ก กลุ่มที่รู้จักฉลากจะมีคะแนนความรู้เฉล่ีย (ˉx = 13.4, SD.=0.95) และการรับรู้ประโยชน์ (ˉx = 3.6, SD.=0.65) ในระดับสูง ปจั จัยทีม่ คี วามสัมพนั ธก์ ับการใชข้ อ้ มลู บนฉลากโภชนาการอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ิ (p < 0.05) ได้แก่ อาชีพ ระดับการศกึ ษาสงู สดุ รายได้ ความรู้และการรบั รู้ประโยชน์ อภิปรายและสรุปผลการวิจยั : กลุ่มตัวอยา่ งมีความรู้เกี่ยวกับฉลากโภชนาการ แต่ยังมีความ สนใจในระดับน้อย และใช้ฉลากค่อนข้างต่ำ ดังนั้นควรมีการการวางแผนส่งเสริมให้ความรู้ให้มีความเข้าใจ ปรับปรุงรูปแบบของ ฉลากโภชนาการ ใหม้ ีความน่าสนใจ อา่ นและเขา้ ใจง่าย สรา้ งความตระหนกั ถงึ คณุ ประโยชน์และความสำคัญท่จี ะไดร้ บั จากการอา่ น ฉลากโภชนาการ คำสำคญั : ความร,ู้ การรับรู้, ฉลากโภชนาการ, ผสู้ ูงอายุ 2
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง ปรมิ าณเช้อื จลุ ชีพในอากาศทศี่ กึ ษาในแผนกทส่ี ะอาดของโรงพยาบาลแหง่ หนึ่งสงั กดั กรงุ เทพมหานคร กุลยา สวุ ินัย1 พพิ ัฒน์ ลักษมจี รัญกลุ 2 นพนันท์ นานคงแนบ3 สคุ นธา ศิริ4 1นกั ศกึ ษาหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ (สาธารณสขุ ศาสตร์) สาขาวิชาโรคตดิ เช้ือและวทิ ยาการระบาด คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล กรงุ เทพมหานคร 2คณะวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ วทิ ยาลัยเทคโนโลยีสยาม กรงุ เทพมหานคร 3ภาควิชาอาชวี อนามยั และความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล กรงุ เทพมหานคร 4ภาควิชาระบาดวทิ ยา คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล กรุงเทพมหานคร บทคดั ย่อ บทนำ: โรงพยาบาลเป็นแหล่งรวมทั้งผู้ป่วยจำนวนมาก ทำให้โรงพยาบาลเป็นแหล่งรวมเชื้อจุลชีพและอาจเป็นแหล่ง แพรก่ ระจายของเช้ือโรค ดงั น้นั การทราบปรมิ าณของเช้ือจุลชพี ในอากาศโดยเฉพาะในแผนกทส่ี ะอาดของโรงพยาบาล สามารถใช้ เป็นข้อมูลเบื้องตน้ ในการพัฒนาแนวทางการเฝา้ ระวัง ควบคุม และป้องกันการติดเชื้อจุลชีพในโรงพยาบาลได้ วัตถุประสงค์: เพ่ือ ประเมินปริมาณเชื้อจลุ ชีพในอากาศในแผนกที่สะอาดของโรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ กรุงเทพมหานคร วิธีวิจัย: การศึกษานี้เป็น การศึกษาเชิงสำรวจภาคตัดขวาง เก็บตัวอย่างจุลชพี ในอากาศจากแผนกที่สะอาด 5 แห่ง คือ หอผู้ป่วยวิกฤติ แผนกไตเทียม ห้อง ผ่าตัด ห้องพักฟื้นหลังผ่าตัด และห้องคลอด ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน ถึง 31 สิงหาคม พ.ศ. 2561 เก็บตัวอย่างจุลชีพในอากาศ 2 ช่วงเวลา (ช่วงเชา้ และชว่ งเท่ยี ง) โดยใชเ้ คร่อื งเก็บตัวอย่างอากาศ เพื่อตรวจวัดปรมิ าณแบคทีเรียและปรมิ าณเช้อื รา ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราใน 5 แผนก ดังกล่าว ช่วงเช้าคือ 314.0 CFU/m3 และ 90.4 CFU/m3 ช่วง เที่ยงคอื 202.7 CFU/m3 และ 55.8 CFU/m3 ตามลำดับ (ปริมาณเชือ้ นอกอาคารช่วงเช้าคือ231.1 CFU/m3 และ 280.5 CFU/m3 ตามลำดับ ช่วงเที่ยงคือ 341.0 CFU/m3 และ 321.0 CFU/m3 ตามลำดับ) ชนิดของเชื้อแบคทีเรียที่ตรวจพบส่วนใหญ่ ได้แก่ Staphylococcus spp. และ Bacillus spp. ชนิดของเช้ือราที่ตรวจพบส่วนใหญ่ ได้แก่ Penicillium spp. และ Aspergillus spp. อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: ปริมาณเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราที่พบในแผนกที่ทำการศึกษาเกินมาตรฐานเมื่อเทียบกับ การศกึ ษาในประเทศสิงคโปรแ์ ละประกาศของกรมอนามัย (ไม่ควรเกิน 100 CFU/m3) ดงั นนั้ การจดั การสงิ่ แวดลอ้ มโดยเฉพาะการ ระบายอากาศและการดแู ลรักษาความสะอาดภายในหอ้ งเป็นสิ่งสำคัญที่จะชว่ ยลดปรมิ าณเช้อื จุลชีพได้ คำสำคญั : เช้อื จุลชพี ในอากาศ, แผนกท่สี ะอาด, โรงพยาบาลสงั กัดกรงุ เทพมหานคร 3
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง ผลการพฒั นาระบบการดูแลผูส้ ูงอายุระยะยาวดว้ ยวิธผี สมผสานการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตำบลแคมปส์ น อำเภอเขาค้อ จังหวดั เพชรบูรณ์ บรรณกร เสอื สงิ ห์1* อรุณี เสอื สงิ ห์1 พงศพ์ ษิ ณุ บญุ ดา2 1โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเหล่าหญา้ อำเภอเขาค้อ จังหวดั เพชรบรู ณ,์ 2วทิ ยาลยั การสาธารณสขุ สริ ินธร จังหวดั พิษณโุ ลก สถาบนั พระบรมราชชนก Corresponding Author e-mail: [email protected] บทคัดยอ่ บทนำ: ระบบการดูแลระยะยาวเป็นการจัดบริการสาธารณสุขและบริการสังคมเพื่อตอบสนองความต้องการความ ช่วยเหลือของผูท้ ีป่ ระสบภาวะยากลำบาก อนั เนอ่ื งมาจากภาวการณเ์ จบ็ ป่วยเร้ือรงั การประสบอบุ ตั เิ หตคุ วามพกิ ารตา่ งๆ ตลอดจน ผู้สูงอายุที่ชราภาพไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองในการประกอบกิจวัตรประจำวัน มุ่งเน้นในด้านการฟื้นฟบู ำบัด รวมถึงการส่งเสรมิ สุขภาพให้แก่กล่มุ คนเหล่านี้อยา่ งสมำ่ เสมอและตอ่ เน่อื ง เพ่อื ให้เขามีคุณภาพชวี ิตทด่ี ี และมชี ีวติ อยูไ่ ดด้ ว้ ยความเปน็ จริง โดยอยู่บน พืน้ ฐานของการเคารพศักด์ิศรขี องความเปน็ มนษุ ย์ วตั ถปุ ระสงค:์ การศกึ ษาวิจัยคร้ังน้ี มวี ตั ถุประสงค์หลกั เพอื่ พฒั นาระบบการดแู ล ผ้สู งู อายุ ด้วยวิธผี สมผสานการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จงั หวัดเพชรบูรณ์ ซง่ึ เปน็ การ วิจัยและพัฒนาประกอบด้วย 4 ขัน้ ตอน คอื (1) เพื่อศึกษาสถานการณ์ ปญั หา ความจำเปน็ และแนวทางการดแู ลผูส้ งู อายุระยะยาว (2) เพื่อสร้างและตรวจสอบระบบการดูแลผู้สูงอายุ (3) เพื่อทดลองแบบกึ่งทดลองและศึกษาผลการทดลองใช้ระบบการดูแล ผู้สูงอายุระยะยาว และ (4) เพื่อประเมินผลระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว วิธีการ: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยถูกสุ่มแบบ เฉพาะเจาะจงตาม Inclusion Criteria จากประชาชนในเขต ตำบลแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึน้ ไป ท่ีผา่ นการคัดกรองโดยบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในปี 2561 ประกอบดว้ ยกลุ่มตวั อยา่ งท่ี 1 ผู้สงู อายุ 31 คน มี ระดับความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน Barthel Activities of Daily Living (ADL) น้อยกว่า 12 คะแนน (กลุ่มติด บ้าน กลุ่มติดเตียง) และ กลุ่มตัวอย่างที่ 2 ผู้สูงอายุ 50 คน มีระดับ ADL ตั้งแต่ 12 คะแนนขึ้นไป ที่พึ่งตนเองได้ (กลุ่มติดสังคม) เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการวจิ ยั ได้แก่ แบบบนั ทึกขอ้ มลู แบบประเมินระบบ แบบประเมนิ ADL และแบบประเมิน CIPP Model วเิ คราะห์ ข้อมลู โดยใช้ การวิเคราะหเ์ อกสาร ร้อยละ คา่ เฉลี่ย (x̄ ) ผลการวจิ ัย: พบว่า (1) ตำบลแคมปส์ น อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบรู ณ์ มี ผ้สู ูงอายุท้งั สนิ้ 776 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 19.76 ประเมนิ ADL พบวา่ กลุ่มผ้สู ูงอายุติดสังคม กลุม่ ตดิ บา้ น และกลมุ่ ติดเตียง คิดเป็น ร้อยละ 97.29 และร้อยละ 1.80 , 0.90 ตามลำดับ (2.1) ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ หลักการ วตั ถุประสงค์ เน้อื หา กระบวนการ และการประเมนิ ผล ในองค์ประกอบกระบวนการประกอบดว้ ย 4 ข้ันตอน คือ 1) การ ประเมินสภาวะสุขภาพ 2) การวางแผนดแู ลระยะยาว 3) การดูแลระยะยาว และ 4) การประเมินผล ซึ่งในส่วนของการดแู ลระยะ ยาวนั้นเปน็ วิธผี สมผสานการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื กทปี่ ระยกุ ตใ์ ช้ตามทฤษฎกี ารดแู ลแบบเอ้อื อาทร 10 ขน้ั ตอนของ Watson (2.2) ผลการตรวจสอบคุณภาพของระบบการดแู ลผู้สงู อายุระยะยาว โดยผู้ทรงคณุ วฒุ ิพบวา่ ระบบทีพ่ ัฒนาข้นึ มีคุณภาพ อยู่ในระดับดี (3) ผลการทดลองใช้ระบบ พบว่า กลุ่มตดิ สังคมมีระดับ ADL คงสภาพ ร้อยละ 93.55 (ภาพท่ี 1) กลุ่มติดบ้าน และ กลุ่มติดเตียง มีระดับ ADL คงสภาพและดีขึ้น ร้อยละ 74.19 (4) ผลการประเมินระบบ พบว่า Context : ผู้สูงอายุตำบลแคมป์ สน อำเภอเขาคอ้ จงั หวัดเพชรบูรณ์ มคี วามต่ืนตัวและเข้าถงึ บริการมากขนึ้ Input : มกี ารวิเคราะหส์ าเหตรุ ากเหง้าด้วยผังก้างปลา ผา่ นกระบวนการสนทนากลุ่ม ทมี องคก์ รและชุมชน เพ่อื การตัดสินใจใหม้ ีการพัฒนาตำบลดูแลผูส้ งู อายรุ ะยะยาวดว้ ยวิธีผสมผสาน การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื กบนพืน้ ฐานของทฤษฎี ความเชย่ี วชาญ การมีสว่ นร่วม Process : มีการพฒั นาวงจรแห่ง 4
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง การเรียนรู้ Plan - Do - Check - Action ตั้งแต่ปี 2559-2561 และการทดลองใช้ตามระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา และประเมินผล ตามทฤษฎีการประเมิน เพ่ือให้เกิดนวัตกรรม Product : เกดิ พน้ื ท่ีต้นแบบการดแู ลผู้สูงอายรุ ะยะยาว พ้นื ทีต่ ้นแบบการแพทย์แผน ไทยและการแพทยท์ างเลือก สามารถลดภาระงบประมาณค่าใช้จา่ ยด้านสุขภาพ ความแออดั ในสถานพยาบาล ลดภาวะแทรกซ้อน ของโรคในผู้สูงอายุ โดยการมีส่วนร่วมของทีมสหสาขาวิชาชีพ เชื่อมโยงภาคีเครือข่าย ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม สรุปผลการวิจัย: ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวด้วยวิธีผสมผสานการแพทย์แผนไทย และ การแพทย์ทางเลือก ต.แคมป์สน อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ มีประสิทธิภาพในการป้องกันการลดระดับความสามารถในการประกอบ กิจวัตรประจำวัน (ADL) ในกลุ่มติดสังคม และมีประสิทธิภาพในการเพิ่มระดับความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (ADL) ในกลุม่ ติดบา้ นและกลมุ่ ติดเตยี ง คำสำคญั : ผู้สงู อาย,ุ ระบบการดูแลผสู้ ูงอายุระยะยาว, การแพทย์แผนไทย, การแพทยท์ างเลอื ก 5
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง การศกึ ษาระดับความยากง่ายในการอ่านเนอ้ื หาของสือ่ สขุ ภาพในสถานบริการสขุ ภาพ ยุพาวดี ศรีภักดี1, ปพชิ ญา ตาทอง2,อรุ ารัช บูรณะคงคาตรี3, เกศณิ ี หาญจงั สิทธ3์ิ 1โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลบเุ ปือย 2โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลบา้ นหนองยอ 3 วิทยาลยั การสาธารณสขุ สิรนิ ธร จังหวดั อุบลราชธานี Corresponding Author e-mail: [email protected], 097-948-0354 บทคดั ย่อ บทนำ: ความรอบรู้ด้านสุขภาพเป็นหนึ่งในตัวทำนายสภาวะสุขภาพที่ดีที่สุด สื่อสิ่งพิมพ์ถูกนำมาใช้แพร่หลายในการให้ ความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชน จึงมีความจำเป็นในการเขียนเนื้อหาให้เหมาะสมกับระดบั ทักษะการอา่ นของบุคคล การประเมิน ความยากง่ายในการอ่านเนื้อหาจึงมีความจำเป็นในการผลิตสื่อเพื่อให้บุคคลเขา้ ใจในเน้ือหานั้น วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินระดับ ความยากง่ายในการอ่านเนื้อหาของสื่อสุขภาพประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ แผ่นพับและใบปลิว ในสถานบริการสุขภาพของรัฐ วิธีวิจัย: การศึกษาเป็นวิจัยแบบภาคตดั ขวาง โดยเก็บรวบรวมเฉพาะส่ือ สิ่งพิมพ์สุขภาพ แผ่นพับและใบปลิว ของหน่วยงานบริการสุขภาพ ในจังหวัดอุบลราชธานี และเว็บไซต์ของกระทรวงสาธารณสุข จำนวนทั้งสิ้น 102 ฉบับ ที่มีการเผยแพร่ให้แก่ประชาชน ในช่วง ระยะเวลา เดอื นเมษายน – สงิ หาคม 2558 เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ คือ SMOG Test ที่นำมาหาคา่ ความสอดคล้องกับแบบทดสอบการอ่าน มาตรฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาพื้นฐาน ได้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เทา่ กับ 0.92 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชงิ พรรณนา และ Chi-square test (χ²) ผลการวิจัย: สื่อสุขภาพจากสถานบริการสุขภาพ มีระดับความยากง่ายในการอ่านสูงกว่า เกณฑ์มาตรฐาน (สูงกว่าระดับประถมศึกษาปีที่ 6) ถึงร้อยละ 78.4 โดยสื่อแผ่นพับมีระดับความยากง่ายในการอ่านสูงกว่าเกณฑ์ (รอ้ ยละ 74.4) และยงั พบวา่ ส่ือสขุ ภาพจากแหลง่ ที่แตกตา่ งกันและประเภทของสื่อที่แตกต่างกนั มีระดับความยากง่ายต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถติ ิ (p<0.05) อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: สื่อสุขภาพท่ีมีเผยแพร่ให้กับประชาชน มีระดับความยากง่ายในการ อ่านอยู่ในระดับที่ยากต่อการอ่านซึง่ จะส่งผลต่อความความใจในสื่อน้ัน ดังนั้นการผลิตสื่อสุขภาพจำเป็นต้องคำนึงระดับความยาก งา่ ยในการอ่านใหม้ ีความเหมาะสมกับระดบั การอ่านของประชาชนทวั่ ไป คำสำคัญ: การประเมิน, ระดับความยากงา่ ยในการอ่าน, สอื่ สุขภาพ 6
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง การมสี ว่ นร่วมของชุมชนในการปรับเปล่ยี นพฤติกรรมการออกกำลังกายของประชาชน หมู่ 9 บา้ นควนยายม่อม ตำบลหนองชา้ งแล่น อำเภอหว้ ยยอด จงั หวดั ตรัง ณดา นาสวนนวิ ตั น์, รจนา คงมนั่ กวีสุข, สาวติ รี ลำใยเจรญิ , กมลรัตน์ นุ่นคง, สาลี อนิ ทรเ์ จริญ, สริ ิมา วงั พยอม, วิลาวรรณ ศรีพล, ฉัตรชยั ขวญั แก้ว และสุพตั รา ใจเหมาะ วทิ ยาลัยการสาธารณสขุ สริ นิ ธร จงั หวดั ตรัง บทคดั ย่อ การวิจัยคร้ังน้เี ปน็ การวิจัยเชิงปฏิบตั ิการแบบมีสว่ นรว่ ม (Participatory Action Research: PAR) ตามแนวคดิ การมสี ว่ น ร่วมของ Cohen & Uphoff โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎี ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของ ชมุ ชนในการปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมการออกกำลงั กาย เพื่อพฒั นารปู แบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปรบั เปล่ียนพฤติกรรมการ ออกกำลงั กาย และเพือ่ เปรยี บเทียบความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการออกกำลังกายก่อน และหลงั การใช้รูปแบบการมสี ว่ นรว่ มของ ชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายของประชาชน หมู่ที่ 9 บ้านควนยายม่อม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วย ยอด จังหวัดตรัง กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในหมู่ที่ 9 บ้านควนยายม่อม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังที่ไม่ออกกำลังกาย และออกกำลังกายไม่ครบ 150 นาที/สัปดาห์ จำนวน 35 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบ หลายขัน้ ตอน เก็บรวบรวมขอ้ มูลระหว่างเดือนมกราคม – มีนาคม เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินวิจัย คือ รูปแบบการมีส่วนรว่ มของ ชุมชนในการปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมการออกกำลังกาย เกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยใชแ้ บบสอบถามนำมาวิเคราะหด์ ว้ ยสถติ ิ การแจกแจง ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและเปรียบเทียบความแตกต่างของความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังก าย ทัศนคติเกี่ยวกบั การออกกำลังกาย และพฤติกรรมการออกกำลงั กาย ก่อนและหลงั การใชร้ ูปแบบดว้ ยสถิติ Paired t-test ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนมีส่วนร่วมในระดับปานกลาง (2.93±0.52) ได้รูปแบบการมีส่วนร่วมในการออกกำลังกาย คะแนนเฉลย่ี ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายหลังการใช้รูปแบบ (11.85±0.88) สูงกว่าก่อนการใชร้ ูปแบบ (8.69±1.99) คะแนนเฉล่ียทศั นคติ เกี่ยวกับการออกกำลังกายหลังการใช้รูปแบบ (3.03±0.38) สูงกว่าก่อนการใช้รปู แบบ (2.34±0.48) และ คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรม การออกกำลังกายหลงั การใชร้ ูปแบบ (3.27±0.25) สงู กว่ากอ่ นการใช้รปู แบบ (2.52±0.50) อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ 0.05 คำสำคญั : ความรู้, ทัศนคติ, พฤตกิ รรมการออกกำลงั กาย, การมสี ว่ นร่วม 7
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง คุณภาพชวี ิตและความสามารถในการปฏบิ ตั กิ ิจวตั รประจำวันในผ้สู ูงอายุ สุพรรณิการ์ ลดาวลั ย์, อรรจนม์ น ธรรมไชย, อรุณรัตน์ ศรีทะวงษ์ และพัชรินทร์ พรหมเผา่ คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา Corresponding Author e-mail: [email protected] บทคดั ยอ่ บทนำ: ปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนและสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ซึ่งผู้สูงอายุจะมีการ เปลี่ยนแปลงทางดา้ นร่างกายไปในทางท่ีเส่ือมถอย ทำให้เกิดปัญหาสขุ ภาพตามมาและส่งผลกระทบตอ่ ความสามารถในการปฏิบัติ กิจวัตรประจำวันและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตและความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตร ประจำวันในผู้สูงอายุ วิธีวิจัย: กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุจำนวน 100 คน อายุเฉลี่ย 72.85±10.96 ปี เพศชาย 46 คน เพศหญิง 54 คน มีการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 57 และไม่ได้ประกอบอาชีพ ร้อยละ 52 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบประเมนิ คณุ ภาพชวี ิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อฉบบั ภาษาไทย (WHOQOL-BREF-THAI) และแบบประเมินความสามารถ ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่อเนื่อง (ดัชนีจุฬาเอดีแอล: Chula ADL index) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และค่า สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัย: ผู้สูงอายุร้อยละ 72 มีคุณภาพชีวิตดี และร้อยละ 28 มีคุณภาพชีวิตปานกลาง เมื่อ วิเคราะห์แยกแต่ละองค์ประกอบ พบว่า ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตดี และคุณภาพชีวิตปานกลาง ในองค์ประกอบด้านสุขภาพกาย ร้อยละ 51 และ 48 ตามลำดับ ด้านจิตใจ ร้อยละ 66 และ 33 ตามลำดับ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ร้อยละ 57 และ 37 ตามลำดับ และด้านสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 61 และ 39 ตามลำดับ การประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของ ผู้สูงอายุ พบว่าร้อยละ 62 สามารถดำรงชีวิตได้อิสระในชุมชน และร้อยละ 32 มีภาวะพึ่งพิงปานกลาง โดยคุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน (r= 0.32, p= 0.001) อภิปรายและ สรปุ ผลการวิจยั : กลุ่มตัวอยา่ งผู้สูงอายสุ ่วนมากมคี ุณภาพชวี ิตท่ดี ีและสามารถดำรงชวี ติ ได้อิสระในชมุ ชน การคงไวซ้ ่งึ ความสามารถ ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ นอกจากนี้ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุ เช่น อายุ อาชีพ รายได้ การเป็นกลุ่มสมาชิกทางสังคม และปัจจัยด้านสุขภาพ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ นอกจากส่งเสรมิ สุขภาพทางกายเพื่อลดปัจจยั เส่ียงการเกดิ โรคต่าง ๆ และคงไวซ้ ึง่ ความสามารถในการปฏบิ ตั ิกิจวัตรประจำวันแล้ว ควรสง่ เสรมิ ดา้ นจติ ใจ และสภาพแวดล้อม ร่วมด้วย คำสำคญั : คณุ ภาพชีวิต, การปฏบิ ัติกจิ วัตรประจำวนั , ผ้สู งู อายุ 8
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง ผลของโปรแกรมการสง่ เสรมิ ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพในการปอ้ งกนั โรคพษิ สนุ ัขบา้ ของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษา โรงเรยี นนามนพิทยาคม อำเภอนามน จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ จริยา ลาเลศิ 1, เจนจิรา ผลผาด1, ปวีณา วงศรีลา1 , นติ ยา แสงประจกั ษ2์ 1 นกั ศกึ ษาสาธารณสุขศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยกาฬสนิ ธ์ุ 2 อาจารยป์ ระจำสาขาวชิ าสาธารณสขุ ศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั กาฬสนิ ธุ์ บทคดั ย่อ บทนำ: การศกึ ษาครัง้ นเี้ ป็นการศึกษากงึ่ ทดลอง (Quasi-experimental Study) เพือ่ ศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริม ความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนนามนพิทยาคม จังหวัดกาฬสินธุ์ วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาแบบสองกลุ่มวัดผลก่อนหลัง คำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรประมาณค่าเฉลี่ย ทำการสุ่มเข้ากลุ่ม ทดลอง 48 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 48 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรค พิษสุนัขบ้า ซึ่งพัฒนาจากแนวคิดความรอบรู้ด้านสุขภาพของ Nutbeam ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบไม่ได้รับโปรแกรม เก็บรวบรวม ขอ้ มูลโดยใชแ้ บบสอบถามก่อนและหลงั การทดลอง ทําการวเิ คราะห์ข้อมูล ดว้ ยสถติ ิ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และ วิเคราะห์เปรียบเทียบผลของโปรแกรมด้วยสถิติ Paired Sample t-test และ Independent t-test ผลการศึกษา: พบว่า หลัง การใชโ้ ปรแกรมการส่งเสรมิ ความรอบร้ดู า้ นสุขภาพในการปอ้ งกนั โรคพิษสนุ ขั บา้ ดา้ นการเข้าถึงขอ้ มลู สุขภาพและบริการสุขภาพใน การปอ้ งกนั โรคพษิ สุนขั บา้ ความร้คู วามเข้าใจเกี่ยวกบั โรคพษิ สนุ ขั บ้า การจดั การตนเองในการปอ้ งกันโรคพิษสนุ ขั บ้า และการรู้เท่า ทนั สอ่ื และสารสนเทศในการปอ้ งกันโรคพษิ สุนขั บา้ มคี ่าคะแนนเฉลี่ยสูงกวา่ กล่มุ เปรยี บเทียบ อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ ่ีระดับ .05 ข้อเสนอแนะ: ควรจดั กจิ กรรมใหต้ ่อเนื่อง เพิ่มระยะเวลาในการจดั กจิ กรรม ควรใช้รปู แบบในการส่งเสริมความรอบรู้ที่หลากหลาย และพฒั นาการมสี ่วนร่วมของนักเรียน ผปู้ กครอง ครู ผู้นำชุมชนในการแกไ้ ขและป้องกันโรคพิษสนุ ขั บ้า เพ่อื กอ่ ให้เกดิ การปฏิบัติทีด่ ี คำสำคญั : ความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ, โรคพษิ สุนขั บา้ , การปอ้ งกันโรค 9
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง ปัจจยั ท่ีมีความสัมพนั ธ์ตอ่ ความสขุ ของผ้สู งู อายุในอำเภอวังทอง จงั หวัดพิษณุโลก อบุ ลวรรณ กงมะล,ิ นนทิยา ยะหวั ฝาย, รศั มี สุขนรนิ ทร์*, กฤษฎนยั ศรใี จ วิทยาลยั การสาธารณสุขสริ ินธร จงั หวัดพิษณโุ ลก *Corresponding Author e-mail: [email protected] บทคดั ย่อ บทนำ: ประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุประมาณ 11.7 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 17.1 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งจะก้าวเป็น สังคมผสู้ งู อายุโดยสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2564 ทั้งนพี้ บว่าผสู้ ูงอายไุ ทยเมือ่ มีอายุมากขึ้นกลบั มีความสุขลดลง วตั ถปุ ระสงค์: เพอื่ ศึกษา ระดับความสุขและปัจจัยที่มีความสมั พันธ์ต่อความสุขของผู้สูงอายุ ในอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก วิธีวิจัย: การวิจยั เชิงสำรวจ แบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional Descriptive Studies) กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 368 คน คน สุ่มด้วยวิธีการสุ่มแบบหลาย ขั้นตอน (Multi-stage random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินคุณค่าใน ตนเอง การรับรู้ภาวะสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม และแบบประเมินความสุข วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานด้วยสถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติไคสแควร์ (Chi-square) และสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Correlation Coefficient) ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 64.24 ปี สถานภาพสมรสคู่ จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา อาชีพ เกษตรกรรม รายได้ต่อเดือน 1001-2000 บาท มีรายรับไม่เพียงพอ แต่ไม่มีหนี้สิน มีโรคประจำตัว โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มี ความสุขในระดับมาก รองลงมาคือระดับปานกลาง และระดับต่ำ (ร้อยละ 66, 32.6 และ 1.4 ตามลำดับ) และพบว่าสถานภาพ สมรส ความเพียงพอของรายรับ การเห็นคุณค่าในตนเอง การรับรู้ภาวะสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ต่อ ความสุขของผู้สูงอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.01) อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: ครอบครัวและผู้เกี่ยวข้อง ควรจัด กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้เห็นคุณค่าและประโยชน์ของตนเองที่มีต่อครอบครัว สังคม สนับสนุนให้มีกิจกรรมและบทบาท ร่วมกับครอบครัว สังคม และกลุ่มผู้สูงอายุด้วยกัน ทั้งนี้ตัวผู้สูงอายุเองควรให้ความสำคัญและดูแลเอาใจใส่สุขภาพของต นเองให้ เหมาะสมตามวัย ไม่ปล่อยให้เจ็บป่วยจนไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ มองเห็นคุณค่าในตนเองที่สามารถสร้างประโยชน์ให้กับ ครอบครวั และสงั คมโดยรวม เพราะสิง่ เหลา่ นีจ้ ะทำให้รู้สกึ มีความสุขทง้ั ในอดตี ท่ีผ่านมาและในอนาคตทจี่ ะมาถงึ คำสำคัญ: ผู้สงู อาย,ุ ความสุข, ความสขุ ของผู้สงู อายุ 10
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง ปัจจัยท่มี ีความสัมพนั ธ์ตอ่ ภาวะซมึ เศรา้ ของผ้สู ูงอายุ ในพน้ื ท่ีตำบลแหง่ หนง่ึ อำเภอเมือง จังหวดั สมุทรสงคราม วันวสิ าข์ สายสนั่น ณ อยุธยา1, วณี า จนั ทรสมโภชน1์ , จริ วัฒน์ สุดสวาท1, ผุสดี ละออ2, ธิตพิ งษ์ สุขดี3 1วทิ ยาลยั สหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา, 2สำนักวชิ าวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแมฟ่ า้ หลวง, 3คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยการกีฬาแห่งชาติ *Corresponding Author e-mail: [email protected] บทคัดย่อ บทนำ: ภาวะซึมเศร้าก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ และค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลถือเป็นความเปราะบาง ดา้ นจติ ใจทอ่ี าจสง่ ผลตอ่ ชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะในกลุ่มผสู้ ูงอายทุ ม่ี แี นวโนม้ การเพิ่มขน้ึ ของภาวะซึมเศร้าและมคี วามเส่ียงต่อการ ฆา่ ตัวตายซ่ึงนําไปสู่ความสัมพนั ธต์ ่อการเพ่ิมขนึ้ ของการเสยี ชวี ติ ในทส่ี ุด วัตถปุ ระสงค:์ เพอื่ ศกึ ษาภาวะซมึ เศรา้ และศกึ ษาปัจจัยท่ีมี ความสัมพนั ธต์ ่อภาวะซมึ เศรา้ ของผู้สูงอายุ จังหวัดสมทุ รสงคราม วิธวี ิจัย: การวจิ ยั ครงั้ น้เี ป็นการวิจยั แบบภาคตดั ขวางเชงิ วเิ คราะห์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ จำนวน 252 คน ในพื้นที่ตำบลแห่งหนึ่ง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม เก็บข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม ซึ่งประกอบไปด้วยข้อมูลทั่วไป และแบบวัดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุไทย (Thai Geriatric depression Scale, TGDS30) สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ตามวิธีของเพียร์สัน (Pearson Correlation Coefficient) และสถิติไคสแควร์ (Chi-Square) ผลการวิจัย: ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีระดับความซึมเศร้าระดับปกติร้อยละ 73.4 ระดับซึมเศร้าเล็กน้อยร้อยละ 21.4 ระดับซึมเศร้าปานกลางร้อยละ 4.8 และระดับซึมเศร้ารุนแรงร้อยละ 0.4 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้ากับปัจจัยทางด้าน บคุ คล พบวา่ สถานภาพสมรส ระดบั การศึกษา อาชพี และลักษณะการอยอู่ าศัยของผสู้ ูงอายุมคี วามสัมพนั ธก์ ับภาวะซึมเศรา้ อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และรายได้มีความสัมพันธ์เชิงลบอยู่ระดับต่ำมากกับภาวะซึมเศร้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 (r=-.192) ส่วนปจั จัยดา้ นอายุ เพศ ศาสนา และโรคประจำตัวของผู้สงู อายุ พบว่า ไม่มคี วามสัมพันธ์กบั ภาวะซมึ เศรา้ อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 26.6 และปัจจัยที่ทำให้ผู้สูงอายุมีภาวะซึมเศรา้ ได้แก่ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ ลักษณะการอยู่อาศัย และรายได้ ซึ่งสามารถนำผลการวิจัยมาใช้วางแผนและเป็น แนวทางการแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพจติ และส่งเสริมปอ้ งกนั ปญั หาสขุ ภาพจติ ในผสู้ ูงอายทุ สี่ อดคลอ้ งกบั สภาพพ้นื ท่ตี ่อไป คำสำคัญ: ผสู้ งู อาย,ุ ภาวะซึมเศรา้ 11
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง การปนเปอ้ื นของสารตะกวั่ จากสไี ม้ สีเทยี น ดินน้ำมัน ของเลน่ เครือ่ งเล่น และสที าผนงั หอ้ งเรียน ในศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก เขตอำเภอเมอื ง จงั หวัดนครราชสมี า สมญั ญา แจ่มเพ็ง, อัญชลี สุขสูงเนนิ , รุ่งทวิ า เกวยี นสงู เนนิ , ศรวี รรณ กระจา่ งโพธิ์, กมลพรรณ ยางศลิ า และประพัฒน์ เปน็ ตามวา๕ สาขาวชิ าอนามัยส่งิ แวดล้อม สำนกั วชิ าสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี นครราชสมี า 30000 *Correspondence E-mail: [email protected] บทคดั ยอ่ บทนำ: ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่ท่ีส่งเสริมพัฒนาเด็กเล็กให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสังคมที่สมบูรณ์ โดย สิ่งแวดล้อมและอุปกรณ์การเรียนการสอนที่สะอาดและปลอดภัยส่งผลต่อพัฒนาการที่ดีของเด็กเล็ก วัตถุประสงค์: การศึกษานี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณของสารตะกั่วจากสีไม้ สีเทียน ดินน้ำมัน ของเล่น สีทาเครื่องเล่น และ สีทาผนังห้องเรียนในศูนย์ พฒั นาเดก็ เล็ก วธิ วี ิจยั : การศกึ ษานี้ทำการเก็บตวั อยา่ งจากศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ จำนวน 8 แหง่ ในเขตอำเภอเมือง จงั หวดั นครราชสีมา การเก็บตวั อย่างสจี ากของเล่น สีทาเครื่องเล่น และสีทาผนงั ห้องเรยี น ด้วยวิธกี าร Scraping Method (ASTM E1729-05) สำหรับสี ไม้ สีเทียน และดินน้ำมัน ทำการเก็บตัวอย่างด้วยวิธีการ Scraping Method (EN71-3) และทำการวิเคราะห์สารตะกั่วจากตัวอย่าง ด้วยเครอื่ งอะตอมมกิ แอบซอร์พชนั สเปกโทรมิเตอร์ (Atomic Absorption spectroscopy) ชนดิ Graphite furnace และนำค่าท่ีได้ เทียบกับค่ามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่าสีทาเครื่องเล่นมีการปนเปื้อนสารตะกั่วมากที่สุด รองลงมาคอื สีไม้ ดินนำ้ มัน สเี ทียน และสที าผนงั ห้องเรยี น ตามลำดบั โดยมีคา่ เท่ากับ 9.39, 8.84, 7.79, 7.49, 5.38 และ 0.42 mg/l ตามลำดับ โดยสีไม้มีปริมาณสารตะกั่วอยู่ในช่วง 0.57 – 8.84 mg/l สีเทียนมีปริมาณสารตะกั่วอยู่ในช่วง 0.11 – 5.38 mg/l ดิน น้ำมันมีปริมาณสารตะกั่วอยู่ในช่วง 0.22 – 7.79 mg/l สีจากของเล่นมีปริมาณสารตะกั่วอยู่ในช่วง 0.07 – 7.79 mg/l สีทาเครื่อง เล่นมีปริมาณสารตะกั่วอยู่ในช่วง 0.80 – 9.39 mg/l และสีทาผนังห้องเรียนมีปริมาณสารตะกั่วอยู่ในช่วง 0.13 – 0.42 mg/l อภปิ รายและสรุปผลการวจิ ัย: ปรมิ าณสารตะกั่วในสไี ม้ สเี ทียน ดินนำ้ มัน สีจากของเล่น สที าเครื่องเล่น และสีทาผนังห้องเรียนมีค่า อยใู่ นช่วงในเกณฑ์มาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม คำสำคัญ: สารตะก่วั , ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก, นครราชสีมา 12
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง การประเมินปรมิ าณการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกจากการจัดการมูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน จงั หวัดนา่ น ปิยะนุช ยินดีผล1 และพรรณทสิ ชา อทุ ปา1* 1คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ *Correspondence E-mail: [email protected] บทคัดยอ่ งานวิจยั น้ีมวี ตั ถุประสงคเ์ พอื่ ศึกษาและประเมนิ ปริมาณการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกในการจัดการมลู ฝอยของเทศบาลเมอื ง น่าน จังหวัดน่าน โดยศึกษาปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกระบวนการจัดการมูลฝอย การเก็บขนและการกำจัด ดำเนนิ การวจิ ัยโดยการเก็บขอ้ มูล ปริมาณมลู ฝอยทีเ่ กดิ ข้ึน ปรมิ าณน้ำมันเช้อื เพลิง องคป์ ระกอบของมลู ฝอย และปรมิ าณมูลฝอยที่ นำไปฝังกลบ ด้วยวิธีการคำนวณจากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อคำนวณค่าสัมประสิทธิ์และปริมาณการระบายก๊าซเรือน กระจกผลการศึกษาพบว่า จากการประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากการกระบวนการจัดการมูลฝอย จากการการ เกบ็ ขนและการกำจดั ของเทศบาลเมืองน่าน จงั หวดั น่าน ปริมาณการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกจากกระบวนการจัดการมลู ฝอยทงั้ หมด 1,531.4 ตันคาร์บอนไดออกไซดเ์ ทียบเท่าตอ่ เดอื น จากกระบวนการการเกบ็ ขนมูลฝอยมปี รมิ าณการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกโดยตรง จากการเกบ็ ขนมลู ฝอย 34 ตันคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเทา่ ต่อเดอื น และจากกระบวนการ การฝงั กลบมูลฝอย มปี รมิ าณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกโดยตรงจากการฝังกลบมูลฝอย 1,497.4 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเทา่ ตอ่ เดอื น การวิเคราะห์องค์ประกอบมูล ฝอยจากการสุ่มตัวอย่างจากยานพาหนะเกบ็ ขนมูลฝอยและนำมาท้ิงที่บ่อกำจัดมูลฝอยของเทศบาลเมืองน่าน ซึ่งจากการวเิ คราะห์ องค์ประกอบมูลฝอยทางกายภาพโดยน้ำหนัก พบว่า มูลฝอยประเภทเศษอาหารและสารอินทรีย์มีสัดส่วนที่มากที่สุด (41 %) รองลงมาคือ พลาสติก (25 %) กระดาษ (13 %) มูลฝอยประเภทอ่ืน ๆ (12 %) แกว้ (5 %) ผา้ (3 %) และโลหะ (1 %) ตามลำดับ นอกจากนยี้ งั พบวา่ การใช้มาตรการการลดปรมิ าณมูลฝอยประเภทเศษอาหารและสารอินทรีย์และมาตรการการลดปรมิ าณมลู ฝอย ประเภทกระดาษส่งผลให้การปล่อยปริมาณกา๊ ซเรือนกระจกลดลง 3.8 % - 21.2 % คำสำคัญ: มูลฝอย, ก๊าซเรอื นกระจก, เทศบาล 13
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง การประเมินการปนเป้ือนปรมิ าณแบคทเี รียและเชือ้ ราในอากาศภายใน หอ้ งเรียน และห้องปฏบิ ตั กิ ารชวี วทิ ยา มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ศูนยล์ ำปาง ธีรพล ปานคง1 , สนุ ษิ า เดชอปุ การ1 และเดอื นเพญ็ ศิรเิ ถยี ร1* 1สาขาวชิ าอนามัยสิง่ แวดลอ้ ม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยล์ ำปาง จังหวดั ลำปาง *Correspondence E-mail: [email protected] บทคดั ย่อ บทนำ: ผคู้ นอาศยั ในอาคารเกือบร้อยละ 90 ของเวลาตอ่ วนั ซงึ่ เสีย่ งตอ่ การเกดิ กลุม่ อาการเจ็บปว่ ยจากอาคาร เช่น คัด จมูกคลา้ ยโรคภูมิแพ้ และมหาวิทยาลัยเป็นสถานท่ีมกี ิจกรรมต่อเนื่องภายในอาคาร อาจเสี่ยงต่อสุขภาพทีเ่ กิดจากจุลชีพในอากาศ ภายในอาคารได้ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปริมาณแบคทีเรียและเชื้อราในอากาศภายในห้องเรียนและห้องปฏิบัติการชีววิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง วิธีวิจัย: สุ่มการเก็บตัวอย่างอากาศด้วยเครือ่ งเก็บจุลชีพในห้องเรียน 3 ขนาด ได้แก่ขนาด ใหญ่ กลางและเล็ก อย่างละ 1 ห้อง จากอาคารเรียนรวมห้าชั้น และอาคารบุญชูปณธิ าน รวม 6 ห้องและห้องปฏิบัติการชวี วิทยา จำนวน 1 หอ้ ง เกบ็ ตวั อยา่ ง 3 ช่วง (ก่อน ขณะ และหลังใช้งาน) โดยสุ่มเกบ็ 9 จุด ไดแ้ ก่ ดา้ นหน้า กลาง และหลังห้อง อย่างละ 3 จุด และตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้น และนับจำนวนจุลชีพในอากาศบนจานอาหารเพาะเชื้อ ผลการวิจัย: ผลการตรวจวัด อุณหภูมิและความชื้นเฉลี่ยประมาณ 25ºC และร้อยละ 70% ตามลำดับ ในอาคารเรียนรวมห้าชั้น ปริมาณแบคทีเรียเฉลี่ย 307, 505 และ 351 และเชื้อราเฉลี่ย 217, 278 และ 483 CFU/m3 ในอาคารบุญชูปณิธาน ปริมาณแบคทีเรีย เฉลี่ย 375, 618 และ 163 และเชื้อราเฉลี่ย 103, 158 และ 125 CFU/m3 เรียงจากขนาดใหญ่ กลาง และเล็ก ตามลำดับ และห้องปฏิบัติการชีววิทยา พบปรมิ าณแบคทเี รียและเชือ้ รา 305 และ 513 CFU/m3 ตามลำดับ ทั้งน้ีในช่วงขณะ และชว่ งหลงั ใช้งานพบว่าเกนิ เกณฑ์มาตรฐาน ปริมาณจลุ ชีพของที่ยอมรบั ได้ (ไม่เกิน 500 CFU/m3) อภิปรายและสรุป: ปริมาณแบคทีเรียและปริมาณเชื้อราในอาคารเรียนรวม ห้าชั้นมากกว่าอาคารบุญชูปณิธาน เมื่อเปรียบเทียบลักษณะการใช้ห้องระหว่างห้องเรียนและห้องปฏิบัติการชีววิทยา พบว่า ปริมาณแบคทีเรยี ในหอ้ งเรยี นมากกว่าห้องปฏิบัติการชีววิทยาแตป่ รมิ าณเชื้อราในห้องปฏบิ ัตกิ ารชวี วิทยามากกวา่ หอ้ งเรียน ปัจจัย สำคัญทสี่ ่งผลต่อจลุ ชพี ในอากาศไดแ้ ก่ ความช้ืนโดยในห้องปฏบิ ัติการชวี วทิ ยามีสงู กว่าหอ้ งเรยี นจงึ มีปรมิ าณจุลชีพมากและจำนวนผู้ ที่ใชห้ ้องมากสง่ ผลปริมาณจุลชีพเพิม่ ขน้ึ คำสำคัญ: แบคทีเรยี , เช้อื รา, ความช้ืน, คุณภาพอากาศในอาคาร, จลุ ชพี ในอากาศ 14
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง การกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำด้วยวัสดุดูดซบั ทส่ี งั เคราะหจ์ ากของเสีย นิตยา สิทธิพรหม1, ปณรรฐพร ใจวัน1, สธุ าสนิ ี โพธ์ิศรี1, ประดบั ดวง เกยี รติศักดิ์ศิริ1* 1สาขาวชิ าอนามยั ส่ิงแวดลอ้ ม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยล์ ำปาง *Correspondence E-mail: [email protected] บทคดั ย่อ บทนำ: ลำปางเป็นจังหวัดที่พบปริมาณฟลูออไรด์ปนเปื้อนในน้ำบาดาลสูงเกินมาตรฐานน้ำบาดาลที่จะใช้บริโภค (0.7 มิลลกิ รัมต่อลิตร) โดยพบฟลอู อไรด์ในช่วง 0.8 - 5.9 มลิ ลกิ รมั ต่อลติ ร การบรโิ ภคน้ำท่ีมฟี ลอู อไรด์สงู เปน็ ประจำ ทำให้เกิดภาวะฟัน ตกกระและภาวะกระดูกพรุน วัตถุประสงค์: 1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำด้วยวัสดุดูดซับที่สังเคราะห์จาก เปลือกสับปะรด กากกาแฟ เปลือกไข่ไก่ และกระดูกหมู 2. เพื่อศึกษาผลของความเป็นกรด-ด่างและปริมาณวัสดุดูดซับต่อ ประสิทธิภาพการกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำ วิธีวิจัย: งานวิจัยนี้ทดลองกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำสังเคราะห์ที่มีฟลูออไรด์ 5.66 ±0.03 มลิ ลกิ รัมต่อลิตร โดยใชผ้ งวสั ดดุ ูดซบั ทส่ี ังเคราะห์จากของเสยี 4 ชนดิ และศกึ ษาผลของความเปน็ กรด-ด่าง (pH 4 - 8) และปริมาณ วัสดดุ ูดซบั (5 - 20 กรัมต่อลติ ร) ท่ีมผี ลต่อประสทิ ธภิ าพการกำจัดฟลูออไรด์ ผลการวิจัย: สภาวะที่เหมาะสมในการดดู ซับฟลูออไรด์ คือ pH 6 และใช้วสั ดุดดู ซับ 10 กรัมต่อลติ ร โดยพบวา่ ผงวัสดดุ ูดซับจากกระดกู หมูสามารถดูดซบั ฟลอู อไรดใ์ นนำ้ ได้มากท่ีสุด (ร้อย ละ 53.58 ±0.00) ในเวลา 120 นาที ประสิทธิภาพในการดูดซับเพ่ิมขึน้ เป็นรอ้ ยละ 82.12±1.60 เมื่อใช้ผงถ่านกระดูกซึง่ ผ่านการ เผาที่ 650 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังพบว่าผงถ่านกระดูกหมูช่วยลดฟลูออไรด์ในน้ำประปาบาดาลที่มี ฟลูออไรด์ 4.64 มิลลิกรัมต่อลิตรได้ถึงร้อยละ 82.56 ±0.88 ในเวลา 180 นาที อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: ประสิทธิภาพใน การกำจัดฟลูออไรด์ในน้ำสูงสุดที่ pH 6 เนื่องจากที่ pH 4 และ pH 8 เกิดการรบกวนการดูดซับจากกรดไฮโดรฟลูออริก และไฮดร อกไซด์ไอออน การเผากระดูกหมูช่วยเพ่มิ พืน้ ที่ผวิ และขนาดของรพู รุนของวสั ดดูดซับ การลดปริมาณวสั ดุดดู ซบั ทำให้พน้ื ทผี่ ิวในการ ดูดซับน้อยลง และการเพิ่มปริมาณวัสดุดูดซบั ทำให้เกิดการซ้อนกันของตำแหน่งที่จะเกิดการดูดซับ ส่งผลใหป้ ระสิทธภิ าพการดดู ซบั ลดลง คำสำคญั : การดดู ซบั , ฟลอู อไรด,์ ถ่านกระดกู หมู 15
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง การศกึ ษาประสทิ ธภิ าพของกากตะกอนจากการผลติ น้ำประปาในการผลิตเป็นอิฐบลอ็ ก ชัชชลัย ชนะชัย1 , ปาริชาติ สมสนุก1 และเดือนเพญ็ ศิรเิ ถยี ร1* 1 สาขาวชิ าอนามัยสิ่งแวดลอ้ ม คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ศนู ย์ลำปาง จังหวัดลำปาง *Correspondence E-mail: [email protected] บทคดั ย่อ บทนำ: กากตะกอนจากระบบผลติ น้ำประปาสามารถนำกลบั มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เชน่ เป็นวสั ดุทดแทนปนู ซเี มนตใ์ นการผลติ คอนกรีตมวลเบา และอกี วิธหี นงึ่ การนำกากตะกอนมาใช้ทดแทน ผงปูนซเี มนต์เพื่อการผลิตเปน็ อฐิ บล็อกประสาน วว. (สถาบันวิจัย วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย) วตั ถุประสงค:์ ศกึ ษาประสทิ ธิภาพและอัตราสว่ นทีเ่ หมาะสมของกากตะกอนจากการ ผลิตน้ำประปาที่ใช้แทนปนู ซีเมนต์ เพื่อผลิตเป็นอิฐบล็อกประสาน วว. วิธีวิจัย: อบกากตะกอนและร่อนให้ได้ขนาด และวิเคราะห์ หาองค์ประกอบทางเคมี จากนั้นนำไปขึ้นรูปอิฐบล็อกตามสัดส่วนการแทนที่ของกากตะกอน ร้อยละ 0,10, 20, 30, 40, 50 และ 60 และบ่ม 24 ชั่วโมง ทดสอบความชื้นและความหนาแน่นของอิฐบล็อก ทดสอบการดูดซึมน้ำด้วยวิธี ASTM C 127-88 และค่า กำลังอัดตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน 602/2547 ผลการวิจัย: หาองค์ประกอบทางเคมีของกากตะกอนโดยเครื่อง XRF พบว่า AI2O3, CaO, SiO2 และ Fe2O3 ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลกั ที่มีอยู่ในปูนซเี มนต์ ร้อยละของกากตะกอนใช้แทนปูนซีเมนต์ 0,10, 20, 30, 40, 50 และ 60 มีค่าความชื้นเท่ากับร้อยละ 7.6, 7.9 ,10.3 ,10.6, 9.42 ,10.34 และ12.42 ค่าความหนาแน่นเท่ากับรอ้ ยละ 1.70, 1.63, 1.63, 1.63, 1.60,1.60 และ 1.59 มีค่าดดู ซมึ น้ำเท่ากบั ร้อยละ 5.64, 13.68, 10.2, 11.38, 12.28, 11.02 และ13.44 และมีค่ากำลังอัดเท่ากับ 9.53, 8.78, 5.0, 4.84, 4.32, 2.9 และ 2.21 MPa ตามลำดับ อภิปรายและสรุป: กากตะกอนท่ีนำมาใช้ ในการทำอิฐบล็อกประสานไม่มีคุณสมบัติเพิ่มกำลังแรงอัด และร้อยละของกากตะกอนที่ใช้แทนปูนซีเมนต์ 0-50 ผ่านมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ชุมชน 602/2547 โดยค่ามาตรฐาน คือ 2.5 MPa (อิฐชนิดรับน้ำหนัก) และร้อยละกากตะกอนแทนปูนซีเมนต์ ท่ี เหมาะสมคอื 50 เมื่อวิเคราะห์หาราคาต้นทุนในการผลิตสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ 1.20 บาทต่อก้อน ซึ่งโดยทั่วไปการผลิตอิฐ จะใชป้ นู ซเี มนต์ 1 กิโลกรมั ต่อก้อน และคดิ ราคาปูนซีเมนตถ์ งุ ละ 120 บาทตอ่ 50 กโิ ลกรัม (ราคา ณ ธนั วาคม 2562) คำสำคญั : กากตะกอน,ระบบประปา,อิฐบลอ็ กประสาน,การนำของเสยี กลบั มาใช้ประโยชน์ 16
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง การเปรียบเทยี บประสทิ ธภิ าพของน้ำสม้ สายชแู ละน้ำมะกรูดในการลดปริมาณ Escherichia coli ทีป่ นเปอื้ นในผักกาดหอม ศิรลิ ักษณ์ สายะหมี¹ พัชรพร สขุ ศรรี าษฎร์¹ และญาณสนิ ี สมุ า1* 1สาขาวชิ าอนามยั สิง่ แวดล้อม คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศูนยล์ ำปาง *Corresponding author E-mail: [email protected] บทคดั ย่อ บทนำ: ผักกาดหอมเป็นผักที่นิยมนำมาบริโภคสดและใช้ปุ๋ยจากมูลสัตว์ในการเพาะปลูก ทำให้ผักมีแนวโน้มที่จะมีการ ปนเปื้อนแบคทีเรีย Escherichia coli (E. coli) ซึ่งพบในอุจจาระและเป็นเชื้อก่อโรคทางเดินอาหารได้ วัตถุประสงค์: เพ่ือ เปรียบเทียบประสทิ ธภิ าพของการใช้น้ำมะกรูด นำ้ ส้มสายชแู ละเกลือในการลา้ งผักกาดหอมเพือ่ ลดปรมิ าณ E. coli ทป่ี นเปื้อนมา กับผักกาดหอม วิธีวิจัย: ทำการทดสอบกับผักกาดหอม (Lactuca sativa) ที่มีการสร้างสภาวะปนเปื้อนด้วยเชื้อ E. coli โดยหา ปรมิ าณเชือ้ E. coli หลงั จากการแชผ่ กั กาดหอมในสารทดสอบ และนบั จำนวนดว้ ยวธิ ี Spread Plate Technique บนอาหารเล้ียง เชื้อ Eosin Methylene Blue (EMB) agar โดยใช้น้ำกลั่นปราศจากเชื้อเปน็ ตัวควบคุม ผลการวิจัย: การทดลองประสิทธิภาพการ ลดปรมิ าณเช้อื E. coli ในผกั กาดหอมจากการสรา้ งสภาวะการปนเปื้อนเปรยี บเทยี บกับน้ำกล่นั พบว่าน้ำมะกรูดและน้ำส้มสายชูที่ ความเข้มข้นร้อยละ 5, 10 และ 15 สามารถลดปริมาณเชื้อ E. coli ได้ ภายในเวลา 30 นาที โดยลดปริมาณเชื้อ E. coli ได้ มากกว่าน้ำกลั่นประมาณ 6.50 log10 CFU / g ส่วนน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นร้อยละ 5,10 และ15 จะลดปริมาณเชื้อ E. coli ได้ มากกว่าน้ำกลั่นประมาณ 0.01, 0.02 และ 0.11 log10 CFU / g ตามลำดับ อภิปรายและสรุปผลการวิจัย:น้ำมะกรูดและ น้ำส้มสายชูที่ความเข้มข้นร้อยละ 5 สามารถลดปริมาณเชื้อ E. coli ได้ทั้งหมด ในเวลา 30 นาที จากงานวิจัยที่ผ่านมาพบว่าน้ำ มะนาวท่คี วามเขม้ ขน้ รอ้ ยละ 15 สามารถลดปริมาณเช้อื E. coli ไดม้ ากท่ีสุด เม่อื เปรียบเทียบประสิทธภิ าพของสารฆา่ เช้อื จลุ ินทรยี ์ ในการลดปริมาณเช้อื E. coli พบวา่ สารละลายโซเดยี มคลอไรท์และสารละลายโซเดยี มไฮโปคลอไรท์ทำลาย E. coli บนผักกาดหอม ได้หมดในเวลา 15 และ 30 นาที ตามลำดับ ทั้งนี้จงึ พจิ าณาว่านำ้ มะกรูดน่าจะสามารถนำมาพฒั นาเป็นน้ำยาลา้ งผักจากธรรมชาติ ได้ เน่ืองจากมปี ระสทิ ธิภาพในการลดปรมิ าณเชือ้ E. coli ทป่ี นเป้ือนในผกั กาดหอม หางา่ ยและราคาถกู คำสำคญั : ประสิทธภิ าพ การลา้ งผกั น้ำมะกรูด ผักกาดหอม E.coli น้ำส้มสายชู นำ้ เกลอื 17
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง Ammonia Removal from Chicken Manure by Using Air Stripping Process Krailak Fakkaew1,*, Sudarat Phoonsri1, Thunsuda Kaewsai1, Panadda Pancahi1, Prajakjit Pabjatooras1 1Environmental Health, School of Health Science, Mae Fah Luang University *Co-responding e-mail: [email protected] Abstract Introduction: Wastewater and odor from chicken manure of Champa Farm Company at Tha Khao Plueak Sub-district, Mae Chan District, Chiang Rai Province, are serious environmental problems to the villagers living nearby. The company has a measure to treat its generated wastewater by using an anaerobic digestion process. However, it cannot overcome these problems. Objective: To study the effects of temperature and time on the efficiency of the air stripping process for ammonia removal from chicken manure wastewater. Methodology: A lab-scale of air striping was used to remove ammonia from chicken manure wastewater at various temperatures and stripping times. Results: The experimental results showed that increasing temperature and striping time resulted in increased ammonia removal efficiency. The high removal efficiency of 98% was found when the air stripping process conducting at a temperature of 90 °C for 240 minutes. Conclusion and Recommendation: From the experimental results, it found that the air stripping process was an effective method for ammonia removal from chicken manure wastewater up to 98%. Keywords: chicken manure, ammonia, air striping 18
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง Electricity Generation from Wastewater of Chicken Farm Natcha Kaewjandee1, Kanokpon Kruasan1, Sudarat Phoonsri1, Pannipha Dokmaingam1 1 School of Health Science, Mae Fah Luang University, Chang Rai, Thailand, 57100 *Co-responding e-mail: [email protected] Abstract Introduction: As the growth of water usage in both industrial and household sectors. Therefore, wastewater treatment plants are also increased in according to the national regulation. The wastewater treatment plant is not only treated wastewater and turn it into a clean water, it could also reduce operating costs by additional technologies under circular economy basis. One of promising technologies for environment is called Microbial fuel cells (MFCs). Microbial fuel cells are devices that generated by using bacteria as the catalysts to oxidize organic and inorganic matter. Not only electricity but MFCs are also reduce COD of wastewater. Objective: 1) To study the electricity generation process of MFCs from wastewater. 2) To treat wastewater from chicken farm by using a MFC. Methodology: Prepare salt bridge solution with 5% of KCl, 2.5% of agar powder, 92.5% of distilled water. Construct anode electrode (carbon felt or stainless) with multimeter weir by obtain a surface area of 36 cm2 and construct cathode electrode (copper) with multimeter weir by obtain a surface area of 8 cm2. Turn on air pump (It can open both of before and during of the experiment) at a cathode chamber. Observe and record the open circuit voltage from the system every 5 minutes. Results: MFCs system was separated into four systems including 4 systems. All of them were demonstrated with two difference types of anode material which are carbon-felt and stainless-steel. During the MFCs process, both types of anode electrode were set in a same condition with the same COD. It was found that OCV of carbon-felt anode is higher than stainless-steel anode around 0.06 V. Meanwhile COD after MFCs process is also reduced around 3,922 mg/L and 2,270 mg/L for carbon-felt anode and stainless-steel anode, respectively. Discussion and conclusion: The best evaluated system in term of maximum open circuit voltage (OCV) value is MFCs system 1 with the highest COD concentration where carbon-felt was used anode materials. This might because of the high specific surface area, good electrical conductivity, and biocompatibility of carbon-felt. Meanwhile stainless-steel anode could protective passive film breaks down near to the oxygen evolution potential. Keywords: MFCs, wastewater, poultry farm 19
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง ศึกษาพฤตกิ รรมการบริโภคและคุณภาพน้ำดื่มสำหรบั นกั ศกึ ษา มหาวิทยาลยั แมฟ่ า้ หลวง จังหวัดเชียงราย จติ ตราภรณ์ บญุ ดี 1, ปณวฒั น์ แซ่ตัน 1, จฬุ ารตั น์ ศรสี ุวรรณ 1, ทรรศศกิ า ธะนะคำ 1, สนุ ทร สุดแสนดี1’* 1สาขาวิชาอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม สำนักวชิ าวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ มหาวทิ ยาลยั แม่ฟา้ หลวง * Corresponding author: [email protected] บทคัดยอ่ ศึกษาพฤตกิ รรมการบริโภคน้ำด่ืมของนักศึกษาชัน้ ปีที่ 1 มหาวิทยาลยั แม่ฟา้ หลวง จังหวัดเชียงราย ในปี พ.ศ. 2561 ผล การศึกษาพบว่า นักศึกษานิยมบริโภคนำ้ ดื่มบรรจุขวดมากที่สุด โดยกลุ่มนักศึกษาเพศหญิงนิยมบริโภคน้ำดื่มบรรจุขวดมากว่าเพศ ชาย และนกั ศกึ ษาทบ่ี รโิ ภคนำ้ ด่มื บรรจุขวดมีรายได้มากวา่ 10,000 บาทขนึ้ ไป ซอ้ื น้ำดม่ื วันละ 2 ขวดตอ่ วนั (ขนาด 0.6 ลติ ร) และ มีรายจา่ ยเพือ่ ซ้ือน้ำด่ืมประมาณ 11-20 บาทตอ่ วัน ในทางกนั ขา้ มกล่มุ นกั ศกึ ษาเพศชายนยิ มบรโิ ภคนำ้ ดมื่ จากกอ๊ กที่ผ่านการกรอง มากกว่าเพศหญิง ทำการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยเกี่ยวกับทัศนคติต่อการตัดสินใจในการเลือกประเภทของน้ำดื่มระหว่างน้ำดืม่ บรรจุขวดและน้ำก๊อกที่ผ่านการกรอง พบว่าคะแนนเฉลี่ยด้าน มาตรฐานอาหารและยา (อย.) ยี่ห้อและการโฆษณาหรือการ ประชาสัมพันธ์ของน้ำดื่มบรรจุขวด และรายละเอียดกระบวนการผลิตน้ำดื่ม มีค่าคะแนนเฉลี่ยมากกว่าน้ำดื่มจากก๊อกที่ผ่านการ กรอง อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ในทางตรงข้ามคะแนนเฉลี่ยเกี่ยวกับทัศนคติต่อการตัดสินใจในการเลือกประเภทของน้ำดื่มจาก ก๊อกที่ผ่านการกรอง มีคะแนนเฉล่ียด้านความเพียงพอ, ความประหยัด, การเข้าถึงง่าย, และไม่มีกลิ่น มีคะแนนเฉลีย่ มากว่านำ้ ดม่ื บรรจุขวด อย่างมนี ัยสำคัญ (p<0.05) การศึกษาน้ียังสมั ภาษณ์กลุ่มนกั ศึกษาที่บริโภคน้ำดื่มบรรจุขวดถึงสาเหตุสำคญั ที่ไม่เลอื กน้ำ ดื่มจากก๊อกที่ผ่านการกรอง โดยให้เหตุผล 3 ลำดับแรก คือ (1) สภาพแวดล้อมที่ว่างก๊อกน้ำดื่มที่ผ่านการกรองไม่เหมาะสม เช่น ใกล้ห้องน้ำ ใกล้ถังขยะ เป็นต้น, (2) ก๊อกน้ำสกปรก, และ (3) ไม่มั่นใจในคุณภาพน้ำดื่ม สุดท้ายสำรวจระบบเครื่องกรองน้ำใน มหาวิทยาลัย พบประเภทการบำบัดน้ำ Resin + Ceramic + Carbon + UV จำนวน 32 จุด คิดเป็นร้อยละ 69.57 และเก็บ ตัวอย่างน้ำวิเคราะห์ค่าความขุ่น ค่าพีเอช, โคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด และ ฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย พบว่าคุณภาพน้ำผ่าน มาตรฐานคณุ ภาพนำ้ ด่ืมของกรมอนามัยและองคก์ ารอนามยั โลกกำหนด คำสำคัญ: นำ้ ด่มื บรรจขุ วด, นำ้ กอ๊ กที่ผ่านการกรอง, ความขนุ่ , โคลฟิ อรม์ แบคทีเรยี ทงั้ หมด, ฟคี ลั โคลฟิ อร์มแบคทีเรยี 20
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง การศึกษาการพฒั นาศักยภาพการใชป้ ระโยชน์กากของเสยี อุตสาหกรรมโดยใช้หลัก 3Rs วีรยทุ ธ สิรริ ัตน์เรอื งสุข1,* ศรณั ยพ์ ร เน่ืองอดุ ม1 และ จุฑาภรณ์ มณกี อ้ น1 1สาขาวิชาอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม สำนกั วิชาวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ ้าหลวง *Correspondence E-mail: [email protected] บทคดั ยอ่ บทนำ: การศึกษาการพัฒนาศักยภาพการใช้ประโยชน์กากของเสียอุตสาหกรรมโดยใช้หลัก 3Rs (Reduce, Reuse, Recycle) ซึ่งเป็นแนวทางในการเพมิ่ ศักยภาพของของเสยี ทเ่ี กิดข้ึนในโรงงานและเป็นแนวทางในการจัดการกากของเสียอุตสาหกรรม วัตถุประสงค์: เพื่อลดปริมาณของเสียที่ต้องบำบัด กำจัดด้วยวิธีการฝังกลบ และเสนอแนะแนวทางการจัดการของเสียที่ดีตาม ศักยภาพการใช้ประโยชน์ของกากของเสียอุตสาหกรรมตามหลัก 3Rs วิธีวิจัย: การศึกษานี้ทำการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประเภท อุตสาหกรรม การจัดการของเสีย และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการกากของเสียอุตสาหกรรมภายในโรงงาน รวมทั้งการ ตรวจสอบกิจกรรมและแหล่งกำเนิดของเสียของโรงงาน โดยทำการระบุชนิดของเสียที่มาจากกระบวนการผลิตหลัก กระบวนการ สนบั สนนุ และจดั ทำเกณฑ์การคัดเลือกโรงงาน เมอ่ื พบโรงงานทมี่ ปี ญั หาและมคี วามเป็นอันตรายของของเสยี มากท่ีสุดแล้ว จึงทำการ เสนอแนะแนวทางการจัดการของเสียตามศักยภาพการใชป้ ระโยชน์ของของเสียแต่ละชนิดตามหลัก 3Rs เพื่อช่วยลดปริมาณของของ เสยี ทตี่ อ้ งนำไปฝงั กลบ ผลการวจิ ัย: ผลการศกึ ษาพบว่าจากโรงงานท้ัง 13 แห่ง มี 2 โรงงานทีม่ ศี กั ยภาพในการใช้ประโยชน์จากของ เสียอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นของเสียประเภทเศษผ้า ถุงมือเปื้อนน้ำมัน และเศษยาง โดยสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้โดยการนำไปเผา เพื่อเอาพลังงานซึง่ ช่วยลดการนำของเสียไปฝังกลบ จึงสรุปได้ว่าการใช้ประโยชน์กากของเสียของทั้ง 2 โรงงานมีความเหมาะสมท่จี ะ นำไปเป็นแนวทางการเพ่ิมศกั ยภาพการใช้ประโยชน์กากของเสยี อุตสาหกรรมในโรงงาน สำหรบั บางโรงงานทม่ี ีแนวทางการปฏิบัติใน การจัดการของเสียที่ดี และของเสียภายในโรงงานสามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งหมด และไม่มีการนำของเสียไปฝังกลบหรือเผาทำลาย ยกเว้นประเภทของเสยี ทกี่ รมโรงงานอุตสาหกรรมอนญุ าตให้ฝงั กลบได้ อภปิ รายและสรุปผลการวิจัย: ของเสยี อุตสาหกรรมท่ีเกดิ จาก กระบวนการผลติ และกระบวนการสนับสนุนภายในโรงงานที่ได้ทำการคัดเลือกมาแล้วนั้น สามารถนำมาใช้ประโยชน์ไดห้ ลากหลาย ตามวิธีการปฏิบัตทิ ี่ดใี นการจัดการของเสียภายในโรงงานตามที่ได้แนะนำ นอกจากนี้กากของเสียอุตสาหกรรมจากโรงงานทั้งหมดยัง สามารถพิจารณาแนวทางการใช้ประโยชน์อ่ืนๆได้ โดยวธิ ีการเปล่ยี นรหัสการกำจัดกากของเสยี อตุ สาหกรรมให้เหมาะสมกับชนิดของ ของเสยี และถูกต้องตามกฎหมาย คำสำคัญ: ของเสยี อุตสาหกรรม หลกั การจดั การของเสยี หลักการ 3Rs การใช้ประโยชนข์ องเสยี 21
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง รปู แบบท่ดี ีในการประกนั สุขภาพแรงงานขา้ มชาตทิ ่ไี ม่มี MOU : กรณีศึกษา M-Fund สุภา วิตตาภรณ์1 และพิมพวลั ย์ บญุ มงคล2 1คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนยล์ ำปาง 2ศนู ยค์ วามเป็นเลศิ ดา้ นการวิจยั เพศภาวะ เพศวิถี และสขุ ภาพ มหาวทิ ยาลัยมหิดล *Correspondence E-mail: [email protected] บทคัดย่อ บทนำ: ประเทศไทยมีแรงงานข้ามชาติอาศัยอยู่ประมาณ 5 ล้านคน รัฐบาลไทยได้ทำบันทึกความเข้าใจ (MOU) เพื่อ ความรว่ มมือด้านแรงงานไว้กับรัฐบาลของประเทศเพ่อื นบา้ น ในปี 2562 มแี รงงานทผ่ี า่ นกระบวนการ MOU จำนวน 989,145 คน แรงงานข้ามชาติจำนวนมากท่ีไม่มีเอกสารการทำงานที่ถูกต้องตามกฎหมาย ส่งผลให้แรงงานข้ามชาติกลุ่มนี้กลายเป็นกลุ่ม เปราะบาง มีข้อจำกัดในการเข้าถึงสิทธิและบริการที่จำเป็น โดยเฉพาะบริการสุขภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษารูปแบบการจัด กองทุนประกันสุขภาพสำหรับแรงงานข้ามชาติที่ไม่ผ่านกระบวนการ MOU วิธีวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์เชิงลึก บคุ คลสำคัญ (Key Informants) ท่ที ำงานด้านแรงงานขา้ มชาติ ภาครฐั 3 คน ภาคเอกชน 15 คน ผลการวจิ ยั : มีหนว่ ยงานเอกชน เพยี งแห่งเดียวในประเทศไทยทีด่ ำเนินการกองทุนสขุ ภาพแรงงานขา้ มชาติทไี่ ม่ผา่ นกระบวนการ MOU คือ Deamlopments ได้ จดั ตั้งกองทุน The Migrant Fund หรือ “M-Fund” เพอื่ สริมพลังอำนาจแรงงานขา้ มชาติใหส้ ามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารที่มีคุณภาพอย่าง ยั่งยืน บนพื้นฐานของการช่วยเหลือกันเองของแรงงาน “เฉลี่ยทุกข์ เฉลี่ยสุข” ดำเนินการในพื้นที่จังหวัดตาก 3 อำเภอ และ กำลังขยายกองทุนไปดำเนินการที่จังหวัดสระแก้ว ครอบคลุมทุกอำเภอ และปรับเปล่ียนแผนประกันสขุ ภาพถึง 3 แผน ปัจจุบัน กองทุนประกันสุขภาพ M-Fund มีสมาชิกที่จ่ายค่าประกันสุขภาพอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 4,000 คน จากสมาชิกกองทุนเกือบ 8,000 คน อภิปรายและสรุป: การออกแบบแผนความคุ้มครองสุขภาพ และกำหนดจ่ายเบี้ยขั้นต่ำใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของ แรงงานขา้ มชาติ โดยพิจารณาจากผลการสำรวจกอ่ นเรมิ่ ดำเนนิ โครงการ และมกี ารออกแบบแผนจ่ายคา่ ประกันสขุ ภาพแต่ละกลมุ่ อย่างชดั เจน เพ่ือกระจายความเส่ียง โดยกลมุ่ ที่ใช้สิทธิประกันสุขภาพมากจา่ ยในอัตราที่สูงกว่ากลุ่มคนสุขภาพดี สมาชิกกองทุน บางคนไมเ่ ขา้ ใจแนวคิดการประกนั สุขภาพ จึงสมคั รเม่ือจำเป็นตอ้ งรับบรกิ าร และไม่จา่ ยคา่ ประกันสุขภาพตอ่ เนอื่ ง คำสำคญั : กองทนุ ประกันสขุ ภาพ, แรงงานขา้ มชาติ, รูปแบบท่ีดี 22
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง การเปรียบเทียบประสิทธิผลของคลอเฮกซดิ นี กลโู คเนต และโพวโิ ดนไอโอดนี ในการทำความสะอาดลน้ิ สำหรบั กลุ่มผู้สูงอายุติดเตียง นิโลบล เอย่ี มเยน็ 1,2* และภัชรพล สำเนยี ง1 1ภาควชิ าทนั ตกรรมปอ้ งกัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 2ภาควิชาทนั ตสาธารณสขุ วิทยาลยั การสาธารณสขุ สิริน จังหวดั พิษณโุ ลก *Correspondence E-mail: [email protected] บทคดั ยอ่ บทนำ การทำความสะอาดลิ้นในกลุ่มผู้สูงอายุติดเตียง สามารถลดและควบคุมปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ภายในช่องปากท่ี ก่อให้เกิดปอดอักเสบจากการสูดสำลักได้ วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของคลอเฮกซิดีน กลูโคเนต และโพวิโดน ไอโอดีนในการทำความสะอาดลิ้นสำหรับกลุ่มผู้สูงอายุติดเตียง วิธีวิจัย เป็นการศึกษาแบบไขว้ในกลุ่มผู้สงู อายุติดเตียงจำนวน 12 คน กลุ่มตัวอย่างทุกคนได้รับการทำความสะอาดลิ้นร่วมกับการใช้ 0.12% คลอเฮกซิดีน กลูโคเนต, 1%โพวิโดนไอโอดีน และน้ำ สะอาด ทำการวัดปริมาณเชื้อแบคทีเรียที่ไม่ใช้ออกซิเจน และเชื้อราแคนดิดาบนลิ้น ก่อนและหลังทำความสะอาดทันที และ 3 ชั่วโมง ผลการวิจัย การทำความสะอาดลิ้นร่วมกับคลอเฮกซิดีน กลูโคเนตสามารถลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียที่ไม่ใช้ออกซิเจนได้ มากกว่าร้อยละ 80 สูงกว่ากลุ่มตวั อย่างที่ได้รับการทำความสะอาดลิ้นร่วมกับโพวิโดนไอโอดีนและน้ำ และมีแนวโน้มทีจ่ ะสามารถ ลดปรมิ าณเชอื้ จลุ ินทรียไ์ ด้เป็นระยะเวลา 3 ชว่ั โมง กลุ่มตวั อยา่ งท่ีไดร้ บั คลอเฮกซิดีน กลูโคเนตมกี ารลดลงของปรมิ าณเชื้อราแคนดิ ดาหลังจากทำความสะอาดทันที และ 3 ชั่วโมงมากกว่ากลุ่มที่ได้รับโพวิโดนไอโอดีน และน้ำ (P<0.05) อภิปรายและสรุป ผลการวิจัย การทำความสะอาดลิ้นโดยการเสริมสารเคมี คลอเฮกซิดีน กลูโคเนต และโพวิโดนไอโอดีน มีประสิทธิผลในการลด ปรมิ าณเช้ือแบคทเี รียทไ่ี มใ่ ช้ออกซเิ จนหลังจากทำความสะอาดทนั ที และมปี ระสิทธผิ ลตอ่ เน่อื งเปน็ ระยะเวลายาวนาน 3 ชัว่ โมง ซ่ึง มีประสิทธิผลมากกว่าการทำความสะอาดด้วยน้ำเพียงอยา่ งเดียว อีกทั้งคลอเฮกซิดีน กลูโคเนตมีประสทิ ธิผลในการลดปรมิ าณเชอื้ รากลุ่มแคนดดิ ามากกว่าโพวโิ ดนไอโอดีน ดังนนั้ คลอเฮกซิดีน กลูโคเนตอาจเป็นสารเคมที ่ีแนะนำใหใ้ ชเ้ ป็นแนวทางเวชปฏบิ ตั ใิ นการ ทำความสะอาดลิ้นใหก้ ับผสู้ ูงอายุเพ่อื ลดอบุ ตั กิ ารณ์การเกดิ โรคปอดอกั เสบในกลมุ่ ตดิ เตยี ง คำสำคญั : ตดิ เตยี ง, ผู้สงู อาย,ุ การทำความสะอาดลนิ้ , คลอเฮกซดิ ีน กลูโคเนต, โพวโิ ดนไอโอดีน 23
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง ผลการลดเช้ือแบคทเี รียบนลิ้นโดยการใช้โพวิโดนไอโอดนี ในกล่มุ ผสู้ ูงอายทุ ีม่ ภี าวะปากแห้ง ณัฎฐธดิ า จนั ทศลิ า, นโิ ลบล เอย่ี มเยน็ , ชัยภัทร หลวงแนม, ธันยช์ นก พลู หน่าย, พทุ ธพิ ร โสพรรณตระกลู ภาควชิ าทนั ตสาธารณสุข วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิริน จงั หวดั พิษณุโลก *Correspondence E-mail: [email protected] บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งน้ีเป็นการศึกษาทดลองแบบไขว้กันของการทำความสะอาดลิ้นดว้ ยวิธีเชิงกลร่วมกับน้ำยาบ้วนปากโพวิโดน ไอโอดีน ความเข้มขน้ ร้อยละ 1 และนำ้ ทมี่ ผี ลตอ่ การลดเช้ือแบคทเี รยี ที่ก่อใหเ้ กิดภาวะปอดอกั เสบจากการสูดสําลักในกลุ่มผู้สูงอายุ ท่ีมีภาวะปากแห้ง โดยมีวัตถุประสงค์เพือ่ ศกึ ษาผล และเปรยี บเทยี บประสทิ ธิผลของการทำความสะอาดล้นิ รว่ มกบั โพวิโดนไอโอดีน และน้ำในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะปากแห้ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้สูงอายุที่มีภาวะปากแห้ง จำนวน 12 คน ในจังหวัด พิษณุโลก ผลการทดลองพบว่า ค่าเฉลี่ยของปริมาณเชื้อแบคทีเรียก่อนและหลังการทำความสะอาดลิ้นร่วมกับน้ำยาบ้วนปากโพวิ โดนไอโอดีนเท่ากับ 4.10 CFU/ml และ 2.65 CFU/ml ตามลำดับ ปริมาณเชื้อแบคทีเรียก่อนและหลังการทำความสะอาดล้ิน ร่วมกับน้ำยาบ้วนปากโพวิโดน ไอโอดีนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (p ≤ 0.001) ส่วนค่าเฉลี่ยของ ปริมาณเชื้อแบคทเี รียก่อนและหลงั การทำความสะอาดลน้ิ ร่วมกบั น้ำสะอาดเท่ากับ 4.20 CFU/ml และ 3.04 CFU/ml ตามลำดบั ปริมาณเชื้อแบคทีเรียก่อนและหลังการทำความสะอาดลิ้นร่วมกับน้ำสะอาดมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p ≤ 0.002) และผลการทำความสะอาดลิ้นร่วมกับการใช้โพวิโดนไอโอดีน มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงเช้ือแบคทีเรียที่ไม่ใช้ ออกซิเจนแตกตา่ งกับการทำความร่วมกบั นำ้ ดงั น้นั การลดปรมิ าณเชือ้ แบคทีเรียในช่องปากท่ีอาจก่อใหเ้ กิดปอดอักเสบจากการสูด สำลักในผู้สูงอายุที่มีภาวะปากแห้ง แนะนำให้ใช้โพวิโดนไอโอดีนซึ่งเป็นสารเคมีที่มีฤทธิ์ในการยับย้ังและต้านการเจริญเติบโตของ เชอ้ื จลุ ินทรียร์ ว่ มดว้ ย คำสำคัญ: เชอื้ แบคทีเรยี , ผสู้ งู อายุ, โพวโิ ดนไอโอดนี 24
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง ปัจจยั ท่มี ีความสัมพนั ธก์ ับพฤตกิ รรมการดูแลตนเองของผ้ปู ่วยโรคไตเรือ้ รัง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวดั โบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก พิสษิ ฐ์ ดวงตา, ชุติกาญจน์ ช่วยเมอื ง และนภัสกร คา้ เจรญิ 1วิทยาลัยการสาธารณสขุ สินธร จงั หวดั พษิ ณุโลก *Correspondence E-mail: [email protected] บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) มีจุดประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแล ตนเองของผ้ปู ว่ ยโรคไตเรอื้ รัง 2) เพ่ือศกึ ษาปัจจยั ทีม่ คี วามสมั พนั ธ์กับพฤติกรรมการดแู ลตนเองของผปู้ ่วยโรคไตเรอื้ รัง กลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 137 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม 4 สว่ น ประกอบดว้ ยข้อมูลท่ัวไป ความเช่ือด้านสขุ ภาพ ทศั นคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง การวิเคราะห์ข้อมูลและ สถิติท่ีใช้สถิติเชิงพรรณนา โดยใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า กลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 62 อายุ 71-80 ปี ร้อยละ 33.6 สถานภาพสมรสร้อยละ 75.9 จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษาร้อยละ 87.6 ประกอบอาชีพเกษตรกรรมร้อยละ 26.3 รายได้ต่อเดือนน้อยกว่า 10,000 บาท ร้อยละ 75.2 มีโรค ประจำตัวของบุคคลในครอบครัวร้อยละ 91.2 มีบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าร้อยละ 94.9 ไม่สูบบุหรี่ร้อยละ 77.4 ไม่ด่ืม แอลกอฮอลร์ ้อยละ 65.7 ความเชอ่ื ดา้ นสุขภาพผู้ป่วยโรคไตเรอ้ื รงั อยใู่ นระดบั ปานกลาง ทัศนคติผ้ปู ่วยโรคไตเรอ้ื รงั อยใู่ นระดับปาน กลาง ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเร้ือรัง ได้แก่ อาชีพ การรับประทานอาหารจานด่วน การหลีกเล่ียงพฤติกรรมเสี่ยง การไม่ออกกำลังกายและภาวะน้ำหนักเกิน การรับการรกั ษา ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และคา่ เดินทาง การเสยี รายไดจ้ ากการหยุดงาน บรรจภุ ณั ฑ์ของอาหาร การจดั รายการสินคา้ ราคาพเิ ศษ การมีความรู้เรื่องโรคไต การที่เคย ได้รับผลกระทบจากการบริโภคอาหารรสเค็มหรือเผ็ด การรับประทานยา/อาหารเสริมที่มีโฆษณาบอกกล่าวสรรพคุณเกินจริง มี ความสัมพนั ธ์ต่อพฤติกรรมการดแู ลตนเองของผูป้ ่วยโรคไตเรือ้ รงั อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติทรี่ ะดบั 0.05 คำสำคญั : โรคไตเร้อื รัง, พฤตกิ รรมการดแู ลตนเอง, ผู้ป่วยโรคไตเรือ้ รัง 25
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง ประโยชนข์ องโปรแกรมการตรวจสขุ ภาพประจำปี สำหรบั ประชาชนทั่วไป ท่ีมาตรวจสขุ ภาพท่โี รงพยาบาลศิรริ าช กนกทิพย์ พฒั ผล, วรี ศักดิ์ เมืองไพศาล, ณรงค์ภณ ทุมวภิ าต, สมบรู ณ์ อนิ ทลาภาพร, ปิตพิ ร สริ ทิ ิพากร, หฤษฎ์ ปณั ณะรสั , และ อภนิ ัทธ์ จรญู พพิ ฒั น์กลุ คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล *Correspondence E-mail: [email protected] บทคดั ย่อ บทนำ: การศึกษาครง้ั น้ีเป็นการศกึ ษาแบบภาคตัดขวาง (Cross sectional study) ศกึ ษาผลการตรวจสุขภาพประจำปี 4 รายการ คือ ภาพถ่ายรงั สที รวงอก (Chest X-ray) การทำงานของเอนไซมต์ ับ (AST, ALT) ระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin : Hb) และ Stool occult blood ในกลุ่มผู้รับบริการตรวจสุขภาพประจำปี ณ หน่วยตรวจสุขภาพและให้คำแนะนำทางโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช วัตถุประสงค์: เพื่อหาความชุกความผิดปกติของภาพถ่ายรังสีทรวงอก การทำงานของเอนไซม์ตับ AST และ ALT ระดบั ฮีโมโกลบนิ และ Stool occult blood วิธวี จิ ยั : รวบรวมขอ้ มูลจากแบบบันทกึ ข้อมูลสำหรบั ผมู้ ารบั บรกิ ารตรวจสขุ ภาพ ที่หน่วยตรวจสุขภาพและให้คำแนะนำทางโภชนาการ จัดเตรียมไว้สำหรับประเมินความเสีย่ งของผู้รบั บริการก่อนส่งตรวจคัดกรอง สุขภาพตามช่วงอายุ และนำผลการตรวจสุขภาพมาแสกนเข้าฐานข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล ระหว่างเดือน มิถุนายน 2560 - เมษายน 2561 และนำมาวิเคราะห์ความชุกของความผิดปกติ ด้วยวิธี Descriptive statistics ผลการวิจัย: พบ ความผิดปกติอย่างน้อย 1 ชนิด จำนวน 675 คน จากผู้รับบริการทั้งหมด 1,789 คน โดยพบความชุกของความผิดปกติของภาพถ่าย รังสีทรวงอก การทำงานของเอนไซม์ตับ AST และ ALT ระดับฮีโมโกลบิน และ Stool occult blood ร้อยละ 21.1, 4.8, 7.3, 17.8 และ 5.7 ตามลำดับ อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: การศึกษานี้เป็นการคัดกรองเบ้ืองต้นเท่านั้น อาจมีผลทำใหพ้ บความชุก ของความผิดปกตขิ องผลตรวจสขุ ภาพน้อยกว่าทค่ี วร และไมไ่ ดต้ ดิ ตามผลสดุ ทา้ ยหลงั ส่งต่อไปรับบริการหนว่ ยงานอนื่ ๆ ดงั น้นั ควรมี การศึกษาตอ่ ในสว่ นของผลลพั ธ์สดุ ทา้ ย เพือ่ ทราบความชุกทแ่ี ทจ้ ริงและวางแผนการดูแลสุขภาพหรือให้คำแนะนำผูร้ บั บริการ คำสำคัญ: CHECK-UP, CHEST X-RAY, LIVER ENZYME, HEMOGLOBIN, STOOL OCCULT BLOOD 26
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกนั โรคไขเ้ ลอื ดออกของประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอยา่ นตาขาว จงั หวดั ตรงั ณัฐพล ผงึ่ แซม่ , พรพมิ ล อมรวาทนิ , พิจิตรา อคั รวรโชติสกลุ , วิลาวรรณ ศรีพล, สุพตั รา ใจเหมาะ, สาลี อินทร์เจรญิ , สิรมิ า วงั พยอม, ฉัตรชัย ขวญั แก้ว และกมลรัตน์ นุ่นคง วิทยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธร จงั หวัดตรัง บทคดั ย่อ การวิจัยน้ีเป็นวิจัยเชิงปฏิบัตกิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม (Participatory Action Research) มีวัตถุประสงคเ์ พื่อศึกษาการมีสว่ น ร่วมของชุมชนในการป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออกของประชาชน พฒั นากิจกรรมการมีสว่ นร่วมของชุมชนในการป้องกนั โรคไข้เลือดออก ของประชาชน และศึกษาประสิทธิผลของกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านนาโตง ตำบลทุ่งกระบอื อำเภอย่านตาขาว จงั หวดั ตรงั กลมุ่ ตวั อย่าง คือตัวแทนครัวเรอื นทส่ี ำรวจพบลูกนำ้ ยุงลาย จำนวน 60 คน เกบ็ ขอ้ มลู ระหว่าง มกราคม – มีนาคม พ.ศ. 2562 เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยใช้ แบบสอบถาม และแบบประเมนิ ลูกน้ำยุงลาย ผล การศึกษา พบว่า กลุ่มตวั อยา่ ง ส่วนใหญ่เปน็ เพศหญิง ร้อยละ 65.00 มีอายุเฉลีย่ 55.33 ปี (S.D. = 13.67) อายุนอ้ ยสดุ เท่ากับ 20 ปี อายุมากสุดเทา่ กับ 85 ปี นับถือศาสนาพทุ ธ ร้อยละ 88.30 ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 80.00 ประกอบ อาชีพเกษตรกรรม รอ้ ยละ 36.67 และมสี ถานภาพสมรส ร้อยละ 78.30 การมสี ว่ นรว่ มภาพรวมอยู่ในระดบั มาก (3.51±0.39) ด้าน ที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินการ (3.65±0.32) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการ ตัดสนิ ใจ (3.34±0.72) ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบตั ติ นในการปอ้ งกนั โรคไข้เลือดออกหลังการดำเนินกิจกรรมเพมิ่ สูงขึน้ จากกอ่ น การดำเนนิ กิจกรรมอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดับ 0.05 และหลงั การดำเนนิ กิจกรรมมีการสำรวจพบค่าดชั นีลูกน้ำยุงลาย (HI = 7.89, CI = 0) ลดลงจากกอ่ นการดำเนนิ กจิ กรรม (HI = 31.58, CI =6.82) คำสำคัญ: การมีสว่ นร่วมของชมุ ชน, การปอ้ งกันไข้เลอื ดออก, ความรู้, ทศั นคติ, พฤติกรรม 27
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง การมสี ่วนรว่ มเพอ่ื สรา้ งเสรมิ การออกกำลังกายของประชาชนหมทู่ ี่ 7 ชมุ ชนบา้ นนานนิ ตำบลทุง่ กระบอื อำเภอยา่ นตาขาว จงั หวัดตรัง สพุ ัตรา ใจเหมาะ, สิรมิ า วงั พะยอม, สาลี อนิ ทรเ์ จริญ, กมลรัตน์ นนุ่ คง, วิลาวรรณ ศรพี ล, ฉตั รชัย ขวญั แกว้ , ปิยะวรรณ เชิงผาวารสี งบ และพิมพพ์ ร บัวงาม วิทยาลัยการสาธารณสุขสริ นิ ธร จงั หวัดตรัง บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจยั เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ศึกษาการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างเสริมการออกกำลังกาย เพื่อพัฒนากิจกรรมการออกกำลังกาย โดยการมีส่วนร่วม และเพื่อ เปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ียความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรมการออกกำลังกาย ระหว่างก่อน และหลงั การไดร้ ับกิจกรรมการออกกำลัง กายโดยการมสี ว่ นร่วมของประชาชนหมู่ที่ 7 ชุมชนบ้านนานนิ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอยา่ นตาขาว จงั หวดั ตรงั กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจยั จำนวน 35 คน ประกอบด้วยผู้นำชุมชน จำนวน 2 คน อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจำหมู่บ้าน จำนวน 8 คน และประชาชน ทั่วไปอายุ 15-59 ปี ที่ไม่ออกกำลังกาย และออกกำลังกายไม่ครบตามเกณฑ์ จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการวิจยั ประกอบด้วย กิจกรรมการออกกำลังกายโดยการมสี ่วนร่วมของประชาชน ระยะเวลาดำเนนิ การ 4 สัปดาห์ ประกอบด้วยกิจกรรม ทั้งหมด 4 กิจกรรม ๆ ละ 2 ชั่วโมง และเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใชแ้ บบสอบถามที่ผูว้ ิจัยได้พัฒนาขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ พรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ Paired t-test ผลการศึกษาพบว่า 1) กลุ่ม ตัวอย่างมีระดับการมีส่วนร่วมในการออกกำลังกายระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 57.10 2) คะแนนเฉลี่ยความรู้ เรื่อง การออก กำลังกายหลังการดำเนินกิจกรรมสูงกว่าก่อนการดำเนินกิจกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) คะแนนเฉลี่ยทัศนคติ เกี่ยวกบั การออกกำลงั กายหลังการดำเนินกจิ กรรมสูงกวา่ ก่อนการดำเนินกิจกรรม อยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .05 4) คะแนน เฉลีย่ พฤตกิ รรม การออกกำลังกายหลงั การดำเนินกิจกรรมสูงกวา่ ก่อนการดำเนินกิจกรรม อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิติทีร่ ะดับ .05ผล การศึกษาแสดงใหเ้ หน็ ว่าการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างเสริมการออกกำลังกายของประชาชนหมู่ที่ 7 ชุมชนบ้านนานิน ตำบลท่งกระบอื อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง มีผลทำให้ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการออกกำลังกายเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากมีการประยุกต์ใช้ กระบวนการการ AIC (Appreciation-Influence-Control) ร่วมกับการมีส่วนร่วม จงึ ทำใหก้ จิ กรรมตา่ งๆที่ดำเนนิ การเปน็ กจิ กรรม ทีม่ าจากประชาชนเอง จงึ ทำให้ประชาชนสนใจในการดำเนินกจิ กรรม และไดเ้ ขา้ ใจถึงวิธีการออกกำลงั กายทีถ่ กู ต้อง คำสำคัญ: การมีสว่ นรว่ ม, การสรา้ งเสริมการออกกำลังกาย, ประชาชน 28
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง ความชุกและความสัมพนั ธข์ องแบบแผนการดม่ื เครื่องด่มื แอลกอฮอล์ ภายหลงั การเลน่ กฬี าฟุตบอลเพศชายเพื่อนำไปใช้ในการพัฒนามาตรการป้องกัน มนัสนนั ท์ มาทอง ศศ.ม. (สังคมศาสตร์และสขุ ภาพ) บทคัดยอ่ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาประสบการณ์และความหมายของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มผู้เล่นกีฬา ฟุตบอลเพศชาย 2) เพื่อศึกษาความชุกของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชาย 3) เพื่อศึกษารูปแบบ ปัจจัยทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการด่มื เครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์ในกลมุ่ ผ้เู ล่นกีฬาฟตุ บอลเพศชาย ที่ซง่ึ มีความสัมพนั ธ์ตอ่ การด่ืมหนักในผู้เล่นกีฬา ฟตุ บอล โดยการสมั ภาษณ์ผเู้ ลน่ กีฬาจำนวน 7 คน และสุม่ เก็บแบบสอบถามจำนวน 400 ฉบบั ภายหลงั จากการเตะเสรจ็ จากสนาม กีฬาฟุตบอลภายในเขตกรุงเทพและปริมณฑล ซึ่งมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ผลจากการศึกษาพบว่า ณ ปัจจุบันผู้เล่นกีฬาฟุตบอล เลือกทีจ่ ะดม่ื เบยี ร์เพราะเชื่อวา่ เป็นเครื่องดื่มชูกำลังช่วยใหร้ า่ งกายหายจากการเจ็บปวดและชว่ ยให้ผ่อนคลายจากความตรึงเครียด อีกทั้งช่วยเพิ่มอรรถรสในวงสนทนาแบบฉบับของความเป็นชาย และมีจำหน่ายในสนามกีฬาฟุตบอล ผู้เล่นกีฬาฟุตบอลส่วนใหญ่ เริ่มดื่มภายหลังจากการเตะเสร็จและดื่มอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าผู้เล่นจะรับรู้ถึงผลเสียของการใช้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นอย่างดี เกี่ยวกับความเสี่ยงของการเกิดโรคและอุบัติเหตุ แต่ยังคงปรากฏ7พฤติกรรมการดื่มที่ซ้ำๆกัน ซึ่งเป็นสาเหตุของการดื่มหนักอย่าง ต่อเนื่อง ผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามที่ดัดแปลงมาจาก Alcohol Use Disorder Identification Test ขององค์กรอนามัยโลกเริ่มตน้ เก็บข้อมูลทางประชากรศาสตร์ พบพฤติกรรมการดื่มหนกั โดยเฉพาะเมื่อผู้เล่นกีฬาฟุตบอลที่มีอายุเพิ่มขึ้น ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ทางสถิติรีเกสชั่นทำให้ทราบว่าอายุของผู้เล่นกีฬาฟุตบอลเพศชายมีความสัมพันธ์ต่อการดื่มหนักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ P < 0.05และมโี อกาสของการด่ืมหนักในอนาคตค่าความเชื่อม่ันท่ี 95% ความชุกของการด่ืมหนักอยู่ทก่ี ลมุ่ อายุ 26-35 ปี คิดเป็น ร้อยละ 79.20 ขณะที่ผู้เล่นกีฬาฟุตบอลส่วนใหญ่ให้ข้อมูลที่ตรงกันว่า การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ภายหลังจากการเตะนั้นเป็น เพยี งเครือ่ งดม่ื ทชี่ ่วยดับกระหายและเพอ่ื เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสังคมผ้เู ล่นกีฬาฟตุ บอลเทา่ น้นั การศึกษาครั้งนี้เป็นที่น่าตกใจอย่าง ยิ่ง เมอ่ื พบผ้ใู หข้ ้อมูลซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยนป้ี ระสบอุบัติเหตุเสยี ชีวติ จากการเมาและขบั แตก่ ระนนั้ ผู้เล่นกีฬาฟุตบอลในทีม เดยี วกนั ยังคงใช้ชวี ิตกบั การดื่มเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ภายหลังจากการเตะ คำสำคัญ: ผเู้ ล่นกีฬาฟตุ บอล, เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล,์ การดมื่ หนัก, แบบแผนพฤตกิ รรม 29
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง SSKRU Senior Fitness Test: ชุดอปุ กรณ์ทดสอบสมรรถภาพทางกายสำหรบั ผูส้ ูงวยั ไทย โดยใชเ้ ทคโนโลยี Internet of Thing เตชภณ ทองเตมิ 1 พิศาล สมบตั ิวงค์2 และธรี พงศ์ สงผัด3 1 สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์การกฬี า คณะศลิ ปศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ศรสี ะเกษ 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีการจดั การอตุ สาหกรรม คณะศลิ ปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ศรสี ะเกษ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์และดิจทิ ัล คณะศลิ ปศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ศรสี ะเกษ *Correspondence E-mail: [email protected] บทคัดย่อ ในอดตี คนไทยทั่วไปมักคดิ วา่ สมรรถภาพทางกายเปน็ เรอ่ื งทสี่ ำคัญและจำเป็นสำหรบั นักกีฬา หรอื ประชาชนทั่วไปเท่านั้น แต่ทัศนคตินี้ได้ถูกปรับเปลี่ยนไปเมื่อประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่การเป็น “สังคมผู้สูงอายุ” เราจึงได้ตระหนักว่าความสามารถที่จะมี ชวี ติ อยา่ งอิสระ เคล่ือนไหวกระฉบั กระเฉง อยูอ่ ย่างสขุ สบายในบ้ันปลายของชีวิตน้นั ขน้ึ อยู่กบั สมรรถภาพทางกาย โดยเปา้ ประสงค์ ทส่ี ำคญั ของสมรรถภาพทางกายสำหรับคนวัยหนมุ่ สาว คอื การสง่ เสริมสขุ ภาพ การมีรูปร่างที่เหมาะสม สวยงาม และการหลีกเลย่ี ง โรคที่เกิดจากการมวี ถิ ชี วี ติ ทีไ่ ม่เหมาะสม (โรคหวั ใจ อ้วน เบาหวาน ฯลฯ) แต่สำหรับวยั สูงอายโุ รคเร้ือรงั เหลา่ นไี้ ด้เกดิ ขน้ึ แล้ว ดงั นนั้ สมรรถภาพทางกายสำหรับผู้สูงอายุ จึงเน้นไปที่การเคลื่อนไหวปฏิบัติกิจวัตรประจำวันมากกว่าการป้องกันโรค โดยการทดสอบ สมรรถภาพทางกาย (Physical fitness test) ในกลุ่มผู้สูงอายุ จะสามารถช่วยให้ทราบข้อมูลเบื้องต้นของระดับความสามารถ ทางด้านร่างกายของผู้สูงอายุแต่ละคน ซึ่งจะได้นำไปพัฒนาสมรรถภาพทางกายในด้านที่บกพร่องของตนใหม้ ีความสมบูรณ์และมี ประสิทธิภาพให้ดียิ่งขึ้น หรือสามารถรักษาไว้ซึ่งความสมบูรณ์ที่เหมาะสมเฉพาะส่วนของร่างกายของผู้สูงอายุ ใช้วิเคราะห์ปัจจัย เสี่ยงของภาวะโรคเรื้อรัง และภาวะ ทุพพลภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ ใช้กำหนดโปรแกรมการออกกำลงั กาย เช่น กำหนดความหนัก ความถี่ และระยะเวลาในการออกกำลังกายในรูปแบบต่าง ๆ และการประเมินผล ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง และเหมาะสม ซ่ึงในปัจจุบันการ ทดสอบสมรรถภาพทางกายได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งทั้งในด้านอุปกรณ์/เครือ่ งมือทดสอบ รูปแบบการทดสอบ วิธีการทดสอบ ตลอดจนมกี ารพัฒนาบุคลากรท่เี กยี่ วขอ้ งกับการทดสอบใหม้ คี วามเชยี่ วชาญและมที ักษะท่ถี ูกตอ้ ง ท้ังน้เี พ่ือเพม่ิ ประสิทธภิ าพทางทง้ั ด้านความเทีย่ งตรง ความเชื่อถือได้ ความเป็นปรนยั และความปลอดภัยของการทดสอบ ตลอดทัง้ เพิ่มความสะดวกและรวดเร็วใน การจัดการการทดสอบด้วย โดยเฉพาะในกลมุ่ ผสู้ ูงอายทุ ี่จำเปน็ จะต้องคำนงึ ทงั้ เร่ืองความถกู ต้องและความปลอดภัยเป็นหลัก สรุปผลการพฒั นานวัตกรรมและการนำไปใช้ประโยชน์ 1) ชุดอุปกรณ์ SSKRU Senior Fitness Test สามารถช่วยเพิ่มความเที่ยง ความเป็นปรนัย และความรวดเร็วในการ ดำเนนิ งานทดสอบสมรรถภาพทางกายในกลุ่มผู้สูงอายุได้ 2) หน่วยงานในระดับท้องถิ่น (รพ.สต) สามารถนำ SSKRU Senior Fitness Test ไปใช้ในการคัดกรองสุขภาพและ ส่งเสริมสมรรถภาพทางกายของผสู้ งู อายุในระดบั ตำบลของตนเองได้ คำสำคัญ: สมรรถภาพทางกาย การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ผสู้ ูงวัย 30
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง การพฒั นาโปรแกรมการสง่ เสริมสุขภาพชอ่ งปากตอ่ พฤตกิ รรมการดูแลสขุ ภาพชอ่ งปากของนกั เรียนอายุ 12 ปี เขตพน้ื ท่อี ำเภอวัดโบสถ์ จงั หวัดพษิ ณุโลก อารีรตั น์ ทะนอ1*, มนสินี อ่อนทอง1, วิไลพร สายบญุ ต้งั 1, พงศพ์ ษิ ณุ บญุ ดา1, ภัสสร นนั ทพลชยั 1 1 วิทยาลยั การสาธารณสขุ สิรินธร จังหวัดพษิ ณุโลก, สถาบันพระบรมราชชนก *Correspondence E-mail: [email protected] บทคัดยอ่ บทนำ: ปัญหาฟันผแุ ละสุขภาพชอ่ งปาก ยงั คงเป็นปัญหาทางด้านทนั ตสาธารณสุขในทกุ ๆ ระดับ ไปจนถึงระดบั โลก โดย บุคลากรที่เกีย่ วข้องได้พยายามแก้ปัญหาในหลายๆ รูปแบบ แต่ก็ได้ผลเพียงบางส่วน วัตถุประสงค์: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่อื เพ่อื ศกึ ษาประสิทธผิ ลของโปรแกรมการส่งเสริมสขุ ภาพช่องปากต่อพฤตกิ รรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรยี นอายุ 12 ปี เขต พ้ืนทอี่ ำเภอวดั โบสถ์ จงั หวดั พิษณโุ ลก การวจิ ัยถูกดำเนนิ การใน 3 ขัน้ ตอน คือ (1) ประเมินความรู้ ทศั นคติ และพฤตกิ รรมการดแู ล สุขภาพช่องปาก และแนวทางการพัฒนาโปรแกรม (2) การสร้างและศึกษาคุณภาพโปรแกรม (3) การทดลองและศึกษาผลการใช้ โปรแกรม วิธวี จิ ัย: การศกึ ษาวิจัยในครั้งน้ี ใชร้ ูปแบบการวิจยั แบบกึ่งทดลอง เลือกกลมุ่ ตวั อยา่ งแบบเจาะจง โดยเลือกโรงเรียนที่มี คุณสมบัติคล้ายกัน 2 โรงเรียน จากนั้นสุ่ม เลือกนักเรียนที่มีอายุ 12 ปีที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5 และชั้น ประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนละ 30 คน เพื่อเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองได้รับ โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่อง ปากและกลุ่มควบคุมได้ รับการให้ทันตสุขศึกษาตามปกติ การเก็บรวบรวมข้อมูล กระทำ 2 ครั้ง คือก่อนการทดลองและหลังการ ทดลองโดยใช้แบบสำรวจ ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก และแบบบันทึกการตรวจคราบจุลินทรีย์ วิเคราะห์ข้อมลู ด้วย สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิตทิ ี ผลการวิจัย: ผลการศกึ ษาพบว่าภายหลังการเข้า ร่วมโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉล่ียความรูใ้ นการดแู ลสุขภาพช่องปาก คะแนนเฉล่ียทัศนคติใน การดูแลสขุ ภาพช่องปาก และคะแนนเฉลีย่ พฤตกิ รรมในการดูแลสขุ ภาพชอ่ งปาก สูงกว่าก่อนการเขา้ ร่วมโปรแกรมและสูงกว่ากลุ่ม ควบคมุ อยา่ งมีนยั สำคัญทาง สถิติทร่ี ะดับ 0.05 กลมุ่ ทดลองมคี า่ เฉลี่ยปริมาณคราบจลุ ินทรียต์ ำ่ กว่า ก่อนการเขา้ รว่ มโปรแกรมและ ตำ่ กว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี นัยสำคญั ทางสถิติที่ระดบั 0.05 อภปิ รายและสรปุ ผลการวิจัย: การศกึ ษาวจิ ัยในครั้งนี้สามารถพิสูจน์ให้ เห็นวา่ โปรแกรมการส่งเสริมสขุ ภาพชอ่ งปาก สามารถเพ่ิม คะแนนเฉล่ยี ความรูใ้ นการดแู ลสุขภาพชอ่ งปาก คะแนนเฉลยี่ ทศั นคติใน การดูแลสุขภาพช่องปาก และคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปาก และสามารถลดค่าเฉลี่ยปริมาณคราบจุลินทรีย์ ของนักเรียน อายุ 12 ปี ในเขตพน้ื ทีอ่ ำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพษิ ณโุ ลก คำสำคญั : โปรแกรมการส่งเสรมิ สขุ ภาพช่องปาก, ความรใู้ นการดูแลสุขภาพชอ่ งปาก, ทัศนคติในการดแู ลสุขภาพชอ่ งปาก, พฤติกรรมการดแู ลสขุ ภาพชอ่ งปาก, ปรมิ าณคราบจลุ นิ ทรีย,์ นักเรียนอายุ 12 ปี 31
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง ผลติ ภัณฑส์ ารโคแอ็คกูแลนท์และโพลิเมอรแ์ อดจากธรรมชาติเพื่อบำบดั คุณภาพน้ำ รภทั ร ปายแสง1 , จิตตราภรณ์ บญุ ดี1 และกลุ ชนา วงศ์ทองเหลือ1 1 สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนกั วิชาวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง บทคดั ยอ่ การบำบัดนำ้ ประปาและน้ำเสีย นิยมใชส้ ารเคมีช่วยในการบำบดั นำ้ ตัวอยา่ งเชน่ สารโคแอ็คกแู ลนท์ (Coagulants) เช่น สารส้ม (Alum) และสาร PAC (Poly Aluminum Chloride) ซึ่งเป็นสารท่ีช่วยให้สิ่งเจือปนในน้ำเสียรวมตัวและตกตะกอน ทำให้ น้ำใสขึ้น และสารโพลิเมอร์เอด (Polymer Aid) ซึ่งเป็นสารที่มีโครงร่างของโมเลกุลช่วยให้เกิดการยึดเกาะของตะกอนและทำให้ ตกตะกอนง่ายขึ้น ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว สารโคแอ็คกูแลนท์และโพลิเมอร์เอด เป็นสารเคมีสังเคราะห์ ดังนั้นคณะผู้คิดค้นผลงาน จึงมี แนวคิดที่จะค้นคว้าหาผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ที่สามารถใช้ทดแทนและหาได้ง่ายในประเทศไทย จากการทบทวนวรรณกรรม งานวิจัย พบวา่ มะรมุ (Moringa oleifera) ซึ่งเปน็ ผลิตภณั ฑจ์ ากธรรมชาติ สามารถใชเ้ ปน็ สารโคแอค็ กูแลนท์ได้ และสารสกัดจาก รังไหม (Bombyx mori cocoon) ซึ่งเป็นสารโพลิเมอร์ที่มีสายยาวแบบโพลีเปปไทด์ (polypeptides chain) จึงมีแนวโน้มที่จะ สามารถสังเคราะหแ์ ละประยุกตใ์ ช้เปน็ สารโพลิเมอร์เอดได้ การนำไปใชป้ ระโยชน์ 1) ผลติ ภณั ฑ์สามารถประยุกต์ใช้ในการบำบดั น้ำประปาหรอื นำ้ เสยี เพื่อเป็นตัวช่วยตกตะกอนสารแขวนลอย ทำให้น้ำมี ความขุ่นน้อยลง 2) ผลิตภัณฑ์สารโคแอ็คกูแลนท์ และผลิตภัณฑ์สารโพลิเมอร์เอด ที่เป็นสารสังเคราะห์จากธรรมชาติเป็นผลิตภัณฑ์ Green Products ช่วยลดผลกระทบจากสารเคมีสังเคราะหท์ ีม่ ีตอ่ สขุ ภาพและส่งิ แวดล้อมได้ คำสำคญั : สารโคแอ็คกูแลนท์ โพลเิ มอร์แอด คุณภาพน้ำ 32
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง ภาวะซมึ เศร้าของผู้มารับบริการคลนิ กิ สขุ ภาพจิต โรงพยาบาลกระทมุ่ แบนและปจั จัยท่เี กย่ี วขอ้ ง เบญจมาภรณ์ รุง่ สาง1 และ สายสดุ า โภชนากรณ์2 1คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล 2รพ.กระท่มุ แบน จังหวดั สมทุ รสาคร *Correspondence E-mail: [email protected] บทคัดย่อ บทนำ: ภาวะซึมเศร้าพบไดบ้ ่อย และเปน็ ปญั หาทางสขุ ภาพจิตซ่งึ สง่ ผลตอ่ อารมณ์ ความคดิ และพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ วัตถุประสงค:์ เพื่อศกึ ษาภาวะซมึ เศร้าผูร้ บั บริการ และปจั จยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ประกอบดว้ ย อายุ เพศ คุณลกั ษณะสว่ นบคุ คล และ ประวัติการทำรา้ ยตนเอง วธิ ีวจิ ยั : การวจิ ัยแบบพรรณนาโดยการเกบ็ ขอ้ มลู ยอ้ นหลงั รวบรวมข้อมลู จากผทู้ ่มี ารบั บริการที่คลินิกจติ เวช โรงพยาบาลกระทุม่ แบน ตง้ั แตเ่ ดอื นตลุ าคม 2558 ถึงเดอื น กันยายน 2561 ซง่ึ ได้จากการเลอื กแบบเจาะจง จำนวน 374 คน เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ยั ไดแ้ ก่ แบบบนั ทึกข้อมูลจากแฟ้มประวัตผิ ปู้ ว่ ย และแบบประเมินโรคซมึ เศรา้ 9 คำถาม (9Q) วเิ คราะห์ ข้อมูลโดยใชส้ ถติ ิพรรณนา และการวิเคราะห์ ถดถอยไบนารี ผลการวจิ ัย: ผลการศกึ ษาพบว่า ผู้รบั บรกิ ารมภี าวะซมึ เศร้าในระดับ น้อย (Mean = 9.59, S.D. = 8.49) และพบว่าเพศหญิง วยั สูงอายแุ ละประวตั กิ ารทำรา้ ยตนเองเป็นปจั จยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับภาวะ ซึมเศรา้ ในผรู้ ับบริการ โดยผู้รับบรกิ ารเพศหญิงมโี อกาสเกิดภาวะซึมเศรา้ มากกวา่ ผู้รบั บริการเพศชาย 3.1 เทา่ (OR = 3.07, CI = 1.65 - 5.71) ผูร้ บั บรกิ ารท่เี ป็นผสู้ ูงอายมุ ีโอกาสที่จะเกดิ ภาวะซึมเศรา้ มากกวา่ ผรู้ ับบรกิ ารในวัยอืน่ 1.2 เทา่ (OR = 1.24, CI = 1.06 - 1.44) ในขณะทผ่ี ูร้ ับบรกิ ารที่มปี ระวตั ิทำร้ายตนเองโอกาสที่จะเกิดภาวะซมึ เศรา้ มากกว่าผรู้ ับบรกิ ารทีไ่ มป่ ระวตั ทิ ำรา้ ย ตนเอง 1.1 เทา่ (OR = 1.08, CI = 1.06 - 1.11) อภปิ รายและสรปุ : ผลการวจิ ัยครัง้ นี้ ใหข้ ้อเสนอแนะวา่ พยาบาลและผูม้ ีหนา้ ท่ี เกย่ี วขอ้ งในการดูแลสขุ ภาพผรู้ บั บรกิ ารควรนำผลการวิจยั น้ไี ปใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการวางแผนจดั กิจกรรมหรือโปรแกรม เพ่อื ให้การ ดแู ลผรู้ ับบรกิ ารเพศหญงิ ทเี่ ปน็ ผสู้ งู อายุ และมปี ระวตั ทิ ำรา้ ยตนเอง เพ่ือลดและป้องกันภาวะซมึ เศรา้ ในผู้รบั บรกิ าร คำสำคญั ภาวะซึมเศร้า, เพศ, ผ้สู งู อายุ 33
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง การระบตุ ำแหนง่ ระดบั จุลภาคของ Vesicular Inhibitory Amino Acid Transporter ในตอ่ มนำ้ ลายหลักของหนูไมซ์ อรรถพล ปิดสายะ, อนุสรา คำเนตร, จฑุ าทิพย์ ศิริศลิ ป์, วิภาวี หบี แกว้ ภาควชิ ากายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ จงั หวัดขอนแก่น *Correspondence E-mail: [email protected] บทคดั ย่อ บทนำ: โปรตีน vesicular inhibitory amino acid transporter (VIAAT) ทำหน้าท่ีสำคัญในเซลล์ประสาทเพื่อการ ขนส่งสารสื่อประสาท gamma-aminobutyric acid (GABA) ซึ่ง VIAAT ไม่เพียงแต่พบในระบบประสาทเท่านั้นแต่เนื้อเยื่อส่วน อื่นๆ ที่มีกระบวนการสังเคราะห์และเมแทบอลิซึมของ GABA ก็พบได้ ทั้งนี้มีรายงานวิจัยที่พบ GABA และเอ็นไซม์ GAD (glutamate decarboxylase) ที่ทำหน้าที่สร้าง GABA รวมถึงพบ GABA-receptors ในต่อมน้ำลายหลักของสัตว์ฟันแทะ ด้วย เช่นกัน วัตถุประสงค์: งานวิจัยน้ีจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการแสดงออกด้วยวิธี immunobloting และการระบุตำแหน่งใน ระดับกล้องจุลทรรศน์ธรรมดาและกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ของโปรตีน VIAAT ในต่อมน้ำลายหลักของหนูไมซ์ วิธีวิจัย: ต่อม น้ำลายหลักของหนูไมซ์ตัวเต็มวัย ได้ถูกนำมาทำการศึกษาด้วยวิธี immuno-DAB ในระดับกล้องจุลทรรศน์ธรรมดา และด้วยวิธี immuno-gold ในระดับกล้องจลุ ทรรศน์อเิ ลก็ ตรอน เพ่อื ระบตุ ำแหนง่ การแสดงออกของของโปรตนี VIAAT พรอ้ มท้งั ศึกษาด้วยวิธี immunoblotting analysis เพื่อศึกษาการแสดงออกของโปรตีนดังกล่าว ผลการวิจัย: พบการแสดงออกของโปรตีน VIAAT ใน ต่อมน้ำลายหน้าหู และต่อมน้ำลายใต้ลิ้นของหนูตัวเต็มวัย โดยพบตำแหน่งการแสดงออกที่เซลล์ท่อแต่ไม่พบในเซลล์กระเปาะ น้ำลาย เมือ่ สงั เกตด้วยวธิ ี immuno-gold ในระดบั ลกึ ภายในเซลลพ์ บการแสดงออกของโปรตีน VIAAT ที่ intracellular vesicles และโดยเฉพาะบริเวณเย่ือหุ้มเซลล์ทางด้านบน นอกจากน้ียังพบว่ามีการแสดงออกท่ี myofilaments ในเซลล์กล้ามเนื้อเรียบ myoepithelium และในเซลล์กล้ามเนื้อเรียบภายในหลอดเลือดขนาดเล็กด้วย ในขณะเดียวกันผลของ immunoblotting analysis ได้แสดงแถบโปรตนี VIAAT ซึ่งมีขนาดน้ำหนักโมเลกุลประมาณ 57 kDa ในต่อมน้ำลายหน้าหูและต่อมน้ำลายใต้ลิ้น แต่ ไม่มีการแสดงออกและไม่พบตำแหน่งการแสดงออกของโปรตีนดงั กลา่ วที่ตอ่ มน้ำลายใต้ขากรรไกร อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: จากการระบุตำแหนง่ การแสดงออก บ่งชี้ไดว้ า่ VIAAT มีความสำคัญตอ่ การขนส่งบนเซลล์ทอ่ ของต่อมนำ้ ลายหนา้ หแู ละต่อมน้ำลาย ใต้ล้ิน แตไ่ ม่พบในต่อมน้ำลายใตข้ ากรรไกร ผลการศกึ ษานยี้ ังชี้ให้เหน็ ว่านอกจากความแตกต่างทางลกั ษณะของเนื้อเย่อื และหน้าที่ การหลง่ั น้ำลายของตอ่ มนำ้ ลายแตล่ ะต่อมแลว้ ยังมีความแตกตา่ งของสารชีวโมเลกลุ และการทำหนา้ ทด่ี ว้ ย คำสำคญั : VIAAT, ต่อมน้ำลาย, อิมมูโนฮสิ โตเคมี 34
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง การศกึ ษาระดับซเี ทอมินอลเทโลเปปไทดข์ องคอลลาเจนชนิดทีห่ น่งึ ในน้ำลายผู้ปว่ ยภาวะกระดกู ขากรรไกรตายจากการใช้ยา อัจฉรา วงศ์หล้า1 วรกญั ญา บูรณพฒั นา2 และคธาวธุ เตชะสทุ ธิรัฐ1 1ภาควิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและแมก็ ซิลโลเฟเชยี ล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ 2ภาควิชาชวี วทิ ยาช่องปากและวทิ ยาการวินจิ ฉัยโรคชอ่ งปาก คณะทนั ตแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ บทคดั ย่อ บทนำ: ภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยาเป็นภาวะที่พบการเผยผึ่งของกระดูกบริเวณกระดูกขากรรไกรและ ใบหน้า โดยเป็นผลจากการใช้ยายับยั้งการสลายกระดูก ซึ่งสาเหตุการเกิดโรคยงั ไม่เป็นที่ทราบชัดเจน นอกจากนี้ ปัจจุบันยังไม่มี เครือ่ งมือทางชวี เคมขี องกระดกู ในการตรวจประเมนิ ความเสย่ี งการเกิดโรค วตั ถุประสงค:์ ศึกษาเปรียบเทยี บระดบั ซเี ทอมนิ อลเทโล เปปไทดข์ องคอลลาเจนชนดิ ทีห่ นึ่ง(ซที เี อ็กซ์) ในน้ำลายของผู้ทเ่ี กิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา ผู้ท่ีเคยหรอื กำลงั ไดร้ บั ยายับยั้งการสลายกระดูกแต่ไม่เกิดภาวะกระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา และกลุ่มควบคุม วิธีวิจัย: งานวิจัยเชิงวิเคราะห์ ณ ช่วงเวลาหนงึ่ ในกลุ่มประชากรทงั้ หมด 24 คน โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลมุ่ ละ 8 คน กลุ่มแรกคอื ผทู้ ่เี กดิ ภาวะกระดูกขากรรไกรตาย จากการใช้ยายับยั้งการสลายกระดูก กลุ่มสองคือ ผู้ที่เคยหรือกำลังได้รับยายับยั้งการสลายกระดูก แต่ไม่เกิดภาวะกระดูก ขากรรไกรตายจากการใช้ยา และกลุ่มสามคือ ผทู้ ี่ไม่มปี ระวัติการใชย้ ายบั ย้ังการสลายกระดกู โดยทำการเก็บนำ้ ลายแบบไม่กระตุ้น แล้วนำไปตรวจวัดระดับซีทีเอ็กซ์ด้วยวธิ ี enzyme-linked immunosorbent assay ผลการวจิ ยั : ระดับซที ีเอ็กซ์ในน้ำลายของท้ัง สามกลุ่มมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิ (p=0.015) โดยพบความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่เกดิ ภาวะกระดูกขากรรไกร ตายจากการใช้ยาและกลุ่มเสี่ยงที่ระดับความเชื่อมั่น 95% อธิปรายและสรุปผลการวิจัย: ซีทีเอ็กซ์สามารถตรวจพบในน้ำลายได้ โดยกลุ่มผู้ป่วยภาวะกระดูกขากรรไกรจากการใช้ยามีระดับซีทีเอ็กซ์ในน้ำลายที่ลดลง ซึ่งอาจเป็นผลจากการใช้ยายับยั้งการสลาย กระดูก ดังนั้นการตรวจวัดระดับซีทีเอ็กซ์ในน้ำลายอาจเป็นวิธีทางเลือกหนึ่งในการนำมาตรวจประเมินความเสี่ยงการเกิดภาวะ กระดูกขากรรไกรตายจากการใช้ยา คำสำคัญ: ซีทีเอก็ ซ์ ภาวะกระดกู ขากรรไกรตายจากการใช้ยา ค่าทางชีวเคมขี องกระดูก 35
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง ผลของโปรแกรมปนั่ จกั รยานวัดงานที่มผี ลต่อความสามารถในการใช้ออกชเิ จนสูงสดุ ของวัยรุน่ ชาย ธนัมพร ทองลอง สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี *Correspondence E-mail: [email protected] บทคดั ย่อ บทนำ: การออกกำลังกายแบบแอโรบิก (Aerobic Exercise) เช่น การปั่นจักรยาน เป็นกิจกรรมการออกกำลงั กายอยา่ ง ต่อเนื่อง เป็นเวลานานที่จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาสมรรถภาพทางกายในแต่ละด้าน วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาและ เปรียบเทียบผลของโปรแกรมปั่นจักรยานวัดงานที่มีผลต่อความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสุดของวัยรุ่น ชาย วิธีวิจัย: กลุ่ม ตัวอย่างเป็นนักศึกษาชาย อายรุ ะหว่าง 19 – 21 ปี สาขาวทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฎั อดุ รธานี ที่ กำลังศึกษาในปกี ารศกึ ษา 2561 จำนวน 24 คน แบ่งออกเปน็ 2 กล่มุ กลุ่มละ 12 คน คอื กลุ่มทดลอง คือ ทำการฝึกตามโปรแกรม การออกกำลงั กายด้วยการปั่นจกั รยานวดั งาน และกลมุ่ ควบคุม เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ ทำการทดสอบกอ่ นการฝึก และหลังการ ฝึกสัปดาห์ที่ 6 โดยใช้แบบทดสอบการปั่นจักรยาน ด้วยวิธีการออสตรานส์ ไรมิ้งค์ เพื่อวัดอัตราการใช้ออกซิเจนสูงสุด และ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาคา่ เฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมตุ ิฐานโดยการหาค่าที (t-test) ท่ีระดบั ความมนี ัยสำคัญทาง สถิติทีร่ ะดับ 0.05 ผลการวิจัย: ภายหลงั การฝึกด้วยโปรแกรมการออกกำลังกายด้วยป่ันจกั รยานวดั งาน เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ คา่ อตั ราการใชอ้ อกซิเจนสงู สดุ เพม่ิ ขนึ้ อยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถิติทีร่ ะดับ 0.05 เมอ่ื เปรยี บเทียบภายในกลมุ่ แต่ไม่พบความแตกต่าง ภายในกลุ่มควบคมุ และเปรียบเทยี บระหว่างกลมุ่ ทดลองและกลุ่มควบคมุ พบว่า ระหว่างการฝึก และหลังการฝึกแตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: การออกกำลังกายด้วยการปั่นจักรยานวัดงาน เป็นระยะเวลา 6 สปั ดาห์ สามารถสามารถช่วยพฒั นาอตั ราการใชอ้ อกซิเจนสงู สุด ได้ดขี ้นึ คำสำคัญ: จกั รยานวัดงาน, ความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสดุ , วัยรนุ่ ชาย 36
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง ปัจจัยสว่ นประสมการตลาด 4C’s ที่สง่ ผลตอ่ การเลอื กใชศ้ ูนยบ์ รกิ ารฟิตเนสของประชาชน ในเขตอำเภอเมอื งจงั หวดั อดุ รธานี ภูษณพาส สมนลิ , สหรัฐ ศรพี ุทธา, นวพรรษ เขตวัฒนานุสรณ,์ พิมภรณ์ ชุมดาวงษ,์ ลลติ า แกว้ ใส สาขาวชิ าวิทยาศาสตรก์ ารกฬี า คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี *Correspondence E-mail: [email protected] บทคัดย่อ บทนำ: งานวจิ ยั น้ีศึกษาการให้บรกิ ารของธุรกจิ เก่ยี วกับการออกกำลงั กายที่อยูใ่ นรูปแบบศนู ย์บรกิ ารฟิตเนส โดยศึกษาการ ให้บริการด้านราคา ด้านการออกกำลังกาย และด้านต่างๆ ที่ทางศูนย์บริการฟิตเนสให้บริการแก่สมาชิก ในปัจจุบัน ประชาชนมี อัตราการใชบ้ ริการศูนย์บริการฟติ เนสทีเ่ พ่ิมมากขนึ้ ดังน้นั คณะผวู้ จิ ัยจึงศึกษาปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาดในรปู แบบของ 4C’s ตอ่ การเลอื กใชบ้ ริการศนู ย์บริการฟติ เนส วตั ถุประสงค์ การวิจัยครั้งนมี้ ีวัตถุประสงคเ์ พือ่ ศึกษาสว่ นประสมการตลาด 4C’s ท่ีส่งผล ตอ่ การเลอื กใช้บรกิ ารศูนย์บริการ ฟิตเนสของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวดั อุดรธานี วิธีวิจัย: การเกบ็ รวบรวมข้อมูลสำรวจ จำนวน 277 คน จากกลุ่มตัวอย่างประชาชนที่เป็นสมาชิกศูนย์บริการฟิตเนส ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี โดยใช้ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานคือสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยของปัจจัยส่วนประสมการตลาดอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 3.16) ค่าเฉล่ียของปัจจยั ส่วนประสมการตลาดที่สง่ ผลตอ่ การเลือกใชศ้ ูนย์บริการฟิตเนส ด้านความสะดวกสบายของสถานที่ (ค่าเฉล่ีย = 3.72) รองลงมา คอื ดา้ นการบริการของผู้บรโิ ภค (คา่ เฉลีย่ =3.60) ดา้ นราคา (คา่ เฉลี่ย =3.31) และ ด้านการส่ือสารทางการตลาด (ค่าเฉลี่ย =2.00) ตามลำดับ อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: ด้วยเหตุนี้ผู้จัดการศูนย์บริการฟิตเนส จึงควรพิจารณา 4C’s ได้แก่ ความสะดวกสบายของสถานท่ี การบริการผู้บรโิ ภค ราคา และการส่ือสารทางการตลาด ตามลำดบั ปัจจัย 4C’s นีอ้ าจจะกระตนุ้ ให้ ประชาชนในเขต อำเภอเมือง จงั หวัดอดุ รธานี มาใชบ้ รกิ ารศนู ย์บริการฟิตเนสมากขึน้ คำสำคญั : สว่ นประสมทางการตลาด, ศนู ย์บรกิ ารฟติ เนส, อดุ รธานี 37
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง ผลของการออกกำลงั กายโดยการเตน้ บาสโลบต่อ คุณภาพชีวติ ในผู้สูงอายุ จิราพร แขง็ ขนั , สหรฐั ศรีพุทธา, วัฒนา สขุ เสนา, วรวทิ ย์ แวววงศ์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี *Correspondence E-mail: [email protected] บทคัดย่อ บทนำ: บาสโลบ คอื การเต้นรำเปน็ วฒั นธรรมทอ้ งถิน่ ชาวลาวในงานรน่ื เริงต่างๆ เพ่ือสรา้ งความสนุกสนาน มีรูปแบบการ เต้นเป็นหมคู่ ณะ มีจังหวะการเต้นเดนิ หน้าถอยหลัง และไขวข้ า ประกอบดนตรี ซึง่ การออกกำลังกายเปน็ กลมุ่ ดว้ ยโปรแกรมการเตน้ บาสโลบ อาจจะช่วยเพิ่ม คุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบต่อ คณุ ภาพชวี ิตในผสู้ งู อายุ วิธวี จิ ยั : อาสาสมัครเพศหญิงจำนวน 30 คน อายุระหวา่ ง 60-80 ปี ถูกแบง่ ออกเปน็ 2 กล่มุ คือ กลุ่มออก กำลังกายจำนวน 15 คน และกลุม่ ควบคุม 15 คน ในกลุ่มออกกำลังกายได้รับการฝกึ บาสโลบเปน็ เวลา 8 สปั ดาห์ สปั ดาหล์ ะ 3 วัน วันละ 50 นาที โดยทำการทดสอบคุณภาพชีวิต ก่อนและหลังการเข้าร่วมวิจยั ในทั้ง 2 กลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วย pair sample t- test เพื่อเปรียบเทียบผลกอ่ นและหลังการฝึก และวิเคราะห์ข้อมลู ด้วย independent t-test เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง กลุ่ม ผลการวิจัย: ในอาสาสมัครกลุม่ ออกกำลังกาย หลังการเข้ารว่ มโปรแกรมการออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบ เป็นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่าผลการประเมินคุณภาพชีวิต ด้านจิตใจ ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านคุณภาพชีวิต เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 แต่ในอาสาสมัครกลุ่มควบคุมไม่พบการเปลี่ยนแปลง อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: การออกกำลังกายโดยการเต้น บาสโลบเปน็ เวลา 8 สัปดาห์ช่วยเพิ่มคณุ ภาพชีวิตในผสู้ ูงอายุ คำสำคญั : บาสโลบ, ผู้สูงอาย,ุ คณุ ภาพชวี ติ 38
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง SSKRU Muscle Fit Test: ความเทีย่ งและความเป็นปรนัยของเครื่องมืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ เพอื่ วดั ความแขง็ แรงและทนทานของกลา้ มเน้อื สำหรบั นักเรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เตชภณ ทองเตมิ 1 พิศาล สมบตั วิ งค2์ ธีรพงศ์ สงผดั 3 ชนนิ ทร เรืองอุดมสกลุ 4 และศภุ ชัย ทองสขุ 4 1 สาขาวชิ าวิทยาศาสตรก์ ารกีฬา คณะศลิ ปศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ศรสี ะเกษ 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอตุ สาหกรรม คณะศลิ ปศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ศรีสะเกษ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และดจิ ิทลั คณะศลิ ปศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ศรีสะเกษ 4สาขาวชิ าวิศวกรรมซอฟแวร์ คณะศิลปศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏศรสี ะเกษ *Correspondence E-mail: [email protected] บทคัดยอ่ บทนำ: ปัจจุบัน (ปี พ.ศ. 2562) กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้เสนอรายการทดสอบความแข็งแรง และทนทานของกล้ามเนอื้ สำหรับนักเรยี นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยกำหนดใหใ้ ชร้ ายการทดสอบ ลกุ - นัง่ 60 วินาที และรายการ ทดสอบ ดันพื้นประยุกต์ 30 วินาที ซึ่งทั้ง 2 รายการทดสอบ ถือเป็นรายการทดสอบภาคสนาม ที่ปฏิบัติได้งา่ ย ใช้อุปกรณ์ทดสอบ นอ้ ย ประหยดั ค่าใชจ้ า่ ย แต่อย่างไรก็ตามรายการทดสอบ ท้งั ค่ยู งั มีข้อดอ้ ยในด้านความเท่ยี งของการวดั ความเปน็ ปรนยั ในการให้ คะแนน และความล่าช้าที่เกิดจากการบริหารจัดการทดสอบ และอาจจะเกิดข้อจำกัดในการใช้งานจริง เมื่อมีนักเรียนเข้ารับการ ทดสอบพร้อมกันเป็นจำนวนมาก วัตถุประสงค์: 1) เพื่อพัฒนาต้นแบบเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อวัดความแข็งแรงและทนทาน ของกลา้ มเนือ้ สำหรบั นักเรยี นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่มีความตรงในการวดั ทด่ี ี 2) เพอ่ื ประเมนิ ความเทย่ี งและความเป็นปรนัยของ เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อวัดความแข็งแรงและทนทานของกล้ามเนื้อสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอ นปลาย ที่คณะผู้วิจัย พฒั นาข้ึน 3) เพือ่ ประเมนิ ความพึงพอใจของผใู้ ช้งานทมี่ ีต่อการใช้งานเครื่องมืออิเล็กทรอนกิ สเ์ พ่อื วดั ความแข็งแรงและทนทานของ กล้ามเนื้อสำหรบั นักเรยี นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่คณะผูว้ ิจยั พัฒนาข้ึน วิธีวิจัย: การศึกษานี้มีเป็นการวิจัยประเภทพัฒนาทดลอง เพ่ือสรา้ งต้นแบบเคร่ืองมอื ทดสอบความแขง็ แรงและทนทานของกล้ามเนื้อสำหรบั นกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย และหา ค่าความ เชื่อมั่นโดยการทดสอบซ้ำ (Test-retest reliability) ระยะห่างกัน 1 สัปดาห์ และหาค่าความเป็นปรนัย (Objectivity)โดยใช้ผู้ ทดสอบดำเนินการทดสอบ จำนวน 2 คน และหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน โดยเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างนักเรียน มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 40 คน ผลการวิจยั : ต้นแบบเครอ่ื งมือทดสอบ ทคี่ ณะผู้วจิ ัยสร้างขนึ้ มคี ่าความเชื่อม่ันและค่าความ เป็นปรนัย เท่ากับ 0.89 และ 0.85 ตามลำดับ และผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อการใช้งานต้นแบบเครื่องมือ ทดสอบ อยใู่ นระดับปานกลาง โดยมีระดับคะแนน เทา่ กับ 3.39 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อภปิ รายและสรปุ ผลการวิจยั : ต้นแบบ เครื่องมือทดสอบ ที่คณะผู้วิจัยพัฒนาขึ้น สามารถช่วยเพิ่มความตรง ความเชื่อมั่นและความเป็นมาตรฐานของการทดสอบความ แข็งแรงและทนทานของกลา้ มเนือ้ ในกลมุ่ นกั เรียนมัธยมศึกษาตอนปลายได้ คำสำคญั : ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ ความทนทานของกล้ามเน้ือ สมรรถภาพทางกาย นักเรยี น 39
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนกั วชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง ความสมั พันธร์ ะหว่างการทำงานของสมองด้านการจดั การและประสทิ ธิภาพในการเดนิ ของผู้สูงอายุในชมุ ชน ฉัตรชฎา สตุ าลังกา1, ปรสิ ุทธ์ จันทรส์ มบูรณ์1, รฐั ภา อรยิ ะอดุ มกิจ1, วสารัช วังชว่ ย1, วิลาวณั ย์ ไชยอุต1, พลอยไพลิน นามกร1, สรุ พงษ์ อุตมา2, นริ ันดร์ เงินแยม้ 3 1 สาขาวิชากายภาพบำบัด สำนกั วชิ าการแพทย์บูรณาการ มหาวทิ ยาลยั แม่ฟ้าหลวง ประเทศไทย 2 สำนกั วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั แม่ฟ้าหลวง ประเทศไทย 3 สาขาจิตวทิ ยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ประเทศไทย *Correspondence E-mail: [email protected] บทคัดยอ่ ปัจจุบนั การหกลม้ นับเปน็ ภาระท่ีสูงขน้ึ ตามการเพิ่มของจำนวนประชากรผูส้ ูงอายุในประเทศไทย ปัจจัยสำคัญท่ีส่งผลต่อ การล้มในผู้สงู อายคุ อื การทำงานของสมองด้านการจัดการ การเดนิ และการทรงตัว แต่อย่างไรก็ตามการศกึ ษาความสัมพนั ธ์ระหว่าง การทำงานของสมองด้านการจัดการและประสิทธิภาพการเดินของผู้สูงอายุในประเทศไทยยังมีน้อย ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานของสมองด้านการจัดการและประสิทธิภาพ ในการเดิน การศึกษานี้มี ผเู้ ขา้ ร่วมทง้ั หมด จำนวน 91 คน อายุ 60-80 ปี ทั้งเพศชายและเพศหญิงผา่ นเกณฑก์ ารคดั เขา้ และเกณฑค์ ดั ออก ลงช่ือยินยอมการ เขา้ ร่วมการศกึ ษาด้วยความสมัครใจ จากน้นั ผูเ้ ขา้ รว่ มทำแบบประเมินการทำงานของสมองด้านการจดั การ ซึ่งประกอบไปด้วย ดา้ น การยืดหยุ่นทางความคิด โดยใช้แบบประเมิน Trail making test ด้านการวางแผนโดยใช้แบบประเมิน Clock drawing test ด้านความจำระดับใช้งาน โดยใช้แบบประเมิน Digit span ด้านความคล่องแคล่วทางภาษาโดยใช้แบบประเมิน Verbal fluency test และ ด้านการควบคมุ การยับยง้ั โดยใช้แบบประเมิน Stroop test และประเมินประสิทธิภาพการเดินโดยประเมนิ ความเรว็ ใน การเดิน จังหวะในการเดนิ ระยะฝ่าเท้าคนละขา้ งทอี่ ย่ตู ิดกัน และระยะฝ่าเท้าข้างเดียวกนั ทอ่ี ยู่ติดกันโดยใชเ้ ครอื่ ง Kinect จากผล การศึกษาพบว่าการทำงานของสมองด้านจัดการมแี นวโน้มท่ีจะสัมพันธเ์ ป็นทิศทางเดียวกับประสทิ ธภิ าพการเดนิ ในการศึกษาคร้ัง ต่อไปจึงควรเพิ่มความหลากหลายของกลุ่มผู้เข้าร่วมการศึกษา เช่น ระดับการศึกษา ประวัติการล้ม ความเสี่ยงโรคสมองเสื่อม ประวัติกิจกรรมทางกาย เป็นต้น เพื่อทำให้การศกึ ษาความสัมพันธ์ระหว่างการทำงานของสมองด้านจัดการและประสิทธิภาพการ เดินมีความชัดเจนของระดับความสัมพันธแ์ ละนำไปสู่แนวทางในการเลอื กแบบประเมินการทำงานของสมองด้านจัดการเพื่อใช้ใน การคดั กรองการเส่ียงล้มผสู้ งู อายุในประเทศไทยตอ่ ไป คำสำคญั : การทำงานของสมองดา้ นการจัดการ ประสิทธภิ าพการเดนิ ผูส้ งู อายุ 40
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ขุ ภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แม่ฟ้ ำหลวง ผลของนวัตกรรมจากผ้าพืน้ เมืองต่ออาการปวดคอ บ่า ไหล่ ในกลมุ่ วยั กลางคน สดุ ารตั น์ สังฆะมณี, สริ กิ านต์ บวั ลอยลม, ฐติ ริ ตั น์ กลิ่นหอม, อนวุ ฒั เยียดยดั สาขาวิชากายภาพบำบดั คณะสหเวชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั พะเยา ประเทศไทย *Correspondence E-mail: [email protected] บทคดั ยอ่ บทนำ: พยาธิสภาพที่พบได้บ่อยในวัยกลางคนซึ่งเป็นวัยทำงาน คือ กลุ่มอาการกล้ามเนื้อคอ บ่า และหลังส่วนบนไม่ สมดลุ นำมาซ่ึงอาการปวดคอ บ่า และไหล่ ซึง่ ภาวะดงั กล่าวเกดิ จากการหดตึงของกล้ามเนื้อกลุ่มลึกของคอทางด้านหลังซ่ึงเม่ือหด ตึงเป็นเวลานานจะทำใหด้ งึ ศรษี ะมาทางด้านหลงั และคางย่ืนไปดา้ นหนา้ ทำให้เกดิ การอ่อนแรงของกล้ามเนอ้ื คอชั้นลกึ ทางด้านหนา้ รวมท้ังมีไหล่ง้มุ และหลงั คอ่ ม ในปจั จบุ ันพบวา่ การออกกำลังกายกลา้ มเนอื้ เจาะจงเฉพาะมัด ร่วมกับการปรับท่าทาง เป็นการรักษา ที่ให้ผลดี แต่อย่างไรก็ตามยังไม่มีการศึกษาใดท่ีพฒั นานวัตรกรรมเพื่อสวมใส่ปรับท่าทางขณะทำงาน และลดการการปวดในภาวะ ดังกล่าว วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนานวัตกรรมจากผ้าไทยพืน้ เมืองที่มผี ลต่อระดับความเจ็บปวด ขีดกั้นความเจ็บปวดต่อแรงกด มุม องศาของคอ และปรบั ความยาวของกลา้ มเนื้อ pectoralis major วธิ ีวจิ ัย:อาสาสมคั รท่ีมีภาวะกลา้ มเน้ือคอ บ่า และหลังส่วนบน ไม่สมดุล ที่มีช่วงอายุ 35 – 59 ปี จำนวน 30 คน ถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 10 คน ด้วยวิธีการสุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 กลุ่ม ควบคุม ซึ่งจะได้รับความรู้เกี่ยวกับการปรับท่าทาง กลุ่มที่ 2 กลุ่มสวมใส่นวัตกรรม ซึ่งจะใส่เปน็ 2 ชั่วโมงต่อเซต ใส่ 2 เซตตอ่ วนั ในระหว่างเซตพัก 2 ชั่วโมง กลุ่มที่ 3 กลุ่มออกกำลังกาย ซึ่งออกกำลังกาย 3 วันต่อสัปดาห์ ทั้งสามกลุ่มจะต้องเข้าร่วมโปรแกรม ตลอด 4 สัปดาห์ ก่อนการทดลองจะทำการประเมินระดับความเจ็บปวด ขีดกัน้ ความเจบ็ ปวดตอ่ แรงกด มมุ องศาของคอ และความ ยาวของกล้ามเนื้อ Pectoralis major และทำการประเมินซ้ำ หลังปฏิบัติตามโปรแกรมที่ 2 และ 4 สัปดาห์ ผลการวิจัย: พบว่า หลังจากเข้าร่วมโปรแกรมเปน็ ระยะเวลา 4 สัปดาห์ อาสาสมคั รกลุ่มสวมใส่นวัตกรรม มีค่าเฉลี่ยของระดับความเจ็บปวดลดลง ขีด กั้นความเจ็บปวดต่อแรงกดเพิ่มขึ้น มุมองศาของคอมากขึ้น และความยาวของกล้ามเนื้อ pectoralis major มากขึ้น อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: นวัตรกรรมที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อสวมใส่ขณะทำงานและปรับท่าทาง สามารถลดภาวะศีรษะยน่ื ไหล่งุ้ม และลดอาการปวด ในอาสาสมคั รท่มี ภี าวะกล้ามเน้ือคอ บา่ และหลังส่วนบน ไม่สมดุลได้ คำสำคัญ: กล้ามเนอื้ คอ บา่ และหลงั ส่วนบน ไม่สมดุล, นวตั กรรม ลดปวด, วยั กลางคน 41
The 2nd National Conference of Health Science Research สำนักวชิ ำวทิ ยำศำสตรส์ ุขภำพ Knowledge transformation towards Thailand 4.0 มหำวทิ ยำลยั แมฟ่ ้ ำหลวง The Risk of an Eating Disorder among University’s Female Students Nattakan Dapan, Kanjana Kleawngern , Paween Wiyaporn School of Health Science, Department of Sports and Health Science, Mae Fah Luang University *Co-responding e-mail: [email protected] Abstract Introduction: The previous study reported that females significantly have more risk in eating disorders compared to males. Moreover, combined with a significant increased in internet and smartphone apps that contained misunderstanding contents could promote eating disorders. Therefore, the risk of an eating disorder should be monitor, especially in the female group. Objective: This study investigated the risk of an eating disorder among University’s female students. Methodology: A self-report eating attitudes test – 26 items questionnaire (EAT-26) was used to determine eating attitudes among female students of Mae Fah Luang University who studied in the 1st - 4th year with non-probability sampling method, accidental sampling. Results: The results revealed that 114 female students who participated in this study who age, body weight, height, and body mass index were 20.73 ± 1.16, 57.64 ± 14.28, 161.27 ± 6.07, and 22.05 ± 4.60 respectively. 84% of the participants have no eating disorders concerned while 16% might be related to risk in dieting, bulimia nervosa, and oral control, a score was 15.28 ± 4.31, 4.72 ± 4.03, 5.61 ± 2.95 respectively. Nevertheless, 61% of the participants ever used unusual behaviors in the past 6 months included binge eating, self-induced vomiting, a laxative used, and excessive exercise for weight loss (69%, 43%, 59%, and 11% respectively). Furthermore, 95% of the participants received eating information from social media resources. Discussion and conclusion: Even almost of participants have no risk in eating disorders concerned, but a misunderstanding in eating behavior was founded. It might be social media literacy concerned, thus, critical consideration of information is essentials. Keywords: Eating attitudes, eating disorder, eating behavior 42
Search