Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PDCA ผักสลัด report

PDCA ผักสลัด report

Published by lawanwijarn4, 2022-04-23 05:44:45

Description: ผักสลัด report _23.04.22

Search

Read the Text Version

รายงานสรปุ ผลการดำเนนิ โครงการตามรปู แบบ PDCA ประเภทการบริการวิชาการ ❑ แบบสาธารณะ (❑ แบบให้เปล่า / ❑ แบบเชิงพาณชิ ย์) ❑ แบบเฉพาะ (❑ แบบให้เปล่า / ❑ แบบเชงิ พาณิชย)์ การบูรณาการการบรกิ ารวชิ าการ ❑ มีการบูรณาการการบริการวิชาการกบั การเรยี นการสอน (องคค์ วามรูจ้ ากการสอนประยุกต์ใช้กบั การบริการวิชาการ) ❑ มกี ารบรู ณาการการบริการวชิ าการกบั การวิจยั ความสอดคล้องกับประเดน็ ยุทธศาสตร์/ ประเดน็ การจดั การความรู้ ❑ การเรยี นการสอนและการผลติ บัณฑิต ❑ วิจยั / นวตั กรรม ❑ ศลิ ปวฒั นธรรม สงิ่ แวดลอ้ ม ❑ การบริหารจัดการท่ีเปน็ เลิศ ❑ ภาพลักษณ์ / ชื่อเสยี งขององคก์ ร ❑ ความเปน็ นานาชาติ ส่วนที่ 1 รายละเอียดโครงการตามทข่ี อในงบประมาณ (*ขอ้ มลู ที่กรอกตอนขออนุมัตงิ บโครงการ) ช่อื โครงการ(640382) “ปลกู ผักสลดั กนิ เอง สรา้ งภูมิคุม้ กัน ตา้ นโรค ลดมลพิษส่งิ แวดลอ้ ม” ( โครงการส่ิงแวดลอ้ มศึกษาเพอื่ การพัฒนาชุมชน) หลักการและเหตุผล ปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆท่ีเกิดขึ้นในปัจจุบัน ทั้งปัญหาในระดับโลก ระดับประเทศ และในระดับชุมชน ล้วนเป็น ปัญหาท่ีส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวติ ของผู้คนในทุกระดับ การป้องกันแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อมท่ีเป็นอยู่ และรวมถึงการ ปกปกั รักษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมใหม้ ีคุณภาพ ทีเ่ หมาะสมตอ่ การดำเนนิ ชีวิตของผคู้ น เปน็ สิ่งท่ีมคี วามจำเป็น และมีความสำคัญอย่างย่ิง โดยเฉพาะในระดับชุมชน ซึ่งเป็นหน่วยย่อยของสังคม สมาชิกในชุมชนไม่เพียงแต่จะได้รับ ผลกระทบโดยตรงจากปัญหาส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดข้ึนภายในชมุ ชนของตนหรือชุมชนที่เกี่ยวเนื่อง แตย่ ังพบว่ากิจกรรมตา่ ง ๆใน ชมุ ชนเปน็ สาเหตสุ ำคญั ท่นี ำไปส่กู ารเกิดปญั หาส่งิ แวดลอ้ มท่ยี ากต่อการแกไ้ ข การสรา้ งจิตสำนึกสาธารณะใหค้ นในชมุ ชนหัน มาร่วมมือกัน ป้องกัน แก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อม และร่วมมือกันปกปักรักษาส่ิงแวดล้อมของชุมชนด้วยตนเองจึงเป็นวิถีทาง หน่ึง ที่จะส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อมในชุมชนน้ัน ๆ สอดคล้องกับแนวคิดของกรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติที่ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ เอกชน และชุมชน ใส่ใจกับการพัฒนาท่ีควบคู่ไปกับการ ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมของชุมชน ดงั จะเห็นไดจ้ ากหน่วยงานดงั กล่าวมีการจัดหลักสูตรฝึกอบรมหลักสูตร“สิ่งแวดล้อมศึกษา สู่การพัฒนาชุมชน” ให้กับบุคลากรและผู้สนใจท้ังในหน่วยงานรัฐ องค์ปกครองส่วนท้องถ่ิน ภาคเอกชน และสถานศึกษา PDCA ปีการศกึ ษา 2564 |

เพ่ือให้นำความรู้จากหลักสูตรดงั กล่าวถา่ ยทอดสู่ชุมชน อันจะนำไปสู่การสรา้ งจติ สำนกึ สาธารณะเพอ่ื การพัฒนาชมุ ชนนัน้ ๆ ตอ่ ไป จงึ ได้รเิ ริ่มโครงการ“สิง่ แวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาชมุ ชน”ขึ้นในมหาวิทยาลยั โดยเนน้ การจัดประสบการณเ์ พอื่ การ เรียนรู้ (Learning Experience) องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมด้านต่าง ๆ ตามความ ต้องการของชุมชน เช่น ด้านการจัดการน้ำและน้ำเสีย มลพิษทางอากาศ การจัดการของเหลือทิ้ง(ขยะ) การสร้างคาม ตระหนักในการลดปัญหาสิ่งแวดลอ้ มภายในบ้านของตน และร่วมถงึ การเฝ้าระวงั สงิ่ แวดล้อมชุมชน เปน็ ต้น ให้แก่ชมุ ชน ในพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัย ตามนโยบายของคณะกรรมการการอดุ มศึกษาที่สนับสนุนให้มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งถา่ ยทอด ความรแู้ ก่ชมุ ชนในพ้นื ที่โดยรอบ การจัดประสบการณ์เพอ่ื การเรยี นรู้ ส่ิงแวดล้อมดงั กล่าว มุ่งหวังให้ประชาชนในชุมชนและ เยาวชน เกิดการรับรู้(awareness) ถึงสถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของปัญหาส่ิงแวดล้อมที่เกิดขึ้นในชุมชนของตน เพ่ือนำไปสู่การสร้างจิตสำนึกสาธารณะในการป้องกัน แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม และปกปักรักษาส่ิงแวดล้อมของชุมชนให้มี คุณภาพเหมาะสมกับการดำเนินชีวิตด้วยตนเองให้ได้ และคาดหวังว่าชุมชนจะนำความรู้ดังกล่าวขยายผลต่อคนในชุมชน ของตนและเครอื ข่ายต่อไปในอนาคต สำหรับการวางโครงการสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพฒั นาชุมชน ในปีการศึกษานี้ (2564) ได้ดำเนินการล่วงหน้าไป ก่อนหน้าน้ี โดยประชุมร่วมกบั ผู้นำชุมขน (ชุมชนวดั รังสติ อำเภอเมอื งปทุม และชุมชนบ้านศาลาแดงเหนือ อำเภอสามโคก )ในช่วงต้นปี 2564 ที่ผ่านมา ได้ข้อสรุปว่า ทางชุมชนมีความประสงค์ให้จัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้ส่ิงแวดล้อมท่ี เก่ียวกับปัญหาส่ิงแวดล้อมในบ้านพักอาศัย และแนวทางการจัดการมลพิษทางอากาศให้กับสมาชิกในชุมชน ดังน้ันในปี การศึกษา 2564 จึงได้วางโครงการสิ่งแวดล้อมศึกษาเพ่ือการพัฒนาชุมชนไว้ 2 โครงการย่อย คือ 1) โครงการลดมลพิษ ส่ิงแวดล้อมในบ้าน โดยดำเนินการให้กบั ชุมชนวดั รังสิต ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี และ2) โครงการตน้ ไม้ ลดมลพษิ ให้กับชมุ ชนบ้านศาลาแดงเหนือ ตำบลเชยี งรากน้อย อำเภอสามโคก จงั หวดั ปทุมธานี โครงการลดมลพษิ สง่ิ แวดลอ้ มในบ้าน ชุมชนวดั รงั สิต ตำบลหลกั หก อำเภอเมอื ง จังหวัดปทมุ ธานี วัตถปุ ระสงค์ : 1.1วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการรับรู้ (awareness) ถึงสถานการณ์ สาเหตุและผละกระทบของปัญหาสิ่งแวดล้อม ในชุมชนของตน 2. เพ่ือให้กลุม่ เปา้ หมายเกดิ จติ สำนกึ สาธารณะในการป้องกัน แกไ้ ข และปกปกั รกั ษาสิง่ แวดล้อมของชุมชนดว้ ยตนเอง สำหรับโครงการเป็นผลสืบเน่ือง จากการวิเคราะสภาวการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อมชุมชนร่วมกับผู้นำชุมชน พบว่า ความเสี่ยงจากการบริโภคผักที่ปนเปื้อนสารเคมีทางการเกษตรจากแหล่งการค้าต่างๆ เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ สำคัญ เพราะเป็นสาเหตุของการป่วยเจ็บ การใช้ยาเพื่อการรักษาโรค แม้จะมีความจำเป็น แต่ในอีกมิติหนึ่งน้ัน กล่าวได้ว่า ผลจากการใช้ยาในการรักษาอาการป่วยเจ็บ เป็นสาเหตุของการเกิดยาเหลือท้ิง ยาที่เสื่อมคุณภาพ เกิดขยะยา(สารเคมียา) ซึ่งจะก่อให้เกิดการตกค้างสารเคมียาในส่ิงแวดล้อม การคิดหาแนวทางในการจัดการปัญหา และลดผลกระทบจากปัญหา เหล่าน้ีจึงเป็นส่ิงที่ผู้นำชุมชนวัดรังสิตให้ความสนใจ (วัตถุประสงค์ข้อที่ 1) ซ่ึงแนวคิดลดการป่วยเจ็บของคนในชุมชน เพ่ือ ลดการกินยา ลดขยะยา โดยการเพิ่มทักษะการปลูกผักไว้กินเอง กินผักเพื่อสร้างภูมิต้านโรค นอกจากจะเป็นจุดเริ่มของ การสร้างจิตสำนึกสาธารณะในการป้องกัน แก้ไข และปกปักรักษาส่ิงแวดล้อมของชุมชน (วัตถุประสงค์ข้อที่2) แล้วยังช่วย PDCA ปกี ารศึกษา 2564 |

ลดความเส่ียงจากการป่วยเจ็บที่เกิดจากการบริโภคผักจากแหล่งการค้าต่างๆ (ท่ีมักพบการปนเปื้อนของสารเคมีทาง การเกษตร) โดยหันมาปลูกผักไว้กินเอง กินผักเพ่ือสร้างภูมิต้านโรค จึงเป็นจุดเร่ิมของการสร้างจิตสำนึกสาธารณะในการ ปอ้ งกัน แก้ไข และปกปกั รักษาสง่ิ แวดล้อมของชุมชน (วตั ถปุ ระสงค์ข้อท2่ี ) 1.2 เป้าหมายความสำเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์. • กลมุ่ เปา้ หมายสามารถเพาะเมลด็ พันธุ์สลดั ยา้ ยตน้ กล้าผกั สลัด ภายใต้คำแนะนำ • กล่มุ เปา้ หมายสามารถดูแลตน้ กลา้ จนเติบโตจนเกบ็ เก่ยี วผลผลติ ไว้กนิ ในครวั เรอื นได้สำเร็จ ส่วนท่ี 2 วธิ ีดำเนนิ การ 1) วเิ คราะหส์ ภาวการณป์ ญั หาสง่ิ แวดล้อมชมุ ชนรว่ มกบั ผู้นำชุมชน 2) วางโครงการลดมลพษิ สง่ิ แวดล้อมในบ้าน รว่ มกบั ชมุ ชนวดั รงั สิต ตำบลหลกั หก อำเภอเมือง จงั หวดั ปทุมธานี ซง่ึ ในครง้ั น้ีใช้ชอื่ โครงการว่า “ปลกู ผักสลดั กินเอง สรา้ งภูมคิ ุ้มกัน ตา้ นโรค ลดมลพิษส่ิงแวดล้อม”สำหรับการวางโครงการครั้ง น้ี ไดป้ ระยกุ ต์ใชแ้ นวคดิ Learning Experience : LE มาเปน็ หลกั ในการออกแบบ 3) รูปแบบของโครงการ มลี ักษณะเปน็ แบบผสมผสาน ทั้ง onsite & online เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ COVID19 3.1 จัดประสบการณเ์ พ่อื การเรยี นรู้ แบบ onsite ในวนั ท่ี 26 ธนั วาคม 2564 : 9.00-12.00 น โดยมีกจิ กรรม การเรียนรรู้ ูปแบบต่างๆ ท้ังการอธิบายประกอบการสาธิต ฝึกปฏิบตั ิภายใต้คำแนะนำของวิทยากร การตอบ ข้อซักถาม การใหค้ ำแนะนำ ใช้สื่อชว่ ยสอนรูปแบบตา่ งๆ: clip ส่อื ของจริง แผน่ ภาพ 3.2 จัดประสบการณเ์ พอื่ การเรียนรู้ แบบ online อยา่ งต่อเนื่อง เป็นเวลา 29 วัน ตง้ั แตว่ นั ท่ี 27 ธค 64 -24 มค 2565 โดยกิจกรรมการเรยี นรู้ เน้นการให้คำแนะนำ การตอบขอ้ ซกั ถาม การให้คำแนะนำ ใช้สือ่ ชว่ ยสอน รูปภาพ ผา่ นส่อื online ส่วนที่ 3 ผลการดำเนนิ การ / การนำไปใช้ การประเมนิ โครงการ ตวั ชว้ี ดั ความสำเร็จ ค่าเปา้ หมาย เอกสารแนบรายงานโครงการ โครงการ ที่ต้ังไว้ในระบบงบ ผลท่ไี ด้ ทต่ี ้งั ไวใ้ นระบบงบ ทแ่ี นบไวใ้ น ท่ตี ้งั ไว้ในระบบงบ ภาคผนวก มีผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ (เดมิ ตง้ั ไว้ 20 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 รอ้ ยละ 100 รายชอื่ ผู้เขา้ อบรม สำเนาเอกสารรายชื่อผู้เข้า คน แตจ่ ากสถานการณโ์ รคระบาด ของกลุม่ เป้าหมายทตี่ ั้งไว้ อบรม และจากการหารอื ร่วมกับชมุ ชน เห็น ตรงกนั วา่ ควนจำนวนลงเหลอื เพียง ร้อยละ80ของผู้เข้าร่วม รอ้ ยละ 100 ภาพกิจกรรม ภาพกิจกรรมในรายงาน 10 คน เพื่อลดความเสย่ี งจาก โครงการสามารถปลูกผัก COVID19) ดูแลผักสลัดจนได้ผลผลิต บรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ ของโครงการ PDCA ปกี ารศกึ ษา 2564 |

**กรณี โครงการทปี่ ระเมินจากแบบสอบถาม/แบบสำรวจ 1. จำนวนผเู้ ขา้ ร่วมโครงการตามท่ตี ้งั ในระบบ...20...คน เพอ่ื ลดความเสีย่ งจาก สถานการณ์ COVID19 จึงต้องปรบั จำนวน กลุม่ เปา้ หมายเหลอื เพียง 10 คน 2. จำนวนผู้ตอบแบบประเมิน...................................10..................คน 3. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการทีเ่ ลอื ก 5 (มากทสี่ ดุ ) และ 4 (มาก)… 7 คนจากผู้ตอบ 8 คน (คิดเปน็ ร้อยละ 87.5) ตวั ช้วี ัดความสำเรจ็ คา่ เปา้ หมาย เอกสารแนบรายงานโครงการ โครงการ ทีต่ ้งั ไว้ในระบบงบ ผลท่ไี ด้ ที่ตง้ั ไวใ้ นระบบงบ ที่แนบไวใ้ นภาคผนวก ที่ต้ังไว้ในระบบงบ 1.ผเู้ ข้ารว่ มโครงการ 1. ร้อยละ 80 ของ รอ้ ยละ 80 ของ 1. ผลประเมนิ จากผเู้ ขา้ ร่วม 1. ผลประเมนิ จากผเู้ ขา้ ร่วม ได้รับประโยชนจ์ าก ผูต้ อบแบบประเมนิ ผู้ตอบแบบ โครงการ (ตอบแบบประเมิน โครงการ (ตอบแบบประเมนิ โครงการอยู่ในระดบั ดี ประเมิน ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 ของ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของ หรอื มากขน้ึ ไป กลุ่มเปา้ หมายผู้ใช้ประโยชน์) กลมุ่ เป้าหมายผู้ใชป้ ระโยชน์ 2. จำนวนผ้เู ข้าร่วม 2. รอ้ ยละ 80 ของ รอ้ ยละ 100 ของ 2. เอกสารลงชื่อผู้เขา้ ร่วม สำเนาเอกสารรายชื่อผ็เขา้ โครงการ โครงการ รว่ มโครงการ กลมุ่ เปา้ หมาย กลมุ่ เปา้ หมาย สว่ นท่ี 4 การตรวจสอบผลการดำเนนิ การ/ อภิปรายความสำเรจ็ หรอื ไม่สำเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ ผลดำเนนิ งานการวิเคราะหส์ ภาวะการณป์ ญั หาสิง่ แวดลอ้ มชมุ ชนร่วมกับชมุ ชน ผลการวิเคราะหส์ ภาพปัญหาส่ิงแวดลอ้ มร่วมกับชุมชนวดั รงั สิตในโครงการส่ิงแวดลอ้ มศกึ ษาเพอื่ การพัฒนาชมุ ชน ช่วงต้น ปี 2564 พบปญั หาส่ิงแวดลอ้ มทส่ี ่งผลกระทบต่อสขุ ภาวะของคนในชุมชนหลากหลายลกั ษณะ ภายหลังการประชมุ ร่วมกบั ชุมชน ได้ข้อสรุปวา่ ทางชมุ ชนมคี วามประสงค์ให้จดั ประสบการณเ์ พ่อื การเรยี นรู้สิ่งแวดลอ้ มท่ีเก่ยี วกบั ปัญหา สงิ่ แวดล้อมในบา้ นพักอาศยั ผลการวางโครงการที่สอดคลอ้ งกบั ความต้องการและสถานการณโ์ รคระบาด จากสถานการณ์การเกิดโรคระบาด COVID 19 ที่ยังยากต่อการควบคุม ได้ส่งผลต่อกระทบต่อการดำเนินชีวิตของ คนในชุมชน ท้ังความกังวลต่อการเกิดโรค ข้อจำกัดในการประกอบอาชีพ และความต้องการในการดูแลสุขภาวะเพ่ือรับมือ กบั สถานการณ์โรคระบาดดังกลา่ ว จงึ ไดห้ ารือร่วมกับผู้นำชุมชนรอบที่ 2 เพ่ือจัดกจิ กรรมที่สอดคล้องกับสถานการณ์ โดยได้ ข้อสรปุ ร่วมกันว่าทาง ชมุ ชนมีความต้องการท่จี ะพัฒนาทกั ษะการปลกู พืช โดยเริม่ จากการปลูกไวก้ นิ เอง เพ่อื ลดค่าใช้จา่ ยใน ครัวเรือน ลดความเส่ียงใน การบริโภคพืชผักท่ีปนเปื้อนสารเคมี อีกทั้งพืชผักหลากหลายชนิดมีสรรพคุณเสริมสร้างภูมิ ต้านทานโรค ซึ่งหากสมาชิกในชุมชนมีทักษะการปลูกพืชไว้กินเองได้ ก็จะเป็นทางเลือกหนึ่งท่ีช่วยให้คนในชุมชนสามารถ ดูแลสุขภาวะแบบง่ายๆได้ด้วยตนเอง และ ประการสำคัญ ทางชุมชนมีแนวคิดที่ฝึกทักษะการปลูกพืช เพื่อต่อยอดจนเป็น PDCA ปกี ารศกึ ษา 2564 |

อาชีพในอนาคต ซ่ึงในคร้ังน้ีชุมชนมีความประสงค์ที่ จะเรียนรู้ถึงองค์ความรู้ในการ “ปลูกผัดสลัด” และการทำ “น้ำสลัด สูตรตา่ งๆ” จึงได้วางโครงการจดั อบรม “ปลูกผกั กนิ เอง สร้าง ภมู คิ มุ้ กัน ตา้ นโรค ลดมลพษิ สง่ิ แวดล้อม” ขนึ้ ในคร้งั นี้ อย่างไรก็ตามแม้ว่าสถานการณ์ COVID 19 ในปัจจุบัน ทำให้การวางโครงการเพ่ือถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน เป็น สถานการณ์ท่ีทำได้อย่างยากลำบาก ในคร้ังนี้จึงได้ใช้ Learning Experience : LE (แนวคิดของศาสตราจารย์ Ralph W. Tyler) เป็นเครื่องมือสำหรับวางโครงการ และออกแบบการจัดสถานการณ์การเรียนรู้ โดยได้นำองค์ความรู้ด้านส่ิงแวดล้อม การเกษตร วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และวทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน โดยเฉพาะองค์ความรู้ทางชีววิทยา ถ่ายทอดสู่ชุมชนเพื่อให้ คนในชุมชนมีความเข้าใจถึงสิ่งแวดล้อมการเกษตรท่ีส่งผลให้สามารถทำการเกษตร(ในที่น้ีคือการปลูกพืช) ได้สำเร็จ ด้วย ตนเอง การวางโครงการคร้ังนี้ได้ขอความอนุเคราะห์จากผู้มีประสบการณ์ด้านต่างๆเข้าร่วมเป็นวิทยากรของโครงการ ประกอบด้วย ผศ ณิชกานต์ กลิ่นกสุ ุม อาจารย์ประจำภาควิชาชวี วิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ ผซู้ ึ่งมปี ระสบการณ์ตรงในการใช้ ความรู้ทางชีววิทยา เพ่ือค้นสิ่งแวดล้อมการเกษตรท่ีเหมาะสมในการปลูกพืชชนิดต่างๆ อีกทั้งยังเป็นวิทยากรหลักของ โครงการ อนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อันเน่อื งมาจากพระราชดำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (10 ปี) รว่ ม เป็นวิทยากรหลักในการฝึกอบรม ดร.อินทิรา แถมพยัคฆ์ ผู้มีประสบการณ์การทำงานในชุมชนตำบลหลักหกเป็นผู้ ประสานงานหลักกับชุมชนในสถานการณ์ที่ยากลำบากจาก COVID19 นอกจากนั้นยังได้รับความอนเุ คราะห์จากผศ.ดร.อติ รัฐ มากสุวรรณ และอาจารย์วราพล เกษมสันต์ อาจารย์ประจำ หลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อมการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ผู้มีประสบการณ์ตรงด้านสิ่งแวดล้อมการเกษตร และด้าน Learning Experience : LE มาร่วมวางโครงการคร้งั นด้ี ว้ ย PDCA ปีการศกึ ษา 2564 |

ภาพ บรรายากาศการอบรม onsite ฝึกทกั ษะการปลูกผกั สลดั สาธิตการทาน้าสลดั สูตรต่างๆ PDCA ปกี ารศกึ ษา 2564 |

ภาพ บรรยากาศ (บางส่วน) ของการอบรม online ผา่ น สว่ นท่ี 5 สรุปผลการดำเนนิ การ/ ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงในอนาคต - ข้อเสนอแนะในการดำเนนิ งานคร้ังก่อน (ถา้ มี) ชมุ ชนเสนอให้จดั ประสบการณ์เพอ่ื การเรียนรู้ เรอ่ื ง มลพษิ ส่งิ แวดล้อมในครัวเรอื น ใหห้ ลากหลายมากขน้ึ เพ่ือเปน็ แนวทางในการลดมลพิษทางสง่ิ แวดลอ้ มในครวั เรอื นต่อไป - ส่ิงทีไ่ ดด้ ำเนนิ การแกไ้ ข / ปรบั ปรุงตามข้อเสนอแนะครง้ั ก่อน ผลจากข้อเสนอแนะของชุมชนข้างต้น จึงได้วางโครงการประสบการณ์เพ่ือการเรียนรู้ มลพิษส่ิงแวดล้อม ในบ้านให้กับชุมชนวัดรังสิต ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี ต่อเน่ืองจากปีที่ผ่านมา โดยในปีน้ีเน้นการเพิ่ม ทักษะปลูกผักไว้กินเอง เพื่อลดความเสี่ยงการบริโภคผักปนเปื้อนสารพิษ อีกท้ังสร้างภูมิต้านโรค เป็นจุดเร่ิมของการสร้าง จติ สำนึกสาธารณะในการป้องกนั แก้ไข และปกปกั รักษาสิง่ แวดล้อมของชมุ ชน - ผลการประเมนิ ในคราวนี้ ผลการประเมนิ การอบรม onsite (26 ธันวาคม 2564 เวลา 9.00-12.00 น) พบว่า 1) ผู้เข้าอบรม รอ้ ยละ 100 (จำนวน 10 คน) สามารถเพาะเมล็ดผักสลัดได้อยา่ งถกู ตอ้ งตามขน้ั ตอนที่กำหนด 2) ผู้เขา้ อบรม ร้อยละ 100 (จำนวน 10 คน) สามารถย้ายต้นกลา้ ผักสลัดลงกระถางไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งตามขน้ั ตอนท่ี กำหนด PDCA ปกี ารศกึ ษา 2564 |

3) หลงั เสรจ็ สนิ้ การจัดอบรมการอบรม onsite (26 ธนั วาคม 2564)ได้สอบถามความคดิ เห็นผเู้ ขา้ รบั การอบรม จำนวน 8 คน จาก 10 คน (2 คน ตดิ ภารกจิ จึงไม่ไดต้ อบแบบสอบถาม) เกยี่ วกบั ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั จากก่ ารอบคร้งั น้ี รอ้ ยละ 87.5 ได้รบั ประโยชนใ์ นระดบั มากท่ีสดุ ขณะท่รี ้อยละ 12.5 ไดร้ ับประโยชนใ์ นระดับมาก ขณะทรี่ ้อยละ 50 ระบวุ า่ หลงั จาก ได้เรียนรแู้ ละฝึกปลูกผกั สลัดไว้กินเองแลว้ จะเรมิ่ ฝกึ ปลูกผกั สลัดไว้บริโภคเองจนชำนาญเพ่ือปลกู ไวข้ ายตอ่ ไป และมี เพยี งรอ้ ยละ 20 เท่านัน้ ที่ ระบวุ ่า หลังจากได้เรียนรู้และฝกึ ปลูกผักสลดั ไว้กนิ เองแล้ว ต้องทดลองปลกู ผกั สลัดใหค้ รบวงจร ก่อน จึงจะตัดสนิ ใจไดว้ า่ จะนำสง่ิ ทีไ่ ด้เรียนรูไ้ ปปรับใช้กับสงิ่ ใด ส่วนกลมุ่ ผเู้ ข้าอบรมถงึ ร้อยละ 87.5 ระบวุ ่า หลงั จากได้ เรียนรูแ้ ละฝึกปลูกผักสลัด จะปรับใชใ้ นการประกอบอาชีพตอ่ ไป สำหรบั อปุ สรรคหรือปัญหาในการทำงาน ในการอบรม onsite ครั้งน้ี ไมพ่ บอุปสรรคใดๆ ผ้เู ขา้ อบรมให้ความ สนใจ ใส่ใจลงมอื ปฏบิ ัตติ ามคำแนะนำของวิทยากรอย่างเต็มที่ การประเมินผลการอบรม online ( วนั ท่ี 27 ธค 64 -24 มค 65 : 29 วนั ) พบวา่ สมาชิกผ้เู ข้ารับการอบรมช่วยกนั อยดู่ แู ลผักสลดั ทย่ี า้ ยลงกระถางทกุ ต้น และดูแลเมลด็ ผักสลดั ท่ีเพาะไว้ 3 ถาด ภายใตค้ ำแนะนำของวทิ ยากร โดยรายงานผลทกุ วนั (29 วนั ) อย่างต่อเน่ืองผ่าน line application ผลจากการดแู ลตน้ ผกั สลัดและ ถาดเพาะเมลด็ ผักสลดั พบวา่ 1. ผเู้ ข้าอบรมช่วยกนั ดูแลผกั สลัดทีย่ า้ ยลงกระถางทุกตน้ จนสามารถเกบ็ เกยี่ วผลผลิตได้ และสามารถดูแลผกั สลดั จนได้ ผลผลิตทม่ี คี ณุ ภาพดี (ไม่มรี สขม) . 2. ผเู้ ขา้ อบรมชว่ ยกนั ดูแล เมล็ดผักสลัดที่เพาะ จนสามารถยา้ ยต้นกล้าลงสู่กระถาง ไดส้ ำเร็จ จากประสบการณใ์ นการดแู ลผักสลัดทที่ ำ การเพาะกล้า และผกั สลัดทเ่ี มล็ดพนั ธย์ุ ้ายลง กระถาง ครบ 29 วัน จนเกบ็ สามารถเกบ็ ผลผลติ ท่มี ีคุณภาพดไี ดแ้ ลว้ ส่งผลให้ชมุ ชนสามารถสรปุ ผลได้ดว้ ยตนเองวา่ สงิ่ แวดลอ้ มการเกษตรท่ีทำ ให้ปลูกผกั สลดั ได้สำเรจ็ และได้ผักสลัดทม่ี ี คุณภาพ คือ อะไร และได้เริ่มวาง แผนการ ทดลองทางการเกษตรแบบง่ายๆ เพื่อค้นหา นวัตกรรมท่จี ะชว่ ยให้การ ปลกู ผกั สลดั ที่สะดวก ขึ้น ง่ายขน้ึ แลว้ รวมถึงทดลองคัดเลือก ต้นผกั สลดั สำหรบั เพาะเมลด็ พนั ธ์ ซ่ึงได้รับแจ้งทาง ชมุ ชนเมื่อวนั ท่ี 15 มนี าคม 2565 ว่ากำลงั จะได้ เมล็ดพนั ธุ๋ผักเพอื่ ทำการทดลองปลูกผกั สลัดใน รอบตอ่ ไป ดังภาพ PDCA ปีการศึกษา 2564 |

ในการอบรม online คร้งั นี้ ไม่พบอปุ สรรคใดๆ ผเู้ ขา้ อบรมให้ความสนใจ ใสใ่ จปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำของ วิทยากร และทำการรายงานผลอย่างต่อเน่ืองทกุ วัน การตรวจสอบผลการดำเนนิ การ การนำเสนอประสบการณ์การนำไปใช ส้ รปุ และอภปิ รายผล บทสรุปความรู้ หรือความรู้ที่คน้ พบใหม่ จากวตั ถุประสงค์การวางโครงการจัดอบรม“ปลูกผักกินเอง สร้างภมู ิคมุ้ กนั ตา้ นโรค ลดมลพิษสง่ิ แวดลอ้ ม” เพ่อื ใหผ้ ู้เข้ารับการอบรมมีทกั ษะ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1.สามารถเพาะเมล็ดผกั สลดั ได้ 2.สามารถยา้ ยตน้ กลา้ ลงกระถางได้ 3 สามารถดแู ลการเพาะเมล็ด ผักสลัดให้ เติบโตได้ และดแู ลต้นกลา้ ผักสลดั ทยี่ า้ ยลงกระถางๆ ไดส้ ำเรจ็ จนได้ผลผลติ ทมี่ ีคณุ ภาพดี และ4) เรยี นรกู้ ารผลติ นำ้ สลดั สตู รตา่ งๆ ซ่งึ จากการประเมินผลจะเห็นไดว้ า่ ผเู้ ขา้ รับการอบรมทุกคน สามารถเพาะเมล็ดผักสลัดได้ สามารถยา้ ยตน้ กลา้ ลงกระถางได้ สามารถดแู ลการเพาะเมลด็ ผกั สลดั ให้เตบิ โตได้ และดูแลต้นกลา้ ผกั สลดั ที่ย้ายลงกระถางได้สำเรจ็ จน ได้ผลผลิต และสามารถปลูกสลัดทีม่ คี ณุ ภาพดไี ว้กนิ เองได้ อีกทั้งยังเกดิ ความเขา้ ใจถงึ ส่ิงแวดลอ้ มการเกษตรที่ เหมาะสมในการปลูกผักสลัด รวมทัง้ ยังไดเ้ ริ่มวางแผนการทดลองทางการเกษตรแบบงา่ ยๆทส่ี ามารถทำได้ดว้ ย ตนเอง ตลอดจนมีความมงุ่ มนั่ ท่ีจะผลติ เมลด็ พันธผุ์ กั สลดั ให้ไดด้ ว้ ยตนเอง นอกจากนนั้ ยงั พบอีกวา่ สมาชกิ ในชมุ ชนบางรายสามารถนำความรจู้ ากประสบการณต์ รงจากการปลกู และดแู ล ผักสลดั ไปประยุกต์ใชกับการปลูกตน้ ไม้ ชนดิ อ่นื ๆ เช่น นำไประยกุ ตใ์ ชก้ บั การปลูกตน้ กระท่อม เปน็ ตน้ และประการ สุดท้ายหลงั จากผูเ้ ข้ารบั การอบรมได้เรียนรเู้ ทคนคิ การ ทำและได้ทดลองชมิ น้ำสลดั สตู รตา่ งๆ พบว่า รอ้ ยละ 87.5 ระบุ วา่ จะนำสตู รน้ำสลัดทไี่ ด้เรียนรูไ้ ปทดลองทำ และปรบั ใชใ้ นการประกอบอาชพี ต่อไป จากผลขา้ งตน้ หากพจิ ารณาตามทฤษฎกี ารยอมรบั นวัตกรรมแล้ว กล่าวไดว้ ่า ผลการจัดกจิ กรรมคร้งั น้ี นอกจากจะบรรลุตามวตั ถุประสงค์ของโครงการแล้ว ผ้เู ขา้ รับการอบรมไดเ้ กดิ การยอมรับนวตั กรรมและนำความรู้ไป ใช้จรงิ ซ่งึ ถือเปน็ ขน้ั สูงสดุ ของกระบวนการยอมรับนวัตกรรม (adoption process) อกี ด้วย ขอ้ เสนอแนะในการดำเนนิ การในอนาคตหรือการดำเนนิ การเพ่ือสามารถนำไปสู่การเปน็ Good Practice * รปู แบบการวางโครงการทีอ่ อกแบบโดยใช้ “Learning Experience : LE” ท่ีพัฒนาข้ึนในการบริการวิชาครงั้ นี้ จัดเป็นนวัตกรรม (innovation) ดงั นน้ั สงิ่ ท่ีจะดำเนนิ การต่อ คือ การนำรปู แบบการวางโครงการท่อี อกแบบโดยใช้ “Learning Experience : LE” ในการวางโครงการกบั ชมุ ชนรปู แบบอื่นๆ ท้ังในสถานการณ์ปกตแิ ละสถานการณท์ ี่ไม่ ปกติ (สถานการณก์ ารเกดิ โรคระบาด COVID 19) ซ่ึงจะนำไปสู่การวจิ ัยและพฒั นา (R&D research) การวางโครงการ ในลำดบั ต่อไป ซ่ึงผลจากการวิจัยและพฒั นา จะเป็น จดุ เร่ิมต้นที่จะนำไปสกู่ ารพสิ ูจน์ว่าเปน็ Good Practice หรือไม่ ในทา้ ยทีส่ ดุ PDCA ปกี ารศกึ ษา 2564 |

ผลลพั ธ์การพฒั นาและความเขม้ แข็งที่เกดิ กับกลมุ่ ผูร้ บั บรกิ าร (แยกตามกลุ่มผ้รู บั บริการ) 1. กลุ่มผู้เข้าอบรมครัง้ น้ี มีทักษะในการปลูกผกั เปน็ อาหารในครัวเรอื นได้ เกดิ การเรียนรู้และสามารถตอ่ ยอดใน การปลูกพืชตา่ งๆ ทำใหม้ ีโอกาสลดความเส่ียงในการลดการบริโภคผักท่ปี นเปื้อนสารเคมที างการเกษตรได้ 2. กล่มุ ผู้เขา้ อบรมครง้ั น้ี มองเหน็ โอกาสในการประกอบอาชีพจากทักษะการปลูกผกั ไว้กินเอง ดงั จะเหน็ ได้จาก มีผู้ เขา้ อบรมถงึ ร้อยละ 87.5 ระบุว่า หลังจากไดเ้ รยี นรู้และฝกึ ปลูกผักสลัด จะปรบั ใชใ้ นการประกอบอาชพี ตอ่ ไป 3. เกดิ เครือข่ายความรว่ มมือของชุมชนวัดรังสติ กบั ทีมวทิ ยากรท้งั จากมหาวิทยาลยั รังสิตและสถาบนั เทคโนโลยี ปทมุ วนั เพือ่ พัฒนาและสรา้ งนวตั กรรม ลดปญั หาและผลกระทบจากมลพษิ สิ่งแวดลอ้ มในครัวเรอื นในมติ ิตา่ งๆ ทง้ั ด้านการจัดการ และการสร้างเครอ่ื งมอื ที่เหมาะสมกบั ชมุ ชนในอนาคต สำหรบั อปุ สรรคหรือปัญหาในการทำงาน ในการอบรม onsite คร้ังน้ี ไมพ่ บอุปสรรคใดๆ ผู้เขา้ อบรมใหค้ วามสนใจ ใส่ใจลงมือปฏิบัตติ ามคำแนะนำของวิทยากรอยา่ งเตม็ ที่ ดงั จะเห็นได้จาก ผู้เข้ารับการอบรมมีการรายงานผลการดแู ลผกั สลัดอยา่ งตอ่ เน่อื งถึง 24 วนั และปฏิบตั ติ ามคำแนะนำจากวทิ ยากรทีใ่ หค้ ำแนะนำอย่างต่อเนอื่ งเชน่ ผลการประเมนิ วิทยากร พบวา่ ผู้รบั การอบรมรอ้ ยละ 100 เห็นว่า วทิ ยากรอธิบายและตอบคำถามขอ้ สงสัยในทกุ เรื่องท่เี ข้าใจได้งา่ ย (ดัง กราฟ) การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ในครัง้ น้ี จึงทำให้ ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมทุกคน สามารถเรียนรู้และสามารถเพ่ิมทกั ษะการ ปลูกผักไว้กนิ เองได้ PDCA ปกี ารศึกษา 2564 |

นอกจากนน้ั ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมในครง้ั นี้ (ผู้นำชมุ ชน) เหน็ วา่ การจดั ประสบการณ์เพ่อื การเรียนรู้ รปู แบบนเ้ี พ่ือขยาย ผล เพราะประโยชน์ท่ีเกิดขึน้ นอกจากช่วยลดปัญหาและผลกระทสง่ิ แวดลอ้ มแลว ยังทำให้เกิดอาชพี กบั ชมุ ชนอกี ด้วย ดงั ภาพ ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ (กรณีทเ่ี ปน็ โครงการบริการวชิ าการ ระดับมหาวิทยาลยั ) (ใหร้ ะบุรายช่อื อาจารยท์ เ่ี ขา้ รว่ มโครงการ และต้องไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 5 ของจำนวนอาจารยท์ ้ังหมดในวทิ ยาลยั / คณะ/สถาบนั ) *หมายเหตุ ทางคณะสามารถเพ่ิมเตมิ ข้อมูลอนื่ ๆไดต้ ามความเหมาะสม PDCA ปีการศกึ ษา 2564 |

ภาคผนวก PDCA ปกี ารศึกษา 2564 |

PDCA ปกี ารศกึ ษา 2564 |


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook