Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore A working Philosophy

A working Philosophy

Published by lawanwijarn4, 2022-01-02 04:07:42

Description: A working Philosophy

Search

Read the Text Version

การสรา้ งปรัชญาอาชีวศกึ ษาเกษตร A WORKING PHILOSOPHY OF VOCATIONAL EDUCATION IN AGRICULTURE ลาวณั ย์ วิจารณ์



ข การสรา้ งปรัชญาอาชีวศึกษาเกษตร A WORKING PHILOSOPHY OF VOCATIONAL EDUCATION IN AGRICULTURE ช่ือผเู้ ขียน: ลาวณั ย์ วิจารณ์ ภาควิชาวิศวกรรมส่ิงแวดล้อม วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสติ ช่อื หนงั สือ การสร้างปรชั ญาอาชวี ศึกษาเกษตร จานวนหนา้ 48 หนา้ พิมพค์ รัง้ ท่ี 2 พฤศจิกายน 2562 พิมพ์ท่ี โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลัยรงั สิต ถนนพหลโยธิน เมอื งเอก ปทุมธานี 12000 โทร. 0-2997-2200-30 เปน็ ลขิ สิทธิ์ของ ผศ.ดร.ลาวัณย์ วิจารณ์ ลาวัณย์ วจิ ารณ.์ การสรา้ งปรัชญาอาชวี ศึกษาเกษตร = A WORKING PHILOSOPHY OF VOCATIONAL EDUCATION IN AGRICULTURE--ปทุมธานี : โรงพมิ พ์ มหาวิทยาลยั รงั สิต, 2562. 48 หนา้ . 1. ปรัชญา. 2.อาชวี ศกึ ษาเกษตร. 3.เกษตรกรรม. I. ชื่อเร่ือง. 630.7 ISBN 978-616-497-011-3

ค คานา (พิมพ์คร้ังท่ี 1) ผู้เขียนมีความสงสัยว่า“ทาไมต้องเรียนปรัชญา” หรือ“เรียนปรัชญาไปทาไม” เพราะที่ผ่านมา เราเรียนรู้เนื้อหาของปรัชญาเป็นหลักซ่ึงต้องจดจา และไม่นึกว่า...เรา ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง ป รั ช ญ า ไ ด้ ด้ ว ย ต น เ อ ง ไ ด้ . . . . จ น ไ ด้ รั บ โ อ ก า ส จ า ก วิ ท ย า ลั ย ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และดร.โสภณ ธนะมัย ให้ร่วมสอนวิชา 01591681 ปรัชญา ส่ิงแวดลอ้ มตามหลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มาต้งั แต่ ปี พ.ศ.2555 จึงได้คาตอบว่า“เราสามารถสร้างปรัชญาได้ด้วยตนเอง” และพบว่า การ สรา้ งปรชั ญาได้ด้วยตนเองมคี วามสาคัญ .... จากประสบการณ์ดังกล่าวจึงเป็นแรงบันดาลใจใหผ้ ู้เขยี น...ต้ังใจเขียนหนังสือเล่มนี้ ขึ้นมาเพ่ือให้ผู้อ่านเกิดแรงบันดาลใจเหมือนผู้เขียนว่า “ อันที่จริงแล้ว......เราๆ ท่านๆ ก็ สามารถสร้างปรัชญาได้ด้วยตนเอง” สาหรับการเรียบเรียงหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนใช้ เอกสารประกอบการบรรยายในรายวชิ าปรัชญาส่ิงแวดล้อมของ ดร.โสภณ ธนะมยั รว่ มกับ หนังสือ Toward a Working Philosophy of Adult Education แต่งโดย Professor Jerold W. Apps (1973) ปรมาจารย์ด้าน Extension Education แห่ง University of Wisconsin, U.S.A.เป็นหลกั ในการเขยี น สาหรับหนังสือ “ การสร้างปรัชญาอาชีวศึกษาเกษตร ” เล่มน้ี เรียบเรียงขึ้นเพ่ือ จะสื่อสารกับผู้อ่าน(กองกาลัง L.E.: L.E.CORPS) ซ่ึงเป็นครูอาจารย์ วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยี และวิทยาลัยประมงว่า“ปรัชญาอาชีวศึกษาเกษตร”นั้น เป็นเรื่องท่ีท่าน สามารถสร้างขึ้นมาได้ด้วยตนเอง เพียงแต่ให้เวลากับการอ่านหนังสือเล่มน้ี แล้วลงมือ สร้างตามแนวทางทไ่ี ด้นาเสนอไว้ สาหรับผู้อ่านท่ีมิใช่ L.E.CORPS. หากสนใจรายละเอียดเก่ียวกับ L.E.ซึ่งเป็น พื้นฐานสาคัญที่จะนาไปสู่การสร้างปรัชญาอาชีวศึกษาเกษตร ท่านสามารถติดต่อขอ ความรู้ไดจ้ าก L.E.CORPS ทีม่ รี ายช่อื ปรากฏอยูใ่ นสว่ นท้ายของหนังสือเล่มนี้ ท้ายที่สุดน้ีผู้เขียนขอขอบคุณเพื่อนครู อาจารย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี และวิทยาลัยประมงที่เป็น L.E. CORPS ทุกท่าน ท่ีได้ติดตามงานเขียนของผู้เขียนมาอย่าง ต่อเน่ือง และหวังเป็นอย่างย่ิงว่า L.E.CORPS ทุกท่านจะได้สร้างผลงานวิชาการอันจะเป็น ประโยชนต์ อ่ การเสรมิ สรา้ งความแขง็ แกรง่ ใหอ้ าชวี ศึกษาเกษตรของทา่ นทงั้ หลายต่อไป ลาวณั ย์ วิจารณ์ มถิ ุนายน 2562

ง คานา (พิมพค์ รง้ั ที่ 2) หนังสือ “การสร้างปรัชญาอาชีวศึกษาเกษตร” ซ่ึงได้จัดพิมพ์ข้ึนในครั้งแรกเม่ือ มิถุนายน 2562 มีวัตถุประสงค์เพื่อจะส่ือสารกับผู้อ่าน(กองกาลัง L.E.: L.E.CORPS) ซึ่ง เปน็ ครอู าจารย์ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี และวิทยาลยั ประมงว่า“ปรัชญาอาชีวศึกษา เกษตร”นน้ั เปน็ เรือ่ งท่ที า่ นสามารถสรา้ งขึ้นมาได้ดว้ ยตนเอง เน่ืองจากหนังสือ “การสร้างปรัชญาอาชีวศึกษาเกษตร”ท่ีได้จัดพิมพ์ขึ้นคร้ังแรก ไดห้ มดไป จึงได้จดั พิมพ์ขึน้ ใหม่ตามความต้องการของสถาบนั การอาชวี ศึกษาเกษตรภาคใต้ ผู้เขียนหวังว่า หนังสือเล่มนี้ คงจะมีส่วนในการพัฒนาครูอาจารย์วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยี และวิทยาลยั ประมงตอ่ ไป ลาวัณย์ วจิ ารณ์ พฤศจิกายน 2562

จ สารบญั หน้า 1 บทที่ 1 ปรัชญา 2 ความหมายของปรชั ญา 2 ปรัชญาท่ีเป็น End 3 ปรัชญาที่เปน็ Means 4 คาถามปรัชญา 5 อะไรคือ ความจรงิ สากลหรอื สงิ่ ทเ่ี ปน็ จรงิ ? 7 รู้ความจริงสากล หรอื สิง่ ท่ีเป็นจริงไดอ้ ย่างไร? 11 ความจรงิ หรือสง่ิ ที่เปน็ จริง มีคณุ คา่ หรือไม่? 12 ความรู้ในทางปรชั ญา 13 กาลามสตู ร 14 15 บทท่ี 2 การสร้างปรัชญาดว้ ยตนเอง 17 กระบวนการสร้าง Working Philosophy แบบ Induction 20 กระบวนการสรา้ ง Working Philosophy แบบ Deduction 20 20 บทท่ี 3 ปรชั ญาอาชวี ศกึ ษาเกษตร 25 อาชีวศึกษาเกษตร ปรัชญาการศึกษา 26 ประสบการณเ์ พื่อการเรียนรู้: สาระสาหรบั 26 การสร้างปรัชญา อาชวี ศึกษาเกษตร 37 การสร้างปรัชญาอาชวี ศึกษาเกษตร 43 กระบวนการสร้างปรัชญาอาชีวศึกษาเกษตร แบบ Induction กระบวนการสรา้ งปรัชญาอาชีวศกึ ษาเกษตร แบบ Deduction บรรณานกุ รม



1 บทที่ 1 ปรชั ญา คนไทยคุ้นเคยกับคำวำ่ “ปรัชญา” และจาควำมหมำยของปรัชญำในลกั ษณะของ กำรเปน็ “วล1ี ”หรือ “คาขวญั 2” และเชือ่ อยำ่ งสนทิ ใจวำ่ นัน่ แหละ คือ ปรชั ญำ เช่น The motto of the club is: Think Quick! (คำขวัญของสโมสรน้ี คอื คดิ เรว็ ) “Be prepared” is the motto of the boy scouts. https://sites.google.com/site/website (จงเตรียมพรอ้ ม คอื คำขวัญของลกู เสือ) 642561no1920/phelng-rxb-kxng-fi ภำพที่ 1 งำน อกท.ชำติ วษ.ท. อุทัยธำนี Motto ขององคก์ ำรเกษตรกรในอนำคตแห่งประเทศไทย: Learning to Do, เรำเรียนรู้ด้วยกำรฝึกหดั Doing to Learn, เรำปฏิบัตเิ พือ่ หวงั ทำงศึกษำ Earning to Live, หำเล้ียงชพี เพื่อชีวติ วัฒนำ Living to Serve, ใช้วชิ ำเพือ่ บรกิ ำรงำนสังคม ปรัชญาชวี ติ เชน่ รักไมย่ งุ่ ม่งุ แตเ่ รยี น อกหัก ดกี วำ่ รักไม่เป็น งำนคือเงิน เงินคอื งำน บันดำลสขุ 1 คำวำ่ “ วลี ” ตำมพจนำนกุ รม หมำยถึง คำหลำยคำ ท่ีเรียบเรียงขนึ้ เปน็ กลุ่มคำ ซ่งึ ยัง ไมไ่ ด้ควำมเติมสมบูรณ์ 2 คำวำ่ “คำขวญั ” ตำมพจนำนุกรม หมำยถึง ถอ้ ยคำที่แตง่ ขึ้นเพื่อเตือนใจ

2 ความหมายของปรชั ญา ถึงแม้ว่ำมีผู้ให้ควำมหมำยของคำว่ำ “ปรัชญำ” ไว้ในทัศนะท่ีแตกต่ำงกัน แต่เม่ือ ประมวลแล้วจะพบว่ำ ควำมหมำยของปรัชญำนั้นสำมำรถจำแนกออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ ควำมหมำยตำมควำมเข้ำใจของคนไทยโดยทั่วไป และควำมหมำยตำมรำกศัพท์ภำษำ กรกี ซ่งึ มลี กั ษณะแตกตำ่ งกันดงั นี้ คำว่ำ “Philosophy” ในภำษำไทยใชค้ ำวำ่ “ปรัชญำ” ซง่ึ มำจำกคำภำษำสนั สกฤต สองคำ คือ คำว่ำ “ปร+ชญำ” หมำยถึง ควำมรู้อันประเสริฐ หรือผู้ที่ทำกำรศึกษำ หรือ สนใจวิชำปรัชญำ ซ่ึงจะมีลักษณะเป็นผเู้ สพย์ควำมรู้อันประเสริฐจำกนักปรำชญ์ท้ังหลำย ดงั นนั้ คำว่ำ “ปรชั ญำ” ตำมควำมหมำยในภำษำไทยจึง มลี กั ษณะเป็นจุดมุ่งหมาย (End) สว่ นคำวำ่ “Philosophy”ทีม่ ำจำกรำกศัพท์ภำษำกรกี ว่ำ“Philos (Love)+Sophia (Wisdom)” แปลว่ำ ควำมรักในปัญญำควำมรอบรู้ หรือควำมรักที่จะค้นหำปัญญำควำม รอบรู้ หรือ Love of Wisdom ซึ่งควำมหมำยดังกล่ำวทำให้ Philosophy มิใช่ลักษณะ ของจุดมุ่งหมำย(End) แต่จะมีลักษณะเป็นวิธีกำร(Means) ท่ีจะทำให้ได้มำซ่ึงควำมรู้อัน ประเสริฐ โดยควำมรู้อันประเสริฐในที่น้ี คือ ความรู้ท่ีเป็นความจริงสากล (Truth) ไม่ใช่ ความจรงิ เฉพาะ (Fact) และเป็นความรู้ท่ีมคี ุณคา่ (Value) (ลำวณั ย์ , 2558) การมองปรชั ญาในฐานะที่เป็น End เรำจะเห็นได้ท่ัวไปในกำรเรียนกำรสอนวิชำกำรทำงปรัชญำ ซ่ึงเป็นกำรมอง ปรัชญำไปท่ีเนื้อหำของปรัชญำตำมลัทธิต่ำงๆที่มีอยู่ ที่คุ้นเคยกันก็จะเป็นลัทธิปรัชญำ ด้ังเดิมของนักปรัชญำสมัยกรีก เช่น โสครำตีส (Socrates) และลูกศิษย์ของโสครำตีส คือ เพลโต (Plato) ส่วนในยุคปัจจุบันก็จะเป็นลัทธิปรัชญำซ่ึงแตกหน่อมำจำกลัทธิปรัชญำ พนื้ ฐำน เชน่ ลทั ธปิ รัชญำกำรศกึ ษำตำ่ งๆ ลัทธปิ รชั ญำกำรศึกษำซง่ึ เป็นท่ีนยิ มกล่ำวถึง มี 4 ลัทธดิ ้วยกนั ได้แก่ สำรตั ถนิยม (Essentialism) และนิรันตรนิยม(Perennialism) ที่จัดว่ำเป็นควำมคิดทำงปรัชญำ กำรศึกษำกลุ่มอนุรักษ์นิยม (Conservative View) ส่วนลัทธิปรัชญำกำรศึกษำอีกกลุ่ม หนึ่งมี พิพัฒนำกำรนิยม (Progressivism) และปฏิรูปนิยม (Reconstruction) จัดเป็น ควำมคดิ ปรัชญำในกลุ่มเสรีนิยม (Liberal View)3 3 รายละเอียดอา่ นเพ่มิ เติมได้จากหนงั สอื “ปรัชญาการศกึ ษาทวั่ ไป”

3 การมองปรชั ญาในฐานะเป็น Means กำรมองปรัชญำในฐำนะเป็น Means คือเป็นกำรมองปรัชญำว่ำ เป็นวิธีการ หรือ วิถที างของกำรแสวงหำควำมจริงสำกล (Truth) ในเรอื่ งใดเรื่องหน่ึง หรอื อำจพูดได้วำ่ เปน็ กำรสร้ำงปรัชญำขึ้นมำน่ันเอง ซึ่งต่ำงจำกปรัชญำในฐำนะเป็น End ซ่ึงมีไว้ให้ต้องท่อง จดจำและทำควำมเข้ำใจในเนื้อหำของลัทธิปรัชญำต่ำงๆที่มีอยู่แล้วนน้ั โดยไม่มโี อกำสที่จะ เป็นผู้สร้ำงขนึ้ มำด้วยตนเอง Elias and Merriam (1984) อ้ำงใน ชัยฤทธิ์ โพธิสุวรรณ (2544) ได้กล่ำวถึง ควำมหมำยของปรชั ญำเอำไวว้ ่ำ คำว่ำ “Philosophy” ในสมัยกรกี โบรำณ ให้ควำมหมำยว่ำ “.....เปน็ กำรคน้ หำสิ่ง ท่ีจริงแท้ท่ีปรำกฏอยู่ และมีอยู่ในโลก (…..The search for what is truly real in the world of appearances…..) ศำสตรำจำรย์ ดร.ดิเรก ฤกษ์หร่ำย (2518) ได้ให้ควำมหมำยที่ ง่ำยต่อกำรทำควำมเข้ำใจในฐำนะท่ีปรัชญำเป็น Means เอำไว้ ว่ำ ปรัชญำ คือ “ หลักนาในการคิดการปฏิบัติ ” หรืออำจจะ กล่ำวได้ว่ำ “ ปรัชญำเป็นหลักกำรข้ันพื้นฐำน” (Basic Principle) เพื่อจะทรำบขอบข่ำยอย่ำงกว้ำงๆของหลักนำในกำร คิดกำรปฏิบัติของงำน โดยได้กล่ำวถึงปรัชญำพ้ืนฐำนงำน ส่งเสริมของ KELSEY ซึ่งเป็นท่ียอมรับกันท่ัวไปว่ำ คือ กำร ทีม่ ำ: สอนบุคคลเป้ำหมำย ให้รู้จักช่วยตัวเองด้วยตัวเขำเอง” และได้ https://web.facebook.com/direkagr/photos/a.1 6 5581433648635/919361811603923/?type=1&the ยกตวั อยำ่ งสภุ ำษติ จีนบทหนงึ่ ว่ำater “.... ถำ้ ท่ำนใหป้ ลำสอง สำม ตวั แก่ชำวนำ ... .... ชำวนำจะกินปลำหมดภำยในมอ้ื สองมอ้ื .... แต่ถำ้ ท่ำนสอนให้ชำวนำรู้จักวิธกี ำรจบั ปลำหรือเล้ยี งปลำ.. .....ชำวนำก็จะมปี ลำกินตลอดชวี ติ ” สุภำษิตจีนบทน้ีอธิบำยให้ทรำบเป็นอย่ำงดีว่ำ กำรช่วยชำวนำให้มีอำหำรกินน้ัน ไม่ใช่กำรเอำปลำไปให้ แต่เป็นกำรสอนให้รู้จักวิธีกำรหำอำหำร คือ รู้วิธีกำรจับปลำหรือวิธี เลย้ี งปลำ นัน่ เอง ซึง่ กค็ อื หลักนำในกำรคิด กำรปฏิบตั ิในงำนสง่ เสริมนั่นเอง

4 จะเห็นได้ว่ำปรัชญำที่มีลักษณะเป็น End น้ัน เป็นกำรนำเน้ือหำปรัชญำที่มีผู้คิด ไว้ก่อนหน้ำนี้มำใช้เป็นหลักนาในการคิดการปฏิบัติในเรื่องต่ำงๆ เช่น กำรจัดกำรศึกษำ กำรจดั กำรศกึ ษำเกษตร และกำรสง่ เสรมิ กำรเกษตร ดังกล่ำวแล้วขำ้ งต้น แม้แต่กำรดำเนินชีวิตของบุคคลทั่วไป ก็ยังมีกำรนำเน้ือหำปรัชญำที่มีผู้คิดไว้ก่อน มำใชเ้ ป็นหลกั นำในกำรคิดกำรปฏิบตั ิ เชน่ บำงคนดำเนนิ ชีวิตโดยยดึ หลกั เศรษฐกจิ พอเพียง ของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว รัชกำลท่ี 9 ส่วนทำงพระพุทธศำสนำ ก็มีหลัก มชั ฌิมำปฏปิ ทำเปน็ ตน้ จำกตัวอย่ำงข้ำงต้นจะเห็นได้ว่ำ กำรนำปรัชญำในเร่ืองใดเรื่องหนึ่งมำเป็นหลักนำ ในกำรคิดกำรปฏิบัติของเรำนั้น เรำมักจะนำเน้ือหำของปรัชญำท่ีบรรดำนักปรำชญ์ในแต่ ละดำ้ นท่ีไดส้ ร้ำงไว้แลว้ มำใชเ้ ป็นหลักนำในกำรคดิ กำรปฏบิ ตั ิ แต่หนังสือเล่มน้.ี ....กาลงั ชกั ชวนผูอ้ า่ นให้สร้างปรัชญาดว้ ยตนเอง! คาถามปรัชญา ในแวดวงวชิ ำกำรปรัชญำ กำรจะไดค้ ำตอบต่อเรื่องใดๆกต็ ำม ซึ่งจะเป็นท่ยี อมรับ และสรุปลงว่ำ “คำตอบ” ต่อเรื่องนั้นๆเป็นที่เช่ือถือได้ มีหลักยึดว่ำ จะต้องหำคำตอบ อย่ำงมีเหตุผลตำมหลักของ “ตรรกวิทยำ”(Logic) ให้กับคำถำมปรัชญำ 3 คำถำมหลัก (Apps, 1973) ดังน้ี คาถามที่ 1 อะไรคือ ความจรงิ สากลหรือส่ิงทีเ่ ปน็ จริง (What is truth / reality?) คาถามที่ 2 รูค้ วามจริงสากลหรือสิง่ ท่เี ป็นจริงไดอ้ ยา่ งไร? (How to know truth / reality?) คาถามท่ี 3 ความจริงสากลหรอื สิง่ ทเี่ ปน็ จริงมคี ณุ ค่าหรอื ไม?่ (The truth/reality is of value?) จะเห็นได้ว่ำ คำถำมท่ี 1 และคำถำมท่ี 2 เป็นเรื่องของเน้ือหำเกี่ยวกับควำมเป็น จรงิ ว่ำเปน็ ควำมจรงิ คอื อะไร และเรำรู้ควำมเป็นจริงได้อย่ำงไร

5 สำหรับรำยละเอียดของคำถำมท้ัง 3 ที่ผู้เขียนจะนำเสนอต่อไปน้ี ได้นำมำจำก ข้อเขียนของผู้เขียนในเอกสำร“ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต….ความสัมพันธ์ระหว่าง ปรัชญากับการวิจัย เอกสำรประกอบกำรบรรยำยวิชำระเบียบวิจัยข้ันสูงทำงส่ิงแวดล้อม (01591691)สำหรับนิสิตปริญญำเอก สำขำวิทยำศำสตร์สิ่งแวดล้อม คณะสิ่งแวดล้อม มหำวทิ ยำลยั เกษตรศำสตร์ 29 ธันวำคม 2558. คาถามที่ 1 อะไรคอื ความจรงิ สากลหรอื สิง่ ทเี่ ป็นจรงิ (What is truth / reality? ) ในทำงปรัชญำกำรทำควำมเข้ำใจถึงควำมจริงสำกล (Truth) หรือสิ่งที่เป็นจริง (Reality) ว่ำคืออะไรนั้น นอกจำกจะต้องทำควำมเข้ำใจถึงควำมหมำยของคำว่ำ \" Truth” และ “Reality” แล้ว ยังมีคำอ่ืน ท่ีมีควำมสัมพันธ์เช่ือมโยง ได้แก่ คำว่ำ “ Fact ” และ “Appearance ” ซง่ึ แต่ละคำมีควำมหมำยดังนี้ Appearance - Reality คำว่ำ Appearance หมำยถึง ส่ิงที่เรำเห็น ส่วนคำว่ำ Reality หมำยถึง สิ่งท่ีเป็น จริง ทั้งสองคำมคี วำมหมำยท่ตี ำ่ งกนั ดงั ตวั อยำ่ งท่ีพบในหนงั สอื ปรัชญำทวั่ ไป ได้แก่ Reality Appearance ภำพที่ 2 แสดง Appearance – Reality กำรมองเห็นเรือที่ล่องลอยในทะเลจำกระยะไกล ส่ิงท่ีเรำเห็น (Appearance) คือ เรือจะมีขนำดเล็ก ขณะท่ีแท้จริงแล้วสิ่งที่เป็นจริงหรือ Reality ก็คือ เรือดังกล่ำวมีขนำด ใหญ่หำกเรำอยู่ใกล้ ดังน้ันกำรด่วนสรุปว่ำเรือที่เรำมองเห็นล่องลอยในทะเลมีขนำดเล็กใน ครั้งแรก จึงเป็นเพียงส่ิงท่ีเรำเห็น กล่ำวคือ เป็น Appearance มิใช่ Reality ที่หมำยถึงสิ่ง ทีเ่ ป็นจริง

6 กำรมองเห็นปลำในน้ำ สิ่งท่ีเรำเห็น หรือ Appearance คือ เรำจะมองเห็นปลำใน น้ำอยู่ต้ืนกว่ำควำมเป็นจริง ขณะที่แท้จริง แล้วส่ิงท่ีเป็นจริง หรือ Reality คือ ปลำ ดังกล่ำว อยู่ลึกกว่ำสิ่งที่เรำเห็น ดังนั้นกำร Appearance ด่วนสรุปว่ำ ปลำท่ีเรำมองเห็นในน้ำอยู่ต้ืน จึงเป็นเพยี งส่งิ ที่เรำเหน็ Appearance มใิ ช่ Reality ทีห่ มำยถึง ส่งิ ท่เี ปน็ จริง Reality ภำพที่ 3 แสดง Appearance – Reality Fact – Truth Fact คำว่ำ “Fact”หมำยถึง ควำมจรงิ เฉพำะของสงิ่ ใดส่งิ หนึ่งทีอ่ ย่ใู นประเภทเดียวกัน เช่น ตวั อยา่ งท่ี 1 ส้มโอขำวแตงกวำชัยนำทแตล่ ะผลมีรสหวำนฉำ่ คือ Fact สม้ โอขำวแตงกวำชัยนำทแตล่ ะผลมีรสหวำนฉ่ำ คือ Fact เนือ่ งจำก สม้ โอขำว แตงกวำชัยนำทแต่ละผลมีรสหวำนฉ่ำ เป็นควำมจริงเฉพำะของสิ่งใดส่ิงหนึ่ง ทีอ่ ย่ใู นประเภทเดยี วกัน คำวำ่ “สิ่งใดสงิ่ หนง่ึ ” .ในทนี่ ้ี คอื “ ส้มโอแต่ละผล ” คำว่ำ “อยู่ในประเภทเดียวกัน” .ในท่ีนี้ คือ “ แต่ละผล เป็นส้มโอ ประเภท เดยี วกนั คือ สม้ โอขำวแตงกวำชยั นำท มิใชส่ ม้ โอพันธ์อุ ื่นๆ” ตัวอยา่ งท่ี 2 คนแตล่ ะคนต้องตำย คอื Fact “คนแตล่ ะคน ต้องตำย” คอื Fact เนอื่ งจำก “ คนแตล่ ะคนต้องตาย ” เปน็ ควำม จริงเฉพำะของสิง่ ใดสงิ่ หน่ึงทอ่ี ยู่ในประเภทเดียวกนั

7 คำว่ำ “สิ่งใดสิง่ หนึ่ง” .ในทีน่ ี้ คือ “คนแตล่ ะคน” คำว่ำ “อยู่ในประเภทเดียวกัน” .ในท่ีนี้ คือ “ คนแต่ละคนเป็นสิ่งมีชีวิตประเภท เดยี วกัน คอื เป็นคนเหมอื นกนั มิใชส่ ่ิงมชี ีวิตอน่ื ๆ” Truth คำว่ำ “Truth”หมำยถึง ควำมจรงิ สำกลของทกุ สงิ่ ท่อี ย่ใู นประเภทเดยี วกนั เชน่ ตวั อย่างท่ี 3 ส้มโอขำวแตงกวำชยั นำททกุ ผลมรี สหวำนฉำ่ คอื Truth “ส้มโอขำวแตงกวำชัยนำททุกผลมีรสหวำนฉ่ำ” คือ ควำมจริงของทุกสิ่งท่ีอยู่ใน ประเภทเดยี วกนั คำวำ่ “ทุกสิ่ง” .ในทนี่ ี้ คอื “ สม้ โอทุกผลมีรสหวำนฉำ่ ” คำว่ำ “ในประเภทเดียวกัน” .ในที่นี้ คือ “ส้มโอทุกผล เป็นส้ม โอประเภทเดียวกัน คือ ส้มโอขาวแตงกวาชยั นาทเทา่ นั้น มิใช่ส้มโอพันธุอ์ ื่นๆ” ตวั อยา่ งที่ 4 คนทกุ คน ต้องตำย คือ Truth “คนทุกคน ต้องตำย” คือ ควำมจริงของทุกสิ่งที่อยู่ใน ประเภทเดยี วกัน คำวำ่ “ ทุกสงิ่ ” .ในทน่ี ้ี คือ “ คนทกุ คน” คำว่ำ “ในประเภทเดียวกัน” .ในที่นี้ คือ “ คนทุกคน เป็นสิ่งมีชีวิตประเภท เดียวกัน คือ ตา่ งเปน็ คนเหมอื นกนั มิใช่ส่งิ มีชวี ติ อืน่ ๆ” คาถามท่ี 2 รคู้ วามจริงสากลหรือสง่ิ ที่เป็นจรงิ ได้อยา่ งไร? (How to know truth / reality?) กำรที่จะรู้ถึงควำมจริง (Truth / Reality) ได้น้ัน ในทำงปรัชญำจะใช้กำรอ้ำง เหตผุ ล (Inference Reasoning) กำรอ้ำงเหตุผลเป็นวิธีกำรในทำงปรัชญำท่ีใช้ในกำรแสวงหำหรือยืนยันควำมจริง สำกล (Truth) และควำมจริงเฉพำะ (Fact) วำ่ จริงหรอื ไม่

8 ส่วนคำว่ำ “เหตุผล” ก็คือ หลักฐำนที่นำไปสนับสนุนว่ำ Truth หรือ Fact นั้นๆ เปน็ จริงหรือไม่ ? ดังน้ัน “การอ้างเหตุผล” จึงหมำยถึง การเสนอหลักฐานท่ีจะทำ ใหย้ อมรับTruth หรอื Fact นนั้ ๆ วำ่ เป็นจรงิ หรือไม่? กำรอำ้ งเหตผุ ลมอี ยดู่ ว้ ยกัน 2 วธิ ี คือ 1. กำรอำ้ งเหตผุ ลแบบนิรนัย (Deduction Inference Reasoning) หรือเรียก สน้ั ๆว่ำ “ Deduction ” 2. กำรอำ้ งเหตุผลแบบอปุ นยั (Induction Inference Reasoning) หรือเรียก สั้นๆว่ำ “ Induction ” การอา้ งเหตุผลแบบ Deduction กำรอ้ำงเหตุผลแบบน้ีจะต้องมสี ว่ นประกอบด้วยกนั 2 สว่ น ส่วนที่ 1 คือ ข้ออ้ำงที่เป็นควำมจริงสำกล (Truth) และข้ออ้ำงท่ีเป็นควำมจริง เฉพำะ (Fact) ซ่งึ ขอ้ อ้ำงท่เี ปน็ Fact นี้ จะมีมำกกว่ำ 1 ข้ออำ้ งก็ได้ ส่วนท่ี 2 คอื ขอ้ สรุป(ลงควำมเหน็ ) ซึ่งจะตอ้ งมีเพียงหนึง่ เดยี วเทำ่ นน้ั ตวั อย่าง เชน่ สว่ นท่ี 1 : ข้ออ้ำงท่ีเปน็ ควำมจริงสำกล (Truth) : คนทกุ คนตอ้ งตำย ขอ้ อำ้ งท่เี ปน็ ควำมจริงเฉพำะ(Fact) : น.ส.ลำดวน เป็นคนๆหนงึ่ สว่ นท่ี 2 : ข้อสรปุ เพรำะฉะนน้ั น.ส.ลำดวนตอ้ งตำย กำรอ้ำงเหตุผลแบบ Deduction เร่ิมจำกกำรใช้ควำมจริงสำกล(Truth) เป็น จดุ เรมิ่ ต้นและทำกำรทดสอบว่ำ Truth ดงั กลำ่ ว ยงั คงเปน็ จรงิ อยู่ต่อไปหรือไม่

9 จำกตัวอย่ำงน้ีจะเห็นได้ว่ำ: ถ้ำเรำยอมรับ Truth และ Fact ที่เป็นข้ออ้ำงแล้ว ก็ ตอ้ งยอมรบั ขอ้ สรุป อย่ำงไม่มีทำงหลกี เลย่ี ง จำกตัวอย่ำงนี้จะเห็นได้ว่ำ: กำรสรุปเช่นนี้เป็นเพียงถอดเอำควำมจริงที่แฝงอยู่ใน ขอ้ อำ้ งท่ีเปน็ ควำมจริงสำกล (Truth) อยแู่ ลว้ ออกมำทำให้ปรำกฏชดั เทำ่ น้นั เอง ไมไ่ ดค้ วาม จรงิ อะไรใหม่ขนึ้ มำเลย จำกตัวอย่ำงนี้จะเห็นได้ว่ำ: ถ้ำเรำเช่ือว่ำ น.ส.ลำดวน เป็นคน น.ส.ลำดวน ก็ต้อง ตำย ทงั้ ๆทจี่ รงิ ๆแล้ว เรำไมเ่ คยรจู้ ัก น.ส.ลำดวน เลย แตถ่ ำ้ เรำรวู้ ่ำ น.ส.ลำดวนเปน็ คนแล้ว เรำรู้ได้ทันที่ว่ำ น.ส.ลำดวน ต้องตำย ซึ่งทั้งหมดน้ี เป็นเรื่องของควำมคิดล้วนๆ ไม่เก่ียวกับ ส่ิงท่เี รำพบเห็นดว้ ยประสำทสมั ผสั ทงั้ 5 ได้แก่ ตำ หู จมกู ลนิ้ และกำย จำกตัวอย่ำงนี้จะเห็นได้ว่ำ: กำรอ้ำงเหตุผลแบบ Deduction ไม่ได้ให้ความจริง อะไรใหม่ แต่จำกัดวงอยู่เฉพำะควำมจริงท่ีเรำเช่ืออยู่แล้วว่ำเป็นจริง อย่ำงไรก็ตำม ก็มี ประโยชนใ์ นแง่ที่ว่ำ ทำให้ควำมจรงิ ที่มีอยแู่ ลว้ น้นั ชัดแจง้ ขึ้นมำ ในชีวิตประจำวันมีกำรใช้กำรอ้ำงเหตุผลแบบ Deduction อยู่เสมอโดยไม่รู้ตัว ซ่ึง บำงโอกำสทำให้กำรสรุปน้ันผิดพลำด ตัวอย่ำงเช่น เป็น Truth ซึ่งยอมรับกันโดยท่ัวไปแล้ว ว่ำ “ส้มโอขำวแตงกวำชยั นำท มีรสหวำนฉ่ำ” ดังน้ันเม่ือเรำไปเที่ยวจังหวดั ชัยนำท แล้วเห็น แมค่ ำ้ ขำยส้มโอขำวแตงกวำ จงึ ขอซอื้ มำ 3 ผล เพ่อื นำไปฝำกเพอ่ื นโดยรับรองกับเพอ่ื นวำ่ ส้มโอน้ีอร่อย หวำนฉ่ำแน่นอน .....แต่พอ เพื่อนปอกส้มโอรับประทำน ปรำกฏวำ่ มี อยู่ 1 ผลไม่หวำนฉ่ำ ดังนั้นจึงเห็นได้ว่ำ กำรสรุปว่ำ ส้มโอขำวแตงกวำชัยนำท 3 ผล ต้องมีรสหวำนฉ่ำแน่นอน จึงเป็นกำร สรุปท่ีมโี อกำสผิดพลำดขน้ึ มำได้ ภำพที่ 3 แผนภำพกำรอำ้ งเหตุผลแบบ Deduction สุดท้ำยน้ี เรำจึงสรุปได้อย่ำงส้ันท่ีสุดว่ำ กำรอ้ำงเหตุผลแบบ Deduction เป็นกำร สรุป Fact โดยดึงออกมำจำก Truth นน่ั เอง

10 การอา้ งเหตผุ ลแบบ Induction กำรอ้ำงเหตุผลแบบ Induction น้ีมีลักษณะกลับกันกับแบบ Deduction เพรำะว่ำ เป็นกำรสรปุ Truth โดยกำรโยงกลมุ่ Facts ซ่ึงมลี กั ษณะเหมอื นกันท่อี ยู่ในประเภทเดียวกัน กำรอ้ำงเหตุผลโดยวิธีน้ี เร่ิมจำกกำรใช้ควำมรู้ที่เป็นควำมจริงเฉพำะ(Fact) เป็น จดุ เริ่มต้นแล้วทดสอบ เพอ่ื คน้ หำควำมรทู้ ีเ่ ปน็ จรงิ สำกล (Truth) ตัวอย่ำงเช่น Fact คือ ส้มโอขำวแตงกวำชัยนำทแต่ละผล (ทุกผล) มีรสหวำนฉ่ำ ดงั นัน้ เรำจงึ สรปุ เป็น Truth วำ่ “สม้ โอขำวแตงกวำชัยนำท มีรสหวำนฉำ่ ” จำกตัวอย่ำงส้มโอขำวแตงกวำชัยนำท จะเห็นได้ว่ำมีกำรใช้ประสำทสัมผัส ได้แก่ ลน้ิ ในกำรชิมรสสม้ โอ ตาเห็นรปู รำ่ งของส้มโอ ดังนนั้ กำรท่ีเรำจะเชื่อว่ำ ส้มโอขำวแตงกวำ ชัยนำท มรี สหวำนฉ่ำ ก็เพรำะมปี ระสบกำรณ์ (Experience) ที่เรำเคยประสบพบเหน็ มำแล้ว จำกกำรชิมนั่นเอง คือ ทดลองชิมทุกผล อย่ำงไรก็ตำมข้อสรุปนี้มำจำกข้อมูลของ Facts ส่วนหนึ่งท่ีได้ผ่ำนกำรสังเกต แล้ว สรุปเป็น Truth คลุมไปถึงเหตุกำรณ์ท่ีจะ เกิดข้ึนในอนำคต ไม่ว่ำจะเป็นช่วงใด เวลำ ใด ส้มโอขำวแตงกวำชยั นำท หวำนฉำ่ ภำพที่ 4 แผนภำพกำรอ้ำงเหตผุ ลแบบ Induction ขอยกตัวอยำ่ งเพิ่มเตมิ เรำเคยพบนกกำ 100 ตัวมสี ดี ำ(Facts)กส็ รุป Truth วำ่ “กำมีสีดำ” ทฤษฎที ี่ว่ำ “นำ้ เดือด เม่ือ 100 o c ณ ระดับน้ำทะเล กเ็ ป็นขอ้ สรปุ Truth ท่ีมำจำกกำรทดลองในกำรต้มน้ำในระดับน้ำทะเล Fact (อำจเป็น 10-20 ครั้ง ) แลว้ เดือด เมอื่ วดั ก็จะไดอ้ ณุ หภมู ิ 100 o c จำกที่ได้กล่ำวมำแล้วในหัวข้อ “กำรอ้ำงเหตุผลแบบ Deduction” ว่ำกำรอ้ำง เหตุผลแบบนี้ ไม่ได้ให้ความจริงอะไรใหม่ข้ึนมำ แต่สำหรับกำรอ้ำงอิงเหตุผลแบบ Induction จะเห็นได้ว่ำ ได้เกิดความจริงใหม่ข้ึนมา เช่น น้ำเดือดเมื่อ 100 o c ณ ระดับน้ำทะเล เป็นต้น ดังน้ันกำรอ้ำงเหตุผลแบบ Induction จึงขึ้นอยู่กับประสบการณ์ จากประสาทสัมผัสที่มีต่อข้ออ้างที่เป็นความจริงเฉพาะท้ังหลาย ท่ีมีลักษณะเหมือนกัน

11 ซ่ึงกำรอ้ำงเหตุผลแบบนี้ จึงเป็นเครื่องมืออย่างดีสาหรับการวิจัย (กำรค้นพบทำง วทิ ยำศำสตร)์ คาถามที่ 3 ความจริงหรือส่ิงทีเ่ ป็นจริงมคี ุณคา่ หรือไม่? (The truth/reality is of value? ) นอกจำกกำรค้นหำควำมรู้ที่เป็นจริงจะเป็นภำรกิจสำคัญของผู้ท่ีค้นหำ Wisdom ในทำงปรัชญำแล้วกำรค้นหำว่ำ ความรู้ทีเ่ ปน็ จริงนนั้ เปน็ ความรู้ที่มีคุณคา่ (Value)หรือไม่? เป็นภำรกิจหน่งึ ทม่ี ีควำมสำคญั เช่นกนั โดยคณุ ค่ำ (Value) ในทำงปรชั ญำ หมำยถึง ลกั ษณะ พงึ ประสงคซ์ ึง่ จำแนกออกเปน็ 2 กล่มุ ดงั ภำพท่ี 5 Value Intrinsic Value Objective Value Extrinsic Value Subjective Value ภำพท่ี 5 ลักษณะพึงประสงคข์ องคุณค่ำ (Value ) ในทำงปรัชญำ (โสภณ ธนะมยั , 2553) กลุ่มท่ี 1 ลักษณะพึงประสงค์ท่ีเป็น Intrinsic Value และ Extrinsic Value โดย Intrinsic Value คือ คุณค่ำภำยใน หมำยถึง คุณค่ำในตัวของส่ิงๆน้ัน คุณค่ำน้ีจบใน ตัวเอง ไม่เป็นไปเพ่ือคุณค่ำอื่นๆต่อไปอีก เช่น ควำมดี ควำมงำม เป็นต้น ส่วน Extrinsic Value คือ คุณค่ำภำยนอก เป็นคุณค่ำท่ีเป็นเครื่องมือเพ่ือให้บรรลุคุณค่ำอื่นๆต่อไป เช่น ควำมร่ำรวยเปน็ เคร่ืองมือท่นี ำไปสู่กำรบรรลุเป้ำหมำยต่ำงๆ ทั้งควำมสำเร็จในกำรประกอบ ธรุ กิจ กำรศึกษำ เป็นตน้ กลุ่มที่ 2 ลักษณะพึงประสงค์ที่เป็น Objective Value และ Subjective Value โดยที่ Objective Value คือ คุณค่ำท่ีมอี ยูใ่ นตวั ของมันเองไม่ขึ้นกับควำมพอใจของ ใคร เช่น ระบบบำบัดน้ำเสียมีคุณค่ำในกำรบำบัดน้ำเสียได้ด้วยตั วระบบเอง ส่วน Subjective Value เป็นคณุ คำ่ ท่ขี ึน้ อยกู่ ับควำมพอใจของแต่ละคน เชน่ ระบบบำบัดน้ำเสีย จะมีคุณค่ำในกำรบำบัดน้ำเสียหรือไม่ ข้ึนอยู่กับกำรตัดสินใจของผู้ใช้ ว่ำจะนำระบบบำบัด น้ำเสยี ดงั กล่ำวไปใช้หรือไม่ เป็นคณุ คำ่ ที่ข้นึ อยูก่ บั ควำมพอใจของแตล่ ะคน

12 ความรู้ในทางปรชั ญา แหล่งควำมร้ใู นทำงปรัชญำ จำแนกออกเปน็ 5 แหล่ง (โสภณ, 2553) ดงั นี้ 1) ควำมรทู้ ไ่ี ด้จำกผ้รู ู้ และแหล่งควำมรู้ทนี่ ่ำเชือ่ ถือ (Authoritative Knowledge) คอื ควำมรทู้ ี่ได้จำกอำ้ งผู้มีควำมรู้ และแหล่งควำมรทู้ ่ีนำ่ เช่อื ถือ เช่น ควำมรูท้ ่ไี ด้รับ จำกผู้เช่ียวชำญในวิชำกำร ควำมรู้จำกผู้ท่ีประสบควำมสำเร็จในอำชีพนั้นๆ ครู อำจำรย์ ปรำชญ์ท้องถิ่น ฯลฯ และควำมรู้จำกหนังสือเอนโซโคปีเดีย (Encyclopedia) หนังสือ ประวัติศำสตร์ งำนเขียนของผู้เชียวชำญ ตำรำ คัมภีร์ เป็นต้น ทำให้ประหยัดเวลำท่ีเรำไม่ ตอ้ งกลับไปค้นคว้ำ ทดลองด้วยตนเองต้งั แต่เริ่มต้น 2) ควำมรู้ที่ไดจ้ ำกกำรรแู้ จง้ ขึ้นมำทนั ทีทนั ใด (Intuitive Knowledge) คือ ควำมรู้โดยตรงที่เกิดจำกกำรที่บุคคลคนนน้ั เกิดควำมสำนึกได้ด้วยตนเอง เช่น กำรตรัสรู้ของพระพุทธเจ้ำ ควำมรู้ในลักษณะน้ีอำจเป็นควำมรู้ที่เกิดขึ้นกับศำสดำของ ศำสนำต่ำงๆ นักปรัชญำ ศิลปิน นักวิทยำศำสตร์ นักประพันธ์ผู้ย่ิงใหญ่ รวมท้ังในตัว นักเรียนซงึ่ แสดงออกมำในรูปของควำมคิดสรำ้ งสรรค์ 3) ควำมร้ทู ีไ่ ดร้ บั กำรเปิดเผยจำกพระผ้เู ปน็ เจ้ำ (Revealed Knowledge) คือ ควำมรู้ท่ีมนุษย์ได้รับจำกกำรเปิดเผยของพระผู้เป็นเจ้ำ ซึ่งจะปรำกฏอยู่ใน ควำมเช่ือในศำสนำท้ังหลำย เชน่ ควำมรทู้ ี่ไดจ้ ำกคัมภรี ์ไบเบิล ควำมร้ทู ีไ่ ด้จำกคัมภรี ์กูรอำน คัมภีร์พระเวท พระไตรปิฎก เป็นต้น ควำมรู้เหล่ำนี้ มนุษย์เชื่อว่ำมีควำมเป็นจริงอยู่ในตัว ของตัวเอง เป็นควำมรู้ในลักษณะเหนือธรรมชำติ ไม่สำมำรถใช้ข้อเท็จจริงพิสูจน์ได้ ต้อง ตั้งอยู่บนควำมศรัทธำเช่ือถือ แล้วจึงนำมำขยำยเข้ำสู่เหตุผลและวิเครำะห์ประสบกำรณ์ให้ สอดคล้องกบั ควำมร้นู ้ี 4) ควำมรเู้ ชิงประจักษ์ (Empirical Knowledge) ควำมรู้ทไ่ี ดโ้ ดยกำรประจักษท์ ่ผี ำ่ นควำมรูส้ ึกจำกประสำทสัมผสั ทัง้ 5 คือ ตำเหน็ หู ได้ยิน จมูกได้กล่ิน ลิ้นล้มิ รส และกำยสมั ผัส ทง้ั หมดนีร้ วมกันเข้ำเปน็ ควำมรู้ที่เรำมีเก่ียวกับ โลกรอบๆตัวเรำ ซ่ึงถูกนำไปใช้ในทำงวิทยำศำสตร์ เพรำะวิทยำศำสตร์ต้องพิสูจน์ทดสอบ โดยกำรสงั เกตและทดลอง 5) ควำมรทู้ ไี่ ด้จำกกำรใช้เหตุผล (Rational Knowledge) คือ ควำมรู้ที่ได้โดยกำรใช้เหตุผลเป็นบรรทัดฐำน ถ้ำใช้เหตุผลได้ถูกต้อง เรำก็ สำมำรถจะหำควำมรู้ใหม่ได้อย่ำงไม่ส้ินสุด เพรำะเป็นควำมรู้ท่ีไม่ขึ้นกับประสบกำรณ์ส่วน บคุ คล เชน่

13 คนทุกคนต้องตำย ลำดวน เป็นคนๆหนึง่ ลำดวน ตอ้ งตำยไม่วันใดกว็ ันหนึง่ กาลามสูตร ความรู้ในทางปรัชญาที่ได้จำกทั้ง 5 แหล่งที่ได้กล่ำวไปแล้ว ซึ่งคนทั่วไปมักเช่ือวำ่ เป็นควำมจริง ทั้งๆท่ีเรำยังไม่รู้เลยว่ำ ควำมรู้เหล่ำนั้น เป็นจริงหรือไม่? เช่นเดียวกับชำวกำ ลำม ซึ่งอำศัยอยู่ในหมู่บ้ำนชำวกำลำม แห่งเกสปุตตนิคม ประเทศอินเดีย ซ่ึงเป็นทำงผ่ำน ของศำสดำลัทธิต่ำงๆ ซ่ึงแต่ละศำสดำก็สอนลัทธิของตน ทำให้ชำวกำลำมไม่รู้ว่ำจะเช่ือคำ สอนของใครดี จึงได้กรำบทูลถำมพระพทุ ธเจำ้ ซึง่ เสดจ็ ผ่ำนมำวำ่ ควรจะเชื่อคำสอนของลัทธิ ใดดี พระพุทธเจ้ำจึงได้เทศนำธรรมเก่ียวกับ “ความเชื่อ” ไว้ใน “กาลามสูตร” ว่ำ “อย่า เพ่ิงเชื่อความรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆ ควรสงสัยไว้ก่อน” โดยแหล่งควำมรู้ต่ำงๆในกำ ลำมสตู รน้ันประกอบดว้ ย 10 แหล่งควำมรู้ด้วยกัน (โสภณ ธนะมัย, 2553.) 1) ควำมรทู้ ไ่ี ด้กำรฟังบอกต่อๆกนั มำ http://dhamma.serichon.us 2) ควำมรทู้ ี่มมี ำแต่โบรำณ 3) ควำมร้ทู ี่บอกกลำ่ ว เล่ำลือตอ่ ๆกนั มำ 4) ควำมรูท้ ี่ได้จำกตำรำ 5) ควำมรทู้ ี่ไดจ้ ำกกำรอำ้ งเหตุผล 6) ควำมรู้ที่ไดจ้ ำกทัศนะของนกั ปรำชญ์ทัง้ หลำย 7) ควำมรู้ที่ไดจ้ ำกประสบกำรณใ์ นชีวิต 8) ควำมรูท้ ส่ี อดคลอ้ งกับควำมรู้ที่เรำมอี ยู่ 9) ควำมรู้ทไ่ี ดจ้ ำกผทู้ ีเ่ รำเชอื่ ถือ 10) ควำมรู้ทีไ่ ดจ้ ำกครูบำอำจำรย์ของเรำเอง ดังน้ันเรำควรค้นหำความจริง ซ่ึงผู้เขียนขอเสนอ การค้นหาความจริงโดยกำรใช้ กระบวนกำรสร้าง Working Philosophy ด้วยตนเอง ดงั รำยละเอยี ดที่จะกลำ่ วต่อไปใน บทท่ี 3

14 บทท่ี 2 การสร้างปรัชญาดว้ ยตนเอง (Working Philosophy) ดังได้กล่ำวไว้แล้วในหัวข้อควำมหมำยของปรัชญำว่ำ “จุดมุ่งหมำย”(End) ของ ปรชั ญำ คอื ควำมร้อู ันประเสริฐ โดยควำมรู้อนั ประเสรฐิ ทำงปรัชญำ คอื ควำมรู้ท่ีเป็นควำม จริงสำกล(Truth) ไม่ใชค่ วำมจรงิ เฉพำะ (Fact) วิธีกำร (Means) ท่ีจะทำให้ได้มำซ่ึง Truth ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมำยของปรัชญำนั้น โสภณ ธนะมัย (2553) ได้อ้ำงถึง Professor Jerold W. Apps ศำสตรำจำรย์ของ University of Wisconsin ประเทศสหรัฐอเมริกำ ผู้ซ่ึงเรียบเรียงหนังสือ “Toward a Working Philosophy of Adult Education” (1973) ว่ำ “เรำสำมำรถที่จะสร้ำง ปรัชญำขึ้นมำด้วยตัวของเรำเองได้ โดยกำรใช้กำรอ้ำงเหตุผลแบบ Induction และแบบ Deduction....เพ่ือพิสูจน์ Truth (ควำมจริงสำกล) จาก Fact (ควำม จริงเฉพำะ) วิธีกำรนี้ เรียกว่ำ “Working Philosophy” แปลว่ำ “การสร้างปรชั ญาดว้ ยตนเอง” ภำพท่ี 6 Professor Jerold W. Apps ที่มำ: https://www.jerryapps.com/bio.shtml การสร้าง Working Philosophy เป็นกระบวนกำรพิสูจน์ว่ำ “สำระ (แก่น ส่วน สำคัญ) ของเร่ืองรำวน้ันๆ” เป็นTruthเป็น(ความจริงสากล) โดยใช้ตรรก (การอ้าง เหตผุ ล: Argument ) ในกำรใหเ้ หตผุ ลสนับสนุน ถ้ำสำระน้ันได้รับกำรยนื ยันว่ำ เป็น Truth ผลลัพธ์ คือ เป็น“ปรัชญาสาระ” นั้นๆ ท่ีสำมำรถนำไปใชเ้ ปน็ “หลักนาในการคดิ การปฏิบัต”ิ ตอ่ เรอื่ งนน้ั ๆ....ซงึ่ กค็ อื “ความรู้อัน ประเสรฐิ ในทางปรัชญา” นนั่ เอง

15 กำรพิสูจน์ Truth ควำมรู้อันประเสริฐของปรัชญำน้ี สำมำรถทำได้ใน 2 ลักษณะ ไดแ้ ก่ 1. พสิ ูจน์ Truth วำ่ เปน็ Truth จรงิ โดยกำรโยงกลุ่ม Facts ที่ตรงกัน เรม่ิ จำกกำร ใช้ Fact (ควำมรู้ที่เป็นควำมจริงเฉพำะ) เป็นจุดเริ่มต้น แล้วทดสอบเพื่อค้นหำ Truth (ควำมร้ทู เ่ี ป็นควำมจรงิ สำกล) เรำเรยี กวิธีนว้ี ่ำ Working Philosophy แบบ Induction 2 พิสูจน์ Truth ว่ำเป็น Truth จริง โดยเริ่มจำกกำรใช้ ควำมจริงสำกล (Truth) เป็นจดุ เร่มิ ต้น แล้วทำกำรทดสอบ ข้ออำ้ งทีเ่ ป็นกลุ่ม Facts ทีต่ รงกันกับ Truth เพ่อื ยืนยัน ว่ำ Truth นน้ั เป็นควำมจรงิ เรำเรียกวิธีนว้ี ำ่ Working Philosophy แบบ Deduction กระบวนการสรา้ ง Working Philosophy แบบ Induction ประกอบดว้ ย 3 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ ขัน้ ตอนที่ 1 ค้นหำ Fact ซ่ึงกค็ ือ “ควำมจรงิ เฉพำะ” ของสำระของเรอื่ งนัน้ ๆ ที่ ต้องกำรจะสรำ้ ง Working Philosophy ขน้ั ตอนที่ 2 ทำกำรทดสอบ Facts (กลมุ่ ควำมจริงเฉพำะท่ีอย่ใู นประเภท เดยี วกัน ) วำ่ มีลักษณะตรงกันหรอื ไม่ ข้ันตอนท่ี 3 สรปุ กลุ่ม Facts จากขน้ั ตอนที่ 2 ว่าเปน็ Truth (ควำมจรงิ สำกล) หรือไม่ ? ขอยกตวั อย่ำงของผูเ้ ขียน ผูเ้ ขียนคน้ พบว่ำ ในกำรอบรมยุวชนใหส้ ำมำรถทำกำร ตรวจวดั DO 4ไดน้ ั้น ควรใช้วธิ ีการอบรม ( ซ่ึงประกอบดว้ ย กำรบรรยำย กำรสำธิตและ กำรปฏิบตั ิจรงิ ) วธิ กี ำรอบรมในทน่ี ี้ คือ Fact (ควำมจริงเฉพำะ) ทผ่ี เู้ ขียนต้องกำรสร้ำง “Working Philosophy” กำรอบรมกำรตรวจวดั DO ได้ทำใหก้ ับยวุ ชนจานวน 3 คร้ัง ไดแ้ ก่ ยุวชนโรงเรยี น วัดเมตำรำงค์ ( Fact1 ) ยวุ ชนโรงเรยี นวดั ถัว่ ทอง ( Fact2 ) และโรงเรยี น ศำลำพัน ( Fact3) อำเภอสำมโคก จังหวดั ปทมุ ธำนี 4 DO คอื ออกซเิ จนละลายในนา้

16 จำกหลักกำรอ้ำงเหตผุ ลตรรก แบบ Induction ถำ้ ปรำกฏวำ่ Fact1 Fact2 และ Fact3 ตรงกัน กจ็ ะสรุปไดว้ ่ำ Fact (ควำมจรงิ เฉพำะ) นัน้ เปน็ Truth (ควำมจริงสำกล) ผลจำกกำรใชว้ ิธีกำรอบรม (บรรยำย+สำธติ +ปฏิบัติจริง) ในกำรตรวจวัด DO นี้ ปรำกฏวำ่ “ยวุ ชนจำกทง้ั 3 โรงเรยี นสำมำรถทำกำรตรวจวัด DO ไดถ้ ูกตอ้ งทุกคน ดังนน้ั สรุปได้ว่ำ “วิธกี ำรอบรมนี้ ได้รับกำรยนื ยันว่ำ เปน็ Truth (ควำมจรงิ สำกล) คือ ทำใหผ้ ้เู ขำ้ รับกำรอบรมสำมำรถตรวจวัด DO ไดถ้ ูกต้อง สำมำรถยึดเป็นหลกั ปฏิบตั ิใน กำรอบรมได้ ซึ่งกค็ ือ ปรชั ญาการอบรมการตรวจวัด DO เพ่ือให้ง่ำยต่อกำรทำควำมเข้ำใจขอเสนอเป็นแผนภำพ ดังนี้ Fact (ความจริงเฉพาะ): วธิ ีกำรอบรม(บรรยำย/สำธติ /ปฏิบตั จิ ริง)ทำให้ผู้เข้ำ รับกำรอบรม สำมำรถตรวจวดั DO ไดถ้ ูกต้อง กลุ่ม Fทaดcสtอsบ Fact 1:จดั อบรมกำรตรวจวัด DO ใหแ้ กย่ ุวชน โรงเรยี นวัดเม ตำรำงค์ โดยใช้วิธกี ำรอบรม(บรรยำย สำธติ และปฏิบตั ิจรงิ ) ผล คอื ยวุ ชนสามารถตรวจวัด DO ได้ถกู ต้อง Fact 2: จัดอบรมกำรตรวจวดั DO ให้แก่ยวุ ชน โรงเรยี นวัด ถ่ัวทอง โดยใชว้ ิธกี ำรอบรม(บรรยำย สำธติ และปฏิบตั ิจรงิ ) ผล คือ ยุวชนสามารถตรวจวัด DO ได้ถกู ต้อง Fact 3:จัดอบรมกำรตรวจวัด DO ใหแ้ กย่ ุวชน โรงเรียนศำลำ พันโดยใช้วธิ ีกำรอบรม(บรรยำย สำธิต และปฏิบัติจริง) ผล คือ ยุวชนสามารถตรวจวัด DO ได้ถูกต้อง Truth(ความจรงิ สากล): วธิ ีกำรอบรม(บรรยำย/สำธติ /ปฏบิ ตั ิจริง) ทงั้ 3 ครัง้ ทำใหผ้ เู้ ขำ้ รับกำร อบรมสำมำรถตรวจวัด DO ไดถ้ ูกตอ้ ง หลกั ปฏบิ ตั ิในกำรอบรมกำรตรวจวัด DO = ปรัชญาการอบรมกำรตรวจวดั DO ( วธิ กี ำรบรรยำย/ประกอบกำรสำธติ /ปฏิบตั จิ รงิ ) ภำพที่ 7 กระบวนกำรสรำ้ ง Working Philosophy แบบ Induction

17 กระบวนการสร้าง Working Philosophy แบบ Deduction จำกตัวอยำ่ งกระบวนกำรสรำ้ ง Working Philosophy แบบ Induction ทไ่ี ด้ นำเสนอแล้วนั้น ผูเ้ ขียนจะใช้ตวั อย่ำงดังกลำ่ ว มำอธิบำยกระบวนกำรสร้ำง Working Philosophy แบบ Deduction ดงั ต่อไปน้ี กระบวนกำรสร้ำง ประกอบด้วย 3 ขน้ั ตอน ดังนี้ ขน้ั ตอนที่ 1 ค้นหำ Truth ซง่ึ ก็คือ ควำมจริงสำกลของสำระเร่อื งรำวนนั้ ๆ ท่ี ต้องกำรจะสรำ้ ง Working Philosophy ตัวอย่ำง: Truth ในท่นี ้ี คือ วิธกี ารอบรมกำรตรวจวัด DO (โดยกำรบรรยำย สำธิต และปฏบิ ัติจริง) ซ่ึงได้จำกกำรจดั อบรมให้แกย่ วุ ชน โรงเรียนวดั เมตำรำงค์ โรงเรยี น วดั ถ่วั ทอง และโรงเรียนศำลำพนั อำเภอสำมโคก จงั หวัดปทมุ ธำนี ข้นั ตอนท่ี 2 พิสูจน์ Truth ตัวอย่ำง: นาวธิ กี ารอบรมกำรตรวจวดั DO ทดลองอบรมยุวชน 4 ครั้ง ( Fact 4 Fact 5 Fact 6 และ Fact 7) จำกโรงเรียนวดั ถว่ั ทอง(รุ่นท่ี 2) โรงเรยี นวดั ดำวเรือง โรงเรียนวดั รงั สิต และยุวชนจำกชมุ ชนโสภำรำม จังหวัดปทมุ ธำนี ขัน้ ตอนท่ี 3 สรุป Truth เป็น Truth หรือไม่ ? ผลกำรทดสอบทั้ง 4 ครั้ง พบวำ่ กลุ่ม Facts (วิธีกำรอบรมกำรตรวจวดั DO) ทำ ให้ยวุ ชนทกุ คนสำมำรถตรวจวัด DO ไดถ้ ูกตอ้ ง สรปุ ได้ว่ำ Truth คือ Truth เป็นควำมจริง สำกล คอื ทำให้ผเู้ ข้ำรบั กำรอบรมสำมำรถตรวจวดั DO ได้ถูกต้อง ซ่ึงก็คอื ปรัชญาการ ตรวจวดั DO ท่ีสำมำรถนำไปใช้เปน็ หลักปฏิบัติในกำรอบรมได้อยำ่ งแทจ้ ริง ทงั้ นเ้ี ป็นไป ตำมกฎกำรอำ้ งเหตุผลแบบ Deduction น่ันเอง

18 เพอ่ื ให้ง่ำยต่อกำรทำควำมเขำ้ ใจ ขอเสนอเป็นแผนภำพ ดงั นี้ Truth (ความจรงิ สากล) : วธิ กี ำรอบรมกำรตรวจวดั DO โดยบรรยำย สำธิต และปฏิบตั ิจรงิ ทำให้ผเู้ ข้ำรบั กำรอบรมสำมำรถตรวจวดั DOได้ถกู ตอ้ ง กลุม่ Fพaิสcูจtsน์ Fact 4 จดั อบรม เรือ่ ง กำรตรวจวดั DO โดยบรรยำย สำธิต และ ปฏิบตั จิ รงิ ให้แก่ยุวชน โรงเรยี นวดั ถว่ั ทอง(ร่นุ ท่ี 2) ผล คอื ยวุ ชนสามารถตรวจวดั DO ได้ถูกตอ้ ง Fact 5 จดั กำรตรวจวัด DO โดยบรรยำย สำธติ และปฏบิ ัติจรงิ ให้แก่ ยุวชน โรงเรียนวัดดำวเรือง ผล คอื ยวุ ชนสามารถตรวจวดั DO ได้ถูกตอ้ ง Fact 6 จดั อบรม เร่ือง กำรตรวจวดั DO โดยบรรยำย สำธิต และ ปฏบิ ัติจริงให้แกย่ วุ ชน โรงเรยี นวดั รงั สติ ผล คอื ยุวชนสามารถตรวจวดั DO ไดถ้ กู ต้อง Fact 7 จัดอบรม เร่อื ง กำรตรวจวดั DO โดยบรรยำย สำธติ และ ปฏิบตั จิ รงิ ให้แก่ยวุ ชน ชุมชนโสภำรำม ผล คือ ยวุ ชนสามารถตรวจวดั DO ไดถ้ ูกต้อง ปรชั ญาการอบรมกำรตรวจวัด DO = หลกั ปฏิบัติในกำรอบรมกำรตรวจวัด DO ( วธิ กี ำรบรรยำย/ประกอบกำรสำธติ /ปฏิบตั ิจรงิ ภำพท่ี 8 กระบวนกำรสร้ำง Working Philosophy แบบ Deduction เพอื่ ให้เกิดควำมเขำ้ ใจยงิ่ ขึน้ ผูเ้ ขียนขอยกตวั อย่ำงกระบวนกำรสรำ้ ง Working Philosophy แบบ Induction และ Deduction อกี ตวั อย่ำงหนึง่ โดยนำเสนอในรูปของ ตำรำง ซงึ่ จะทำใหเ้ ห็นภำพและเขำ้ ใจข้อควำมท้ังหมดได้โดยงำ่ ย ดังนี้

19 ภำพท่ี 9 กระบวนกำรสรำ้ ง Working Philosophy แบบ Induction และ Deduction กระบวนกำรสรำ้ ง Working Philosophy แบบ Induction เปน็ กระบวนกำร คน้ หำ Truth จำก Facts โดยกำรทดสอบกลมุ่ Facts (Fact1,Fact2,Fact3) ได้ Fact ท่ี ตรงกนั ก็สรุปได้วำ่ Fact คอื Truth ส่วนกระบวนกำรสรำ้ ง Working Philosophy แบบ Deduction เปน็ กำรพสิ จู น์ Truth โดยกำรทดสอบกลุ่ม Facts (Fact4,Fact5,Fact6) Fact ทไ่ี ดต้ รงกับ Truth ก็สรุป ได้ว่ำ Truth น้ัน เป็นควำมจริง จะเหน็ ไดว้ ่ำ Induction ทำใหเ้ กดิ Truth ส่วน Deduction เป็นกำรยนื ยันวำ่ Truth ทเ่ี กดิ ขึ้นจำก Induction น้ันเป็นควำมจริง ซงึ่ ก็เป็นปรชั ญำในเรือ่ งท่ีต้องกำรสรำ้ ง ปรชั ญำ จำกตัวอยำ่ งนี้ คือ ปรชั ญำกำรบำบดั นำ้ เสียโดยพชื นำ้ (ผกั ตบชวำ ธปู ฤำษี และ บัว) นั่นเอง

20 บทท่ี 3 การสรา้ งปรชั ญาอาชวี ศกึ ษาเกษตร อาชีวศกึ ษาเกษตร ก่อนท่ีจะมีพระรำชบัญญัติกำรอำชวี ศึกษำ พ.ศ.2551 อำชวี ศกึ ษำ จะหมำยถงึ เปน็ กำรจัดกำรศกึ ษำสำยอำชีพระดบั กลำง คือ ตำ่ กวำ่ มหำวิทยำลยั โดยระบุควำมมงุ่ หมำยของ กำรจดั กำรศกึ ษำเอำไวอ้ ยำ่ งกวำ้ งๆวำ่ “เป็นกำรผลติ กำลังคน ทำงสำยวชิ ำชีพ เพอื่ สนอง ควำมต้องกำรทำงเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ” แต่ในปจั จุบนั ควำมหมำยของอำชวี ศกึ ษำเปลยี่ นไป เม่ือมีพระรำชบัญญตั ิกำร อำชวี ศึกษำ พ.ศ. 2551 (พ.ร.บ.กำรอำชีวศกึ ษำ) โดย พ.ร.บ.ฉบับนกี้ ำหนดวำ่ กำร อำชีวศึกษำ หมำยถงึ “กระบวนกำรศกึ ษำ เพื่อผลติ และพัฒนำกำลังคนในด้ำนวิชำชีพ ระดับฝมี ือ ระดบั เทคนิค และระดบั เทคโนโลยี” จำกควำมหมำยของอำชีวศึกษำตำม พ.ร.บ.กำรอำชวี ศกึ ษำน้ี เห็นไดว้ ำ่ กำร อำชวี ศกึ ษำเกษตร มไิ ด้หยุดอยแู่ ค่ระดบั ประกำศนยี บตั รวิชำชพี ชัน้ สูง (Diploma Course) อกี ต่อไป แตส่ ำมำรถจดั ระดบั มหำวิทยำลยั หรือปริญญำตรี (Degree Course) ได้ด้วย อำชวี ศึกษำเกษตร ถอื ได้วำ่ เป็นซีร่ ม่ ซหี่ น่ึงของกำรอำชวี ศึกษำ ดังน้ัน ควำมหมำย ของอำชีวศึกษำเกษตร จึงตอ้ งหมำยถงึ “กระบวนกำรศึกษำทำงอำชวี ศึกษำ ที่มุ่งเน้นกำร ผลิตและพฒั นำกำลังคนในดำ้ นวิชำชพี เกษตร ระดบั ฝีมือ (Skill Worker) ระดับเทคนิค (Technician) และระดบั เทคโนโลยี (Technologist) ปรัชญาการศกึ ษา ปรัชญำกำรศึกษำ คือ หลักนำหรือเขม็ ทศิ นำทำงทีน่ ักกำรศึกษำใชเ้ พื่อกำหนดแนว ทำงกำรจัดกำรศึกษำ เพ่ือให้บรรลุเป้ำหมำยหลักของกำรศึกษำนั้นๆ ปรัชญำกำรศึกษำท่ี นักกำรศึกษำใช้เพื่อกำหนดแนวทำงกำรศึกษำในอดีตและปัจจุบัน เป็นของประเทศ ตะวันตก ประกอบด้วย ปรัชญำกำรศึกษำสำรตั ถนิยม (Essentialism) ปรัชญำกำรศึกษำนิ รนั ตรนยิ ม ( Perennialism ) ปรชั ญำกำรศกึ ษำพพิ ฒั นำกำรนยิ ม (Progressivism) ปรัชญำ กำรศึกษำปฎิรูปนิยม ( Reconstructionism) ปรัช ญำกำรศึกษำอัตถิภ ำวนิยม (Existentailism) และพุทธปรัชญำกำรศึกษำ(Buddhism) โดยแต่ละปรัชญำกำรศึกษำนั้น ต่ำงมแี นวคดิ หลักในกำรกำรจดั กำรศึกษำแตกตำ่ งกนั

21 สำหรับในที่น้ีจะขอยกตัวอย่ำง 3 ปรัชญำกำรศึกษำที่เป็นท่ีนิยม คือ ปรัชญำ กำรศึกษำสำรัตถนิยม ( Essentialism) ปรัชญำกำรศึกษำนิรันตรนิยม ( Perennialism ) และปรัชญำกำรศึกษำพิพัฒนำกำรนิยม (Progressivism) เพื่อนำเสนอให้ผู้อ่ำนได้เหน็ ภำพ โครงสร้ำงของปรชั ญำกำรศึกษำ ผู้เขียนได้สรุปย่อใจควำมปรัชญำกำรศึกษำของ 3 ลัทธินั้นมำจำก สุรเดช สำรำญ จิตต์ และคณะ ( 2555) ดงั น้ี ปรชั ญาการศึกษาสารตั ถนยิ ม ( Essentialism) ปรัชญำกำรศึกษำนี้ให้ควำมสำคัญกับเน้ือหำสำระท่ีสำคัญ เป็นแนวทำงในกำรจัด กำรศกึ ษำ โดยมีกำรกำหนดลักษณะของจุดมุ่งหมำยของกำรศึกษำ หลกั สูตร ผสู้ อน ผเู้ รียน กระบวนกำรเรยี นกำรสอน และกำรวดั ผลประเมินผล ไวด้ ังนี้ จดุ มงุ่ หมำยของกำรศกึ ษำ มุ่งถ่ำยทอดเน้ือหำสำระท่ีเป็นควำมรู้ท่ีสำคัญท่ีได้รับกำร กลั่นกรองมำอย่ำงดี และควำมรู้นั้นสำมำรถเปล่ียนแปลง ไดต้ ำมยดุ สมยั หลักสตู ร เปน็ หลักสูตรทเี่ น้นเนอื้ หำวิชำ (Subject-Matter Curriculum) ผสู้ อน เปน็ ผ้กู ำหนด ตัดสนิ ดำเนินกำรเกยี่ วกบั กำรสอนท้งั หมด ผู้เรยี น เป็นผู้รับควำมรู้ท่ีเป็นเนื้อหำควำมรู้ที่สำคัญจำกครูผู้สอน และทำหนำ้ ทถี่ ำ่ ยทอดควำมรสู้ คู่ นร่นุ ตอ่ ไป กระบวนกำรเรยี นกำรสอน เน้นกำรบรรยำยเปน็ หลัก กำรวัดผลประเมนิ ผล วัดผลโดยเนน้ ทำงวชิ ำกำร

22 ปรัชญาการศกึ ษานริ นั ตรนิยม (Perennialism ) ปรัชญำกำรศึกษำน้ีให้ควำมสำคัญกับสิ่งดีงำมจำกอดีต เป็นแนวทำงในกำรจัด กำรศึกษำ โดยมกี ำรกำหนดลักษณะของจุดมุ่งหมำยของกำรศึกษำ หลกั สตู ร ผู้สอน ผูเ้ รียน กระบวนกำรเรยี นกำรสอน และกำรวดั ผลประเมนิ ผล ไว้ดังน้ี จดุ มงุ่ หมำยของกำรศกึ ษำ มุ่งถำ่ ยทอดเนอื้ หำควำมร้ทู ่ีเปน็ สิง่ ดีงำมในอดตี เพอ่ื ปรุง แต่งให้คนเป็นคนที่สมบูรณ์ โดยควำมรู้นั้นไม่สำมำรถ เปล่ียนแปลงได้ หลักสูตร เป็นหลักสูตรที่เน้นกำรศึกษำพื้นฐำน ด้ำนจริยธรรม ค่ำนิยม และวัฒนธรรมดีงำม ใช้ควำมรู้ในอดีตมำเป็น บทเรยี นในปจั จบุ ัน ผสู้ อน เป็นศูนยก์ ลำงของกระบวนกำรเรียนกำรสอน ผเู้ รียน ผ้เู รยี นทุกคนเหมอื นกนั กระบวนกำรเรียนกำรสอน เน้นกำรอภิปรำย ใช้เหตุ ใช้ผล และสติปัญญำ เพ่ือ กระตุน้ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ กำรพัฒนำในตวั ผูเ้ รยี นเอง กำรวัดผลประเมนิ ผล วดั ควำมสำมำรถในกำรคดิ กำรใช้เหตผุ ล ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) ปรชั ญำกำรศึกษำนี้ให้ควำมสำคัญกับประสบกำรณ์กำรแก้ไขปัญหำของผเู้ รียนเป็น แนวทำงในกำรจัดกำรศึกษำ โดยมีกำรกำหนดลักษณะของจุดมุ่งหมำยของกำรศึกษำ หลักสตู ร ผ้สู อน ผู้เรยี น กระบวนกำรเรยี นกำรสอน และกำรวัดผลประเมินผล ไว้ดังน้ี จดุ มงุ่ หมำยของกำรศึกษำ ไม่มีจุดมุ่งหมำยที่ตำยตัว ควำมรู้ได้จำกประสบกำรณ์ใน กำรแกป้ ัญหำทีเ่ กิดขึน้ หลกั สูตร ผ้สู อน เปน็ หลกั สูตรทเี่ นน้ กำรเรยี นรู้จำกประสบกำรณ์ ผเู้ รียน เปน็ ผูใ้ หค้ ำแนะนำ กระบวนกำรเรียนกำรสอน ผ้เู รยี นเป็นศูนย์กลำง “ ผเู้ รียนไดเ้ รยี นในส่ิงท่ีต้องกำรจะ เรยี น ” กำรวัดผลประเมนิ ผล เน้นกำรฝึก กำรกระทำ learning by doing เน้นกำร จัดกำรเรียนกำรสอนแบบแกไ้ ขปัญหำ ไม่เนน้ วชิ ำกำร เน้นภำคปฏิบตั ิ

23 จำกตัวอย่ำงปรัชญำกำรศึกษำทั้ง 3 ปรัชญำกำรศึกษำข้ำงต้น จะเห็นได้ว่ำ กำรท่ี นักกำรศึกษำจะนำปรัชญำกำรศึกษำหน่ึงปรัชญำกำรศึกษำใด มำเป็นหลักนำในกำรจัด กำรศึกษำน้ัน มีข้อควรพิจำรณำหลำยประเด็น นับต้ังแต่จุดมุ่งหมำยของกำรศึกษำ ตัว หลักสูตร ผู้สอน ผู้เรียน กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอน และกำรประเมินผล ซึ่งจะเห็น ได้วำ่ เปน็ ควำมยุง่ ยำกในทำงปฏบิ ตั ิ ทง้ั นี้เนื่องจำก  จดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษา กำรศึกษำ คือ เครื่องมือทนี่ ำมำใช้ในกำรแก้ไข ปัญหำของสังคมในทุกยุคทุกสมัย จุดมุ่งหมำยของกำรศึกษำจึงแปรเปลี่ยนไปตำมสภำพ ปญั หำและกำรเปลีย่ นแปลงของสังคมทเ่ี กดิ ขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง และกำหนดไว้เป็นกฎระเบียบ ข้อกำหนดท่ีต้องปฏิบัติตำมในรูปของกฎหมำย แผนกำรศึกษำชำติ พระรำชบัญญัติ กำรศึกษำ ประกำศกระทรวง กรอบคุณวุฒิกำรศึกษำ มำตรฐำนวิชำชีพ เป็นต้น เพื่อเป็น หลักประกันให้หลักสูตรท่ีพัฒนำข้ึน สำมำรถชักนำให้ผู้สำเร็จกำรศึกษำมีควำมรู้ ควำมสำมำรถท่ีจะดำเนินชีวิตอย่ใู นสังคมที่เปลย่ี นแปลงและสำมำรถแก้ไขปัญหำของสังคม ได้ ดังนั้นจึงมักพบว่ำ จุดมุ่งหมำยของกำรศึกษำจึงมีควำมหลำกหลำย ตัวอย่ำงเช่น จุดมุ่งหมำยของอำชีวศึกษำที่ระบุไว้ตำมกรอบมำตรฐำนคุณวุฒิ 2562 ซ่ึงพบว่ำ ผู้สำเร็จ กำรศึกษำอำชีวศึกษำทุกระดับคุณวุฒิอำชีวศึกษำ (ปวช. ปวส. และ ปริญญำตรี) จะต้องมี มำตรฐำนคุณวุฒิอย่ำงน้อย 4 ด้ำน คือ 1) ด้ำนคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะท่ีพึ่ง ประสงค์ 2) ด้ำนควำมรู้ 3) ด้ำนทักษะ และ 4) ด้ำนควำมสำมำรถในกำรประยุกต์ใช้และ ควำมรบั ผิดชอบ เห็นได้ว่ำจุดมุ่งหมำยของกำรศึกษำที่กำหนดไว้ดังตัวอย่ำงข้ำงต้น ให้ความสาคัญ กับเนื้อหาความรู้ที่เป็นสาระสาคัญ (สอดคล้องกับจุดมุ่งหมำยของกำรศึกษำ ตำมปรัชญำ กำรศึกษำ Essentialism) และยังให้ควำมสำคัญกับเนื้อหาความรู้ด้านจริยธรรม (สอดคล้องกบั จดุ มงุ่ หมำยของกำรศึกษำตำมปรชั ญำกำรศกึ ษำ Perennialism ) ดังนน้ั กำร จะนำปรัชญำกำรศึกษำของประเทศตะวันตกเพียง 1 ปรัชญำ มำใช้เป็นหลักนำในกำรจัด กำรศึกษำให้บรรลุจุดมุ่งหมำยหลักของอำชีวศึกษำเกษตร จึงเป็นสิ่งท่ียุ่งยำกและยำกท่ีจะ ทำให้เกดิ ขนึ้ ได้  ผ้สู อนและผ้เู รียน ทเี่ ป็นอยูใ่ นสภำพจริงน้นั อำจมีลักษณะที่ตรงหรอื อำจไม่ ตรงกับลักษณะของผู้สอนและผู้เรียนตำมแนวทำงของแต่ละปรัชญำกำรศึกษำท่ีกำหนดไว้ และเป็นการยากที่จะเปล่ียนแปลง ให้ผู้เรียนและผู้สอนมีลักษณะตำมแนวทำงของแต่ละ ปรัชญำในทันที หรืออำจกล่ำวได้ว่ำ เรำไม่สำมำรถเปล่ียนแปลงลักษณะของผู้เรียนและ

24 ผู้สอนตามใจเราได้ อีกท้ังในสภำพกำรณ์จริง เรำยังพบผู้เรียนและผู้สอนที่มีลักษณะ หลำกหลำยอยู่ร่วมกัน ไม่สำมำรถตัดแยกออกจำกกันได้ ฉะน้ันจึงเห็นได้ว่ำ ผู้สอนและ ผู้เรียนท่ีเป็นอยู่ในสภำพจริงนั้น เป็นข้อจำกัดในกำรนำปรัชญำกำรศึกษำของประเทศ ตะวนั ตกทม่ี อี ยู่มำใช้เปน็ แนวทำงกำรจดั กำรศึกษำของไทย  กระบวนการเรยี นการสอน และการวัดและประเมนิ ผล ปรัชญำกำรศึกษำ แต่ละปรัชญำ ก็มีแนวทำงเฉพำะที่แตกต่ำงกันไป ดังน้ันกำรวัดผลประเมินผลตำม จุดมุ่งหมำยของกำรศึกษำท่ีมีอยู่หลำกหลำย จึงทำให้มีควำมยุ่งยำกในกำรดำเนินกำร โดยเฉพำะอย่ำงย่งิ ใหถ้ ูกตอ้ งตำมหลักวิชำกำรทำงด้ำนกำรวดั ผลประเมินผล จะเห็นได้ว่ำแม้ปรัชญำกำรศึกษำที่มีอยู่จะเป็นหลักนาที่ใช้สาหรับกาหนดแนว ทางการจัดการศึกษาก็ตำม แต่ในทำงปฏิบัติน้ัน เป็นควำมยุ่งยำกท่ีจะประกำศว่ำ จดุ มงุ่ หมำยของกำรศกึ ษำในแตล่ ะหลักสตู รนนั้ ยดึ ปรัชญำกำรศกึ ษำใดอย่ำงชดั เจน เพรำะ จุดมุ่งหมำยของกำรศึกษำมีควำมหลำกหลำย ไม่คงที่ แปรเปลี่ยนไปตำมสภำพสังคม กำร ผสมผสำนปรัชญำกำรศึกษำหลำยปรัชญำเข้ำด้วยกัน ก็ทำได้ยำก เพรำะแต่ละปรัชญำ กำรศึกษำ มีจดุ ม่งุ หมำยของกำรศึกษำท่ตี ่ำงกนั นอกจำกน้ันปรัชญำกำรศึกษำของประเทศ ตะวนั ตกท่มี ีกำรนำมำประยุกต์ใช้ในประเทศไทยนน้ั เป็นปรัชญำกำรศกึ ษำที่เกิดจำกบริบท ที่ต่ำงจำกประเทศตะวันออกอย่ำงประเทศไทย ดังนั้นกำรนำปรัชญำกำรศึกษำเหล่ำนั้นมำ ประยุกต์ใช้ จำเป็นต้องคำนึงถึงควำมแตกต่ำงทำงบริบทของพ้ืนที่ และสภำพสังคมเป็น สำคัญดว้ ย ซง่ึ ในทศั นะของผู้เขยี น เหน็ ว่ำเป็นควำมยำกทจี่ ะทำใหเ้ กดิ ข้ึนจรงิ ดังน้ันทางรอดทางเดียวที่สำมำรถทำได้ ไม่ยุ่งยำก ไม่ต้องเสียเวลำเรียนรู้ปรัชญำ กำรศึกษำของตะวันตกให้ปวดหัว ก็คือ ครูอำจำรย์ของวิทยำลัยเกษตรและเทคโนโลยี และวิทยำลัยประมงแต่ละคน จะต้องสร้างปรัชญาอาชีวศึกษาเกษตรท่ีสำมำรถจัด กำรศึกษำให้บรรลุจุดมุ่งหมำยของกำรอำชีวศึกษำเกษตรด้วยตนเองขึ้นมำ ซึ่งจะนำเสนอ รำยละเอียดในกำรสรา้ งปรัชญาในบทถัดไป

25 ประสบการณเ์ พื่อการเรยี นรู้ (Learning Experience: L.E.) : สาระสาหรบั การสร้างปรัชญาอาชีวศึกษาเกษตร สำระที่สำคัญประกำรหน่งึ ของ L.E. คอื โครงสรำ้ งของ L.E. นั้นสอดคลอ้ งกับ โครงสรำ้ งของปรชั ญำกำรศึกษำ โครงสรำ้ งของ L.E. ประกอบดว้ ย 6 องค์ประกอบทม่ี ีควำมสมั พันธ์เชอื่ มโยงกัน 1. เนอื้ หาความรู้เปน็ องคป์ ระกอบทีก่ ำหนดระดับของวตั ถปุ ระสงคก์ ำรสอน 2. วัตถุประสงคก์ ารสอนเปน็ องคป์ ระกอบที่ถกู ขยำยควำมเป็นวัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 3. สถานการณก์ ารเรียนรู้ เป็นองค์ประกอบท่ตี ้องสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ เชงิ พฤตกิ รรม และในองค์ประกอบสถำนกำรณ์กำรเรียนรู้ จะต้องมปี ฏิสัมพนั ธ์ (Interaction) ระหวำ่ งกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ในเน้ือหำควำมรู้ที่ผูส้ อนสรำ้ งขน้ึ กับกจิ กรรมที่ ผเู้ รียนกระทำ 4. สอ่ื ช่วยสอน เป็นองค์ประกอบทีต่ อ้ งสอดคล้องกับสถำนกำรณก์ ำรเรยี นรู้ 5. การประเมินผล เป็นองคป์ ระกอบท่ีต้องสอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม ดงั ภำพท่ี 10 ภำพท่ี 10 แผนภำพควำมสมั พนั ธเ์ ช่ือมโยงกันของโครงสรำ้ งของ L.E.

26 ส่วนโครงสร้ำงของปรัชญำกำรศึกษำน้ัน ประกอบด้วย จุดมุ่งหมำยของกำรศึกษำ หลักสตู ร ผ้สู อน ผ้เู รยี น กระบวนกำรเรยี นกำรสอน และกำรวัดผลประเมนิ ผล จะเหน็ ไดว้ ่ำ โครงสร้ำง L.E.ซ่ึงประกอบด้วย 6 องค์ประกอบน้ันครอบคลุมโครงสร้ำงของปรัชญำ กำรศึกษำ ดังนั้นจึงสำมำรถกล่ำวโดยอนุมำนได้ว่ำ โครงสร้ำง L.E. ก็คือโครงสร้างของ ปรชั ญาการศึกษาน่ันเอง โครงสรา้ งของปรชั ญาการศึกษา โครงสร้าง L.E. จุดมุ่งหมำยของกำรศึกษำ วัตถุประสงค์กำรสอน และวัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม หลักสตู ร เน้อื หำควำมรู้ ผู้สอน ผเู้ รียน ปฏิสัมพันธ์ระหวำ่ งกิจกรรมกำรเรยี นรใู้ นเน้อื หำ กระบวนกำรเรียนกำรสอน ควำมร้ทู ผ่ี ู้สอนสร้ำงขน้ึ กับกิจกรรมที่ผู้เรยี น กำรวัดผลประเมินผล กระทำ และสอ่ื ชว่ ยสอน กำรประเมนิ ผล การสรา้ งปรัชญาอาชวี ศกึ ษาเกษตร จำกบทท่ี 2 ได้กล่ำวแล้วว่ำ กำรสร้ำง Working Philosophy ประกอบด้วย 2 กระบวนกำร คอื กระบวนกำรสร้ำง แบบ Induction และแบบ Deduction สำหรับกระบวนกำรสร้ำง Working Philosophy ปรัชญำอำชีวศึกษำเกษตร ผ้เู ขียนจะเรม่ิ ตน้ จำกกระบวนกำรแบบ Induction ซงึ่ ประกอบดว้ ย 3 ขัน้ ตอนดงั น้ี กระบวนการสรา้ งปรชั ญาอาชีวศกึ ษาเกษตรแบบ Induction ข้นั ตอนท่ี 1 คน้ หา Fact ความจริงเฉพาะ ของเร่อื งที่ตอ้ งการจะสร้าง Working Philosophy ในท่ีน้ี Fact ควำมจริงเฉพำะของเร่ืองท่ีต้องกำรจะสร้ำง Working Philosophy คอื “L.E. เป็นรูปแบบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่เี หมำะสมกับอำชีวศกึ ษำเกษตร”

27 ขน้ั ตอนท่ี 2 ทาการทดสอบกลมุ่ Facts ทำกำรทดสอบกลุ่ม Facts ( L.E.อำชีวศึกษำเกษตร จำนวน 8 เร่ือง) ว่ำเป็น รูปแบบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนอำชีวศึกษำเกษตรได้อย่ำงเหมำะสม ตรงกันหรือไม่ ทำ กำรทดสอบโดยกำรทดลอง R&D:L.E.อำชีวศึกษำเกษตรทั้ง 8 เรื่อง ซ่ึงทำกำรทดลองโดย L.E. CORPS5 ภำคใต้ และ L.E. CORPS. ภำคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ดงั นี้ L.E ท่ีทาการทดลองโดย L.E. CORPS ภาคใต้ จำนวน 6 L.E. ได้แก่ 1) L.E. เร่ือง ควำมสำคญั ของไรแดง (Fact1) 2) L.E. เร่ือง ลักษณะไรแดงเพศเมยี และเพศผู้ (Fact2) 3) L.E. เรื่อง ข้ันตอนกำรเพำะเลี้ยงไรแดง (Fact3) 4) L.E. เรื่อง ข้ันตอนกำรบรรจุไรแดง (Fact4) 5) L.E. เรอ่ื ง กำรคำนวณรำคำขำยไรแดง(Fact5) และ 6) L.E. เร่ือง กำรทำปฏทิ ิน วำงแผนกำรผลติ เล้ียงไรแดงเพ่ือกำรค้ำ (Fact6) ทำกำรทดลองกับนักเรียน ปวช.แผนกวชิ ำ ประมง วษ.ท.นครศรธี รรมรำช จำนวน 7 คน ภำพท่ี 11 นักเรยี น ปวช. แผนกวิชำประมง วษ.ท.นครศรีธรรมรำช กลุม่ ทดลอง R&D:L.E. 5 L.E. CORPS หมำยถึง ครู อำจำรย์ วิทยำลยั เกษตรและเทคโนโลยี และวิทยำลยั ประมง สงั กดั สถำบันกำรอำชีวศึกษำเกษตรภำคใต้ และภำคตะวันออกเฉียงเหนอื ทีร่ ว่ มกนั ศกึ ษำ เรยี นร้เู ก่ยี วกบั L.E. รำยช่อื L.E. CORPS ในกลุ่ม Line ปรำกฏอยูใ่ นหน้ำสดุ ทำ้ ยของ หนังสอื เล่มนี้

28 L.E.ท่ีทาการทดลอง โดย L.E. CORPS .ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 2 L.E. ได้แก่ 1) L.E. เรื่อง ควำมสำคัญของดำวเรือง (Fact7) และ 2) L.E. เร่ือง ข้ันตอนกำร ปลูกดำวเรือง (Fact8) ทำกำรทดลองกับนักศึกษำ ปวส. แผนกวิชำพืชศำสตร์ วษ.ท. ขอนแกน่ จำนวน 16 คน ภำพที่ 12 นักศกึ ษำ ปวส. แผนกวชิ ำพชื ศำสตร์ วษ.ท. ขอนแก่น รำยละเอียดกำรทดสอบ Facts ดังนี้ 1) L.E. เรือ่ ง ความสาคัญของไรแดง (Fact1) L.E. CORPS ภำคใตไ้ ด้ทำกำรทดลอง R&D: L.E. เรือ่ ง ควำมสำคญั ของไรแดง กำร ทดลองน้ีได้นำ L.E. ท่ีสร้ำงขึ้นไปทำกำรทดลองสอนแบบกลุ่มเดียว แต่มีกำรทดสอบก่อน และหลัง และทำกำรทดสอบควำมแตกต่ำงของคะแนนจำกกำรทดสอบ 2 คร้ัง คือ ก่อน กำรทดลองและหลงั กำรทดลอง ผลกำรทดลอง พบว่ำ ผู้เรียนทำคะแนนเฉล่ียก่อนเรียนเท่ำกับ 2.71 คะแนน และ ทำคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน เท่ำกับ 4.85 คะแนน มคี ำ่ เบีย่ งเบนมำตรฐำนเทำ่ กบั 1.91 แสดง ว่ำ หลังเรียนผู้เรียนสำมำรถสรุปควำมสำคัญของไรแดงได้ครอบคลุมทั้ง 5 ด้ำน ด้วยภำษำ ของตนเองในเวลำท่กี ำหนด ภำพท่ี 13 กำรทดลอง R&D:L.E. เร่อื ง ควำมสำคัญของไรแดง

29 จำกผลกำรทดลองดังกล่ำว แสดงให้เห็นว่ำ L.E. เรื่อง ควำมสำคัญของไรแดง (Fact1) ทำให้นักเรียนเห็นควำมสำคัญของไรแดง สรุปได้ว่ำ “L.E. เป็นรูปแบบกำรจัดกำร เรยี นกำรสอนท่ีเหมำะสมกับอำชีวศกึ ษำเกษตร”เป็นความจริง 2) L.E. เรอ่ื ง ลกั ษณะไรแดงเพศเมยี และเพศผู้ (Fact2) L.E. CORPS ภำคใตไ้ ดท้ ำกำรทดลอง R&D: L.E. เรื่อง ลกั ษณะไรแดงเพศเมียและ เพศผู้ กำรทดลองน้ีได้นำ L.E. ที่สร้ำงข้ึนไปทำกำรทดลองสอนแบบกลุ่มเดียว แต่มีกำร ทดสอบก่อนและหลัง และทำกำรทดสอบควำมแตกต่ำงของคะแนนจำกกำรทดสอบ 2 คร้ัง คือ ก่อนกำรทดลองและหลงั กำรทดลอง (ภำพท่ี 14) ภำพท่ี 14 กำรทดลอง R&D:L.E. เร่อื ง ลกั ษณะไรแดงเพศเมยี และเพศผู้ ผลจำกกำรทดลอง พบว่ำ คะแนนเฉล่ียของผู้เรียนก่อนทดลอง เท่ำกับ 7.14 คะแนน หลังกำรทดลองเท่ำกับ 8.86 เมื่อทดสอบโดยค่ำสถิติ t-dependent ท่ี df=6 ระดับควำมเช่ือม่ัน .05* มีค่ำ 2.447 แต่ค่ำ t ท่ีคำนวณได้ มีค่ำ 2.27 หมำยควำมว่ำ กำร จัด L.E.เรอื่ งนี้ ทำให้นักเรียนไดค้ วำมรู้เพ่มิ ข้ึนจรงิ เชอื่ มน่ั ได้ 95% จำกผลกำรทดลองดังกล่ำว แสดงให้เห็นว่ำ L.E. เร่ือง ลักษณะไรแดงเพศเมียและ เพศผู้ (Fact2) ทำให้นักเรียนมีควำมรู้ควำมสำมำรถปฏบิ ัติได้ สรุปได้วำ่ “L.E. เป็นรูปแบบ กำรจดั กำรเรยี นกำรสอนท่ีเหมำะสมกับอำชวี ศกึ ษำเกษตร”เป็นความจริง

30 3) L.E. เร่อื ง ข้นั ตอนการเพาะเล้ยี งไรแดง (Fact3) L.E. CORPS ภำคใต้ ได้ทำกำรทดลอง R&D: L.E. เร่ือง ข้ันตอนกำรเพำะเล้ียงไร แดง กำรทดลองนี้ได้นำ L.E. ที่สร้ำงข้ึนไปทำกำรทดลองสอนแบบกลุ่มเดียว มีกำรทดสอบ เทียบกับมำตรฐำน (ร้อยละ 80 ของคะแนนเตม็ ) ภำพที่ 15 กำรทดลอง R&D:L.E.. เรอื่ ง ขนั้ ตอนกำรเพำะเลี้ยงไรแดง (Fact3) ผลจำกกำรทดลอง พบว่ำ คะแนนเฉล่ียหลังกำรจัด L.E. เร่ืองขั้นตอนกำร เพำะเล้ียงไรแดง เท่ำกับ 0.85 คะแนน เม่ือนำมำเปรียบเทียบกับคะแนนมำตรฐำน(0.80 คะแนน) พบวำ่ คะแนนหลังกำรจัด L.E. มคี ะแนนสงู กวำ่ คะแนนมำตรฐำน จำกผลกำรทดลองดงั กล่ำว แสดงใหเ้ ห็นว่ำ L.E. เร่ือง ข้นั ตอนกำรเพำะเลี้ยงไรแดง (Fact3) ทำให้นกั เรียนมคี วำมรู้ควำมสำมำรถจดจำขั้นตอนกำรเพำะเลี้ยงไรแดงได้ สรุปได้ ว่ำ “L.E. เปน็ รูปแบบกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนที่เหมำะสมกับอำชวี ศึกษำเกษตร”เปน็ ควำม จริง 4) L.E. เรื่อง ขัน้ ตอนการบรรจุไรแดง (Fact4) L.E. CORPS (กองกำลัง L.E.)ภำคใต้ ได้ทำกำรทดลอง R&D: L.E. เรื่อง ข้ันตอน กำรบรรจุไรแดง กำรทดลองน้ีได้นำ L.E. ที่สร้ำงข้ึนไปทำกำรทดลองสอนแบบกลุ่มเดียว

31 แต่มีกำรทดสอบก่อนและหลัง และทำกำรทดสอบควำมแตกต่ำงของคะแนนจำกกำร ทดสอบ 2 ครัง้ คือ ก่อนกำรทดลองและหลังกำรทดลอง (ภำพที่ 15) ภำพท่ี 16 กำรทดลอง R&D:L.E.. เรื่อง ขั้นตอนกำรบรรจุไรแดง ผลกำรทดลอง พบว่ำ คะแนนก่อนจัดประสบกำรณ์เรียนรู้เท่ำกับ 0 หลังกำรจดั ประสบกำรณก์ ำรเรียนร้เู รอื่ งขั้นตอนกำรบรรจุไรแดง ไดค้ ะแนนเฉลย่ี เท่ำกับ 1 คะแนน ซง่ึ สงู กวำ่ กอ่ นเรยี น จำกผลกำรทดลองดังกล่ำว แสดงให้เห็นว่ำ L.E. เรื่อง ข้ันตอนกำรบรรจุไรแดง (Fact4) ทำให้นกั เรยี นมีควำมรู้ควำมสำมำรถปฏิบตั ิขั้นตอนกำรเพำะบรรจุไรแดงได้ สรปุ ได้ ว่ำ“L.E.เป็นรูปแบบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่ีเหมำะสมกับอำชีวศึกษำเกษตร”เป็นความ จรงิ 5) L.E.เรื่อง การคานวณราคาขายไรแดง (Fact5) L.E. CORPS ภำคใต้ ได้ทำกำรทดลอง R&D: L.E. เรื่อง กำรคำนวณรำคำขำยไร แดง กำรทดลองนี้ได้นำ L.E. ที่สร้ำงขึ้นไปทำกำรทดลองสอนแบบกลุ่มเดียว แต่มีกำร ทดสอบก่อนและหลัง และทำกำรทดสอบควำมแตกต่ำงของคะแนนจำกกำรทดสอบ 2 ครั้ง คือ ก่อนกำรทดลองและหลังกำรทดลอง

32 ภำพท่ี 17 กำรทดลอง R&D:L.E.. เรื่อง กำรคำนวณรำคำขำยไรแดง (Fact5) ผลกำรทดลอง พบว่ำ คะแนนก่อนจัดประสบกำรณ์เรียนรเู้ ท่ำกับ 0 หลังกำรจัด ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้เรื่องขั้นตอนกำรบรรจุไรแดง ได้คะแนนเฉล่ียเท่ำกับ 1 คะแนน แสดงว่ำหลังกำรเรียนผู้เรียนมีควำมรู้เพ่ิมข้ึนจนสำมำรถคำนวณรำคำขำยไรแดงจำก ตัวอยำ่ งโจทยไ์ ด้อยำ่ งถูกตอ้ งภำยในเวลำกำหนดไดท้ ุกคน จำกผลกำรทดลองดังกล่ำว แสดงให้เห็นว่ำ L.E.เรื่อง กำรคำนวณรำคำขำยไรแดง (Fact5) ทำให้นักเรียนมีควำมรู้ควำมสำมำรถคำนวณรำคำขำยไรแดงจำกตัวอย่ำงโจทย์ได้ สรุปได้ว่ำ “L.E. เป็นรูปแบบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่ีเหมำะสมกับอำชีวศึกษำเกษตร” เป็นความจริง 6) L.E. เรื่อง การทาปฏทิ ินวางแผนการผลติ เลย้ี งไรแดงเพือ่ การค้า (Fact6) L.E. CORPS ภำคใต้ ได้ทำกำรทดลอง R&D: L.E. เร่ือง กำรทำปฏทิ นิ วำงแผนกำร ผลิตเลี้ยงไรแดงเพื่อกำรค้ำ กำรทดลองน้ีได้นำ L.E. ที่สร้ำงขึ้นไปทำกำรทดลองสอนแบบ กลมุ่ เดยี ว แต่มีกำรทดสอบก่อนและหลัง และทำกำรทดสอบควำมแตกต่ำงของคะแนนจำก กำรทดสอบ 2 ครงั้ คือ กอ่ นกำรทดลองและหลงั กำรทดลอง ผลกำรทดลอง พบว่ำ คะแนนก่อนจัดประสบกำรณ์เรียนรู้ เท่ำกับ 0 หลังกำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้เรื่องกำรทำปฏิทินวำงแผนกำรผลติ เลี้ยงไรแดงเพ่ือกำรค้ำ เท่ำกับ 1 ซ่งึ คะแนนหลงั เรียนทงั้ สองกลมุ่ สูงกว่ำกอ่ นเรียน รอ้ ยละ 100

33 ภำพท่ี 18 กำรทดลอง R&D:L.E.เรือ่ ง กำรทำปฏทิ ินวำงแผนกำรผลติ เลยี้ งไรแดงเพ่ือกำรคำ้ จำกผลกำรทดลองดังกล่ำว แสดงให้เห็นว่ำ L.E. เร่ืองกำรทำปฏิทินวำงแผนกำร ผลิตเลี้ยงไรแดงเพื่อกำรค้ำ (Fact6)ทำให้นักเรียนมีควำมรู้ควำมสำมำรถนำควำมรู้ไปใช้ได้ สรุปได้ว่ำ “L.E. เป็นรูปแบบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่ีเหมำะสมกับอำชีวศึกษำเกษตร” เปน็ ความจริง 7) LE เรื่อง ความสาคญั ของดาวเรือง (Fact7) L.E. CORPS ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทำกำรทดลอง R&D: L.E. เรื่อง ควำมสำคัญของดำวเรือง กำรทดลองน้ีไดน้ ำ L.E. ที่สรำ้ งข้นึ ไปทำกำรทดลองสอนแบบกลุ่ม เดียว แต่มีกำรทดสอบก่อนและหลงั และทำกำรทดสอบควำมแตกต่ำงของคะแนนจำกกำร ทดสอบ 2 คร้งั คอื ก่อนกำรทดลองและหลงั กำรทดลอง (ภำพท่ี 16) ผลกำรทดลอง พบว่ำ คะแนนค่ำเฉลี่ยก่อนจัดประสบกำรณ์เรียนรู้เท่ำกับ 2.12 คะแนน และคะแนนค่ำเฉล่ยี หลังจำกกำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้เท่ำกับ 4.50 คะแนน ซึ่งคะแนนหลังกำรจัดประสบกำรณ์เรียนรู้สูงกว่ำก่อนจัดประสบกำรณ์เรียนรู้อย่ำงมี นัยสำคญั ยง่ิ ทำงสถติ ทิ ีร่ ะดับ 0.01 เชอื่ ม่ันได้ 99 เปอรเ์ ซน็ ต์

34 ภำพที่ 19 กำรทดลอง R&D:L.E.. เร่ือง ควำมสำคัญของดำวเรอื ง จำกผลกำรทดลองดังกล่ำว แสดงให้เห็นว่ำ LE เรื่อง ควำมสำคัญของดำวเรือง (Fact7) ทำให้นักเรียนเห็นคุณค่ำของกำรปลูกดำวเรืองเพ่ือกำรค้ำ สรุปได้ว่ำ “L.E. เป็น รูปแบบกำรจดั กำรเรียนกำรสอนทเี่ หมำะสมกบั อำชวี ศึกษำเกษตร”เปน็ ความจรงิ 8) L.E. เรอ่ื ง ขนั้ ตอนการปลูกดาวเรือง (Fact8) L.E. CORPS ภำคตะวันออกเฉียงเหนอื ไดท้ ำกำรทดลอง R&D: L.E. เรื่อง ขน้ั ตอน กำรปลูกดำวเรือง กำรทดลองนี้ได้นำ L.E. ท่ีสร้ำงข้ึนไปทำกำรทดลองสอนแบบกลุ่มเดียว แต่มีกำรทดสอบก่อนและหลัง และทำกำรทดสอบควำมแตกต่ำงของคะแนนจำกกำร ทดสอบ 2 คร้งั คอื ก่อนกำรทดลองและหลังกำรทดลอง ผลกำรทดลอง พบว่ำ คะแนนก่อนจัดประสบกำรณ์เรียนรู้ของผู้เรียนเท่ำกับ 0.06 คะแนนเฉล่ียหลังกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้เรื่องข้ันตอนกำรปลูกดำวเรืองของ ผู้เรยี น เทำ่ กบั 0.94 ซึง่ คะแนนหลังเรียนของผ้เู รียนสงู กวำ่ ก่อนเรยี นอย่ำงมีนยั สำคัญทำง สถติ ทิ ่ี 0.01 เชอ่ื มนั่ ได้ 99 เปอร์เซ็นต์

35 ภำพท่ี 20 กำรทดลอง R&D:L.E.. เรอื่ ง ขน้ั ตอนกำรปลูกดำวเรอื ง จำกผลกำรทดลองดังกล่ำว แสดงให้เห็นว่ำ L.E.เร่ือง ขั้นตอนกำรปลูกดำวเรือง (Fact8 ) ทำให้นกั เรียนจดจำขั้นตอนกำรปลูกดำวเรอื งได้อย่ำงถูกต้อง สรปุ ได้ว่ำ “L.E. เป็น รูปแบบกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนท่เี หมำะสมกบั อำชวี ศึกษำเกษตร”เปน็ ความจรงิ ข้ันตอนที่ 3 สรปุ กลมุ่ Facts จากขนั้ ตอนที่ 2 จำกผลกำรทดลอง R&D:L.E.ทั้ง 8 เรื่อง พบว่ำ ผู้เรียนเกิดกำรเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมตำมวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมท่ีผู้สอนได้กำหนดไว้ แสดงให้เห็นว่ำ L.E. เป็น รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ หมาะสมสาหรับอาชีวศึกษาเกษตร :ซง่ึ เปน็ ความจริง สากล (Truth) จำกกำรทดสอบกลุ่ม Facts (กลุ่มควำมจริงเฉพำะ) ทั้ง 8 Facts ยืนยันได้ว่ำ L.E. เป็นรูปแบบกำรจัดกำรเรียนกำรสอน ท่ีทำให้บรรลุวัตถุประสงค์กำรสอนที่ต้ังไว้ได้จริง (เป็น Truth) ดังนั้นจึงสำมำรถกำหนดเป็น “หลักปฏิบัติในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน อำชีวศึกษำเกษตร” หรือเรียกว่ำ “ปรชั ญาอาชวี ศกึ ษาเกษตร L.E.” น่ันเอง

36 เพ่ือให้เข้ำใจได้ง่ำยข้ึน จึงขอนำเสนอกระบวนกำรสร้ำงแบบ Induction เป็นภำพ ได้ ดังนี้ Fact (ความจรงิ เฉพาะ): L.E. เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนทเ่ี หมาะสมกบั อาชวี ศึกษาเกษตร ทดสอบ Fact 1: L.E. เรอื่ ง ความสาคญั ของไรแดง ผล คือ L.E. ทาให้นักเรยี นเห็นความสาคัญของไรแดง Fact 2: L.E. เร่ือง ลักษณะไรแดงเพศเมยี และเพศผู้ ผล คอื L.E. ทาใหน้ ักเรยี นมีความรคู้ วามสามารถปฏิบตั ไิ ด้ Fact 3: L.E. เรอ่ื ง ขัน้ ตอนการเพาะเลย้ี งไรแดง ผล คือ L.E. ทาให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถจดจาขั้นตอนการเพาะเล้ียงไรแดงได้ Fact 4: L.E เร่ือง ขัน้ ตอนการบรรจุไรแดง ผล คอื L.E. ทาใหน้ ักเรียนมคี วามรู้ความสามารถปฏบิ ัตขิ ั้นตอนการเพาะบรรจุไรแดงได้ Fact 5: L.E. เรื่อง การคานวณราคาขายไรแดง ผล คือ L.E. ทาใหน้ ักเรยี นมคี วามรู้ความสามารถคานวณราคาขายไรแดงได้ Fact 6: L.E. เรือ่ ง การทาปฏทิ ินวางแผนการผลติ เล้ยี งไรแดงเพื่อการคา้ ผล คือ L.E. ทาใหน้ ักเรียนมคี วามรู้ความสามารถนาความรู้ไปใช้ได้ Fact 7: L.E. เรื่อง ความสาคญั ของดาวเรือง ผล คอื L.E. ทาใหน้ ักเรยี นมีเหน็ คุณคา่ ของการปลูกดาวเรืองเพ่ือการค้า Fact 8: L.E. เรื่อง ขนั้ ตอนการปลูกดาวเรือง ผล คือ L.E. ทาใหน้ ักเรียนจดจาขัน้ ตอนการปลกู ดาวเรืองไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง Truth (ควำมจริงสำกล):ทงั้ 8 L.E. เป็นรปู แบบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่เี หมำะสมกบั อำชวี ศึกษำเกษตร หลกั ปฏบิ ัติในกำรจดั กำรเรียนกำรสอนอำชวี ศกึ ษำเกษตร = ปรัชญาอำชีวศึกษำเกษตร L.E. ( ใช้ L.E. เปน็ รูปแบบในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน) ภำพท่ี 21 แผนภำพกระบวนกำรสร้ำงแบบ Induction

37 กระบวนการสรา้ ง ปรชั ญาอาชวี ศึกษาเกษตรแบบ Deduction เพื่อพิสูจน์ว่ำ “ปรัชญำอำชีวศึกษำเกษตร L.E.” ตำมควำมเชื่อของผู้เขียนว่ำเป็น ควำมจริงหรือไม่ ต้องใช้กระบวนกำรสร้ำง Working Philosophy แบบ Deduction (จำก บทที่ 2) มำทำกำรพิสจู น์ ซ่ึงประกอบด้วย 3 ขนั้ ตอน ดังน้ี ข้ันตอนท่ี 1 คน้ หา Truth ซ่งึ ก็คอื ความจริงสากลของเรือ่ งทต่ี ้องการจะสร้าง Working Philosophy Truth ในทน่ี ้ี คือ L.E เป็นรปู แบบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่เี หมำะสมกบั อำชีวศกึ ษำเกษตร ซง่ึ ไดจ้ ำกกำรทดลอง R&D:L.E. อำชีวศึกษำเกษตร 8 เร่ือง ขนั้ ตอนที่ 2 พิสูจน์ Truth นำ L.E อำชีวศึกษำเกษตร ทั้ง 8 เรื่อง ทำกำรทดลองซ้ำกับนักเรียน ปวช./ นักศึกษำ ปวส.กลุ่มอ่ืน ซ่ึงอำจจะเป็นนักเรียน ปวช./นักศึกษำ ปวส.รุ่นต่อไป นักเรียน ปวช. /นักศึกษำ ปวส.ของ วษ.ท หรือ วป. อ่ืน หรือกลุ่มเยำวชน เพื่อค้นหำ Fact9(L.E. เร่ือง ควำมสำคัญของไรแดง) Fact10(.E. เรื่อง ลักษณะไรแดงเพศเมียและเพศผู้ ) Fact11 (L.E. เร่ือง ข้ันตอนกำรเพำะเล้ียงไรแดง) Fact12 (L.E เร่ือง ข้ันตอนกำรบรรจุไร แดง) Fact13 ( L.E. เร่ือง กำรคำนวณรำคำขำยไรแดง ) Fact14 (L.E. เรื่อง กำรทำ ปฏิทินวำงแผนกำรผลิตเลี้ยงไรแดงเพื่อกำรค้ำ) Fact15 ( L.E. เร่ือง ควำมสำคัญของ ดำวเรือง) และ Fact16(L.E. เรอ่ื ง ขน้ั ตอนกำรปลกู ดำวเรือง) ขั้นตอนที่ 3 สรุป Truth เปน็ Truth หรอื ไม่ ถ้ำผลกำรทดลองในขั้นตอนท่ี 2 พบว่ำ L.E. สำมำรถทำให้นักเรียนเกิดเรียนรู้ได้ ตำมวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่กำหนดไว้ในแต่ละ L.E. เช่นเดียวกับผลกำรทดลองใน กระบวนกำรสร้ำง Working Philosophy แบบ Induction ก็สรุปได้ว่ำ Truth คือ Truth ควำมจริงสำกล คือ L.E.เป็นรูปแบบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เหมำะสมสำหรับ อำชีวศึกษำเกษตร ซ่ึงก็คือเป็น ปรัชญาอาชีวศึกษาเกษตร L.E. ที่เชื่อถือได้ว่ำ สำมำรถ นำมำใชเ้ ป็นหลักปฏบิ ตั ิในการจดั การศึกษาอาชีวศกึ ษาเกษตรได้ นั่นเอง

38 เพื่อให้เขำ้ ใจได้ง่ำยขึน้ จงึ ขอนำเสนอกระบวนกำรสร้ำงแบบ Deduction เป็นภำพ ดังนี้ Truth (ความจรงิ สากล) : ปรัชญาอาชีวศกึ ษาเกษตร L.E. พิสูจน์ Fact 9: L.E. เร่อื ง ควำมสำคัญของไรแดง ผล คอื L.E. ทำให้นักเรียนเห็นควำมสำคัญของไรแดง Fact 10: L.E. เร่อื ง ลักษณะไรแดงเพศเมยี และเพศผู้ ผล คอื L.E. ทำให้นักเรียนมีควำมรู้ควำมสำมำรถปฏิบัตไิ ด้ Fact 11: L.E. เรอ่ื ง ข้ันตอนกำรเพำะเล้ยี งไรแดง ผล คอื L.E. ทำใหน้ กั เรียนมีควำมรู้ควำมสำมำรถจดจำขน้ั ตอนกำรเพำะเลี้ยงไรแดงได้ Fact 12: L.E เร่ือง ขน้ั ตอนกำรบรรจุไรแดง ผล คอื L.E. ทำให้นักเรียนมีควำมรู้ควำมสำมำรถปฏิบตั ิขัน้ ตอนกำรเพำะบรรจุไรแดงได้ Fact 13: L.E. เรือ่ ง กำรคำนวณรำคำขำยไรแดง ผล คือ L.E. ทำให้นกั เรยี นมีควำมรู้ควำมสำมำรถคำนวณรำคำขำยไรแดงได้ Fact 14: L.E. เรอ่ื ง กำรทำปฏทิ ินวำงแผนกำรผลติ เล้ียงไรแดงเพอื่ กำรคำ้ ผล คือ L.E. ทำให้นกั เรยี นมคี วำมรู้ควำมสำมำรถนำควำมรู้ไปใชไ้ ด้ Fact 15: L.E. เร่ือง ควำมสำคญั ของดำวเรอื ง ผล คอื L.E. ทำให้นกั เรยี นมเี หน็ คุณค่ำของกำรปลูกดำวเรอื งเพอื่ กำรค้ำ Fact 16: L.E. เรื่อง ข้ันตอนกำรปลูกดำวเรอื ง ผล คือ L.E. ทำให้นักเรียนจดจำขั้นตอนกำรปลกู ดำวเรืองได้อยำ่ งถูกต้อง ปรัชญาอำชวี ศึกษำเกษตร L.E.= หลักปฏบิ ัติในกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนอำชีวศกึ ษำ เกษตร (ใช้ L.E.เป็นรูปแบบในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน) ภำพท่ี 22 ภำพกระบวนกำรสร้ำงแบบ Deduction

39 จำกตัวอยำ่ งกระบวนกำรสรำ้ งปรัชญำอำชีวศกึ ษำเกษตรแบบ Induction และ แบบ Deduction จะพบว่ำ กระบวนกำรแบบ Induction เป็นกระบวนกำรคน้ หำ Truth (ปรัชญำอำชีวศกึ ษำเกษตร L.E.) จำกกลมุ่ Facts ซึง่ มีลักษณะเหมือนกบั Fact (ปรัชญำ อำชวี ศึกษำเกษตร L.E.) ในขณะท่ีกระบวนกำรแบบ Deduction เป็นกระบวนกำรพสิ จู น์ Truth ทีไ่ ด้จำก Induction ว่ำยังคงเปน็ Truth อย่หู รือไม่ ดงั ภำพ Fact 1 เป็ นจริง Fact 2 เป็ นจริง II I Fact ( ปรัชญำอำชีวศึกษำเกษตร L.E.) Facเปt็น3จริง Induction Truth (ปรTชั rญutาhอาชีวศกึ ษาเกษตร L.E. ) Deduction I คอื Induction Fact D D คือ Deduction Fact 5 4 เป็ นจริง D เป็ นจริง D Fact 6 เป็ นจริง ภำพท่ี 23 ควำมเชื่อมโยงกระบวนกำรสรำ้ ง Working Philosophy แบบ Induction และ Deduction จำกกระบวนกำรสร้ำงปรัชญำอำชีวศึกษำเกษตร แบบ Induction และ Deduction ที่ได้นำเสนอไปแล้วน้ัน ผู้เขียนมีควำมเชื่อมั่นว่า การจัดการเรียนการสอน ตามแนว L.E.น้ีสำมำรถนำมำประยุกต์ใช้ในกำรกำหนดปรัชญาอาชีวศึกษาเกษตรได้ ซึ่ง จะเรียกปรัชญำน้ีว่ำ “ปรัชญาอาชีวศึกษาเกษตรตามแนวประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้” เรียกอย่ำงย่อว่ำ “ปรัชญาอาชีวศึกษาเกษตร L.E.” เขียนเป็น ภำษำอังกฤษว่ำ “L.E. Philosophy of Vocational Education in Agriculture” “ปรัชญำอำชีวศกึ ษำเกษตร L.E.” น้ี จะนำมำใชเ้ ปน็ หลกั ในกำรคิดกำรปฏบิ ตั ิ สำหรับกำรจัดกำรศึกษำอำชีวศกึ ษำเกษตร โดยเริม่ จำก 1. วิเครำะห์ และเรยี บเรียงเน้ือหำควำมรูท้ ี่จะชักนำให้ผ้เู รียนมีควำมรู้ ควำมสำมำรถปฏบิ ตั ิได้จรงิ ในสำขำวชิ ำอำชวี ศึกษำเกษตรนั้นๆ โดยเนือ้ หำควำมรู้

40 ประกอบด้วย เนอื้ หำควำมร้ภู ำค Knowing และเน้ือหำควำมรภู้ ำค Doing ของสำขำวิชำ อำชวี ศึกษำเกษตร นั้นๆ 2. ต้องกำหนดวตั ถุประสงค์กำรสอนให้สอดคล้องกับเน้ือหำควำมรู้ท่ไี ดผ้ ่ำนกำร วิเครำะห์ และเรียบเรียงมำแล้ว 3.กำหนดวตั ถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมใหส้ อดคลอ้ งกับวตั ถุประสงคก์ ำรสอน โดย จะต้องมกี ำรกำหนดพฤติกรรมทีค่ ำดหวงั ที่ตอ้ งกำรใหผ้ ้เู รยี นเกดิ กำรเรียนรู้ เง่ือนไข และ เกณฑ์ให้ชัดเจน 4.จัดสถำนกำรณ์กำรเรียนร้ทู ี่ผเู้ รียนเปน็ ศูนยก์ ลำง โดยต้องจดั สถำนกำรณ์กำร เรียนรูใ้ หม้ ี Interaction ระหว่ำงกจิ กรรมกำรเรยี นรูใ้ นเนื้อหำควำมร้ทู ่ีผูส้ อนสร้ำงข้นึ กับ กจิ กรรมท่ผี ูเ้ รียนกระทำ 5. จดั สื่อชว่ ยสอนให้สอดคล้องกบั กจิ กรรมในเน้ือหำควำมรู้ทีผ่ สู้ ร้ำงข้นึ 6.ประเมนิ ผลตำมวัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรมท่ีกำหนดไว้ 7.ทำ R&D เพือ่ พิสูจน์ L.E. และใช้เปน็ ผลงำนวิจยั ของผสู้ อนสำหรับเผยแพร่ตอ่ ไป จำกหลกั ในกำรคิดกำรปฏบิ ตั ิสำหรบั กำรจดั กำรศึกษำอำชวี ศกึ ษำเกษตรตำม ปรัชญาอาชีวศกึ ษาเกษตร L.E. ขำ้ งต้น ผเู้ ขยี นนำมำกรองเขียนเปน็ ควำมเรียง ดังน้ี อาชวี ศึกษาเกษตรเป็นการจัดการศึกษา…ทมี่ ุ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลาง ของการเรียนรู้ มีการปฏิสมั พันธ์ (Interaction) ระหว่างผเู้ รยี นกับ กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นเน้ือหาความรทู้ ผ่ี ้สู อนสร้างขึ้น ทาใหผ้ เู้ รยี นเกิดการ เรยี นรู้ จนบรรลวุ ัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมทกี่ าหนดไว้ …พสิ จู นโ์ ดย R&D.

41

42 L.E.CORPS ภาคใตแ้ ละภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

43 บรรณานุกรม ดเิ รก ฤกษ์หรำ่ ย.2518.หลักการส่งเสรมิ เกษตร.กรงุ เทพฯ: จงเจริญกำรพิมพ์. ชยั ฤทธิ์ โพธิสวุ รรณ. 2544. การศกึ ษาผู้ใหญ่: ปรัชญาตะวันตกและการปฏิบัต.ิ กรุงเทพฯ: สำนกั พิมพ์มหำวทิ ยำลัยเกษตรศำสตร์. รำชบัณฑิตยสถำน. 2534.พจนานุกรมฉบบั เฉลมิ พระเกียรติ พ.ศ.2530. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พว์ ฒั นำพำนชิ . ลำวัณย์ วิจำรณ์. 2558. ปริญญาปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑติ ….ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปรัชญากับ การวิจัย เอกสำรประกอบกำรบรรยำยวิชำ ระเบยี บวิจัยขั้นสงู ทำงสิ่งแวดล้อม (01591691)สำหรบั นิสติ ปรญิ ญำเอก สำขำวทิ ยำศำสตร์สิ่งแวดลอ้ ม คณะสงิ่ แวดล้อม มหำวทิ ยำลัยเกษตรศำสตร์ 29 ธันวำคม 2558. ___________.2561. R&D: L.E. อาชีวศกึ ษาเกษตร แนวทางสู่การปฏิบัติ. ปทุมธำนี: โรงพมิ พ์มหำวทิ ยำลยั รังสิต. สรุ เดช สำรำญจิตต์ พิมพ์พรรณ เทพสะเมธำนนท์ และคณำจำรยภ์ ำควิชำพน้ื ฐำนกำรศึกษำ คณะศกึ ษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำมคำแหง. 2555. แนวคดิ ทางปรัชญาการศกึ ษาของ นกั ศึกษาปริญญาโท ภาคพิเศษ โครงการพฒั นาครทู ้ังระบบภายใตแ้ ผนปฏิบตั กิ าร ไทยเข็มแข็ง. โสภณ ธนะมัย, 2553. เอกสำรประกอบกำรบรรยำยวิชาปรัชญาสง่ิ แวดล้อม(01591681) และวิชาระเบยี บวิธวี จิ ัยขั้นสงู ทางส่ิงแวดล้อม (01591691) สำหรบั นิสติ ปรญิ ญำเอก สำขำวิทยำศำสตรส์ ิ่งแวดล้อมวิทยำลัยส่ิงแวดล้อม มหำวิทยำลยั เกษตรศำสตร์. สถำบนั กำรอำชวี ศึกษำเกษตรภำคใต้.L.E.CORPS. 2562. การสร้างประสบการณเ์ พ่ือการ เรียนรู้ สาหรับการอาชวี ศกึ ษาเกษตร. ปทุมธำนี: โรงพมิ พม์ หำวทิ ยำลัยรังสิต. Jerold W.Apps,1973. Toward a Working Philosophy of Adult Education. Publications in Continuing Education, Syracuse University, Syracuse, N.Y. Longman. 1995. Longman Dictionary of Contemporary English. England: Longman Group Ltd.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook