Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore LE2 การสร้างประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้สิ่งแวดล้อม

LE2 การสร้างประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้สิ่งแวดล้อม

Published by lawanwijarn4, 2021-12-31 03:46:48

Description: LE2 การสร้างประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้สิ่งแวดล้อม

Search

Read the Text Version

45 หลักการ ต้อง ปฏบิ ัตติ าม ปฏบิ ัติ จน ทำได้

46 สถานการณก์ ารเรยี นรู้ สถานการณก์ ารเรยี นรู้ (learning situation) มาจากคำ2 คำ คือคำวา่ “สถานการณ์” และคำ ว่า “การเรียนร”ู้ คำวา่ “สถานการณ”์ ตามพจนานกุ รม ฉบบั เฉลิมพระเกยี รติ พ.ศ.2530 ให้ความหมายไวว้ ่า คือ“เหตุการณท์ กี่ ำลงั เปน็ ไป” ส่วนคำว่า“การเรยี นรู้” ซง่ึ หมายถึง“การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม” ดังน้ันถ้าพูดถงึ ว่า ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ จงึ หมายถึง ผูเ้ รยี นคนนน้ั ไดเ้ กิดการเปล่ียนแปลง พฤตกิ รรมขนึ้ ในตวั ของผู้เรียนเอง” ดงั น้ันสถานการณ์การเรียนรู้ จงึ หมายถึง การท่ีผู้เรยี นเกิดการเรยี นรูข้ ้ึนในเหตุการณ์ท่ีกำลัง เป็นไปด้วยตนเอง ตัวอย่างเช่น ครจู ะสอนใหน้ กั เรียนในโรงเรยี นบนดอยทางภาคเหนือของอำเภอ อมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ได้เรียนรู้ถึงความหมายของคำว่า“ทะเล” ซึ่งครูอาจสร้างสถานการณไ์ ด้ หลายกรณี สมมุติวา่ กรณที ่ี 1 ครูอธิบายความหมายของคำวา่ “ทะเล”โดยการบรรยาย กรณีท่ี 2 ครูใชภ้ าพทะเลประกอบการบรรยายความหมายของคำว่า“ทะเล” กรณีที่ 3 ครพู านักเรยี นไปทัศนศกึ ษาชายทะเลบางแสน และใหน้ กั เรยี นลงเลน่ นำ้ ทะเล จะเห็นไดว้ ่าสถานการณ์ในกรณีที่ 3 ครูพานกั เรยี นไปทศั นศกึ ษาชายทะเล และให้นักเรียนลง เลน่ นำ้ ทะเล นกั เรยี นจะเกิดการเรียนรู้ไดด้ ้วยตนเองว่าทะเลนนั้ กว้างใหญ่สุดสายตา และน้ำทะเล ก็มีรสเค็มมาก ซึ่งแสดงว่านักเรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ (interaction: การกระทำระหว่างกัน)กับ สถานการณ์ที่ผู้สอนสร้างขึ้น คือ การได้ลงไปเล่นน้ำทะเล ดังนั้นนักเรียนจึงมีปฏิสัมพันธ์กับ สถานการณ์จริง คือทะเลซึ่งเป็นวัตถุประสงค์การสอนของครู ซึ่งต้องการให้นักเรียนได้เรียนรู้ เนอ้ื หาความร้ขู องความหมายของคำว่า“ทะเล” จากตวั อย่างสถานการณ์ในกรณีท่ี 3 สามารถสรุปเป็นความหมายของสถานการณ์การเรียนรู้ ได้ว่า สถานการณ์การเรียนรู้ หมายถึง ปฏิสัมพันธ์(interaction) ของผู้เรียนที่มีต่อกิจกรรมการ เรียนรทู้ ผ่ี สู้ อนสร้างข้ึนเก่ยี วกับเนื้อหาความรนู้ นั้ ๆ ดว้ ยตวั ของผู้เรียนเอง

47 สำหรับสถานการณ์ในกรณีที่ 1 และ 2 นั้น จะเห็นได้ว่าไม่มีปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียนกับสิ่งที่ ผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ผู้เรียนจึงยังไม่เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองว่า แท้จริงแล้ว “ทะเล”มีลกั ษณะอยา่ งไร สถานการณก์ ารเรยี นรู้จำแนกออกเป็น 2 สว่ น ได้แก่ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้สอนสร้างขึ้นและ กิจกรรมทีผ่ เู้ รยี นกระทำ(ลาวณั ย์, 2559) 1. กิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้สอนสร้างขึ้น คือ กิจกรรมที่ผู้สอนแสดงออกในเนื้อหาความรู้ท่ี ต้องการใหผ้ เู้ รยี นได้เรียนรู้ เช่น ผ้สู อนอธิบายและสาธติ ขัน้ ตอนการตรวจวดั คุณภาพนำ้ ใหผ้ ู้เรยี นดู ภาพท่ี 5 ผูส้ อนอธิบายและสาธิตข้นั ตอนการตรวจวดั คณุ ภาพนำ้ ใหผ้ เู้ รยี นดู ทม่ี า: ลาวัณย์ วิจารณ.์ และแอนจริ า เจรญิ วงศ์ (2556)

48 2. กิจกรรมทผี่ เู้ รยี นกระทำ คอื กิจกรรมทีผ่ ูส้ อนกำหนดใหผ้ ู้เรียนมีปฏิสมั พนั ธก์ ับกิจกรรมท่ี ผสู้ อนสรา้ งขน้ึ ตวั อยา่ งเชน่ ผสู้ อนกำหนดให้ผู้เรียนทำการตรวจวดั คุณภาพน้ำตามข้นั ตอนท่ีผู้สอน ได้สาธิต การที่ผู้เรียนได้ลงมือทำการตรวจวัดคุณภาพน้ำตามขั้นตอนทีผ่ ู้สอนสาธิตให้ดนู ้ัน ก็คือ การมปี ฏิสมั พันธ์ (interaction) กบั สถานการณท์ ผี่ ู้สอนสร้างขึ้น ภาพท่ี 6 ผู้เรยี นลงมือทำการตรวจวดั คณุ ภาพนำ้ ตามขน้ั ตอนทีผ่ สู้ อนสาธติ ใหด้ ู ที่มา: ลาวัณย์ วิจารณ์และแอนจิรา เจรญิ วงศ์ (2556) สถานการณ์การเรียนรู้ท่ีผู้สอนสรา้ งขนึ้ ทงั้ กจิ กรรมการเรียนรทู ี่ผู้สอนสร้างขึ้นและกิจกรรมท่ี ผู้เรยี นกระทำจะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั “วัตถปุ ระสงคก์ ารสอน”ท่ีผสู้ อนได้กำหนดไว้ ดงั น้ี 1. ถ้าวัตถุประสงคก์ ารสอนกำหนดให้เกิดพุทธิพสิ ัย กิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้สอนสร้างข้นึ ต้อง เป็นกิจกรรมที่แสดงออกในเชิงพุทธิพิสัย คือ เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทางปัญญา เช่น จำข้ันตอนการตรวจวดั คุณภาพนำ้ ได้ เปน็ ต้น

49 2. ถ้าวัตถุประสงค์การสอนกำหนดให้เกิดทักษะพิสัย กิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้สอนสร้างข้ึน ต้องเป็นกิจกรรมที่แสดงออกในเชิงทักษะ คือ เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง เช่น ลงมือ ตรวจวัดคณุ ภาพนำ้ เปน็ ตน้ 3. ถ้าวัตถุประสงค์การสอนกำหนดให้เกิดเจตพิสยั กิจกรรมการเรียนรูท้ ี่ผู้สอนสร้างขึ้นต้อง เป็นกิจกรรมที่แสดงออกในเชิงเจตพิสัย คือ เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้พัฒนาความคิด จิตใจ อารมณ์ เชน่ เกดิ ความคดิ ความเข้าใจ เห็นคณุ คา่ เหน็ ประโยชน์ (เห็นประโยชนข์ องการตรวจวัด คณุ ภาพน้ำ เป็นตน้ ) นอกจากการสร้างประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ต้องคำนึงถึงความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การ สอนแล้ว จากประสบการณ์การจัดสถานการณก์ ารเรียนรู้ของผู้เขียน พบว่า มีหลักการที่จำเป็น จะตอ้ งคำนึงถึงด้วย ไดแ้ ก่ 1. สถานการณก์ ารเรยี นรู้ที่ผู้สอนสร้างขึ้นนนั้ ตอ้ งเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นได้แสดงพฤติกรรมท่ี ระบไุ ว้ในวัตถปุ ระสงคก์ ารสอน 2. สถานการณ์การเรียนรู้ท่ผี ้สู อนสร้างข้ึนนั้นจะตอ้ งทำให้ผเู้ รยี นมคี วามพึงพอใจ 3. ผู้เรยี นจะตอ้ งมีศักยภาพพอท่จี ะปฏิบตั ติ ามสถานการณ์การเรียนรทู้ ่ีผสู้ อนสร้างขนึ้ 4. การกำหนดสถานการณ์การเรียนรู้ ผสู้ อนตอ้ งสรา้ งสถานการณ์ใหใ้ กลเ้ คียงกับเรื่องจริงที่ ผ้เู รียนจะตอ้ งกระทำใหค้ ล้ายคลึงกนั มากทีส่ ดุ 5. ผู้สอนต้องสร้างกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนกระทำสอดคล้องกับ “คำกิริยาที่บ่งชี้พฤติกรรม”ท่ี ระบุเอาไวใ้ นวตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 5.1 หากในวตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม ระบใุ หผ้ ู้เรยี นจำ กจิ กรรมการเรียนรู้ที่ผู้สอนควร สร้างขึ้น เช่น บรรยายประกอบของจรงิ และซักถามเป็นรายบุคคล สอบย่อยสั้นๆและเฉลยพรอ้ ม อธิบายซกั ถามประกอบ ฯลฯ

50 5.2 หากในวตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม ระบุให้ผเู้ รียนนำไปใช้ กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ผู้สอน ควรสร้างขึ้น เช่น บทเรียนด้วยตนเอง อภิปรายซักถาม สร้างสถานการณ์จำลองให้ผู้เรียนได้ ตัดสินใจแก้ปญั หา ฯลฯ 5.3 หากในวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ระบุให้ผู้เรียนมีเจตคติ กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี ผู้สอนควรสร้างขึ้น เช่น อภิปรายกลุ่มย่อย ซักถาม โต้วาที ระดมพลังสมอง เล่นละคร บทบาท สมมุติ ฯลฯ 5.4 หากในวตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ระบใุ หผ้ เู้ รยี นได้ความคิดรวบยอด กจิ กรรมการ เรยี นรทู้ ีผ่ ูส้ อนควรสร้างข้ึน เช่น อธิบายประกอบของจริง อภิปราย-ซักถาม ศึกษาจากของจริงด้วย ตัวของผู้เรียนเอง สรา้ งสถานการณ์ให้มกี ารจำแนก ระบุเหตผุ ล ยกตวั อยา่ ง ฯลฯ 5.5 หากในวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ระบุให้ผู้เรียนได้หลักการ/ทฤษฏี กิจกรรมการ เรยี นรทู้ ่ีผู้สอนควรสรา้ งขนึ้ เชน่ อธิบาย-สรุป ชี้แนะ การนำหลักการ/ทฤษฏไี ปใช้ การอภปิ ราย- ซกั ถาม สร้างสถานการณ์ฝกึ การนำหลักการ/ทฤษฏีไปใชแ้ กไ้ ขปญั หา ฯลฯ 5.6 หากในวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ระบุให้ผู้เรียนปฏิบัติได้ กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี ผู้สอนควรสร้างขึ้น เช่น อธิบายขั้นตอนการปฏิบัติงานประกอบของจริง สาธิตให้ฝึกปฏิบัติเป็น รายบคุ คล หรอื กลุ่มเล็กภายใตก้ ารแนะนำ ให้ฝึกปฏบิ ตั ินอกช้ันเรียนดว้ ยตนเอง ฯลฯ

51 หลกั คิด: สร้างสถานการณ์การเรยี นรู้ “หลักคดิ ”เพื่อสร้างสถานการณ์การเรียนรู้ ไดใ้ ช้แนวความคดิ จากหนงั สอื “ถอดรหสั คดิ :(Think: An Introductory Analysis) ”ของ ดร.โสภณ ธนะมยั ซึง่ ได้นำเสนอภาพโครงรา่ ง ของการเกดิ ความคดิ โดยมรี ายละเอียดดงั นี้ F1 โยง F2 ข้อเทจ็ จริงเหตใุ หค้ ดิ ผูก ข้อเทจ็ จรงิ ทีร่ ู้ T ความคิด แผนภาพที่ 9 โครงร่างแสดงการเกดิ ความคดิ จากโครงร่างแสดงการเกิดความคิด สามารถนำมาถอดรหัสได้ว่า ความคิด (T) จะเกิดขึ้นได้ จะต้องมี...ขอ้ เท็จจริงที่รู้ F2 มาก่อน เหมือนกับต้องมที นุ ความรู้เดิมท่เี กย่ี วข้องกับความคิดที่จะ เกิดขึ้น แต่การที่จะเกิดความคิดขึ้นได้นั้น จะต้องมีสาเหตุให้คิด ซึ่งก็คือ ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้อง เช่ือมโยงกบั F2 แล้วก่อให้เกิด...ความคิด (T) ขึ้นมา น่นั กค็ อื ...ขอ้ เทจ็ จริงเหตุให้คิด F1 นั้นเอง ดังตัวอย่างจากหนังสือถอดรหัสคดิ

52 F1 โยง F2 อนสุ าวรียต์ งั้ อยใู่ นสวนยาง สนุ ทรภู่ชอบนั่งชมทะเล ผูก ทา่ นสุนทรภูช่ อบนง่ั ชมทะเล อนสุ าวรยี ์ของ T ท่านกลับมาตงั้ อยูใ่ นสวนยาง (F1) จริงๆแลว้ น่าจะตงั้ อยรู่ มิ ทะเลตามความรทู้ มี่ ีอย่เู ดิมมา ก่อนแลว้ วา่ ท่านชอบนง่ั ชมทะเล(F2) จากตัวอย่างอนุสาวรีย์สุนทรภู่ สะท้อนให้เห็นว่า ในการจัดการเรียนการสอนนั้น ผู้เรียน จะตอ้ งมี F2 ก่อน คอื เนื้อหาความรเู้ ดิมของตน หรือจากการได้ความรจู้ ากผู้สอน จากน้ันผู้สอนมี หน้าท่ีต้ัง F1 ข้อเท็จจริงเหตุให้คิดให้กบั ผเู้ รียน เพ่อื ให้ผเู้ รยี นได้ใช้ F2 ข้อเท็จจริงท่ีรู้ท่ีมีอยู่เป็น ต้นทุนของการคดิ (T) เมื่อนำ“หลักคิด”จากหนังสือ“ถอดรหัสคิด” มาประยุกต์ใช้กับสถานการณ์การเรียนรู้ใน ตารางประสบการณ์เพ่ือการเรียนรู้ ทำใหก้ ารสร้างสถานการณ์การเรียนร้มู ีความเป็นเหตุเป็นผล และง่ายตอ่ การสร้าง โดยกำหนดให้ F2 เป็นหนา้ ทข่ี องผ้สู อนทีต่ ้องใหเ้ น้อื หาความรูแ้ ก่ผเู้ รียน และ กำหนดให้ F1 เป็นหน้าที่ของผูส้ อนที่ต้องกำหนดให้ผูเ้ รียนมีปฏิสมั พันธ์(interaction) กับ F2 ที่ ผ้สู อนสรา้ งข้ึน ซึง่ จะกอ่ ให้เกิด“ความคดิ ”ขน้ึ ในตวั ผเู้ รยี น ผู้เขียนได้นำ“หลักคิด”ข้างต้น มาใช้ในการจัดสถานการณก์ ารเรยี นรู้ เรื่อง “แมลงในแปลง นาข้าว สำหรับนักเรียนในโครงการอาชวี ศึกษาเพื่อการพัฒนาชนบท(อศ.กช.) ของวิทยาลัย

53 เกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี กลุ่มข้าวอำเภอบ้านลาด อำเภอบ้านแหลม และอำเภอเขาย้อย จงั หวัดเพชรบุรี มาใชใ้ นการจัดสถานการณก์ ารเรยี นรู้ สถานการณ์การเรยี นรู้ เรอ่ื ง“แมลงในแปลงนาขา้ ว” ประกอบดว้ ย 4 สถานการณก์ ารเรียนรู้ ยอ่ ย ดังนี้ สถานการณ์การเรยี นรู้ ท่ี 1 1. ข้อเทจ็ จริงที่รู้ (F2) คือ แมลงในแปลงนาขา้ ว จังหวัดเพชรบุรี (เน่ืองจากผ้เู รยี นเป็นชาวนา จึงคาดว่ามี F2 อยู่แล้ว แต่ถ้าผู้เรียนไม่ใช่ชาวนา ต้องให้เนื้อหาความรู้แมลงในแปลงนาข้าวแก่ ผู้เรียนกอ่ น ) 2. กำหนดข้อเท็จจริงเหตุใหค้ ดิ (F1) คอื ใหด้ ูภาพแมลง จำนวน 21 ตวั แล้วถามว่า “ แมลง ตวั ใดเป็นแมลงในแปลงนาขา้ ว” 3. ความคิด (T) คือ ผ้เู รียนหยิบภาพแมลงทค่ี ดิ วา่ เป็น “แมลงในแปลงนาขา้ ว ใสซ่ อง” จากภาพแมลง 21 ตวั ตัวใดเปน็ แมลงในแปลงนาข้าว ? แมลงในแปลงนาขา้ ว ใน จ.เพชรบุรี หยิบภาพแมลงทค่ี ิดวา่ “เปน็ แมลงในแปลงนาข้าว”ใสซ่ อง

54 ภาพที่ 7 สถานการณ์การเรียนรู้ เรอื่ ง “แมลงในปลงนาข้าว” ส่วนที่ 1 สถานการณก์ ารเรยี นรู้ สว่ นท่ี 2 1. ข้อเทจ็ จรงิ ทรี่ ู้ (F2) ภาพแมลงในแปลงนาข้าวท่ีผู้เรยี นจำได้จากสว่ นที่ 1 2. กำหนดขอ้ เทจ็ จริงเหตใุ ห้คิด (F1) ใหต้ อบคำถามวา่ “จาก F2 แมลงตัวใดเปน็ “แมลงดี” และ “แมลงร้าย” ในแปลงนาขา้ ว? 3. ความคดิ (T) คอื ผเู้ รยี นหยบิ ภาพแมลงดใี ส่ซองแมลงดี และหยิบภาพแมลงร้าย ใส่ซองแมลงรา้ ย จากภาพแมลง 21 ตวั ตวั ใดเป็น “แมลงในแปลงนาข้าว” ? จาก F2 ให้เลอื ก“แมลงดี” ใส่ซองแมลงดี และเลอื ก “แมลงร้าย” ใส่ซองแมลงร้าย

55 ภาพท่ี 8 สถานการณ์การเรยี นรู้ เร่อื ง “แมลงในปลงนาขา้ ว” ส่วนที่ 2 สถานการณ์การเรยี นรู้ สว่ นที่ 3 1. ข้อเทจ็ จรงิ ท่ีรู้ (F2) คือ ภาพคู่กัด “แมลงดกี บั แมลงรา้ ย” 2. กำหนดข้อเท็จจรงิ เหตุใหค้ ิด (F1) ให้ผู้เรียนดูภาพ F2 แล้วตอบคำถามว่า“แมลงดีตวั ใด เป็นคู่กดั กบั แมลงรา้ ย” 3. ความคิด (T) คือ ผเู้ รียนดภู าพ F2 แลว้ เลอื ก “ค่กู ดั แมลงดีกับแมลงร้าย”ทถี่ ูกต้อง คกู่ ดั “แมลงดีกบั แมลงรา้ ย” จาก F2 “แมลงดตี วั ใด เป็นคกู่ ดั ของแมลง

56 ภาพท่ี 9 สถานการณ์การเรยี นรู้ เร่อื ง “แมลงในปลงนาขา้ ว” ส่วนที่ 3 สถานการณก์ ารเรียนรู้ ส่วนที่ 4 1. ข้อเท็จจรงิ ทร่ี ู้(F2) คอื ผ้เู รยี นรู้ว่า“แมลงดีตัวใดเปน็ คู่กัดของแมลงรา้ ย”

57 2. กำหนดข้อเท็จจริงเหตุให้คิด (F1) ให้ผู้เรียนรวมกลุ่ม ระดมความคิดและนำเสนอ ว่า “การเรียนรู้ เรื่อง แมลงในแปลงนาข้าว”เป็นประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพการทำนา อย่างไร 3 ความคดิ (T) คอื ผู้เรียนเขยี นและนำเสนอประโยชนจ์ ากการเรียนรู้ เรอ่ื ง “แมลงในแปลง นาข้าวต่ออาชีพการทำนา” ร้วู ่า“แมลงดีตวั ใดเป็นคกู่ ดั ของแมลงรา้ ย” การเรยี นรเู้ ร่อื ง “แมลงในแปลงนา ขา้ ว”เป็นประโยชน์ต่อ อาชีพทำนาอยา่ ไร ? ผเู้ รยี นเขยี นและนาเสนอ ประโยชนข์ องการเรยี นรูเ้ รื่อ ง“แมลงในแปลงนาขา้ ว”ที่มตี ่อการประกอบอาชีพทานา” ภาพท่ี 10 สถานการณ์การเรยี นรู้ เร่อื ง “แมลงในปลงนาข้าว” สว่ นท่ี 4

58 ส่ือชว่ ยสอน ในสถานการณ์การเรียนรู้นั้น ผู้สอนได้กำหนดสื่อช่วยสอน(instructional media) ว่าส่ือ อะไรบ้างท่ีจะใช้ในการช่วยสอนเนื้อหาความรู้ทต่ี ้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ ช่วงเวลาก่อนที่ จะมีเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทในการสื่อสาร เครื่องช่วยสอนของครูหรือนักส่งเสริม การเกษตรที่ใช้ในการสอน การเผยแพร่ความรู้ เรียกว่า “โสตทัศนูปกรณ์”หรือ“โสตทัศน อุปกรณ์”(audio-visual aids) คือ สิ่งท่ีมองเห็นได้ สิ่งที่ได้ยินเสียง(บุญธรรม, 2540) เช่น ของ จริง ของจำลอง รูปภาพ สไลด์ powerpoint แผ่นใส แผ่นข้อความ บัตรข้อความ แผ่นภาพ ภาพถ่าย ภาพยนตร์ เอกสารส่ิงพมิ พ์ตา่ งๆ เปน็ ตน้ ภาพท่ี 11 ตวั อยา่ งสอ่ื แผนที่ แผน่ ภาพ สื่อช่วยสอนที่ผู้สอนจะใช้นั้น จะต้องสอดคล้องกับประเภทของเนื้อหาความรู้ที่ต้องการให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เช่น เนื้อหาความรู้ที่ต้องการให้ผู้เรียนจดจำขั้นตอนการตรวจวัดค่า

59 ออกซิเจนละลายน้ำโดยใช้ชุดทดสอบอย่างง่าย สื่อช่วยสอนที่ต้องใช้ เช่น แผ่นภาพขั้นตอนของ การตรวจวัด หรอื powerpoint แสดงขัน้ ตอนการตรวจวดั เป็นต้น ภาพที่ 12 แผ่นภาพขั้นตอนของการตรวจวัดออกซิเจนละลายนำ้ โดยใช้ชดุ ทดสอบอย่างง่าย แต่ถ้าเนื้อหาความรู้ที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ภาคปฏิบัติ สื่อช่วยสอนจะต้องช่วยให้ ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติได้ เช่น เนื้อหาความรู้การตรวจวัด คุณภาพน้ำ สื่อช่วยสอน จะต้องเป็นของจริง คือ อุปกรณ์สำหรับการตรวจวัด ค ุ ณ ภ า พ น ้ ำ ใ ห ้ ผ ู ้ เ ร ี ย น ไ ด้ สัมผัสและฝึกใช้งานจริงและ สามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ ภาพท่ี 13 ชดุ ทดสอบออกซเิ จนละลายน้ำอย่างง่าย ในปัจจุบันสื่อช่วยสอนที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมาก เช่น หนังสือ อิเล็คทรอนิกส์ (e-book) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (computer aided instruction) สื่อช่วยสอนท่ี อยู่บนฐานของเทคโนโลยีเว็ป (web-based instruction) เช่น การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การบันทึกข้อมูลบนฐานข้อมูลเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ online ให้กับยุวชนจากชุมชนวัดรังสิตและ

60 นกั เรียนโรงเรียนวดั ถวั่ ทอง โดยใชฐ้ านขอ้ มูลการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในwww.molpid.com เป็น สือ่ ช่วยสอน การประเมนิ ผล คำภาษาองั กฤษ “evaluation”นมี้ คี วามสบั สนของคำไทยทีแ่ ปลว่า “การประเมนิ ” เฉยๆ กับ คำไทยที่แปลโดยมีคำวา่ “ผล”ต่อท้าย คอื แปลวา่ “การประเมินผล” แต่โดยทั่วไปแล้วจะชินกับ คำแปลว่า “การประเมินผล” ทั้งๆที่ผู้พูดหมายถึงการประเมินทุกส่วนของโครงการหรือส่วนใด สว่ นหนง่ึ ของโครงการ ในอีกทางหนงึ่ บางท่านใชค้ ำวา่ “การประเมินผล” ในความหมายเฉพาะผล ของโครงการเมอ่ื โครงการน้นั ๆเสรจ็ สิ้นแล้วเท่านัน้ ในหนังสือเล่มนี้จะใชค้ ำว่า “การประเมนิ ผลโดยให้หมายความถึง การประเมินเฉพาะ “ผล” เมื่อโครงการได้ดำเนินการเสร็จสิ้นไปแล้วเท่านั้น เช่น การประเมินผลการเรียนของนกั ศึกษาใน รายวชิ าตา่ งๆในแต่ละภาคการศึกษาหรือการประเมินผลของผู้เข้ารับการฝกึ อบรมในเรื่องใดเร่ือง หน่ึงเม่อื เสร็จสน้ิ โครงการฝึกอบรมแลว้ อันที่จริงแลว้ ดร.โสภณ ธนะมัย ได้ให้ความหมายที่กระชับและสื่อใหเ้ ห็นถึงวิธีการของการ ประเมินผลในการสอนวิชา“เทคนิคการวิจัยทางสิ่งแวดล้อมขั้นสูง” สำหรับนิสิตปริญญาเอก สาขาวทิ ยาศาสตร์สิง่ แวดลอ้ ม คณะส่ิงแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวนั ที่ 29 ธนั วาคม 2558 ผ้เู ขียนได้จดบันทกึ เอาไวว้ ่า.... evaluation = measurement + judgement การประเมินผล การวัดผล การตดั สิน การให้ความหมายในรูปสมการทำให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น คือ การประเมินผล เป็นการตัดสิน ค่าที่ได้จากการวัดผลสิ่งที่ต้องการจะประเมินนั่นเอง ผู้เขียนขอยกตัวอย่างง่ายๆที่พบในทาง ปฏิบัติ เช่น การจัดการเรียนการสอนนั้น เมื่อเสร็จสิ้นแต่ละภาคการศึกษาแล้ว ผู้สอนจะต้อง

61 ออกคะแนนหรือเกรดแก่นักศึกษาเพื่อเป็นหลักฐานรับรองว่า ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์การเรียนมาก น้อยเพียงใดนั่นเอง เช่น การวัดผลการเรยี นวิชาชวี ิตกบั สิ่งแวดลอ้ มของนักศกึ ษา ไดค้ ะแนนเทา่ กบั 81 คะแนน (measurement) การตัดสินผลการเรียนของรายวิชานต้ี ามเกณฑ์ คอื ถ้าคะแนนมากกวา่ 80 คะแนนจะได้เกรดเอ (judgement) ดงั นั้นประเมินผล ได้ว่า นักศกึ ษาคนนม้ี ีผลสมั ฤทธ์ิการเรียน ในวชิ าน้ีในระดบั ดมี าก (evaluation – การตัดสินค่าท่ไี ด้จากการวดั ผลตามเกณฑ)์ การประเมนิ ผลในหนังสอื เล่มนี้ เป็นการประเมนิ ผลตามตารางการจัดประสบการณ์เพ่อื การ เรียนรู้ ซึ่งเป็นการประเมินผลการสอนในเนื้อหาความรู้สิ่งแวดล้อมแต่ละเรื่อง โดยวัดจาก พฤติกรรมของผู้เรียนที่เปลี่ยนแปลงไปตามเกณฑห์ รือพฤติกรรมทีผ่ ู้สอนคาดหวังใหเ้ กิดขึ้นในตัว ผเู้ รียน ซง่ึ ก็คอื วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรมน่ันเอง ตัวอย่างเช่น ถ้าวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม คือ“เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนสามารถตรวจวัดค่า ออกซเิ จนละลายน้ำโดยใช้ชุดทดสอบอยา่ งงา่ ยไดถ้ กู ต้องในเวลา 10 นาที” การประเมินผลเริ่มจากการวัดผล (measurement) การตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำ โดยใช้ชุดทดสอบอยา่ งง่ายของผู้เรยี นว่า ถกู ตอ้ งหรอื ไมแ่ ละในเวลาท่กี ำหนดหรอื ไม่ การตัดสิน (judgement) ก็คือ ถ้าผู้เรียนทุกคนสามารถตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำได้ ถูกต้องในเวลา 10 นาที แสดงวา่ ผู้เรยี นทกุ คนบรรลุวัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมท่ีผู้สอนกำหนดไว้ กล่าวคือ ผู้เรียนทุกคนเกดิ ทักษะพสิ ัยระดบั ปฏิบัติไดจ้ นคล่องแคลว่ แต่ถ้าผู้เรียนบางคนยังทำ ไมถ่ กู ต้องแมจ้ ะเสร็จทันในเวลา 10 นาที หรอื ทำถกู ต้องแตไ่ มส่ ามารถทำไดเ้ สร็จทันในเวลา 10 นาที แสดงว่า ยังไมบ่ รรลุวตั ถปุ ระสงค์อยา่ งสมบรู ณ์ ในกรณีที่ไม่บรรลุวัตถุประสงค์อย่างสมบูรณ์ ผู้สอนจะต้องทำการปรับสถานการณ์การ เรียนรู้ข้ึนใหม่ และเมื่อมีการประเมนิ ผล พบว่า ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์อย่างสมบรู ณ์ก็ต้องปรับ สถานการณ์การเรยี นรขู้ ้นึ ใหมอ่ ีก ในกรณีที่มีผู้เรียนเพียง 80 % เท่านั้นที่สามารถตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำโดยใช้ชุด ทดสอบอยา่ งง่ายได้ ดงั นนั้ สถานการณก์ ารเรยี นรทู้ ปี่ รบั ใหม่นัน้ ตอ้ งนำไปใช้สำหรับผูเ้ รยี น

62 20% ที่ยังไม่สามารถตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้ำโดยใช้ชุดทดสอบอย่างง่ายได้อย่าง คล่องแคลว่ ดังได้กล่าวแล้วว่า การประเมินผลในหนงั สือเลม่ นี้ เป็นการประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น ตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ผู้สอนต้องการให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนในทันที่ที่ผู้เรียนได้มี ปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้สอนสร้างขึ้น การประเมินผลตามประสบการณ์เพื่อการ เรียนรู้ จึงช่วยใหผ้ ู้สอนทราบว่า ผู้เรยี นคนใดเกิดการเรียนรู้ตามวัตถปุ ระสงค์ที่ตั้งไว้ ผู้เรียนคน ใดยังต้องปรับปรุง ซึ่งเป็นหน้าที่ของผู้สอนจะต้องปรับสถานการณ์การเรียนรู้ขึ้นใหม่ สำหรับ ผู้เรียนคนนี้หรอื กลุ่มนี้ จึงถือได้ว่า เป็นโอกาสที่จะนำผู้เรียนท้ังหมด ที่ผู้สอนต้องรับผิดชอบให้ บรรลุวัตถุประสงค์ไปพร้อมกนั ทุกคน นอกจากนี้วิธีการประเมินผล ตามประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้นี้ ทำได้ง่าย ไม่ยุ่งยาก ก็ เพียงแต่สังเกตความคิดของผู้เรียนจากการที่ผู้สอนให้ผู้เรียน“พูด” (บอก อธิบาย) “เขียน” และ “กระทำ” ว่า สอดคล้องกับ “วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม” ที่ผู้สอนกำหนดไว้หรือไม่เท่านัน้ ซ่ึง ต่างจากวิธีการประเมนิ ผลท่ีใช้กันอยู่ ที่ต้องใช้วิชาการทางสถิติเขา้ มาช่วยในการสรา้ งเครื่องมือ การวัดผลทางการเรียน เช่น การสร้างแบบทดสอบ ซึ่งต้องใช้ความรู้ทางวิชาการเฉพาะ จึงจะ สามารถสรา้ งไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ข้อบกพร่องอีกประการหนึ่งของวิธีการประเมินผลการเรียนที่ใช้กันอยู่ คือ เป็นการจัด ประเภทของผู้เรียน ไดแ้ ก่ ผูเ้ รียนกล่มุ เก่ง ผู้เรยี นกล่มุ ออ่ น และผ้เู รียนกล่มุ ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ที่กำหนด เหตุการณ์นี้นับว่าสร้างความเสียหายต่อการศึกษาเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะสำหรับ อาชีพครู เนื่องจากเมื่อครูถูกกำหนดให้ประเมินผล เมื่อสอนไดค้ รึ่งเทอมและเมื่อสิน้ เทอม ครูจึง ไม่มีโอกาสทจ่ี ะปรับปรุงการสอนในระหว่างทางก่อนถงึ สน้ิ เทอม และเมือ่ ผลการประเมินออกมา วา่ ผู้เรยี น”สอบตก” ครูจึงไมม่ เี หตผุ ลทีจ่ ะอธิบายตอ่ สังคมว่า เพราะอะไรจงึ เปน็ เช่นนั้น ในท้ายที่สุด ขอยกคำกล่าวของนักวิชาการการศึกษา ด้านการประเมินที่ได้กล่าวเอาไว้ใน หนังสือชือ่ “การประเมินในช้นั เรียน”ในหนา้ “คำนำ” ดังนี้

63 ...การที่นักเรียนจะเรียนรู้หรือไม่ ไม่ได้อยู่ที่การประเมิน อยู่ที่การสอนและ กิจกรรมการเรียน การประเมินเพียงแต่เป็น การชี้บ่งว่า นักเรียนได้เรียนรู้ในสิ่ง เหล่านี้แลว้ หรือยงั ยงั ขาดตกบกพร่องในสิ่งใดบ้าง… ( ดร.โกวิท ประวาลพฤกษ์ และสมศักด์ิ สินธรุ ะเวชญ์, 2523 )

64 การสร้างประสบการณเ์ พ่อื การเรียนรสู้ ่งิ แวดล้อม คำว่า“การสร้าง”ในที่นี้ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า“construction” ซึ่งตามหนังสือ “Longman Dictionary of Contemporary English (1995)” ไดใ้ ห้ความหมายไว้ว่า “ the method or process of forming something from knowledge or ideas” “ วิธกี ารหรือกระบวนการทำใหเ้ กิดบางสิ่งบางประการ เน่ืองจากความรู้ หรอื จาก แนวคดิ ” ดังนั้น“การสร้างประสบการณ์เพ่ือการเรียนรู้” จึงหมายถึง กระบวนการที่เป็นขั้นตอนเพื่อ จดั ทำประสบการณเ์ พื่อการเรยี นรู้ ไปตามลำดบั ขององคป์ ระกอบประสบการณเ์ พือ่ การเรยี นรู้ ผู้เขียนได้นำเสนอ“ประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้”ในรูปของตาราง ซึ่งได้กล่าวไว้แล้วใน หนงั สือเลม่ น้ีในส่วน“ความเปน็ มาของประสบการณ์เพื่อการเรยี นร”ู้ ซ่งึ ตารางนี้ประกอบด้วย 6 องคป์ ระกอบ ดังแผนภาพที่ 10 เนื้อหา วัตถปุ ระสงค์ วัตถุประสงค์ สถานการณ์การเรยี นรู้ สื่อ ประ ความรู้ การสอน เชงิ พฤตกิ รรม ชว่ ย เมิน กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมที่ สอน ผล ทผ่ี ู้สอนสร้างข้ึน ผ้เู รียนกระทำ แผนภาพท่ี 10 องค์ประกอบของตารางเพ่อื การเรยี นรู้ องค์ประกอบทั้ง 6 นี้มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน 5 คู่ ได้แก่ 1) เนื้อหาความรู้และ วัตถุประสงค์การสอน 2) วัตถุประสงค์การสอนและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 3) วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรมและสถานการณก์ ารเรยี นรู้ 4) สถานการณ์การเรยี นรแู้ ละส่ือชว่ ยสอน และ 5) การ ประเมินผลและวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี

65 เน้ือหาความรู้และวัตถปุ ระสงคก์ ารสอน เนื้อหาความรู้ เป็นตัวกำหนดระดับของวัตถุประสงค์การสอน และในขณะเดียวกัน วัตถปุ ระสงคก์ ารสอน ก็เปน็ ตวั กำหนดลักษณะของการเรยี บเรยี งเนือ้ หา (ดงั แผนภาพที่ 11) แผนภาพท่ี 11 ความสมั พันธข์ องเน้อื หาความรแู้ ละวัตถุประสงคก์ ารสอน ตวั อย่างเชน่ กรณีที่เนื้อหาความรู้เป็น“ข้อเท็จจริงเฉพาะเจาะจง” วัตถุประสงค์การสอน ควรเป็น พุทธิ พิสัยขน้ั จำ การเรียบเรยี งเนอ้ื หา กจ็ ะเรียบเรียงเฉพาะขอ้ เทจ็ จริงท่ผี ู้เรียนจะตอ้ งจำเทา่ นัน้ แต่หากเนื้อหาความรู้เป็น“ความคดิ รวบยอด” วัตถุประสงค์การสอนควรไปถึง พุทธิพิสัยขั้น เข้าใจหรือนำไปใช้ กรณีที่ผู้สอนใช้ดุลยพินิจควรกำหนดวัตถุประสงค์การสอน ขั้น“นำไปใช้” การเรียบเรียง เนื้อหา กจ็ ะเรยี บเรียงเขียนเฉพาะข้อเท็จจรงิ ทแี่ สดงเกณฑ์/มาตรฐาน เพื่อใหผ้ ู้เรียนจำ เม่ือจำ ได้แล้ว จะสามารถนำไปเลอื ก/ตัดสินในเนื้อหาความรูน้ ้ันๆได้ วตั ถุประสงคก์ ารสอนและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม วัตถุประสงค์การสอนและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เนื่องจากในการกำหนดวัตถุประสงค์การสอนเนื้อหาความรู้หนึ่งนั้น แม้ว่าจะมีการกำหนด

66 ข้อความท่ีระบคุ ุณลักษณะทตี่ อ้ งการให้เกิดข้ึนในตวั ผู้เรียน ตามระดับของวตั ถุประสงค์การศึกษา ทั้ง 3 ระดับ (พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และเจตพิสัย)แล้วก็ตาม แต่ข้อความดังกล่าวยงั ขาดความ ชัดเจนและไม่สามารถวัดเป็นพฤติกรรมของผู้เรียนที่เปลี่ยนแปลงไปได้ ดังนั้นการกำหนด วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรมจึงเป็นการขยายความ เพื่อใหว้ ัตถุประสงคก์ ารสอนมีความชัดเจนและ สามารถวดั ผลไดจ้ รงิ จงึ เป็นส่งิ ท่มี ีความสำคญั (ดังแผนภาพที่ 12 ) แผนภาพท่ี 12 ความสัมพนั ธข์ องวตั ถุประสงค์การสอนและวัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรมและสถานการณ์การเรียนรู้ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เป็นตัวกำหนดสถานการณ์การเรยี นรู้ ทั้งกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี ผู้สอนสร้างขนึ้ และกจิ กรรมท่ผี ู้เรยี นกระทำ ผู้เขียนได้นำ“ถอดรหัสคิด”มาประยุกต์ใช้กับ“สถานการณ์การเรียนรู้” โดยกำหนดให้ ข้อเท็จจริงที่รู้ F2 เป็นหน้าที่ของผู้สอนที่ต้องให้เนื้อหาความรู้แก่ผู้เรียน และกำหนดให้ ขอ้ เทจ็ จริงเหตุใหค้ ดิ F1 เป็นหน้าทีข่ องผสู้ อนที่กำหนดให้ผ้เู รยี นมีปฏสิ มั พนั ธ์ (interaction) กับ F2 ท่ผี ู้สอนสรา้ งขึน้ (ดงั แผนภาพท่ี 13)

67 แผนภาพที่ 13 ความสมั พันธข์ องวัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม และสถานการณ์การเรยี นรู้ ในตารางชอ่ ง“กิจกรรมการเรียนรูท้ ่ีผู้สอนสรา้ งขน้ึ ” กำหนดใหผ้ สู้ อนทำหน้าที่สร้างกิจกรรม การเรียนรูเ้ น้ือหาความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนได้มี F2 พร้อมท้ังทำหน้าที่กำหนด F1 เพื่อให้ผู้เรียนมี พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ตามทร่ี ะบไุ ว้ในวตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ตวั อยา่ งเช่น วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ต้องการให้ผู้เรียนบอกขั้นตอนการตรวจวัดคุณภาพน้ำได้อย่าง ถูกต้อง ผู้สอนก็ให้ผู้เรียนดูภาพขั้นตอนฯ รวมทั้งเล่นเกมเรียงลำดับขั้นตอนฯ ผู้เรียนก็มี interaction กับกจิ กรรมดังกล่าวของผู้สอน ทำใหผ้ เู้ รยี นได้ F2 คือ ขนั้ ตอนการตรวจวดั คณุ ภาพ น้ำ จากนั้นผู้สอนกำหนด F1 เพื่อให้ผู้เรียนแสดงพฤตกิ รรมว่ามี F2 คือ สามารถบอกขั้นตอนฯ ตามท่ีไดด้ ภู าพและเล่นเกมมาแล้ว จากตัวอย่างนี้ แสดงใหเ้ หน็ ความสัมพนั ธข์ องวตั ถุประสงค์เชิงพฤตกิ รรม คือ ใหบ้ อกข้นั ตอนฯ ได้อย่างถูกต้อง สถานการณ์การเรียนรู้ ก็ต้องจัดขึ้นเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ คือ จำขั้นตอนการ ตรวจวัดฯได้ หากกำหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เป็นทักษะพิสัย ขั้นปฏิบัติได้ภายใต้คำแนะนำ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้สอนสร้างขึ้น จะต้องเป็นกิจกรรมที่เน้นให้เกิดการปฏิบัติได้ภายใต้ คำแนะนำ และเมื่อผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมนั้นๆแล้ว ทำให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติได้ ภายใต้คำแนะนำ เชน่ ถา้ วตั ถุประสงค์เชิงพฤตกิ รรม คอื ต้องการใหผ้ ู้เรยี นตรวจวดั คุณภาพน้ำได้ - กิจกรรมการเรียนรู้ที่ผูส้ อนสร้างขึน้ คือ กิจกรรมที่ให้ผู้เรยี นได้ทดลองตรวจวดั คุณภาพนำ้ ตามลำดบั ข้ัน

68 - กิจกรรมที่ผูเ้ รียนกระทำ คือ ผู้เรียนได้ทดลองตรวจวัดน้ำตามลำดบั ขั้นไดอ้ ย่างถกู ต้อง จน สามารถตรวจวดั คุณภาพนำ้ ได้ ภายใตค้ ำแนะนำของผู้สอน สถานการณก์ ารเรียนรแู้ ละส่ือช่วยสอน สถานการณ์การเรยี นรู้ เป็นตัวกำหนดสื่อชว่ ยสอน โดยส่ือนน้ั ๆจะตอ้ งสอดคล้องกบั กิจกรรม การเรียนร้ทู ีผ่ ู้สอนสร้างขน้ึ และสอดคล้องกับกจิ กรรมทผี่ เู้ รียนกระทำ (ดังแผนภาพที่14) แผนภาพที่ 14 ความสัมพันธ์ของสถานการณก์ ารเรยี นรู้และสอื่ ชว่ ยสอน ตัวอยา่ ง เช่น - ถ้ากิจกรรมการเรยี นรูท้ ผี่ ูส้ อนสร้างขึ้น คอื กิจกรรมท่ีใหผ้ ูเ้ รียนได้ทดลองตรวจวัดคุณภาพน้ำ ตามลำดบั ขัน้ ส่ือช่วยสอนจะตอ้ งประกอบดว้ ย ส่ือทแ่ี สดงลำดับขั้นการตรวจวัดคุณภาพน้ำ เช่น แผนภาพข้นั ตอนการตรวจวดั คณุ ภาพนำ้ เปน็ ตน้ - ถ้ากิจกรรมท่ีผู้เรียนกระทำ คือ ผู้เรียนจะต้องทดลองตรวจวัดคุณภาพน้ำตามลำดับข้ัน จน สามารถตรวจวัดคุณภาพน้ำได้ภายใต้คำแนะนำ สือ่ ช่วยสอน จะต้องเป็นชุดตรวจวัดคุณภาพน้ำ ทผ่ี เู้ รยี นใช้ในการทดลอง การประเมนิ ผลและวัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม การประเมินผล เป็นการตัดสินค่าที่ได้จากการเรียนรู้ของผู้เรียนตามวัตถุประสงค์เชิง พฤติกรรมท่ีได้กำหนดไว้ (ดงั แผนภาพที่ 15 )

69 แผนภาพท่ี 15 ความสัมพนั ธข์ องการประเมนิ ผลและวัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ตัวอย่างเช่น วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรมในการจัดประสบการณ์เพ่ือการเรียนรู้ เรื่อง การตรวจวัดคุณภาพ น้ำ กำหนดให้ผู้เรียนสามารถตรวจวัดออกซิเจนละลายน้ำโดยใช้ชุดทดสอบอย่างง่ายได้อย่าง ถูกต้องภายในเวลา 10 นาที ดังนั้นถ้าผู้เรียนสามารถตรวจวัดออกซิเจนละลายน้ำโดยใช้ชุด ทดสอบอยา่ งง่ายได้อยา่ งถกู ตอ้ งภายในเวลา 10 นาที ก็ตดั สินได้วา่ ผ้เู รียนบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์การ สอนท่กี ำหนดไว้ จะเห็นได้ว่า องค์ประกอบทั้ง 6 องค์ประกอบของตารางประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้ จะมี ความสมั พนั ธเ์ ชอ่ื มโยงกนั (ดังภาพท่ี 16) ภาพที่ 16 ความสัมพนั ธ์เชื่อมโยงขององคป์ ระกอบตารางประสบการณ์เพือ่ การเรยี นรู้

70 จากตารางประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้ดังกล่าวน้ี ผู้เขียนใช้เป็นรูปแบบในการสร้าง ประสบการณเ์ พื่อการเรียนร้สู ิ่งแวดลอ้ ม ซึ่งสรุปเป็นขนั้ ตอนการสร้าง ดังนี้ ขัน้ ตอนการสร้าง”ประสบการณเ์ พ่ือการเรียนรสู้ ง่ิ แวดล้อม” ข้นั ตอนท่ี 1: วเิ คราะห์และเรียบเรยี งเนอื้ หาความรสู้ งิ่ แวดลอ้ ม เป็นการวเิ คราะห์ว่า เน้ือหาความรสู้ ง่ิ แวดลอ้ มน้นั เปน็ เน้ือหาประเภทใด เปน็ knowing หรือ doing จากนั้นจึงเรียบเรียงเนื้อหา ให้สอดคล้องกับประเภทของเนื้อหานั้นๆ ซึ่งจะได้เป็น “เน้ือหาความรู้” ใส่ลงในตารางชอ่ งท่ี 1 (เนอ้ื หาความร)ู้ ขั้นตอนที่ 2: กำหนดวตั ถุประสงค์การสอน การกำหนดวัตถุประสงค์การสอนนี้ จะต้องวิเคราะห์ความสัมพันธ์เนื้อหาความรู้จากช่อง ตารางที่ 1 วา่ ควรจะตรงกับวตั ถปุ ระสงคก์ ารสอนด้านพทุ ธิพิสัย หรอื ทักษะพสิ ยั หรือเจตพสิ ัย ใน ระดบั ใด แล้วใสล่ งในตารางชอ่ งท่ี 2 ( วตั ถปุ ระสงค์การสอน ) ขน้ั ตอนท่ี 3: กำหนดวตั ถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม การกำหนดวตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม เป็นการขยายความวตั ถุประสงค์การสอนให้เห็นภาพ ของพฤตกิ รรมท่ผี ูเ้ รยี นต้องแสดงออกวา่ จะบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคก์ ารสอนท่ีตง้ั ไว้หรอื ไม่ แลว้ ใส่ลงใน ตารางชอ่ งที่ 3 (วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม) ขัน้ ตอนที่ 4: กำหนดสถานการณก์ ารเรยี นรู้ โดย ผู้สอนกำหนดกิจกรรมเพื่อให้เนื้อหาความรู้แก่ผู้เรียน นั่นก็คือ เป็นกิจกรรมเพื่อสร้าง F2 (ขอ้ เท็จจริงทรี่ )ู้ ให้แก่ผู้เรียน และกำหนดกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนได้คิด นั่นก็คอื กิจกรรมเพ่ือสร้าง F1 (ข้อเทจ็ จริงเหตุให้คดิ ) ใสล่ งในตารางชอ่ ง “กจิ กรรมท่ผี สู้ อนสรา้ งขึน้ ”

71 ผู้สอนกำหนดใหผ้ เู้ รียนกระทำกจิ กรรมเพ่ือใหไ้ ด้รับเนือ้ หาความรู้ ซงึ่ กค็ อื F2 (ข้อเท็จจริงท่ีรู้) และได้รับ F1(ข้อเท็จจริงเหตุให้คิด) เพื่อให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับ F2 ใส่ลงในตารางช่อง “กิจกรรมที่ผู้เรยี นกระทำ” ขน้ั ตอนท่ี 5: กำหนดสอื่ ชว่ ยสอน ใหร้ ะบสุ ่อื ชว่ ยสอน ซึ่งตอ้ งสอดคลอ้ งกับสอ่ื ชว่ ยสอนท่ีกำหนดไวใ้ น “กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ี่ ผู้สอนสร้างขึน้ ” และ “กิจกรรมท่ผี ู้เรียนกระทำ” ใสล่ งในตารางชอ่ งที่ 5 (สอ่ื ช่วยสอน) ขั้นตอนท่ี 6 : กำหนดการประเมนิ ผล ระบวุ ธิ กี ารประเมนิ ผลให้สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรมท่กี ำหนดไว้ ใสล่ งในตาราง ช่องที่ 6 (การประเมินผล) ตัวอย่างการสร้างประสบการณเ์ พื่อการเรยี นร้สู ิ่งแวดลอ้ ม

72 ในทน่ี จี้ ะขอยกตัวอยา่ งการสรา้ งประสบการณ์การเรียนรู้ส่งิ แวดลอ้ ม จากเน้อื หา ความรู้สิ่งแวดล้อม 5 เรือ่ ง ประกอบดว้ ย 1. ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ 2. องค์ประกอบในระบบนเิ วศ 3. ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มจากการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ 4. ความหมายของระบบนเิ วศ 5. การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนเิ วศ

73 ตารางที่ 9 ตารางการสรา้ งประสบการณ์เพอ่ื การเรียนรู้ เนอ้ื หาความรู้ วัตถุประสงค์ วตั ถุประสงค์เชงิ การสอน พฤตกิ รรม ทรัพยากรธรรมชาติจำแนกเปน็ 3 เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นจำประเภท ผเู้ รยี นทกุ คน ประเภท และตวั อยา่ งของ สามารถบอก 1 ใช้แล้วไมห่ มดไป ทรพั ยากรธรรมชาตไิ ด้ ประเภทและ (อากาศ น้ำในรูป วฏั จักร) ตวั อยา่ งของ 2. ทดแทนได้ (น้ำใช้ พชื สตั ว)์ ทรัพยากรธรรมชาติ 3. ใช้แลว้ หมดไป(กา๊ ซธรรมชาติ ถ่าน ได้อยา่ งถูกต้อง ท้ัง หิน น้ำมนั ปโิ ตรเลียม) 3 ประเภท ในเวลา ทก่ี ำหนด หมายเหตุ: ** lms rsu (ซอฟต์แวร์ ระบบการจัดการการเรยี นรู้ผา่ นเว็บ ของมหาวิทยาลัย การสรา้ งประสบการณเ์ พ่อื การเรยี นรู้ เรื่อง “ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ” เรม่ิ จาก 1. วิเคราะหเ์ น้อื หาความรู้สิง่ แวดลอ้ ม: ข้อเทจ็ จริงเฉพาะเจาะจง ลงในตารางช่องท่ี 1 2. กำหนดวตั ถปุ ระสงคก์ ารสอน: พทุ ธพิ สิ ยั ระดับจำ ลงในตารางชอ่ งท่ี 2 3. กำหนดวัตถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม: พฤติกรรมบ่งช้ี “บอก” ลงในตารางช่องท่ี 3 4. กำหนดสถานการณ์การเรยี นร:ู้ ระบกุ ิจกรรมและสอ่ื ช่วยสอน ลงในตารางช่องที่ 4 4.1 กิจกรรมการเรยี นร้ทู ีผ่ สู้ อนสร้างขนึ้ : อธิบายโดยใช้ powerpoint และกำหนดให้ผู้เรียน ทำแบบฝกึ หดั online

74 เรอ่ื ง ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ สถานการณ์การเรียนรู้ สอ่ื ช่วยสอน การประเมนิ ผล กจิ กรรมการเรยี นรู้ทผี่ ู้สอนสร้างข้นึ กิจกรรมที่ผ้เู รยี นกระทำ ผ้เู รยี นทกุ คน สามารถบอก F2: ผู้สอนอธบิ ายประเภทและ ผเู้ รยี น ฟัง ดู powerpoint ประเภทและ ตวั อย่างของ ตัวอยา่ งของ powerpoint ทรพั ยากร ธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ทงั้ 3 ประเภท โดยใช้ powerpoint ในเวลาที่ กำหนด F1: ผู้สอนกำหนดให้ ผู้เรยี นทุก ผู้เรียนทุกคนทำ แบบฝึกหดั คนทำแบบฝึกหดั online แบบฝกึ หัด online online ในระบบ lms rsu ของ ในระบบ lms rsu notebook มหาวิทยาลยั ของมหาวทิ ยาลัย Ipad ภายในเวลา 24.00 น ภายในเวลา ระบบ .ของวนั รงุ่ ขน้ึ 24.00 น. lms rsu ของวันรงุ่ ขน้ึ 4.2 กจิ กรรมทผ่ี ูเ้ รยี นกระทำ : ฟงั ดู สอื่ powerpoint และทำแบบฝกึ หดั online 5.ระบสุ ่ือช่วยสอน: powerpoint และแบบฝึกหัด online ลงในตารางช่องที่ 5 6.ระบุวธิ ีการประเมนิ ผล: ตรงตามวัตถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ลงในตารางชอ่ งท่ี 6

75 ตาราง 10 ตารางการสรา้ งประสบการณ์เพ่อื การเรียนรู้ เน้อื หาความรู้ วัตถุประสงค์ วัตถปุ ระสงค์เชิง การสอน พฤตกิ รรม ระบบนเิ วศท่กี ระจายทวั่ โลก ทง้ั ขนาดเลก็ และ เพือ่ ใหผ้ ้เู รียนนำ ผ้เู รยี นสามารถอธิบาย ขนาดใหญ่ มีองคป์ ระกอบทีเ่ หมอื นกนั 4 ความรู้ องค์ประกอบของ ประการ ไดแ้ ก่ “องคป์ ระกอบ สงิ่ มีชวี ิต อย่างน้อย 2 1. มสี ารอนิ ทรียแ์ ละสารอนินทรยี ช์ นิดตา่ งๆ ของระบบนเิ วศ” องคป์ ระกอบในระบบ ที่จำเปน็ ต่อการดำรงอยขู่ องสงิ่ มชี วี ติ ในระบบ ไปอธบิ าย นเิ วศคลองรงั สิตฯ ชว่ ง นิเวศน้ันๆ (น้ำ ออกซเิ จน องคป์ ระกอบของ ไหลผา่ นตำบลหลักหก คารบ์ อนไดออกไซด์ แร่ธาตุตา่ งๆ) ส่ิงมีชวี ิตในระบบ ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง 2. มีพืชเป็นผู้ผลิต ซง่ึ มขี นาดต้งั แตเ่ ล็กมาก นิเวศอืน่ ได้ จนมองดว้ ยตาเปลา่ ไมเ่ หน็ จนถึงพชื ยนื ต้น ขนาดใหญ่ พืชเหลา่ น้ี ทำหน้าทน่ี ำเอา พลังงานจากแสงแดดมาใชใ้ นการสงั เคราะห์ สารอนิ ทรยี ์ สำหรบั การเจรญิ เติบโตของพืช เองและเป็นอาหารของผ้บู รโิ ภค 3. มสี ัตวข์ นาดต่างๆทำหนา้ ที่เป็นผบู้ รโิ ภค 4. มจี ุลินทรยี ท์ ำหนา้ ทยี่ อ่ ยสลายสง่ิ ขับถ่าย และสารอินทรีย์ทตี่ กค้าง ใหแ้ ปรสภาพเป็นสา รอนินทรียก์ ลับคืนสู่พชื อีกครงั้ หนึง่ การสร้างประสบการณเ์ พอื่ การเรยี นรู้ เรอ่ื ง “องคป์ ระกอบในระบบนเิ วศ” เรม่ิ จาก 1. วิเคราะหเ์ นอ้ื หาความรสู้ ง่ิ แวดลอ้ ม: ขอ้ เท็จจริงเกณฑ์/มาตรฐาน ลงในตารางชอ่ งท่ี 1 2. กำหนดวัตถปุ ระสงค์การสอน: พุทธิพสิ ัย ระดับนำไปใช้ ลงในตารางช่องท่ี 2 3. กำหนดวัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม: พฤตกิ รรมบ่งช้ี “อธิบาย” ลงในตารางช่องท่ี 3 4. กำหนดสถานการณก์ ารเรยี นรู้ :ระบุกจิ กรรมและ ส่อื ช่วยสอน ลงในตารางชอ่ งที่ 4 4.1 กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีผู้สอนสรา้ งข้ึน: อธิบาย โดยใชส้ ือ่ powerpoint วดี ทิ ัศน์ ทัศน ศกึ ษาคลองรังสิตฯ และให้ผเู้ รียนเขียนอธบิ ายส่งในระบบ lms rsu ของมหาวทิ ยาลยั

76 เรื่อง องคป์ ระกอบในระบบนเิ วศ สถานการณ์การเรียนรู้ สื่อช่วยสอน การ กิจกรรมการเรยี นรู้ที่ผู้สอนสร้างขึน้ กจิ กรรมท่ีผ้เู รียกระทำ ประเมินผล F2: อธิบายองคป์ ระกอบระบบนิเวศ ฟงั ดู powerpoint powerpoint ผเู้ รียน โดยใช้ powerpoint และวีดทิ ศั น์ วดี ทิ ศั น์ สามารถ ประกอบวดี ิทัศน์ อธบิ าย F2:นำผ้เู รียนทัศนศกึ ษา ทศั นศกึ ษาคลองรงั สติ ฯ คลองรังสติ ฯ องคป์ ระกอบ คลองรงั สิตฯ ช่วงไหลผ่าน ชว่ งไหลผ่าน ชว่ งไหลผา่ น ของส่งิ มชี วี ติ ตำบลหลกั หก ตำบลหลกั หก ตำบลหลกั หก อย่างนอ้ ย 2 F1: ให้ผู้เรยี นเขียนอธบิ ายและ เขียนอธิบายและ มอื ถอื / องคป์ ระกอบ ยกตัวอยา่ งองคป์ ระกอบของ ยกตวั อย่าง องค์ notebook ในระบบ ส่ิงมีชวี ติ อยา่ งนอ้ ย 2 องคป์ ระกอบ ประกอบของส่ิงมีชวี ิต Ipad นิเวศคลอง ในระบบนิเวศคลองรังสติ ฯ ช่วงไหล อย่างน้อย 2 รงั สิตฯ ช่วง ผา่ นตำบลหลักหก ทำเปน็ รายงาน องคป์ ระกอบในระบบ ระบบ ไหลผา่ น แลว้ นำส่งใน ระบบ lmsrsu ของ นเิ วศคลองรงั สิตฯ lms rsu ตำบลหลกั มหาวิทยาลัย ภายใน 3 วนั แลว้ นำสง่ ใน ระบบ หกไดอ้ ย่าง lms rsu ของ ถกู ต้อง ใน มหาวทิ ยาลัย เวลากำหนด ภายใน 3 วนั 4.2 กิจกรรมทีผ่ ู้เรียนกระทำ : ฟงั ดู สื่อ powerpoint วดี ทิ ัศน์ ทัศนศึกษาคลองรงั สติ ฯ และ เขียนอธิบายส่งในระบบ lms rsu ของมหาวิทยาลัย

77 5. ระบุส่ือช่วยสอน: powerpoint คลองรงั สติ ฯ และ ระบบ lms rsu ของมหาวทิ ยาลัยลงใน ตารางชอ่ งท่ี 5 6. ระบวุ ธิ กี ารประเมนิ ผล: ตรงตามวัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ลงในตารางช่องท่ี 6 ตารางท่ี 11 ตารางการสรา้ งประสบการณเ์ พอ่ื การเรยี นรู้ เน้อื หาความรู้ วตั ถุประสงคก์ ารสอน วัตถปุ ระสงคเ์ ชิง พฤตกิ รรม ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มจากการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้ผูเ้ รียนเหน็ ร้อยละ 80 ของผูเ้ รียน 1. ปัญหาที่เกิดจากทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดไป คณุ คา่ ของการปอ้ งกนั สามารถสรุปความเหน็ ได้แก่ 1.1) เกดิ การปนเปื้อนของของเสยี ในทรัพยากรกลุ่มนี้ ทำ ปัญหาสิง่ แวดล้อมท่ี เกย่ี วกับ ความจำเป็น ให้เกิดเปน็ มลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศและทั้ง 1.2) มลพิษ เกดิ ข้ึนจากการใช้ ทต่ี อ้ งปอ้ งกัน ปัญหา ส่งผลเสียต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ .2) เกิดการขาดแคลน ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อมทเ่ี กดิ ข้นึ ทรัพยากรกลุ่มนี้ทำให้สิ่งมีชีวิตไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ 2. จากการใช้ ปัญหาที่เกิดกับทรัพยากรธรรมชาตทิ ีใ่ ช้แล้วทดแทนได้ การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรประเภทนีอ้ ย่างมากมายของมนุษย์ กอ่ ใหเ้ กิดการขาด ในเวลาทีก่ ำหนด แคลนทรัพยากรกลุ่มนี้ เช่น การลดลงของพื้นที่ป่าไม้และสตั ว์ ป่า ทำให้มนุษย์ดำเนินชีวิตได้ยากลำบาก เนื่องจากทรัพยากร กลมุ่ น้ีเป็นแหลง่ ปัจจัยสใี่ นการดำรงชวี ิตของมนุษย์ 3. ปัญหาท่ี เกิดกบั ทรัพยากรธรรมชาตทิ ใ่ี ช้แล้วหมดไป ได้แก่ 3.1) การขาด แคลนพลังงาน เนื่องจากการลดลงของทรัพยากรแร่เชื้อเพลิง ฟอสซิล (น้ำมัน ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ) 3.2) การใช้แร่ เช้ือเพลิงประเภทต่างๆ ทำให้เกิดมลพิษ จะเห็นได้ว่า การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ไม่เหมาะสม เป็นปัญหาที่ส่งผลเสียต่อ การดำรงชวี ิตของมนุษย์

78 การสร้างประสบการณเ์ พื่อการเรยี นรเู้ รื่อง“ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ” เร่ิมจาก 1. วเิ คราะหเ์ น้อื หาความรูส้ ง่ิ แวดลอ้ ม: ข้อเทจ็ จริงเจตคติ ลงในตารางชอ่ งท่ี 1 2. กำหนดวัตถุประสงคก์ ารสอน: เจตพสิ ัย ระดบั เห็นคุณค่า ลงในตารางช่องท่ี 2 3. กำหนดวตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม: พฤติกรรมบง่ ช้ีเหน็ “ความจำเปน็ ” ลงในตารางช่องท่ี 3 4. กำหนดสถานการณก์ ารเรยี นรู้: ระบกุ จิ กรรมและ ส่ือช่วยสอน ลงในตารางช่องที่ 4 4.1 กิจกรรมการเรียนรทู้ ีผ่ สู้ อนสร้างข้นึ : อธิบาย โดยใชส้ อ่ื powerpoint วีดิทัศน์ สารคดี ขา่ วสิง่ แวดลอ้ ม และให้ผู้เรยี นตอบคำถามสง่ ในระบบ lms rsu ของมหาวทิ ยาลัย เรอื่ ง ปญั หาสิ่งแวดล้อมจากการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ สถานการณ์การเรยี นรู้ สือ่ ช่วยสอน การประเมินผล กจิ กรรมการเรยี นรู้ทผี่ ้สู อนกระทำ กิจกรรมท่ีผู้เรยี นกระทำ F2: ผสู้ อนอธบิ ายปัญหาสิง่ แวดลอ้ ม ผู้เรยี น ฟังคำบรรยายและดู powerpoint ร้อยละ 80 ของ วดิ ีทัศน์ ผู้เรียน ทำรายงาน จากการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ โดยใช้ วิดีทศั น์ปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม ท่แี สดงความเห็น -สารคดขี า่ ว เกย่ี วกับ ความ powerpoint ประกอบวดิ ีทศั นเ์ ร่ือง ปัญหา สิ่งแวดล้อม จำเป็นที่ตอ้ ง ปญั หาสิ่งแวดล้อมเกิดข้ึนจากการใช้ ปอ้ งกัน ปญั หา ส่ิงแวดลอ้ มท่ี ทรพั ยากรธรรมชาติ เกดิ ขึ้นจากการใช้ F2: ให้ผู้เรียนดู “สารคดีข่าวปัญหา ผู้เรียนดู “สารคดขี ่าวปัญหา ทรพั ยากร สง่ิ แวดล้อม ” สิง่ แวดลอ้ ม

79 F1: ให้ผูเ้ รยี นทำรายงานสรุปความเห็น ผู้เรยี นทำรายงานสรปุ ความเห็น โทรศพั ทม์ อื ถอื ธรรมชาติ เกี่ยวกบั ความจำเปน็ ที่ต้องป้องกัน เกย่ี วกบั ความจำเป็นทีต่ อ้ ง notebook ได้สมเหตสุ มผล ปญั หาส่งิ แวดล้อมทเี่ กิดขน้ึ จากการใช้ ป้องกนั ปัญหาส่ิงแวดล้อมท่ี Ipad และส่งรายงาน ทรพั ยากรธรรมชาติ และนำสง่ ใน เกดิ ขึ้นจากการใช้ ภายในเวลาที่ ระบบ lmsrsu ของมหาวทิ ยาลัย ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบ ภายใน 2 วัน ใน ระบบ lmsrsu ของ lms rsu กำหนด มหาวิทยาลยั ภายใน 2 วัน 4.2 กจิ กรรมทผ่ี ู้เรียนกระทำ : ฟงั ดู ส่อื powerpoint วดี ทิ ัศน์ สารคดีขา่ วส่ิงแวดล้อม และ ตอบคำถามสง่ ในระบบ lms rsu 5. ระบุส่อื ชว่ ยสอน: powerpoint วดี ิทัศน์ สารคดขี ่าวสิ่งแวดล้อม และระบบ lms rsu ลงใน ตารางช่องที่ 5 6. ระบุวธิ กี ารประเมนิ ผล: ตรงตามวัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ลงในตารางชอ่ งที่ 6 ตารางท่ี 12 ตารางการสร้างประสบการณเ์ พ่อื การเรียนรู้ เรอื่ งความหมายระบบนเิ วศ เน้อื หาความรู้ วตั ถุประสงค์ วตั ถุประสงค์ การสอน เชิงพฤตกิ รรม

80 ระบบนเิ วศ หมายถงึ ระบบ เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนเข้าใจ ผู้เรียน ทมี่ ีองคป์ ระกอบทง้ั สงิ่ มีชีวิต ความหมายของระบบนิเวศ อธบิ ายความหมายของ และสง่ิ ไม่มชี ีวติ ที่อยู่ร่วมกนั ระบบนิเวศไดถ้ ูกตอ้ ง ในอาณาบรเิ วณเดียวกัน และ ดว้ ยภาษาของตนเอง มีความสัมพันธซ์ ึ่งกนั และกัน ในเวลา 10 นาที ระหว่างส่งิ มีชวี ิตด้วยกันเอง และส่งิ มีชวี ติ กับส่ิงไม่มชี ีวติ การสรา้ งประสบการณเ์ พอ่ื การเรยี นรู้ เรอื่ ง “ความหมายของระบบนิเวศ” เรมิ่ จาก 1. วเิ คราะห์เน้ือหาความรู้สง่ิ แวดล้อม: ความคิดรวบยอด ลงในตารางช่องท่ี 1 2. กำหนดวตั ถุประสงคก์ ารสอน:พทุ ธพิ ิสัย ระดบั เข้าใจ ลงในตารางช่องที่ 2 3. กำหนดวตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม: พฤตกิ รรมบ่งช้ี “อธบิ ายด้วยภาษาของตนเอง” ลงใน ตารางชอ่ งที่ 3

81 สถานการณ์การเรยี นรู้ ส่อื ช่วยสอน การ ประเมินผล กจิ กรรมการเรียนรู้ทีผ่ ู้สอนสรา้ งขึน้ กจิ กรรมที่ผเู้ รยี นกระทำ กระดาษ คำตอบ ผูเ้ รียน F2: อธิบาย“ระบบนิเวศเปน็ ระบบท่ีมี ฟังคำอธบิ าย ดู powerpoint อธิบาย infographic ความหมาย ขอบเขตชัดเจน”โดยใช้ powerpoint powerpoint ของ ระบบนิเวศ F1: ใหผ้ ู้เรียนชว่ ยกนั บอกขอบเขตของ บอกขอบเขตของ “ระบบ ได้ถกู ต้อง ด้วยภาษา “ระบบนิเวศ” ตามทีส่ อน นิเวศ” ตามท่สี อน ของตนเอง ในเวลา 10 F2 อธิบาย“ระบบนิเวศ ประกอบดว้ ย ฟงั คำอธิบายพร้อมดูส่ือช่วย นาที สงิ่ มชี ีวิตและสิ่งไม่มีชวี ติ ” powerpoint สอน F1: ใหผ้ เู้ รียนช่วยกนั บอก สง่ิ มชี วี ติ และ บอกชื่อ สง่ิ มชี วี ิตและ สิง่ ไมม่ ชี ีวิต” ตามท่สี อน สง่ิ ไม่มชี ีวติ ตามที่สอน F2 อธิบาย “ความสัมพนั ธใ์ นระบบ ฟังคำอธบิ าย ดู นิเวศ” 1)ส่ิงมชี วี ิต สัมพันธ์กับสิง่ มชี ีวติ powerpoint และ 2)สง่ิ มชี วี ิต สัมพนั ธ์กับสิง่ ไมม่ ชี ีวติ โดยใช้ infographic powerpoint และ infographic F1: ให้ผู้เรยี นบอก ความสมั พนั ธ์ในระบบ บอกความสมั พนั ธใ์ นระบบ นเิ วศตามทสี่ อน นเิ วศ ตามทีส่ อน F2 สรปุ “ความหมายของระบบนิเวศ” ฟังคำ สรปุ ดู powerpoint และ infographic F1: ใหผ้ เู้ รียนเขยี น“ความหมายของ เขยี น“ความหมายของ ระบบนเิ วศ” ดว้ ยภาษาของตน ภายใน ระบบนิเวศ” ด้วยภาษาของ เวลา 10 นาที สง่ ในช้นั เรยี น ตน ภายในเวลา 10 นาที สง่ ในชนั้ เรยี น 4. กำหนดสถานการณก์ ารเรยี นรู้: ระบกุ จิ กรรมและ สอื่ ช่วยสอน ลงในตารางชอ่ งท่ี 4 4.1 กิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ผูส้ อนสรา้ งขนึ้ : อธิบายโดยใช้ส่อื powerpoint infographic กระดาษคำตอบ 4.2 กิจกรรมท่ีผู้เรยี นกระทำ : ฟงั ดู powerpoint และตอบคำถามสง่ ในห้องเรียน

82 5 ระบุสือ่ ช่วยสอน: powerpoint infographic ลงในตารางชอ่ งที่ 5 6. ระบุวธิ ีการประเมนิ ผล: ตรงตามวัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ลงในตารางช่องที่ 6 ตารางท่ี 13 ตารางการสร้างประสบการณเ์ พ่ือการเรยี นรู้ เนื้อหาความรู้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารสอน วัตถุประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม การถา่ ยทอดพลังงานในระบบ เพ่ือใหผ้ เู้ รียนสามารถจำ ผ้เู รียนทุกคนสามารถเขียน นิเวศ การถ่ายทอดพลังงานใน การถา่ ยทอดพลงั งานผ่าน diagram การถา่ ยทอด ระบบนเิ วศ จะถ่ายทอดไปใน ห่วงโซ่อาหารได้ พลังงานผา่ นหว่ งโซ่อาหาร ทศิ ทางเดยี วตลอด คือ เริม่ จาก ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ตามการ พลังงานแสงอาทติ ย์ผ่านพืชสี สอนของผ้สู อน เขียว เม่อื พนั ธุ์พชื ชนดิ ต่างๆทอ่ี ยู่ ในระบบนิเวศไดร้ ับพลังงานแสง จะทำการสังเคราะหแ์ สง สร้าง เน้อื เยือ่ และเป็นอาหารแก่ ผู้บรโิ ภคลำดบั ต่างๆกนิ กนั เป็น ทอดๆ การสรา้ งประสบการณ์เพ่ือการเรยี นรู้ เร่ือง “การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนิเวศ” เร่ิมจาก 1. วเิ คราะห์เนือ้ หาความรสู้ งิ่ แวดล้อม: หลักการ ลงในตารางช่องที่ 1 2. กำหนดวัตถุประสงค์การสอน: พุทธิพิสัย ระดบั จำ ลงในตารางช่องท่ี 2

83 3. กำหนดวตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม: พฤติกรรมบง่ ช้ี “เขียน” ลงในตารางช่องท่ี 3 เร่ือง การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ สถานการณ์การเรียนรู้ ส่อื ชว่ ยสอน การ ประเมนิ ผล กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ผสู้ อนสร้างขึ้น กจิ กรรมท่ีผู้เรียนกระทำ powerpoint ผเู้ รียนทกุ F2: อธิบายการถา่ ยทอดพลังงานใน ฟัง ดู powerpoint วดี ทิ ศั น์ คนสามารถ powerpoint เขียน ระบบนเิ วศ โดยใช้ powerpoint และวีดทิ ัศน์ วีดิทัศน์ diagram การถา่ ทอด และวีดิทศั น์ กระดาษ A4 พลังงาน เขียน ผ่านหว่ งโซ่ F1: ให้ผู้เรียนเขยี น diagram การ เขียน diagram การ diagram อาหารได้ อยา่ งถตู อ้ ง ถ่ายทอดพลงั งานผ่านห่วงโซอ่ าหาร ถา่ ยทอดพลงั งานผ่านห่วง และสง่ ใน เวลา ตามการสอนของผสู้ อน และนำสง่ โซอ่ าหาร ตามการสอนของ กำหนด ในชว่ั โมงเรยี น ผู้สอน และนำส่งในชั่วโมง เรียน

84 4. กำหนดสถานการณก์ ารเรียนรู้: ระบกุ ิจกรรมและ สื่อช่วยสอน ลงในตารางชอ่ งท่ี 4 4.1 กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีผู้สอนสร้างขึ้น: อธบิ าย โดยใชส้ อ่ื powerpoint วดี ิทศั น์ และ กระดาษ A4 เขยี น diagram 4.2 กจิ กรรมทผี่ ู้เรยี นกระทำ: ฟัง ดู สื่อ powerpoint และเขยี น diagram 5. ระบุส่อื ช่วยสอน: powerpoint วีดิทศั น์ และกระดาษ ลงในตารางช่องที่ 5 6. ระบุวธิ กี ารประเมนิ ผล: ตรงตามวัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ลงในตารางชอ่ งท่ี 6 บทส่งท้าย: การสรา้ งประสบการณ์เพ่ือการเรยี นรู้ ตวั อย่างการสร้างประสบการณเ์ พ่ือการเรยี นร้ทู ัง้ 5 ตัวอยา่ งได้แก่ การสรา้ งประสบการณ์เพือ่ การเรียนรู้ เรื่อง 1) ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ 2) องค์ประกอบของระบบนิเวศ 3) ปัญหา สิ่งแวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ 4) ความหมายของระบบนเิ วศ และ 5) การถ่ายทอด พลังงานในระบบนิเวศ เป็นการสร้างตามขั้นตอนการสร้าง 6 ขั้นตอนเพื่อให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ การสอนพุทธพิ สิ ยั ทกั ษะพิสยั เจตพิสัย เพยี งระดับใดระดับหน่งึ เท่านน้ั ดงั นี้ เนอ้ื หาความรู้ ระดับวัตถุประสงค์การสอน ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ พุทธพิ สิ ัย- จำ องค์ประกอบในระบบนิเวศ พทุ ธิพิสัย -นำไปใช้ ปญั หาสิง่ แวดลอ้ มจากการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ เจตพิสัย เหน็ คณุ คา่ ความหมายของระบบนิเวศ พทุ ธพิ ิสัย-เข้าใจ

85 การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ พุทธพิ ิสัย- จำ ทั้ง 5 ตัวอย่างของการสร้างประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้ดังกล่าวแล้ว ถ้าท่านผู้อ่านสังเกต อย่างถี่ถ้วนจะสะดดุ ใจว่า “การสร้างประสบการณ์เพื่อการเรยี นรู้ เรื่อง “ความหมายของระบบ นิเวศ”นน้ั ประกอบด้วยชดุ ของ F2 คู่ F1 ถึง 4 ชุด ในชอ่ งกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ผี สู้ อนสร้างข้นึ โดย 1. ชุดแรกของ F2-F1 ที่ผู้สอนสร้างขึ้น ต้องการใหผ้ ูเ้ รียนไดร้ บั ความรู้ (F2) ว่า “ระบบนิเวศ เปน็ ระบบทีม่ ขี อบเขตชดั เจน” 2. ชุดที่ 2 ของ F2-F1 ท่ผี ู้สอนสร้างขน้ึ ต้องการใหผ้ เู้ รยี นไดร้ ับความรู้ (F2) วา่ “ระบบนิเวศ ประกอบดว้ ย สง่ิ มีชวี ิตและสิง่ ไมม่ ีชีวติ ” 3. ชดุ ท่ี 3 ของ F2-F1 ทผี่ ้สู อนสร้างข้ึน ตอ้ งการใหผ้ ู้เรียนได้รบั ความรู้(F2)วา่ “ความสมั พนั ธ์ ในระบบนิเวศมี 2 ลักษณะ 1) สง่ิ มีชีวติ สมั พนั ธก์ ับสงิ่ มีชวี ติ 2) ส่งิ มีชวี ิตสมั พนั ธ์กบั ส่ิงไม่มชี ีวติ ” 4. ชดุ ท่ี 4 ของ F2-F1 ทผ่ี ้สู อนสรา้ งขน้ึ ต้องการให้ผู้เรียนได้รบั ความรู้ (F2) ว่า“เมอื่ รวม F2 จาก 3 ชุด ของ F2-F1 แล้ว ผู้เรียนเกิดความเข้าใจความหมาย ซึ่งก็คือ เข้าใจความคิดรวบยอด ของระบบนิเวศ ความรู้ F2 ที่ผู้เรียนได้รับจาก 4 ชุดของ F2-F1 ที่ผู้สอนได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นั้น สืบ เน่อื งมาจาก“ความคดิ รวบยอด”นน้ั ต้องมี...ลักษณะเฉพาะทส่ี ำคญั (critical attributes) จากตวั อย่าง ความคิดรวบยอดของระบบนิเวศมี 3 ลักษณะเฉพาะท่ีสำคญั คือ 1) เปน็ ระบบที่ มขี อบเขตทช่ี ดั เจน 2) ประกอบด้วยสง่ิ มีชวี ิตและสิ่งไมม่ ีชีวิต 3) ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ เป็น ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งส่ิงมีชวี ิตกับสิ่งมีชวี ติ และส่งิ มีชีวิตกับสิ่งไมม่ ีชีวิต เม่อื นำท้ัง 3 critical attributes มาร้อยเรียงกนั เป็นความเรยี ง กจ็ ะได้ความหมายของระบบ นิเวศว่า คือ“ที่มอี งคป์ ระกอบ ทั้งสิ่งมีชีวติ และสิ่งไม่มีชีวติ ที่อยู่ร่วมกนั ในอาณาบริเวณเดียวกนั และมีความสัมพนั ธซ์ ่ึงกนั และกัน ระหวา่ งส่ิงมีชวี ติ ด้วยกันเองและส่ิงมีชวี ิตกับสิง่ ไม่มีชวี ิต”

86 เน้อื หาความรปู้ ระเภทความคิดรวบยอด มคี วามสำคญั อย่างยงิ่ เพราะเนือ้ หาความรู้ในโลกนี้ คือ“ความคิดรวบยอด” ดังทีไ่ ดก้ ลา่ วอา้ งถงึ ภาษติ ของโสภณ ธนะมัย ไปแลว้ ผ้สู อนจะต้องสกัด เนื้อหาความรู้ต่างๆให้ออกมาเป็น“เนื้อหาความคิดรวบยอด”ให้ได้ ดังนั้นในบทส่งท้ายนี้ จะใช้ ความคิดรวบยอดเปน็ เน้อื หาความรูแ้ ละจะแสดงให้เห็นวา่ สามารถมีความสมั พนั ธ์กับวัตถปุ ระสงค์ การสอนดา้ นพทุ ธพิ สิ ัยระดบั ตา่ งๆได้ ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้

ตารางท่ี 14 การสรา้ งประสบการณเ์ พือ่ การเรียนรู้ เรื่อง ความหมายของระบบนเิ ว เนือ้ หาความรู้ วัตถปุ ระสงค์การสอน วัตถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม กิจกรรมก เนื้อหาความรู้ เรื่อง เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียน จำความหมายของ ผเู้ รียนสามารถเขียนความหมายของ F2.1 ผู้สอนอธิบ ความหมายของระบบ ระบบนิเวศ ระบบนิเวศได้ถกู ต้องตามทผ่ี ู้สอนได้ ขอบเขตชดั เจน นิเวศ สอนในเวลา10 นาที F1.1 ผสู้ อนใหผ้ 1 ระบบนเิ วศเปน็ เพื่อใหผ้ ้เู รยี น เข้าใจ ความหมาย ระบบนเิ วศตาม ระบบทีม่ ีขอบเขต ของระบบนเิ วศ ผเู้ รียนสามารถเขียนอธบิ าย F2.2 ผสู้ อนอธิบ ชดั เจน เพื่อให้ผเู้ รียนนำความรู้ ความหมาย ความหมายของระบบนิเวศได้ถกู ต้อง สง่ิ มชี วี ิตและสิ่ง 2. ระบบนิเวศ ของระบบนิเวศ ใช้อธิบาย ด้วยภาษาของตนเอง ในเวลา 10 F1.2 ผสู้ อนให้ผ ประกอบ ด้วยสงิ่ มีชวี ิต ความหมายของระบบนิเวศแปลงผัก นาที สงิ่ ไมม่ ีชีวิต ตาม และสิ่งไมม่ ชี ีวิต เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นวเิ คราะห์องคป์ ระกอบ ผ้เู รยี นสามารถเขยี นอธิบาย F2.3 ผู้สอนอธิบ 3 ความสัมพันธใ์ น ของ“ระบบนิเวศแปลงผัก” ความหมาย ระบบนเิ วศ แปลงผักได้ มี 2 ลักษณะโด ระบบนิเวศมี 2 ถกู ตอ้ ง ในเวลา 30นาที F1.3 ผู้สอนให ลกั ษณะ ผูเ้ รียนสามารถแยกแยะองคป์ ระกอบ ความสัมพนั ธใ์ น 3.1 สงิ่ มีชวี ติ กบั ของระบบนเิ วศแปลงผักไดถ้ กู ตอ้ ง ใน F2.4 ผู้สอนสรปุ สิ่งมีชีวิต เวลา 10 นาที F1.4 ผสู้ อนให้ผ 3.2 ส่ิงมชี วี ิตกับ ของระบบนิเวศ สิ่งไมม่ ชี ีวิต กระดาษคำตอบ F1.5 ผู้สอนให้ผ ระบบนเิ วศ คือ ระบบ ความหมายของ ท่ีมีองคป์ ระกอบ ทงั้ ลงในกระดาษค สง่ิ มีชีวิตแลสิง่ ไม่มชี ีวติ ทีอ่ ยรู่ ่วมกนั ในอาณา F1.6 ผู้สอนนำผ บรเิ วณเดียวกนั และมี อธิบายความหม ความสัมพนั ธซ์ ึง่ กนั ในกระดาษคำต และกนั ระหวา่ ง สิ่งมชี วี ติ ด้วยกนั เอง F1.7 ผ้สู อนใหผ้ และสง่ิ มีชวี ติ กับ องคป์ ระกอบขอ สิ่งไมม่ ีชีวติ กระดาษคำตอบ

87 วศ สถานการณก์ ารเรียนรู้ สอื่ ชว่ ย การประเมินผล สอน การเรยี นรู้ท่ผี ู้สอนสร้างขน้ึ กิจกรรมทผี่ ู้เรียนกระทำ ผเู้ รยี น powerpoin เขยี นความหมายของระบบนิเวศตาม บายระบบนเิ วศ เปน็ ระบบทม่ี ี ผู้เรยี น ฟงั คำอธิบายพร้อมดู t ทีผ่ ้สู อนสรปุ ได้ถกู ตอ้ ง นโดย powerpoint powerpoint Infographic ในเวลา 10 นาที ผู้เรียนชว่ ยกนั บอกขอบเขตของ ผเู้ รียนชว่ ยกันบอกขอบเขตของ กระดาษคำ มทส่ี อน ระบบนิเวศ ตามที่ผสู้ อน สอน ตอบ ผ้เู รียนเขียนความหมายของระบบ บายระบบนเิ วศ ประกอบดว้ ย ผเู้ รยี น ฟงั คำอธบิ ายพร้อมดู นิเวศดว้ ยภาษาตนเองได้ในเวลา 10 งไม่มีชีวิตโดย powerpoint powerpoint กระดาษ นาที ผูเ้ รยี นชว่ ยกันบอก สง่ิ มชี วี ติ และ ผู้เรียนชว่ ยกันบอก ส่ิงมีชวี ิตและ คำตอบ ผู้เรยี นเขยี นอธบิ าความหมายของ มท่สี อน สง่ิ ไม่มชี วี ติ ” ตามที่ผสู้ อน สอน ระบบนิเวศ แปลงผัก ไดใ้ นเวลา 30 บาย ความสมั พนั ธใ์ นระบบนิเวศ ผู้เรยี น ฟงั คำอธิบายพรอ้ มดู แปลงผัก นาที ดย powerpoint ,infographic Powerpoint, infographic กระดาษ ผ้เู รียนเขียนแยกแยะองค์ประกอบของ ห้ผ้เู รยี นช่วยกันบอก ผเู้ รียนช่วยกนั บอก ความสัมพนั ธใ์ น คำตอบ “ระบบนเิ วศแปลงผัก”ได้ถกู ตอ้ ง ใน นระบบนเิ วศตามที่สอน ระบบนเิ วศตามท่ีผูส้ อน สอน แปลงผกั เวลา 10 นาที ปความหมายของระบบนเิ วศ ผ้เู รยี น ฟงั การสรุปจากผู้สอน กระดาษ ผเู้ รยี นทกุ คนเขยี นความหมาย คำตอบ ศตามที่ผสู้ อนสรปุ ให้ฟัง ลงใน ผเู้ รยี นทุกคน เขยี นคำตอบลงใน บ กระดาษ ผ้เู รียนทุกคนเขียนอธิบาย คำตอบ ส่งผ้สู อน งระบบนเิ วศดว้ ยภาษาของตนเอง ผู้เรียนทกุ คนเขยี นอธิบาย คำตอบ ความหมาย ของระบบนิเวศดว้ ย ภาษาของตนเองในกระดาษคำตอบ ผเู้ รยี นไปแปลงผกั และให้เขียน พร้อมส่งผูส้ อน มายของระบบนเิ วศแปลงผัก”ลง ผเู้ รียนไปแปลงผกั และเขยี นอธบิ าย ตอบ ความหมายของระบบนิเวศแปลงผัก ลงในกระดาษคำตอบ ผเู้ รยี นเขยี นแยกแยะ ผู้เรียนเขยี นแยกแยะองคป์ ระกอบ อง“ระบบนิเวศแปลงผัก”ลงใน ของระบบนิเวศแปลงผัก ลงใน บ กระดาษคำตอบ

ตารางที่ 14 การสรา้ งประสบการณเ์ พอื่ การเรยี นรู้ เรอื่ ง ความหมายของระบบนิเว เน้ือหาความรู้ วัตถุประสงคก์ ารสอน วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม กิจกรรมก เน้อื หาความรู้ เร่ือง เพื่อให้ผู้เรียน จำความหมายของ ผู้เรยี นสามารถเขียนความหมายของ F2.1 ผสู้ อนอธิบ ความหมายของระบบ ระบบนเิ วศ ระบบนเิ วศไดถ้ ูกตอ้ งตามที่ผู้สอนได้ ขอบเขตชดั เจน นเิ วศ สอนในเวลา10 นาที F1.1 ผสู้ อนใหผ้ 1 ระบบนิเวศเปน็ เพ่ือให้ผเู้ รียน เข้าใจ ความหมาย ระบบนิเวศตาม ระบบทม่ี ขี อบเขต ของระบบนเิ วศ ผู้เรยี นสามารถเขียนอธิบาย F2.2 ผสู้ อนอธบิ ชดั เจน เพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนนำความรู้ ความหมาย ความหมายของระบบนเิ วศได้ถกู ตอ้ ง สิง่ มชี ีวติ และสง่ิ 2. ระบบนเิ วศ ของระบบนิเวศ ใช้อธิบาย ด้วยภาษาของตนเอง ในเวลา 10 F1.2 ผสู้ อนให้ผ ประกอบ ดว้ ยสงิ่ มชี วี ติ ความหมายของระบบนิเวศแปลงผกั นาที ส่ิงไมม่ ีชีวติ ตาม และสิ่งไมม่ ีชวี ิต ผูเ้ รยี นสามารถเขียนอธิบาย F2.3 ผู้สอนอธบิ 3 ความสมั พนั ธใ์ น ความหมาย ระบบนเิ วศ แปลงผักได้ มี 2 ลกั ษณะโด ระบบนิเวศมี 2 ถกู ตอ้ ง ในเวลา 30นาที F1.3 ผสู้ อนให ลักษณะ ความสมั พันธใ์ น 3.1 สิ่งมีชีวติ กับ F2.4 ผสู้ อนสรุป ส่ิงมชี วี ิต F1.4 ผสู้ อนให้ผ 3.2 สง่ิ มีชีวิตกบั ของระบบนิเวศ สง่ิ ไม่มีชีวติ กระดาษคำตอบ F1.5 ผู้สอนใหผ้ ระบบนิเวศ คือ ระบบ ความหมายของ ที่มีองค์ประกอบ ท้งั ลงในกระดาษค สิ่งมชี ีวติ แลสงิ่ ไม่มีชีวติ ทีอ่ ยรู่ ่วมกนั ในอาณา F1.6 ผูส้ อนนำผ บริเวณเดียวกนั และมี อธิบายความหม ความสัมพนั ธ์ซง่ึ กัน ในกระดาษคำต

88 วศ สถานการณ์การเรียนรู้ สอื่ ช่วยสอน การประเมินผล การเรยี นรู้ทผ่ี ูส้ อนสร้างขนึ้ กิจกรรมที่ผู้เรยี นกระทำ powerpoint ผูเ้ รยี น Infographic เขยี นความหมายของระบบนิเวศ บายระบบนิเวศ เปน็ ระบบท่ีมี ผเู้ รยี น ฟังคำอธบิ ายพร้อมดู กระดาษคำตอบ ตาม นโดย powerpoint powerpoint ทีผ่ ู้สอนสรปุ ได้ถกู ต้อง ผเู้ รยี นชว่ ยกันบอกขอบเขตของ ผเู้ รียนชว่ ยกนั บอกขอบเขตของ กระดาษ ในเวลา 10 นาที มทสี่ อน ระบบนิเวศ ตามทผ่ี สู้ อน สอน คำตอบ บายระบบนเิ วศ ประกอบด้วย ผู้เรยี น ฟงั คำอธบิ ายพรอ้ มดู แปลงผกั ผู้เรยี นเขยี นความหมายของระบบ งไม่มชี ีวติ โดย powerpoint powerpoint กระดาษ นิเวศดว้ ยภาษาตนเองไดใ้ นเวลา 10 ผเู้ รียนช่วยกันบอก สงิ่ มีชีวติ และ ผเู้ รียนชว่ ยกนั บอก สิ่งมีชวี ิตและ คำตอบ นาที มท่สี อน สิ่งไมม่ ชี วี ิต” ตามทีผ่ ้สู อน สอน ผเู้ รียนเขยี นอธบิ าความหมายของ บาย ความสัมพนั ธ์ในระบบนเิ วศ ผเู้ รยี น ฟังคำอธิบายพร้อมดู ระบบนิเวศ แปลงผัก ได้ในเวลา 30 ดย powerpoint ,infographic Powerpoint, infographic นาที ห้ผเู้ รียนชว่ ยกนั บอก ผ้เู รียนชว่ ยกนั บอก ความสัมพันธ์ใน นระบบนเิ วศตามที่สอน ระบบนเิ วศตามทีผ่ ูส้ อน สอน ปความหมายของระบบนิเวศ ผู้เรียน ฟังการสรุปจากผู้สอน ผู้เรยี นทกุ คนเขียนความหมาย ศตามทีผ่ ้สู อนสรปุ ให้ฟัง ลงใน ผู้เรยี นทุกคน เขียนคำตอบลงใน บ กระดาษ ผูเ้ รียนทุกคนเขยี นอธิบาย คำตอบ สง่ ผสู้ อน งระบบนิเวศดว้ ยภาษาของตนเอง ผู้เรยี นทุกคนเขยี นอธิบาย คำตอบ ความหมาย ของระบบนเิ วศดว้ ย ภาษาของตนเองในกระดาษคำตอบ ผเู้ รียนไปแปลงผกั และใหเ้ ขียน พรอ้ มสง่ ผสู้ อน มายของระบบนิเวศแปลงผัก”ลง ผู้เรยี นไปแปลงผกั และเขียนอธบิ าย ตอบ ความหมายของระบบนเิ วศแปลงผัก ลงในกระดาษคำตอบ

และกัน ระหว่าง เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นวิเคราะห์องคป์ ระกอบ ผู้เรยี นสามารถแยกแยะองค์ประกอบ F1.7 ผู้สอนให้ผ สงิ่ มีชีวิตดว้ ยกันเอง ของ“ระบบนเิ วศแปลงผัก” ของระบบนิเวศแปลงผักได้ถกู ต้อง ใน องค์ประกอบขอ และสงิ่ มีชีวติ กับ เวลา 10 นาที กระดาษคำตอบ ส่ิงไม่มีชวี ติ

ผู้เรยี นเขียนแยกแยะ ผ้เู รียนเขยี นแยกแยะองคป์ ระกอบ แปลงผัก 89 อง“ระบบนิเวศแปลงผัก”ลงใน ของระบบนิเวศแปลงผัก ลงใน กระดาษ บ กระดาษคำตอบ คำตอบ ผ้เู รียนเขียนแยกแยะองค์ประกอบ ของ “ระบบนิเวศแปลงผัก”ได้ ถูกต้อง ในเวลา 10 นาที

90 จากตารางการสร้างประสบการณเ์ พื่อการเรียนรู้ เรอ่ื ง“ความหมายของระบบนิเวศ” ซ่ึงเป็น เน้อื หาความรู้ประเภทความคิดรวบยอดทีไ่ ด้นำเสนอในบทสง่ ท้ายนี้ จะเห็นได้ว่าผู้สอนสามารถ กำหนดวัตถุประสงค์การสอน เริ่มจากวัตถุประสงค์การสอนพทุ ธิพิสัยระดับจำโดยใช้ชุด F2-F1 จำนวน 4 ชุด ทำใหผ้ ู้เรยี นสามารถจำความหมายของระบบนิเวศได้ หลังจากนั้นผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนเข้าใจความหมายของระบบนิเวศ ผู้สอนจึงกำหนด วัตถุประสงค์การสอนเป็นพุทธิพิสัยระดับเข้าใจ และกำหนด F1 ให้ผู้เรียนเขียนอธิบาย “ความหมายของระบบนิเวศ”ดว้ ยภาษาของตนเอง ต่อมาผสู้ อนตอ้ งการใหผ้ ู้เรยี น นำความหมายของระบบนเิ วศไปใชใ้ นสถานการณ์ใหม่ ผสู้ อน จึงกำหนดวัตถุประสงค์การสอนเป็นพุทธิพิสัยระดับนำไปใช้ และกำหนด F1 โดยนำผู้เรียนไป แปลงผกั แลว้ ใหผ้ ู้เรยี นเขียนความหมายของ“ระบบนเิ วศแปลงผัก” สุดท้ายผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนวิเคราะห์องค์ประกอบของระบบนิเวศแปลงผัก ผู้สอนจึง กำหนดวัตถุประสงค์การสอน เป็นพุทธิพิสัยระดับวิเคราะห์ และกำหนด F1 ให้ผู้เรียน เขียน แยกแยะองคป์ ระกอบของระบบนิเวศแปลงผัก เห็นได้ว่าเนอ้ื หาความรู้ประเภทความคิดรวบยอดนัน้ สามารถทำให้ผู้เรียนบรรลวุ ัตถุประสงค์ การสอนได้ ตั้งแต่พุทธิพิสยั ระดับจำ ระดับเข้าใจ ระดับนำไปใช้ และระดับวิเคราะห์ ดังนัน้ หาก ผู้สอนกำหนดวัตถุประสงค์การสอนในเนื้อหาดังกล่าวเพียงแค่ระดับจำ ผู้เรียนอาจลืมได้ง่ายใน ระยะเวลาอันสัน้ แต่ถ้าผู้เรียนเข้าใจย่อมจะจำได้อยา่ งแน่นอน และเมื่อเข้าใจแลว้ ก็จะสามารถ นำความรนู้ นั้ ไปใช้ในสถานการณใ์ หม่ได้ รวมท้ังสามารถวเิ คราะห์แยกแยะสง่ิ น้นั ว่า ประกอบด้วย ส่วนย่อยๆ และส่วนย่อยๆเหลา่ น้ันเก่ียวขอ้ งกันอย่างไร ซึ่งจะนำไปสู่วัตถุประสงค์การสอนพุทธิ พสิ ยั ระดับสงู ข้ึนไป ถงึ ขั้นสังเคราะหแ์ ละประเมินค่าตอ่ ไปได้

91 บรรณานกุ รม โกวิท ประวาลพฤกษ์ และสมศักดิ์ สนิ ธรุ ะเวชญ.์ 2523. การประเมินในช้ันเรียน . กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์วัฒนาพานิช. บญุ ธรรม จติ ตอ์ นันต์. 2540. ส่งเสริมการเกษตร. พิมพค์ รัง้ ที่ 2 กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ชวนพิมพ.์ ราชบัณฑติ ยสถาน. 2534. พจนานุกรมฉบบั เฉลิมพระเกยี รติ พ.ศ.2530. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ . ลาวัณย์ วิจารณ.์ และแอนจริ า เจริญวงศ์. 2556. การถ่ายทอดองค์ความรู้ การจัดทำแผนท่ี มลพษิ ทางน้ำ เพ่อื การเฝา้ ระวังคณุ ภาพนำ้ ของชุมชนบา้ นศาลาแดงเหนอื ตำบล เชยี งรากน้อย อำเภอสามโคก จงั หวัดปทุมธาน.ี เอกสารรายงานผล โครงการจดั การ ความรแู้ ละถ่ายทอดเทคโนโลยีจากผลงานวิจัยและนวตั กรรม สำนักงานคณะกรรมการ การวจิ ัยแหง่ ชาติ (วช). (ถ่ายสำเนา) ลาวัณย์ วิจารณ์. 2557. การจดั ประสบการณ์เพื่อการเรยี นร้ทู างสิง่ แวดลอ้ ม (A Design of Environmental Learning Experience). เอกสารประกอบการฝกึ อบรม วิทยากรโครงการเสรมิ สร้างศักยภาพและขยายเครือข่ายยุวชนจิตอาสาเฝ้าระวงั คุณภาพนำ้ คลองเช่อื มต่อแม่น้ำเจ้าพระยา ในตำบลเชียงรากน้อย อำเภอสามโคก จงั หวดั ปทุมธานี. (ถา่ ยสำเนา) ____________ . 2559. ส่งิ แวดล้อมศึกษา: แนวทางสกู่ ารปฏิบตั .ิ ปทมุ ธานี: สำนักพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั รังสติ . สมสดุ า ผพู้ ัฒน์ และโสภณ ธนะมัย. 2534. การพฒั นาหลักสูตรการศึกษาเกษตร. พิมพ์ครง้ั ท่ี 2 กรงุ เทพฯ: โรงพิมพค์ ุรสุ ภา ลาดพร้าว .


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook