Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore LE2 การสร้างประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้สิ่งแวดล้อม

LE2 การสร้างประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้สิ่งแวดล้อม

Published by lawanwijarn4, 2021-12-31 03:46:48

Description: LE2 การสร้างประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้สิ่งแวดล้อม

Search

Read the Text Version

ประสบการณ์เพอ่ื การเรียนรู้สิง่ แวกดารลสรอ้ ้ามง แนวทางสกู่ ารปฏิบตั ิ ลาวณั ย์ วจิ ารณ์



ก การสร้างประสบการณ์เพื่อการเรยี นรสู้ ่ิงแวดลอ้ ม: แนวทางส่กู ารปฏิบตั ิ ชือ่ ผเู้ ขยี น: ลาวัณย์ วจิ ารณ์ ภาควชิ าวศิ วกรรมส่งิ แวดลอ้ ม วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรงั สติ จานวนหนา้ 86 หนา้ ปีท่พี มิ พ์ มิถุนายน 2561 จัดพิมพ์โดย สถาบันการอาชีวศกึ ษาเกษตรภาคใต้ 244/72 หมู่ท่ี 7 ตาบลชา้ งกลาง อาเภอช้างกลาง จังหวดั นครศรีธรรมราช 80250 Email:: [email protected] เวบ็ ไซต์ : www.svia.ac.th โทรศัพท์ 0-7544-5789 โทรสาร 0-7544-5790 พมิ พ์ที่ โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลัยรงั สติ เมืองเอก ถนนพหลโยธนิ จังหวดั ปทมุ ธานี 12000 โทร 02 997 2200-30

ข คานา ผู้อานวยการสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคใต้ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ จัดการอาชีวศึกษาระดับปริญาตรี หลักสูตร เทคโนโลยีบัณฑิต การที่จะให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์การจัดการอาชีวศึกษาตามหลักสูตร จาเป็นท่ี จะต้องพัฒนาผ้สู อนให้มคี วามสามารถในการถ่ายทอดความรู้ สถาบันฯ ได้รับความกรุณาจาก ดร.ลาวัณย์ วิจารณ์ ภาควิชาวิศวกรรมส่ิงแวดล้อม วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้เรียบเรียงหนังสือ “สิ่งแวดล้อมศึกษา: แนวทางสู่ การปฏิบัติ” ในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “การจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้” แก่ผู้สอน หลักสูตรระดับปริญญาตรีและผู้สนใจ จากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี และวิทยาลัยประมง สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ เม่ือวันที่ 1-2 พฤษภาคม 2561 ณ วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีสรุ าษฏร์ธานี หลังการฝึกอบรม สถาบันฯ ขอความอนุเคราะห์ ดร.ลาวัณย์ วิจารณ์ได้กรุณาเขียน หนังสือเพ่ือเป็นคู่มือของผู้สอน“ใช้สร้างประสบการณ์เพ่ือการเรียนรู้ ” โดยใช้ชื่อหนังสือเล่มน้ีว่า “การสร้างประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้ส่ิงแวดล้อม” สถาบันฯ ขอขอบพระคุณ ดร.ลาวัณย์ วิจารณ์ ผู้เขียน และขออุทิศอานิสงส์จากหนังสือเล่มน้ีแด่ ดร.โสภณ ธนะมัยและ คุณอุษา เลิศ ฤทธ์ิ ดว้ ยความนับถอื วิศวะ คงแกว้ ผ้อู านวยการสถาบันการอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคใต้

ค คานา “การสรา้ งประสบการณเ์ พอ่ื การเรยี นรู้”เปน็ ส่ิงจาเป็นท่ีจะชว่ ยให้ผู้สอนสามารถถ่ายทอด ความรู้ให้แก่ผู้เรียนได้ตรงตามวัตถุประสงค์การสอน และสามารถประเมินผล “การเรียนรู้”ของ ผ้เู รียนไดท้ ันทีระหว่างทาการสอน แม้ว่าการเรียบเรียงเอกสารเพื่อใช้ในการฝึกอบรม ทาได้ไม่ง่ายนัก แต่ผู้เขียนใช้พยายาม เรยี บเรียงหนังสือเล่มน้ี เพ่ือให้เป็นคู่มือแก่คณะผู้เข้าอบรมในโครงการ “การจัดประสบการณ์เพื่อ การเรียนรู้” และคณาจารย์ผู้สอนหลักสูตรปริญญาตรี ในวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี และ วิทยาลยั ประมง สงั กัดสถาบันการอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคใต้ ผู้เขียนขอขอบพระคุณ ท่านอาจารย์โสภณ ธนะมัย ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ ภาควิชา วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะส่ิงแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ได้ให้คาปรึกษา และ คุณอษุ า เลิศฤทธ์ิ ผู้เป็นแรงบันดาลใจแกผ่ เู้ ขยี นในการทางานวิชาการอย่างต่อเนื่อง ผู้เขียนขอขอบพระคุณผู้อานวยการสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ ที่สนับสนุน รบั ผิดชอบการจัดทาหนังสือคร้ังน้ี รวมท้ังคณาจารย์ผู้เข้ารับการอบรมที่ได้ช่วยให้ข้อเสนอแนะใน การเรียบเรยี ง ทาใหอ้ ่านเข้าใจได้ง่ายและมคี าอธบิ ายท่ีชัดเจนทาให้เขา้ ใจได้ตรงกนั ลาวัณย์ วิจารณ์ ภาควชิ าวศิ วกรรมสิง่ แวดล้อม วทิ ยาลยั วิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรงั สติ มถิ ุนายน 2561

สารบญั ง ความเป็นมาของประสบการณ์เพอื่ การเรียนรู้ 1 เนอื้ หาความรู้ 7 7 ความหมายและประเภทของเนื้อหาความรู้ 10 การเรียบเรียงเนื้อหาความรู้ 11 ตัวอยา่ งการเรียบเรียงเน้ือหาความรู้ 27 วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ 27 วตั ถปุ ระสงค์การศกึ ษา 27 วัตถปุ ระสงค์การสอน 30 วตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม 30 คากิริยาบ่งชพ้ี ฤติกรรม 34 ตัวอย่างการเขยี นวัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม 40 ความสมั พันธ์ระหว่างเน้ือหาความรู้กับวัตถุประสงคก์ ารสอน 42 สถานการณ์การเรยี นรู้ 43 43 กจิ กรรมการเรยี นรู้ทผ่ี ู้สอนสรา้ งขนึ้ 47 กิจกรรมที่ผเู้ รียนกระทา 53 หลักคดิ เพื่อสรา้ งสถานการณก์ ารเรียนรู้ 55 สือ่ ชว่ ยสอน 58 การประเมินผล 65 การสร้างประสบการณ์เพื่อการเรยี นรสู้ ิ่งแวดล้อม 76 ตัวอยา่ งประสบการณ์เพื่อการเรียนรสู้ งิ่ แวดลอ้ ม 80 บทส่งท้าย: การสรา้ งประสบการณ์เพอ่ื การเรยี นรู้ บรรณานุกรม

1 ความเป็นมาของประสบการณเ์ พ่อื การเรียนรู้ ….ความล้มเหลวของการศกึ ษาระดับอุดมศึกษาไทย คือ ผู้สอนเมื่อสอนเสร็จ แล้วกอ็ อกข้อสอบ แลว้ ก็ออก grade วนเวียนเป็น วัฏจกั รไมร่ ้จู บสิน้ ...ผู้สอน ขาดหลกั คดิ ว่า.. “การเรียนรู้ของศิษย์ คอื หัวใจของการสอน ไมใ่ ช่ grade” ขอ้ ความขา้ งต้นเป็นคำวพิ ากษ์ของดร.โสภณ ธนะมยั ในการบรรยาย วชิ าปรชั ญาสงิ่ แวดลอ้ ม สำหรับนิสิตปริญญาเอก สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม วิทยาลัยสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ.2549 ในข้อความวิพากษ์นี้ มีคำสำคัญ(keyword) คือ“การ เรยี นรู้” คำสำคัญ“การเรยี นรู้”คำนี้ เปน็ แรงบนั ดาลใจให้ผู้เขยี นคน้ คว้าหาความรู้เพ่ือหาคำตอบให้ได้ วา่ จะสอนอยา่ งไรจึงจะทำให้ลกู ศิษยเ์ กิดการเรยี นรู้ ไมใ่ ช่ grade ทีใ่ ห้ ในทส่ี ดุ ผู้เขยี นก็ได้คำตอบ ซึง่ ก็คือ คำว่า“ประสบการณเ์ พ่ือการเรยี นรู้ (learning experience)” ผู้เขียนได้นำเสนอความคิดรวบยอดของ “ประสบการณ์เพื่อการเรียนรู”้ เอาไว้ในหนังสือที่ ผู้เขียนได้เรียบเรียงขึ้นในปี พ.ศ.2559 ชื่อ“สิ่งแวดล้อมศึกษา: แนวทางสู่การปฏิบัติ” ส่วน หนงั สอื เลม่ น้ี“การสรา้ งประสบการณ์เพือ่ การเรยี นรูส้ ่ิงแวดลอ้ ม: แนวทางส่กู ารปฏิบัติ”ผู้เขียน จะอธิบายคำว่า“ประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้” โดยสรุปความจาก“ความคิดรวบยอดของ ประสบการณเ์ พอื่ การเรยี นร”ู้ ในหนงั สือ“สง่ิ แวดลอ้ มศกึ ษา: แนวทางส่กู ารปฏิบตั ิ”ดังต่อไปนี้ คำว่า“ประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้”(learning experience)ได้ปรากฏใน หนังสือชื่อ“Basic Principles of Curriculum and Instruction” ตีพิมพ์ เม่ือปี ค.ศ.1949 ของศาสตราจารย์ Ralph W. Tyler ผู้ซ่งึ ไดร้ บั การยกย่อง ว่าเปน็ “บดิ าแห่งการพฒั นาหลักสตู รสมยั ใหมข่ องประเทศสหรฐั อเมรกิ า” ภาพที่ 1 ศาสตราจารย์ Ralph W. Tyler ทมี่ า: https://books.google.co.th/books/about/Basic_Principles_of_Curriculum_and_ Instruction

2 คำว่า“ประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้”นั้นเกิดจากการรวมกันของคำว่า“การเรียนรู้” (การ เปลี่ยนพฤติกรรม อันเนื่องมาจากการมีประสบการณ์) และ“ประสบการณ์” (การได้ประสบมา ด้วยตนเอง หรือเข้าไปเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์แล้วเกิดความรู้) เมื่อนำคำสองคำมารวมกัน ประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้ จึงหมายถึง การแสดงออกอย่างกระตือรือร้นของผู้เรียนต่อ สถานการณ์ท่ีผู้สอนสร้างขึ้น จนบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการ เปลี่ยนพฤตกิ รรม... ประสบการณเ์ พือ่ การเรียนรู้น้ถี ือไดว้ ่าเป็นฟนั เฟอื งสำคญั ท่สี ดุ ของการจัดการเรียนการสอนที่ ม่งุ เนน้ ไปท่ตี วั ผ้เู รยี นและผูส้ อน ซ่งึ ทง้ั สองสว่ นน้ีจะตอ้ งมปี ฏิสมั พันธ์ (interaction)ตอ่ กันโดยที่ ผูส้ อน......ทำหนา้ ที่จดั สรา้ งสถานการณ์การเรยี นรู้ (learning situation) ใหก้ บั ผู้เรยี น ผ้เู รียน......ทำหนา้ ท่ตี อบสนอง (interaction: ปฏิสมั พนั ธ์) ต่อสถานการณ์การเรียนรู้ที่ผู้สอน ได้จดั สรา้ งข้ึนอยา่ งกระตอื รือรน้ จนผูเ้ รียนมคี วามร้แู ละ/หรอื มีทกั ษะ และ/หรือมเี จตคติ ในเนอ้ื หา ความรตู้ ามท่ีผสู้ อนตอ้ งการ ดังนั้น ประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้จึงเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นโดยมุ่งไปที่ผู้เรียน โดยผู้สอนทำ หนา้ ทเี่ พียงแต่ชว่ ยจดั สถานการณก์ ารเรียนรู้ต่างๆขึ้น เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนไดแ้ สดงออกซ่ึงจะทำให้ผู้เรียน เกดิ การเรียนรู้ (learning) คอื เกดิ การเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมตามวัตถปุ ระสงคท์ ีผ่ สู้ อนกำหนดไว้ จงึ เหน็ ไดอ้ ยา่ งชัดเจนว่า ประสบการณ์เพอื่ การเรียนรู้ไม่ใชส่ ิ่งท่ีผูส้ อนแสดงออก แต่จะต้อง เป็นสง่ิ ท่ที ำให้ผู้เรยี นแสดงออก แล้วทำใหเ้ กิดการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองจงึ จะจัดเป็น“ประสบการณ์ เพื่อการเรียนรู้” ฉะนั้นการทีผ่ ู้สอนบรรยาย จึงไม่ใช่ประสบการณ์เพ่ือการเรยี นรู้ แม้ว่าจะมีผูเ้ รยี นเปน็ ผู้นง่ั ฟังอยู่ก็ตาม เพราะผู้เรียนยังไม่ได้มีปฏิสัมพันธ์แต่อย่างใดกับการกระทำของผู้สอนซึ่งกำลัง บรรยายอยู่ ผเู้ รียนเพยี งแต่ได้ข้อมูลความรจู้ ากผู้สอนเท่านน้ั แตม่ ิได้เป็นหลกั ประกันว่าผู้เรียนจะ เรยี นรไู้ ด้ตามวตั ถุประสงค์ท่ผี ู้สอนกำหนดไว้ ดงั ตัวอย่างเชน่ ครูสอนวิธีการคำนวณสูตรปุ๋ย ถ้าครูอธิบายขั้นตอนการคำนวณต่างๆจนจบ แต่ไม่มีโจทย์ แบบฝึกหัดให้นักเรียนได้คำนวณเองแล้ว นักเรียนจะยังไม่มีประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้ในเรื่อง การคำนวณปุ๋ย

3 ผูส้ อนต้องการสอนการว่ายนำ้ ในชน้ั เรยี น โดยผ้สู อนอธบิ ายขน้ั ตอนพร้อมทั้งฉายวีดิทัศน์ให้ ดู แต่เมื่อนำผู้เรียนลงสระว่ายน้ำ ปรากฏว่าว่ายนำ้ ไม่เป็น แสดงว่า สิ่งที่ผู้สอนจัดทำขึ้น คือ การ บรรยายน้ันไม่ได้ช่วยให้ผู้เรียนเกิดประสบการณ์เพ่ือการเรยี นรู้ในการว่ายน้ำเพราะผู้เรียนยังวา่ ย น้ำไม่ได้ แต่ถา้ ผู้สอนพาผู้เรียนไปสระวา่ ยน้ำ อธิบายขั้นตอน แล้วให้ผู้ที่ว่ายน้ำเป็นลงสระวา่ ยน้ำ แสดงขน้ั ตอนเปน็ การสาธิตให้ดู แล้วให้ผู้เรียนได้ลงวา่ ยนำ้ จรงิ ๆ จนสามารถว่ายเป็น จงึ จะถือได้ว่า เป็น “ประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้การว่ายน้ำ” นั่นคือ สถานการณ์การเรียนรู้ที่ผู้สอนจัดขึ้น นับ แต่การเตรียมโดยการอธิบายวิธีว่าย ผู้เรียนลงมือว่ายน้ำ จนกระทั่งเกิดการเรียนรู้โดยเปลี่ยน พฤติกรรมจากว่ายนำ้ ไม่เปน็ จนวา่ ยน้ำได้ ภาพที่ 2 สถานการณก์ ารเรียนรู้ “การว่ายนำ้ ” ผูส้ อนตอ้ งการสอนให้ผู้เรียนเข้าใจความหมายของ “นำ้ เสยี ” โดยผู้สอนอธบิ ายลักษณะของ นำ้ เสีย โดยใช้แผ่นขอ้ ความ “ความหมายของน้ำเสีย”และฉายวดี ิทศั นล์ กั ษณะของนำ้ เสีย หลงั จาก น้ันผ้สู อนทำการทดสอบ โดยใหผ้ ้เู รียนตอบคำถามปรนยั ว่า นำ้ เสีย คอื ข้อใด? ผเู้ รียนบางสว่ นตอบ ได้ถูกต้อง แต่ผู้สอนจะมัน่ ใจได้อย่างไรว่า ผู้เรียน “เข้าใจ” หรือผู้เรียน “จดจำ”แต่ถา้ ผู้สอนพา ผู้เรียนไปดูน้ำเสียในคลองเปรมประชากร หลังจากนั้นให้ผู้เรียนเขียนอธิบายลักษณะของน้ำเสยี ด้วยตนเอง ผู้เรียนที่สามารถอธิบายลักษณะของน้ำเสียได้ถูกต้อง แสดงว่าผู้เรียนเข้าใจ ความหมายของ “น้ำเสยี ” มไิ ดเ้ กดิ จากการจดจำ จากตัวอย่าง การอธิบายประกอบการดูวีดิทศั น์แล้วตอบคำถาม แล้วไปดูน้ำเสียจากสถานท่ี จริง แล้วให้เขียนคำอธิบายความหมายของน้ำเสีย ทั้งหมดนี้ คือ สถานการณ์การเรียนรู้ที่ผู้สอน สร้างขึ้น ถ้าผู้เรียนฟังคำอธิบาย ตั้งใจดูน้ำเสียในพื้นที่จริง แสดงว่า ผู้เรียนมี ปฏิสัมพันธ์กับ สถานการณ์ทีผ่ ู้สอนสร้างขึ้น และถ้าผูเ้ รียนสามารถอธิบายความหมายของน้ำเสียได้ถกู ต้อง แสดง ว่า ผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ คือ เข้าใจความหมายของนำ้ เสียดว้ ยตนเอง มิใชเ่ กดิ จากการจดจำ

4 ภาพท่ี 3 สถานการณ์การเรยี นรู้ เรอ่ื ง “น้ำเสีย” จากตวั อย่างดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ ข้างตน้ เมอื่ นำมาวเิ คราะหแ์ ยกแยะองคป์ ระกอบ จะพบวา่ ประสบการณ์เพ่ือการเรียนรู้ ประกอบด้วย 6 องคป์ ระกอบ คือ 1) ผู้สอน 2) ผเู้ รยี น 3) เนือ้ หา ความรทู้ ี่ผู้เรียนจะตอ้ งเรียนรู้(วา่ ยน้ำ) 4)วตั ถุประสงค์การเรียนรู้ทีผ่ ู้สอนกำหนดไว้ ซง่ึ กค็ อื วตั ถปุ ระสงคก์ ารสอนและวตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม(ผู้เรยี นว่ายนำ้ เปน็ ) 5) สถานการณ์การเรียนรู้ ที่ผ้สู อนจัดสรา้ งข้นึ (ผู้สอนพาผูเ้ รียนไปสระนำ้ –อธิบายขนั้ ตอนการว่ายนำ้ –สาธติ การว่ายน้ำและ ให้ผู้เรยี นลงสระวา่ ยน้ำได้ว่ายน้ำจริง) 6) ผู้เรยี นมพี ฤตกิ รรมตอบสนองตอ่ สถานการณก์ ารเรยี นรู้ (ฟงั การอธบิ ายขน้ั ตอนการวา่ ยนำ้ –ดวู ิธกี ารวา่ ยน้ำทผ่ี ู้สอนสาธติ - ลงมือว่ายน้ำดว้ ยตนเอง) ทั้ง 6 องค์ประกอบนั้น เมื่อนำมาสังเคราะห์เข้าด้วยกันแล้ว จัดเรียงลำดับความสมั พันธ์ตาม แนวทางของแผนการสอน (การกำหนดแนวทางการเรียนการสอนไว้ล่วงหน้า ก่อนการสอน) ใน รปู แบบของตาราง ซง่ึ ตารางนเ้ี รยี กวา่ “ตารางประสบการณ์เพื่อการเรยี นรู้” ดังแผนภาพที่ 1 เนอ้ื หา วัตถปุ ระสงค์ วตั ถปุ ระสงค์ สถานการณ์การเรยี นรู้ สอื่ การ ความรู้ การสอน เชิงพฤติกรรม ช่วย ประเมิน กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมที่ สอน ผล ทผี่ ้สู อนสร้างขึน้ ผเู้ รียนกระทำ แผนภาพท่ี 1 ตารางประสบการณเ์ พ่ือการเรียนรู้ สมสุดา ผู้พัฒน์ และโสภณ ธนะมัย (2534)ได้ให้ข้อคิดเห็น เรื่อง แบบของประสบการณ์เพอ่ื การเรียนร้วู า่ มี 3 แบบ คอื 1) ประสบการณเ์ พื่อการเรียนรทู้ ่ีช่วยให้เกิดความรู้ 2) ประสบการณ์

5 เพื่อการเรียนรู้ท่ีชว่ ยให้เกิดทักษะความชำนาญ และ3) ประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้ที่ช่วยใหเ้ กิด ลักษณะนสิ ยั ทีต่ อ้ งการ ประสบการณ์เพ่อื การเรยี นรู้ทช่ี ่วยให้เกดิ ความรู้ ความรู้เปน็ วัตถุประสงคก์ ารศึกษาท่ตี ้องการให้ผเู้ รียนเกิดความรู้ การที่ผเู้ รียนจะเกดิ ความรู้ได้ ผูเ้ รยี นจะต้องเรียนรู้โดยการจดจำและทำความเข้าใจเนอ้ื หาความรใู้ นแต่ละเรอื่ ง จดุ อ่อนท่ีพบมาก คือ ผ้เู รยี นเรียนรู้แบบท่องจำโดยปราศจากความเข้าใจ จึงลมื เร็วภายในระยะเวลาอันส้ัน การจดั ประสบการณ์เพือ่ การเรียนรู้ตอ้ งให้ผู้เรยี นสามารถตคี วามข้อเทจ็ จริง ความคิดรวบยอด หลักการ ให้เป็นรูปธรรมท่ีผู้เรียนเห็นได้อย่างชัดเจน ภาษาที่ผู้สอนใช้จะต้องทำให้ผู้เรียนเข้าใจง่าย ตวั อยา่ ง สือ่ การสอนจะต้องนำเข้ามาใช้เพ่ือให้ผู้เรียนนึกตามเร่ืองที่สอนออกมาเป็นภาพที่ปรากฏ ในจิตใจอย่างชัดเจน เนื้อหาความรู้ที่นำมาสอนจะตอ้ งกล่ันกรองแล้วว่า มีความสำคัญต่อการนำไปใช้ และ/หรือ ต่อการเรียนเนื้อหาความรู้ที่สูงขึ้นต่อไปให้รู้ลุ่มลึกยิ่งขึ้น การเน้น ย้ำ ซ้ำ ทวน เนื้อหาที่สำคัญ บ่อยๆ จะช่วยให้ผู้เรียนจดจำเนื้อหาความรู้นั้นมากขึ้น นอกจากการจัดประสบการณ์เพื่อการ เรียนรู้ เพือ่ ให้จดจำและเข้าใจแล้ว ผู้สอนควรจัดประสบการณ์เพื่อการเรยี นรู้ที่ฝึกให้ผู้เรียนได้นำ ข้อเท็จจริง ความคิดรวบยอด และหลักการไปใช้ ไปแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งนอกจาก จะทำให้ผู้เรียนจดจำ เข้าใจได้ดีขึ้นแล้ว ยังเป็นการพัฒนาการนำความรู้ไปใช้ การวิเคราะห์ การ สงั เคราะห์และการประเมนิ ค่าอีกด้วย ประสบการณเ์ พ่ือการเรียนรู้ทช่ี ่วยใหเ้ กดิ ทักษะความชำนาญ ผู้เรียนจะเกิดทักษะความชำนาญได้ต่อเมือ่ ได้รู้และเห็นขัน้ ตอนการปฏิบตั ิท่ีถกู ต้อง และฝึก ปฏิบัติทำ ซึ่งจะทั้งทำผิดและทำถูก ผู้สอนจำเป็นจะต้องดูแล และให้คำแนะนำอย่างใกล้ชิด เพ่ือให้ผู้เรียนฝกึ ปฏบิ ัติเฉพาะการปฏิบตั ทิ ี่ถกู ตอ้ งเท่านน้ั จนเกดิ ความคล่องแคลว่ ชำนาญ ประสบการณเ์ พอื่ การเรยี นรทู้ ่ชี ว่ ยใหเ้ กิดลักษณะนิสยั ที่ตอ้ งการ การสร้างลักษณะนิสัยที่ถูกต้องให้กับผู้เรียน ให้มีความคิดเห็นที่ถูกต้อง การที่ผู้เรียนจะมี ลักษณะนิสัย และ/หรอื ความเห็นที่ถกู ต้องได้ ผเู้ รียนจะต้องได้เห็น ได้ใกล้ชดิ กับผ้สู อนท่มี ลี กั ษณะ นิสัยท่ีถูกต้องก่อน มีศรัทธาต่อผู้สอนที่จะเป็นต้นแบบ แล้วผู้เรียนจึงจะเกิดความคล้อยตาม

6 ยอมรับ ปฏิบัติตามผู้สอนที่เป็นต้นแบบ และเมื่อปฏิบัติตามบ่อยๆจะกลายเป็นลักษณะนิสัยใน ที่สุด องค์ประกอบของการจดั ประสบการณ์เพื่อการเรียนรูแ้ ต่ละองคป์ ระกอบจะมีหลักวิชาการที่ เกี่ยวขอ้ งกับองค์ประกอบนนั้ ๆ ดังนน้ั จงึ จำเป็นต้องเข้าใจองค์ความร้นู น้ั ๆเสยี ก่อน จึงจะสามารถ นำมาพิจารณาการจดั ประสบการณเ์ พอ่ื การเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างถกู ตอ้ งต่อไป องค์ความรู้ (body of knowledge)ทีจ่ ำเป็นตอ้ งทำความเขา้ ใจ ไดแ้ ก่ 1) เนอื้ หาความรู้ 2) วัตถุประสงค์การสอน 3) วัตถุประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 4) สถานการณ์การเรียนรู้ ประกอบด้วย กิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้สอนสร้างขึ้นกับกิจกรรมที่ผู้เรียนกระทำ 5) สื่อช่วยสอน และ 6) การ ประเมินผล

7 เนือ้ หาความรู้ ความหมายและประเภทของเนื้อหาความรู้ คำว่า“เนื้อหาความรู้”(subject matter) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เป็นสาระความรู้ที่ทันสมัย ถูกต้องตามหลักวิชาการของศาสตร์นั้นๆ ซึ่งจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภท (สมสุดา และโสภณ, 2534) ได้แก่ เนื้อหาความรู้ภาคความรู้ (knowing element) และเนื้อหาความรู้ภาคปฏิบัติ (doing element) ผเู้ ขยี นได้ปรับปรุงเนื้อหาภาคความร้ใู นส่วนขอ้ เท็จจริงของสมสดุ า ผูพ้ ัฒน์ และโสภณ ธนะมัย เพือ่ ให้เรียนรู้ได้งา่ ยขึ้น คอื เปลีย่ นคำจาก 1) ข้อเท็จจริงจดจำ เปน็ ขอ้ เทจ็ จริงเฉพาะเจาะจง และ 2) ขอ้ เทจ็ จริงนำไปใช้ เปน็ ขอ้ เทจ็ จริงเกณฑ/์ มาตรฐาน 1. เนื้อหาภาคความรู้ (knowing element) หมายถึง เนื้อหาที่ทำให้ผู้เรยี นเกิดความรู้ ซ่ึง แบง่ ออกเป็นเนือ้ หาขอ้ เท็จจริง เนอื้ หาความคิดรวบยอด และเนอื้ หาหลักการ 1.1 ข้อเท็จจรงิ หมายถึง เนื้อหาประเภทซ่ึงเมอื่ กล่าวถงึ แล้วสามารถเข้าใจได้ง่ายในเวลา อนั รวดเร็ว เนอื้ หาขอ้ เทจ็ จรงิ นแี้ บ่งออกเปน็ ข้อเท็จจริงเฉพาะเจาะจง ขอ้ เทจ็ จรงิ เกณฑ/์ มาตรฐาน และขอ้ เทจ็ จริงเจตคติ 1.1.1 ขอ้ เทจ็ จรงิ เฉพาะเจาะจง: เปน็ ข้อเท็จจรงิ ในเร่ืองใดเรื่องหนงึ่ ท่ผี สู้ อนพิจารณา แล้ววา่ ผู้เรียนตอ้ งจดจำ ตัวอยา่ ง การตรวจวัดคุณภาพน้ำมี 3 วิธี ไดแ้ ก่ วิธกี ารทางชวี ภาพ วธิ ีการ ทางกายภาพ และวิธกี ารทางเคมี 1.1.2 ขอ้ เท็จจรงิ เกณฑ/์ มาตรฐาน: เก่ียวกบั สงิ่ ท่เี ปน็ มาตรฐาน ทเี่ ป็นเกณฑ์ สามารถนำไปวินิจฉยั เลอื ก และตัดสินใจได้ ตัวอยา่ ง มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผวิ ดนิ สำหรับผลิตน้ำประปา ต้องมีปริมาณออกซิเจนละลายนำ้ ไมน่ ้อยกวา่ 4 มิลลกิ ร้ม /ลิตร

8 1.1.3 ขอ้ เท็จจริงเจตคต:ิ เป็นขอ้ เทจ็ จริงที่ชักนำให้เห็นคุณค่า เช่น ประโยชน์ ความสำคญั ของเรอ่ื งนนั้ ๆ ตัวอย่างเชน่ ประโยชน์ของการตรวจสอบคุณภาพนำ้ 1. ทำให้ทราบการปนเปอ้ื นของมลสารในแหลง่ นำ้ 2. ทำให้สามารถเฝา้ ระวังคุณภาพน้ำในแหลง่ นำ้ 3. ทำให้ทราบวิธีการปอ้ งกัน แก้ไข และลดมลพษิ ทางนำ้ 1.2 ความคดิ รวบยอด: เปน็ เนอื้ หาทมี่ ีลกั ษณะเฉพาะทีส่ ำคญั (critical attributes) ของ ความคดิ รวบยอดนน้ั ซ่งึ เมอื่ กลา่ วถงึ แล้ว บุคคลที่มีความคดิ รวบยอดในเรอื่ งนัน้ จะมคี วามเข้าใจ ตรงกนั ตัวอยา่ ง ความคิดรวบยอด มีชื่อซึ่งให้คำนิยาม ให้ความหมายได้ และมี เอกลักษณ์ คอื มีลกั ษณะเฉพาะท่ีสำคัญของความคิดรวบยอดน้ัน เช่น นก เป็ด ไก่ จอบ เสียม ความสวย ความงาม น้ำเสยี นำ้ ประปา อาหารสัตว์ เชื่อเห็ดฟาง เห็ดฟาง ปลานิล ปลาตีน บอ่ ปลา เปน็ ตน้ โสภณ ธนะมัย (2549) ได้กล่าวเป็นภาษติ เอาไว้ว่า “ (ถา้ ) รู้.....ความคิดรวบยอด(concept) ของความรทู้ ้ังหมดท่ีมีในโลกนี้…. ...........กไ็ มม่ ีอะไรท่ีจะไมร่ ู้อีกแลว้ ……….” (คำบรรยายในวชิ าปรัชญาสิ่งแวดล้อม สำหรบั นิสิตปรญิ ญาเอก สาขาวทิ ยาศาสตรส์ ิ่งแวดล้อม วทิ ยาลัยสิง่ แวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ.2549) จากภาษิตโดย โสภณ ธนะมัย ทำให้เห็นได้ว่า เนื้อหาความรู้ประเภทความคิดรวบยอดมี ความสำคัญอยา่ งยง่ิ ดงั นัน้ ผูส้ อนจะต้องสกัดเนอ้ื หาความรเู้ ร่อื งต่างๆให้ออกมาเป็น เนอื้ หาความรู้

9 ความคิดรวบยอดให้ได้ แล้วจึงจัดประสบการณ์เพ่ือการเรียนรู้ ในพุทธิพิสัยระดับ“เข้าใจ”เป็น อย่างตำ่ สดุ ให้กบั ผเู้ รียนของตน 1.3 หลักการ: เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติที่ได้รับการยอมรับว่า เป็นความจริงและ ยดึ ถอื เปน็ หลกั ปฏบิ ตั ิ ตวั อย่าง หลกั การกำหนดจุดเก็บตวั อยา่ งน้ำ 1. จดุ อา้ งอิง (reference site) ไดแ้ ก่ จุดตน้ นำ้ ทีไ่ ม่ได้รับผลกระทบจากแหลง่ มลพษิ 2. จุดตรวจสอบการเปลยี่ นแปลงของคุณภาพน้ำ (sampling site) เปน็ จุด ตรวจสอบคุณภาพนำ้ ท่ีอยู่ในช่วงที่ไดร้ บั ผลกระทบจากแหลง่ มลพิษต่างๆ 3. จดุ ตรวจสอบทา้ ยน้ำ (global river flux site) ไดแ้ ก่ จุดตรวจสอบบริเวณปลาย สดุ ของแหล่งน้ำ กอ่ นจะถกู ระบายลงสแู่ หลง่ รองรบั นำ้ อ่ืน 2. เนอื้ หาภาคปฏบิ ัติ (doing) หมายถึง เน้ือหาความรู้ที่ทำให้ผู้เรยี นเกิดทักษะในการทำ เป็นเนอ้ื หาท่ีระบถุ งึ วิธีดำเนนิ การ หรอื ระบุขัน้ ตอนการทำงาน เชน่ ข้ันตอนการตรวจวดั ออกซิเจนละลายนำ้ โดยใชช้ ดุ ทดสอบอย่างงา่ ย ตัวอยา่ ง ขนั้ ตอนการตรวจวดั ออกซิเจนละลายน้ำ โดยใชช้ ุดทดสอบอย่างง่าย ประกอบดว้ ย 1 จดั หาน้ำเพ่อื ใช้ในการสาธติ การตรวจวดั ออกซเิ จนละลายนำ้ 2 รินสารละลายแมงกานสี ซลั เฟตลงไปในขวด จนหมดหลอด 3 รินสารละลายอลั คาไลด์ไอโอไดด์เอไซดล์ งไปในขวด จนหมดหลอด 4 ปดิ จกุ แกว้ แล้วพลกิ ขวดไป-มา ประมาณ 20 คร้งั จะเห็นตะกอน สนี ้ำตาลเกดิ ข้นึ ในขวด 5 ตัง้ ท้งิ ไวใ้ หต้ ะกอนตกกวา่ ครงึ่ ขวด แลว้ เติมกรดซลั ฟูริกลงในขวดจนหมด หลอดแลว้ ปดิ จุกแกว้ พลิกขวดไป-มา 20 ครงั้ จนตะกอนละลายหมด จะ ไดส้ ารละลายสเี หลอื ง 6 เทสารละลายใสข่ วดรปู ชมพจู่ นถึงขีดท่ีขีดไว้ 7 ใช้กระบอกฉีดยาดูดสารละลายมาตรฐานโซเดียมไธโอซัลเฟต 10 มิลลิลิตร แลว้ คอ่ ยๆหยดลงไปในขวดรปู ชมพู่แกวง่ ไปมาจนสารละลายสเี หลืองจางลง

10 8 ใส่นำ้ แปง้ ลงในขวดรปู ชมพ่จู นหมดหลอด สารละลายจะเป็นสีนำ้ เงิน หลงั จาก นั้นคอ่ ยๆหยดสารละลายมาตรฐานโซเดยี มไธโอซลั เฟตตอ่ ไปช้าๆ จนสนี ้ำเงิน จางหายจงึ หยุดการหยด และอา่ นจำนวนสารในกระบอกฉีดยา เพอื่ คำนวณหา คา่ ออกซิเจนละลายนำ้ ( DO ) การเรียบเรยี งเนื้อหาความรู้ โดยทว่ั ไป เนือ้ หาความรู้ท่นี กั วชิ าการเขียนขึ้นน้นั มีลกั ษณะของการขยายความ มีการ ยกตัวอย่าง มีภาพประกอบเพ่ือชว่ ยให้ผ้อู ่านเขา้ ใจงา่ ย แต่สำหรับการจัดประสบการณเ์ พือ่ การ เรยี นรูน้ ัน้ เนื้อหาความรเู้ หลา่ น้นั ต้องนำมาเรียบเรยี งใหม่ ให้สอดคลอ้ งกบั ประเภทเนื้อหาความรู้ นัน้ ๆ ดังน้ี 1. ข้อเทจ็ จริงเฉพาะเจาะจง เรียบเรยี งเขยี นเฉพาะ ข้อเท็จจรงิ ทีผ่ ู้เรยี นจะต้อง “จำ” 2. ขอ้ เท็จจริงเกณฑ์/มาตรฐาน เรยี บเรยี งเขยี นเฉพาะ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทีแ่ สดงเกณฑ/์ มาตรฐาน เมือ่ ผู้เรียน “จำ”ได้ แล้ว จะสามารถนำไป “วนิ ิจฉยั ” “เลอื ก” และ “ตดั สินใจ”

11 3. ข้อเท็จจริงเจตคติ เรียบเรยี งเขยี นเฉพาะ ขอ้ เทจ็ จริงที่ชกั นำใหผ้ ู้เรียนเหน็ คุณคา่ ของเรอื่ งน้นั ๆ 4. ความคิดรวบยอด เรยี บเรยี งเขียนเฉพาะข้อเทจ็ จริงทรี่ ะบุลกั ษณะเฉพาะท่ีสำคญั (critical attributes) ของความคดิ รวบยอดน้ัน ซึ่งอยู่ในรปู ของ “คำจำกดั ความ” “ความหมาย” “นิยามศพั ท”์ 5. หลกั การ เรียบเรียงเขยี นเฉพาะขอ้ เท็จจริงท่ียดึ ถอื เป็นหลักปฏบิ ตั ิ 6. ภาคปฏิบตั ิ เรยี บเรียงเขียนเฉพาะขอ้ เทจ็ จรงิ ท่ีแสดงขัน้ ตอนการปฏบิ ัติหรือการกระทำ ตวั อย่างการเรียบเรียงเน้ือหา การเรียบเรียงเนือ้ หาความรู้ท่ีจะนำเสนอต่อไปนี้ เป็นเนื้อหาความรู้สิ่งแวดล้อมในบางเรื่อง จากหนังสือ“สิ่งแวดล้อมศึกษา: แนวทางสู่การปฏิบัติ”(ลาวัณย์, 2559) โดยนำเนื้อหาความรู้ ดังกล่าวมาวิเคราะห์ว่า เป็นเนื้อหาความรู้ประเภทใด จากนั้นจึงทำการเรียบเรียงเนื้อหาความรู้ เพ่ือเปน็ ตวั อยา่ งของการเรียบเรยี งเน้อื หาความรู้สำหรับการจดั ประสบการณเ์ พ่ือการเรียนรู้ ได้แก่ 1. ประเภททรัพยากรธรรมชาติ

12 2. องคป์ ระกอบในระบบนิเวศ 3. ปัญหาสง่ิ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรธรรมขาติ 4. ความหมายของระบบนิเวศ 5. การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนิเวศ

13 เนื้อหาความรู้ : ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ สำหรับในหนังสอื เลม่ น้ีจะกล่าวถึงเฉพาะทรพั ยากรธรรมชาติ 3 ประเภท ประกอบดว้ ย 1. ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ใี ช้แล้วไมห่ มดไป จำแนกออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ อากาศ และนำ้ ที่ อยู่ในรปู ของวัฏจกั ร (น้ำจะหมนุ เวียนเปลยี่ นสภาพ เช่น ฝนตกลงสพู่ นื้ ดิน บางสว่ นระเหยกลับไปสู่ บรรยากาศ บางส่วนซมึ ลงไปเปน็ นำ้ ใต้ดิน บางส่วนไหลลงแมน่ ้ำลำคลอง ออกสู่ทะเล แล้วกลับ ระเหยกลายเปน็ ไอนำ้ รวมตวั กันเปน็ ก้อนเมฆ ตกลงมาเปน็ ฝนอีก) ทรพั ยากรธรรมชาติกลมุ่ นเ้ี ปน็ ปัจจยั สำคญั ตอ่ การดำรงชวี ิตของส่งิ มชี ีวิตอยา่ งมาก เพราะ หากเกดิ การขาดแคลนจะทำให้สงิ่ มชี วี ติ ไมส่ ามารถดำรงชีวติ อย่ไู ด้ 2 ทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่ทดแทนได้หรอื รักษาไว้ไดเ้ มอื่ ใชไ้ ปแล้ว แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1) น้ำใช้ หมายถึง น้ำที่อยใู่ นทีเ่ ฉพาะ เชน่ น้ำในภาชนะ นำ้ ในเขื่อน เมือ่ ใช้ไปปรมิ าณจะลดลง แต่จะมีทดแทนได้ เชน่ เมื่อเกิดมีฝนตกลงมา เปน็ ต้น 2) ส่ิงมีชวี ิต เมอื่ ใช้หมดไปแล้ว สามารถ ทดแทนขนึ้ มาใหมไ่ ด้ ไดแ้ ก่ พืช (ปา่ ไม้ ทงุ้ หญา้ ฯลฯ) และสัตว์ (สัตว์เลย้ี ง สัตวป์ ่า) ทรัพยากรธรรมชาตกิ ลมุ่ น้ีเป็นปจั จยั สใี่ นการดำรงชีวิตของมนษุ ย์ หากเกดิ การขาดแคลน จะทำใหม้ นษุ ย์ไมส่ ามารถดำรงชวี ติ อยู่ไดใ้ นเวลาต่อมา 3 ทรัพยากรธรรมชาติท่ีใช้แลว้ หมดไป ไม่สามารถทดแทนได้ ได้แก่ แร่ธาตุ และพลงั งาน เช่น แร่ หนิ ถ่านหิน กา๊ ซธรรมชาติ น้ำมันปโิ ตรเลียม ฯลฯ ทรพั ยากรธรรมชาติกลุม่ น้ีเปน็ ปจั จยั อำนวยความสะดวกสบายในการดำเนินชวี ติ เช่น พลังงาน แรธ่ าตทุ ใ่ี ชใ้ นการกอ่ สร้าง หากเกดิ การขาดแคลนจะทำให้มนษุ ย์ดำรงชีวิตอยไู่ ด้อยา่ ง ลำบาก โดยเฉพาะการขาดแคลนพลงั งานทำให้ความสะดวกสบายหมดไป การเรียบเรยี งเน้อื หา

14 จากเนอ้ื หาภาคความรู้ เรื่อง ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ ผสู้ อนได้พิจารณาเหน็ ว่า เป็น เนื้อหาความรู้ ประเภทข้อเท็จจริงเฉพาะเจาะจง ดังนั้นผู้สอนต้องกรองเนื้อหาความรู้และเอา เฉพาะข้อมูลที่ผู้เรียนจะต้องจดจำเท่าน้ัน นำมาเรียบเรียงเขียนข้นึ ใหม่ใหต้ อ่ เนื่องสมั พนั ธก์ ัน และ ใหไ้ ดใ้ จความทอี่ า่ นแลว้ เข้าใจไดง้ ่าย ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ สามารถจำแนกออกเปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไมห่ มดไป ได้แก่ อากาศและนำ้ ทอ่ี ยู่ในรูปของวฏั จกั ร 2. ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ น้ำใช้และสิ่งมีชีวิต คือ พืช และสัตว์ 3. ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีใช้แลว้ หมดไป ไมส่ ามารถทดแทนได้ ไดแ้ ก่ แรธ่ าตุและพลังงาน เช่น ถา่ นหิน ก๊าซธรรมชาติ น้ำมนั ปิโตรเลียม ฯลฯ

15 เนอ้ื หาความรู้ : องคป์ ระกอบในระบบนิเวศ องคป์ ระกอบในระบบนเิ วศ ระบบนเิ วศโดยทั่วไปแลว้ จะมอี งค์ประกอบทเ่ี ป็นสง่ิ มีชีวติ และสิ่งไมม่ ีชีวิตดงั นี้ 1. องค์ประกอบทีเ่ ปน็ ส่ิงมีชวี ติ แบ่งตามบทบาทหนา้ ที่เฉพาะอยา่ งของส่ิงมีชวี ิต ออกเป็น 3 กลมุ่ 1.1 ผู้ผลิต (Producer) เปน็ สง่ิ มีชีวิตท่ีสามารถสรา้ งอาหารไดเ้ อง โดยใช้พลงั งานจาก แสงอาทิตย์ ได้แก่ พืชสีเขียวทง้ั หลาย แพลงคต์ อนพชื และจลุ ินทรีย์ท่ีมีคลอโรฟิลล์ 1.2 ผบู้ ริโภค (Consumer) เป็นส่ิงมชี วี ติ ท่ีไมส่ ามารถสรา้ งอาหารไดเ้ อง แต่ดำรงชีวติ อยู่ ได้โดยกินสิ่งมชี ีวิตชนดิ อน่ื ๆ เป็นอาหาร ซงึ่ จำแนกออกเปน็ 4 กล่มุ 1) Herbivore คือ พวกสัตว์กินพืชเป็นอาหาร 2) Carnivore คือ พวกสัตวก์ นิ สัตวด์ ้วยกนั เป็นอาหาร 3) Omnivore คือ พวกสตั วท์ ีก่ นิ ท้ังพชื และสัตว์เปน็ อาหาร 4) Detritivore คอื พวก สัตวท์ ก่ี ินซากสง่ิ มชี วี ิตเปน็ อาหาร 1.3 ผู้ยอ่ ยสลาย (Decomposer) เปน็ ส่งิ มชี วี ิตที่ทำหนา้ ทเี่ ปน็ ผยู้ อ่ ยสลายซากสิ่งมีชีวติ เชน่ จลุ นิ ทรยี ์ รา ยสี ต์ ไวรัส เป็นต้น 2. องคป์ ระกอบท่เี ป็นสง่ิ ไมม่ ีชีวิต แบง่ ออกเปน็ 4 กลุ่ม 2.1 สารอนิ ทรีย์ เช่น โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรทในมนษุ ย์ ฮวิ มสั ในดิน เปน็ ตน้ 2.2 สารอนินทรีย์ ไดแ้ ก่ ธาตุตา่ งๆ (คารบ์ อน ไนโตรเจน ออกซิเจน เปน็ ตน้ ) และ สารประกอบ (เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ นำ้ ฯลฯ) สำหรบั องคป์ ระกอบทีเ่ ปน็ สารอนิ ทรีย์และสารอนินทรียข์ ้างต้น จะขอยกตัวอย่างใน ระบบนิเวศนาขา้ ว พอเปน็ สงั เขป ดังนี้ สารอนิ ทรยี ใ์ นทน่ี ้ี คือ ฮิวมัส ซงึ่ เกิดจากการย่อยสลายสารอนิ ทรยี โ์ ดยจลุ ินทรยี ์ในดิน สารอนิ ทรีย์ในดนิ จะชว่ ยใหด้ นิ มโี ครงสรา้ งที่เป็นประโยชน์ตอ่ การเจริญเตบิ โตของตน้ ขา้ ว

16 สารอนินทรยี ์ในทน่ี ี้ คือ ธาตุต่างๆประกอบดว้ ย นำ้ ออกซเิ จน คารบ์ อนไดออกไซด์ ไนโตรเจน กำมะถนั ฟอสฟอรสั ซ่ึงธาตเุ หลา่ น้ี เป็นองค์ประกอบสำคญั ท่ีทำให้ต้นข้าวเจรญิ เตบิ โต และเกดิ เป็นผลผลติ ของข้าว เชน่ 1) คารบ์ อน เปน็ ธาตุสารอาหารในรปู ของก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์จากอากาศซึง่ เป็น ปจั จัยสำคัญในการสังเคราะห์แสงเพ่อื สรา้ งเน้อื เยือ่ ของข้าว ซ่งึ เป็นผลผลติ ของระบบนิเวศนาขา้ ว 2) ไนโตรเจน เป็นธาตุสารอาหารในรูปของสารประกอบไนเตรท เกดิ การเปลยี่ นแปลง ทางเคมีของก๊าซไนโตรเจนในอากาศผ่านจุลินทรีย์ในดิน ซึ่งเป็นปัจจยั สำคญั ในการเจรญิ เตบิ โต ของตน้ ข้าว 2.3 ปจั จยั ทางกายภาพ เชน่ สภาพภูมิศาสตร์ อุณหภูมิ แสงสวา่ ง ความชืน้ เปน็ ตน้ 2.4 ปัจจัยทางสงั คม เช่น วัฒนธรรม ระเบยี บขอ้ บงั คับ กฎเกณฑ์ ค่านยิ ม เปน็ ต้น ระบบนิเวศท้งั หลายทว่ั โลก ทงั้ ขนาดเลก็ และขนาดใหญ่ ตา่ งกม็ ีลักษณะเฉพาะตวั ท่ี ต่างกนั ออกไปตามสภาพแวดล้อมของระบบนเิ วศนัน้ ๆ แต่จะมอี งคป์ ระกอบท่ีเหมือนกนั อยา่ ง นอ้ ย 4 ประการดังน้ี 1. มีสารอินทรีย์และสารอนนิ ทรียช์ นดิ ตา่ งๆ ท่ีจำเป็นต่อการดำรงอยู่ของส่งิ มีชีวติ ใน ระบบนิเวศน้ันๆ สารดงั กล่าว ไดแ้ ก่ นำ้ ออกซเิ จน คาร์บอนไดออกไซด์ แร่ธาตุตา่ งๆ เปน็ ตน้ 2. มพี ชื เป็นผูผ้ ลติ ซึง่ มขี นาดต้งั แตเ่ ล็กมากจนมองดว้ ยตาเปล่าไมเ่ ห็น จนถึงพชื ยนื ต้น ขนาดใหญ่ พืชเหลา่ นี้ ทำหนา้ ทีน่ ำเอาพลงั งานจากแสงแดดมาใช้ในการสังเคราะห์สารอนิ ทรีย์ สำหรับการเจรญิ เติบโตของพชื เองและสำหรบั เป็นอาหารของผู้บรโิ ภค 3. มีสัตว์ขนาดต่างๆทำหน้าที่เป็นผูบ้ ริโภค โดยบริโภคพืชหรือพลงั งานจากพืช ซงึ่ ก็คอื การนำพลงั งานจากดวงอาทติ ย์ทแ่ี ฝงในเนือ้ เย่อื พืชมาใช้อกี ทอดหน่งึ นน่ั เอง 4. มจี ลุ ินทรยี ท์ ำหนา้ ทย่ี ่อยสลายส่ิงขบั ถา่ ยและสารอินทรยี ์ท่ีตกค้าง ให้แปรสภาพเป็นสา รอนินทรยี ์กลบั คืนสพู่ ืชอีกครัง้ หน่งึ

17 การเรยี บเรียงเน้ือหา จากเนื้อหาความรู้ เรื่อง องค์ประกอบในระบบนิเวศ ผู้สอนได้พิจารณาเห็นว่า เป็นเนื้อหา ความรู้ ประเภทข้อเทจ็ จริงเกณฑ์/มาตรฐาน ดังน้นั ผู้สอนต้องกรองเนอ้ื หาความร้แู ละเอาเฉพาะ ข้อมูลท่ีผู้เรียนจะต้องจำได้และสามารถนำไปใช้วินิจฉัยองค์ประกอบในระบบนิเวศ ใน สถานการณต์ ่างๆได้ นำมาเรียบเรยี งเขียนข้นึ ใหม่ให้ตอ่ เนือ่ ง สมั พนั ธก์ นั และให้ได้ใจความท่ีอ่าน แล้วเขา้ ใจไดง้ ่าย องค์ประกอบในระบบนเิ วศ ระบบนิเวศที่กระจายทั่วโลกทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ มีองค์ประกอบท่ีเหมือนกัน 4 ประการ ไดแ้ ก่ 1. มีสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ชนิดต่างๆ ที่จำเป็นต่อการดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตใน ระบบนเิ วศน้นั ๆ ( นำ้ ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ แร่ธาตุต่างๆ ) 2. มีพืชเป็นผู้ผลิต ซึ่งมีขนาดตั้งแต่เล็กมากจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น จนถึงพืชยืนต้น ขนาดใหญ่ พืชเหล่านี้ ทำหน้าที่นำเอาพลังงานจากแสงแดดมาใช้ในการสังเคราะห์สารอินทรีย์ สำหรับการเจรญิ เติบโตของพืชเองและเปน็ อาหารของผู้บริโภค 3. มสี ตั ว์ขนาดตา่ งๆทำหนา้ ทเี่ ป็นผ้บู รโิ ภค 4. มจี ลุ ินทรยี ท์ ำหน้าท่ียอ่ ยสลายสง่ิ ขับถา่ ยและสารอนิ ทรียท์ ี่ตกค้าง ใหแ้ ปรสภาพเป็นสา รอนินทรยี ก์ ลบั คนื ส่พู ืชอกี คร้ังหน่งึ

18 เน้อื หาความรู้ : ปญั หาสิ่งแวดลอ้ มจากการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ ปัญหาสงิ่ แวดล้อมจากการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ ผลจากการที่มนุษย์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่เหมาะสมที่ผ่านมา ก่อให้เกิดปัญหา สิ่งแวดล้อมใน 2 ลักษณะ คือปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติและปัญหามลพิษ สง่ิ แวดลอ้ ม ซ่งึ เกดิ ขึ้นกับทรพั ยากรธรรมชาตทิ ัง้ 3 ประเภท ดังน้ี 1. ปัญหาทเ่ี กิดกับทรัพยากรธรรมชาติทใี่ ช้แล้วไมห่ มดไป มดี งั นี้ 1.1 เกิดการปนเปื้อนของของเสียในทรัพยากรกลุม่ นี้ เช่น เกิดการปนเปื้อนของของเสยี ในแหล่งน้ำ ทำให้น้ำมีคุณภาพไม่เหมาะสม เกิดเป็นมลพิษทางน้ำ การปนเปื้อนของของเสียใน อากาศ ทำให้อากาศมีคุณภาพไม่เหมาะสม เกิดเป็นมลพิษทางอากาศ ซึ่งทั้งมลพิษทางน้ำและ มลพษิ ทางอากาศล้วนส่งผลเสียตอ่ การดำรงชวี ิตของมนุษย์ เนอ่ื งจากสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม ต่อการดำรงชวี ติ 1.2 เกดิ การขาดแคลนทรพั ยากรกลุ่มน้ี เนอ่ื งจากการใช้ทรพั ยากรตา่ งๆ ทำให้ทรัพยากร กลุ่มนี้ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ตามปกติ เช่น ผลจากการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ป่าไม้ ทำให้ป่าไม้ลด น้อยลง การลดลงของพื้นที่ป่าไม้ทำให้การระเหยของน้ำลดลง ส่งผลให้ปริมาณน้ำฝนลดลงตาม การลดลงของปรมิ าณน้ำฝน ส่งผลให้ปรมิ าณน้ำไม่เพียงพอต่อความต้องการของมนุษย์ ท้ังน้ำท่ีใช้ ในการอปุ โภค บรโิ ภค และการประกอบอาชีพ ดงั แผนภาพท่ี 2 การลดลงของพน้ื ทีป่ า่ ไม้ การระเหยของน้ำลดลง ฝนตกลดลง ปรมิ าณนำ้ ลดลง ขาดแคลนน้ำเพือ่ การอปุ โภค บรโิ ภคและการประกอบอาชพี

19 แผนภาพที่ 2 การขาดแคลนของทรพั ยากรท่ีใช้แลว้ ไม่หมดไป 2. ปญั หาทเ่ี กิดกับทรัพยากรธรรมชาตทิ ใี่ ชแ้ ล้วทดแทนได้ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วทดแทนไดอ้ ย่างมากมายของมนุษย์ในปัจจุบัน ส่งผล ให้เกิดการลดลงของทรัพยากรธรรมชาติ จนก่อให้เกิดการขาดแคลนทรัพยากรกลุ่มนี้ อย่าง ต่อเนอ่ื ง ตวั อย่างเชน่ การนำทรัพยากรป่าไม้มาใช้ประโยชน์ทั้งการเข้าไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าไม้ (การ เปลี่ยนแปลงพ้ืนที่ป่าไม้เป็นเข่ือน พนื้ ท่ีการเกษตร พ้ืนท่ีเมอื ง เปน็ ตน้ ) และการนำไม้ออกมาจาก พื้นที่ป่าเพื่อใช้ประโยชน์ โดยขาดการปลูกทดแทน ทำให้พื้นที่ป่าไม้ลดลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ เกิดผลกระทบด้านตา่ งๆ เช่น การลดลงของพนื้ ที่ปา่ ไม้ส่งผลใหเ้ กดิ ภัยธรรมชาตทิ ีร่ นุ แรงตา่ งๆ เชน่ แผน่ ดนิ ถลม่ น้ำทว่ ม ภยั แลง้ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก เป็นต้น ซึง่ ผลกระทบเหล่าน้ี จะเปน็ ตน้ เหตุสำคญั ของการเกิดปัญหามลพิษสิ่งแวดลอ้ มต่างๆได้ ตัวอยา่ งเช่น การเกิดน้ำท่วมขงั จะเปน็ ตน้ เหตุของการเกิดมลพษิ ทางนำ้ และมลพษิ ทางอากาศในพ้ืนทีท่ ี่น้ำท่วมขัง เปน็ ต้น ผลกระทบจากการลดลงของพื้นที่ป่าไม้สง่ ผลให้ชนิดและปริมาณของสัตวป์ ่าลดลง (ป่าไม้เป็น แหล่งอาหาร แหล่งหลบภัย แหล่งเลี้ยงดูตัวออ่ น และแหล่งผสมพันธุ์ของสัตว์ป่านานาชนิด) การ ลดลงของสัตว์ป่าก่อให้เกิดผลกระทบต่อเนื่องต่างๆ เช่น ทำให้เกิดการสูญเสียความหลากหลาย ทางชีวภาพ ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญทีท่ ำให้สมดุลของระบบนิเวศเสียไป ซึ่งทั้งการลดลงของพ้ืนท่ปี า่ ไม้และการลดลงของสัตว์ล้วนทำใหม้ นุษย์ดำเนินชีวิตได้ยากลำบาก เนื่องจากทรัพยากรดังกล่าว เป็นแหล่งปจั จยั สใ่ี นการดำเนนิ ชีวิตของมนุษย์ ดงั แผนภาพท่ี 3 การลดลงของพน้ื ทปี่ า่ ไม้ แผ่นดินถลม่ น้ำทว่ ม ขาดแคลน ภัยธรรมชาติ แหลง่ อาหาร ทีอ่ ย่อู าศัย แหลง่ หลบภัย แฃะ สัตว์ป่าลดลง ภยั แล้ง แหลง่ เลย้ี งดูตวั อ่อน การเปลีย่ นแปลง สูญเสียความหลากหลายทางชวี ภาพ บรรยากาศโลก ระบบนิเวศเสยี สมดุล(ป่าไม้ลดลง) มนษุ ย์ไมส่ ามารถนำทรพั ยากรกลมุ่ น้ีใชป้ ระโยชนไ์ ด้

20 แผนภาพที่ 3 ผลกระทบของการลดลงของทรัพยากรท่ใี ช้แล้วทดแทนได้ นอกจากการใช้ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างมากมายของมนษุ ย์ในปัจจุบนั สง่ ผลให้เกิดการลดลง ของทรพั ยากรธรรมชาติที่สร้างผลกระทบต่อเนือ่ งดงั กล่าวข้างตน้ แลว้ ยังทำใหเ้ กิดผลเสียต่อห่วง โซ่อาหาร ซงึ่ ทำใหม้ นุษย์ขาดแคลนอาหาร เป็นผลให้เกดิ การสรา้ งหรอื แปรรูปทรพั ยากรธรรมชาติ เพอ่ื ให้มนุษยม์ อี าหารเพิ่มขนึ้ เชน่ ทำการเพาะเลยี้ งกุ้งเพื่อผลิตกงุ้ ท่เี ปน็ อาหารของมนุษย์ ซ่ึงเป็น การดำเนินการโดยมิได้คำนึงถึงสมดุลของห่วงโซ่อาหาร กุ้งที่มนุษย์ต้องการเป็นอาหารอาจจะ เพิ่มขึ้น แต่สิ่งมีชีวิตอื่นๆที่กินกุ้งเป็นอาหารมิได้เพิ่มขึ้นตาม แสดงให้เห็นว่าห่วงโซ่อาหารใน ธรรมชาตยิ ังคงเป็นปญั หาอยู่ ดงั น้ันจะเห็นได้ว่า การเพาะเลยี้ งกุ้งเปน็ ทรัพยากรท่มี นษุ ยส์ รา้ งขึ้นเพ่ือทำใหม้ นษุ ยม์ อี าหารใน การดำรงชีวิตเท่านั้น มิได้ทำการเพาะเล้ียงกุ้งเพื่อชดเชยให้ห่วงโซ่อาหารเป็นปกติแต่อย่างใด สิ่งมีชีวิตที่กินกุ้งเป็นอาหาร หรือสัมพันธ์เชื่อมโยงกับกุ้งในห่วงโซ่อาหาร ยังคงขาดแคลนต่อไป ทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้นในลักษณะเช่นนี้ เป็นการกระทำที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อห่วงโซ่ อาหาร ในทางกลับกันหากการเพาะเลี้ยงกุ้ง หันมาให้ความสำคัญต่อห่วงโซ่อาหาร ซึ่งเป็น ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตามธรรมชาติ โดยทำการเพาะเลี้ยงลูกกุ้งแล้วคืนสู่ ธรรมชาติ เพ่ือใหห้ ่วงโซ่อาหารในระบบนิเวศตามธรรมชาติฟืน้ คนื เหมอื นปกติ เราจะได้สมดุลของ ธรรมชาตกิ ลบั คืนมา ปัญหาการขาดแคลนทรพั ยากรธรรมชาติทเี่ ป็นอาหารของมนษุ ยก์ จ็ ะหมดไป 3. ปัญหาท่เี กิดกับทรพั ยากรธรรมชาติท่ใี ช้แลว้ หมดไป

21 ผลจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป โดยมิได้คำนึงถึงการหมดไปของ ทรัพยากรชนิดน้ี ซ่งึ เป็นทรพั ยากรทใ่ี ช้เวลาในการหมุนเวียน หรือเกิดขนึ้ ใหม่ยาวนานกวา่ ช่วงชีวิต ของมนษุ ย์ จงึ ส่งผลให้ทรพั ยากรกลมุ่ น้ลี ดลงอยา่ งรวดเรว็ และต่อเนอื่ ง ตัวอย่างเช่น การใช้ทรัพยากรแร่เชื้อเพลิงประเภท น้ำมัน ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ อย่างมากมาย โดย ขาดการอนุรกั ษ์ สง่ ผลใหเ้ กิดปญั หา 2 ด้าน คอื การลดลงของทรพั ยากรชนิดน้ี และการปนเปื้อน ของเสยี ท่ีเกดิ จากการใช้ 3.1 การลดลงของทรัพยากรแร่เชอื้ เพลิงฟอสซิล (นำ้ มัน ถ่านหิน กา๊ ซธรรมชาต)ิ ซงึ่ เป็น ทรัพยากรที่เกิดจากการทับถมของซากสิ่งมีชีวิตที่ต้องใช้เวลานับเป็นล้านปี ในขณะที่การใช้ ทรัพยากรกลุ่มนี้ เกิดขึ้นอย่างมากมายและต่อเนื่อง ความกังวลใจเกี่ยวปัญหาการขาดแคลนท่ี เกิดขึ้น ทำให้เกิดแนวคิดในการนำพลังงานทางเลือกต่างๆมาใช้ทดแทน เช่น การนำพลังงาน หมุนเวียน (พลงั งานน้ำ แสงอาทิตย์ ลม) พลังงานนวิ เคลียร์ เปน็ ตน้ โดยเฉพาะพลังงานนวิ เคลียร์ เป็นพลังงานทดแทนประเภทหนึ่ง ที่หลายๆประเทศทั่วโลกให้ความสนใจและพัฒนาพลังงาน ประเภทนอ้ี ย่างจรงิ จงั ดงั แผนภาพที่ 4 3.2 การปนเปื้อนของของเสีย ท่เี กิดจากการใช้แร่เชื้อเพลงิ ประเภทต่างๆ ทำให้เกิดของ เสยี /มลพษิ จากการใช้ เช่น ผลจากการใช้แรเ่ ชอ้ื เพลิงฟอสซิล ทำใหเ้ กิดกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ และมีเทน โดยก๊าซดังกล่าวเป็นก๊าชเรือนกระจก ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้เกิดการ เปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศของโลกท่ีเป็นสาเหตุของการเปล่ียนแปลงสิ่งแวดลอ้ มต่างๆของโลก ในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเกิดภัยธรรมชาติท่ีรุนแรงที่สร้างผลกระทบตอ่ การดำเนินชวี ิต ของมนุษย์ในปัจจุบัน นอกจากนี้ผลกระทบที่เกิดจากของเสีย/มลพิษจากการใช้แร่เชื้อเพลิง ยัง รวมไปถงึ ปญั หาสิง่ แวดล้อมอ่นื ๆอีกมากมาย ดงั แผนภาพท่ี 4 การใชท้ รพั ยากรแรเ่ ชือ้ เพลิงอยา่ งมากมายและตอ่ เนอ่ื ง ขาดแคลนทรพั ยากรแรเ่ ชอื้ เพลงิ ของเสีย/มลพษิ จากการใช้ พลงั งานทางเลอื ก กา๊ ซเรือนกระจก (CO2 CH4 ) การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศโลก พลงั งานนิวเคลยี ร์ ภยั ธรรมชาติรุนแรง ตอ่ เนือ่ ง ยาวนาน ผลกระทบจากพลงั งานนิวเคลียร์

22 แผนภาพที่ 4 ผลกระทบจากการใช้ทรัพยากรแรเ่ ช้ือเพลิง จะเห็นได้ว่าความรู้(knowledge)เกี่ยวกับผลกระทบจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่ เหมาะสมล้วนเป็นปัญหาที่ส่งผลเสียต่อการดำรงชีวิตของมนษุ ย์อย่างมากมาย และที่สำคัญก็คอื ปัญหาที่เกิดขึ้นจะมีความซับซ้อนและยากต่อการจัดการ การป้องกันและแก้ไข ดังนั้นการรับรู้ (awareness) ถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดขึ้นอย่างถูกตอ้ ง จึงเป็นจุดเริม่ ตน้ สำคัญท่ีจะนำทางไปสู่ การคดิ ค้นหาแนวทางป้องกนั แก้ไขปัญหาสงิ่ แวดลอ้ ม (cognitive skill) และมสี ว่ นร่วมลงมือ ลง แรงปฏบิ ตั ิ (participation) เพอื่ ป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมท่ีมนษุ ยอ์ ยู่อาศัยอย่างถูกต้อง และเกิดข้นึ ได้จรงิ การเรียบเรยี งเน้ือหา จากเนื้อหาความรู้ เรื่องปญั หาสิ่งแวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ผู้สอนได้พจิ ารณา เห็นว่า เป็นเนื้อหาความรู้ ประเภทข้อเทจ็ จริง เจตคติ ดังนั้นผูส้ อนต้องกรองเนื้อหาความรู้และ เอาเฉพาะข้อมูลที่จะชักนำให้ผู้เรียนเห็นโทษจากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้ ทรพั ยากรธรรมชาตินำมาเรยี บเรียงเขียนขน้ึ ใหม่ให้ต่อเนื่อง สัมพนั ธก์ นั และให้ได้ใจความที่อ่าน แล้วเขา้ ใจไดง้ ่าย ปัญหาสง่ิ แวดลอ้ มจากการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ 1. ปญั หาท่เี กดิ จากทรพั ยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดไป

23 1.1 เกดิ การปนเป้ือนของของเสียในทรพั ยากรกลุม่ นี้ ทำใหเ้ กดิ เป็นมลพิษทางน้ำ มลพิษ ทางอากาศและท้งั 2 มลพษิ สง่ ผลเสยี ตอ่ การดำรงชีวิตของมนุษย์ 1.2 เกดิ การขาดแคลนทรัพยากรกลมุ่ นีท้ ำใหส้ ่ิงมีชีวิตไม่สามารถดำรงชวี ติ อยไู่ ด้ 2. ปัญหาที่เกิดกับทรัพยากรธรรมชาติทใ่ี ชแ้ ล้วทดแทนได้ การใช้ทรัพยากรประเภทนี้อยา่ งมากมายของมนุษย์ ก่อให้เกิดการขาดแคลนทรัพยากร กล่มุ น้ี เชน่ การลดลงของพืน้ ท่ีปา่ ไม้และสัตว์ป่า ทำใหม้ นษุ ยด์ ำเนนิ ชีวิตได้ยากลำบาก เนื่องจาก ทรัพยากรกลมุ่ น้เี ป็นแหลง่ ปัจจัยสใ่ี นการดำรงชีวติ ของมนษุ ย์ 3. ปญั หาที่เกิดกับทรพั ยากรธรรมชาติที่ใช้แลว้ หมดไป 3.1 การขาดแคลนพลังงาน เนื่องจากการลดลงของของทรัพยากรแร่เชื้อเพลิงฟอสซิล (น้ำมัน ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ) 3.2 การใชแ้ ร่เชอ้ื เพลิงประเภทตา่ งๆ ทำใหเ้ กดิ มลพิษ เนอื้ หาความรู้ : ความหมายของระบบนเิ วศ ความหมายของระบบนเิ วศ ระบบนิเวศ เป็นวิธีการที่นักนเิ วศวิทยาใช้ในการศึกษาวเิ คราะห์ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกนั (Interrelationship)ของ 1) สิ่งแวดล้อมที่มีชีวิตด้วยกันเอง และ 2) กับสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต ท่ี อาศยั อยใู่ นขอบเขตพืน้ ที่เดียวกัน

24 คำว่า“ระบบนิเวศ”มาจากรากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Ecosystem ซึ่งประกอบด้วยคำว่า “ระบบ”และ“นเิ วศ” คำว่า“นิเวศ” หมายถึง แหล่งที่อยู่อาศัย(Habitat) ซึ่งโดยธรรมชาติแล้ว ประกอบด้วย ส่ิงมชี วี ติ (พืช สตั ว์ มนุษย์) และส่ิงไม่มชี ีวิต คำวา่ “ระบบ” หมายถึง ส่ิงใดกต็ ามที่ประกอบดว้ ย สว่ นประกอบต่างๆ ท่ีอยู่ในอาณาบริเวณ เดียวกนั และส่วนประกอบเหลา่ นี้ มีความสัมพันธ์ซึ่งกนั และกัน เม่ือรวมสองคำคอื “ระบบ”กับ“นิเวศ”เข้าด้วยกันเป็น“ระบบนิเวศ”จงึ หมายความถงึ ระบบท่ี ประกอบด้วยสิ่งมีชวี ติ ที่อาศัยอยู่ร่วมกันในอาณาบริเวณเดียวกัน และมีความสัมพันธ์กันระหว่าง สิง่ มีชวี ติ ด้วยกนั เอง รวมท้งั สิง่ มีชีวติ กบั ส่ิงไมม่ ชี ีวิต ดังนั้นเมื่อพูดถึงเรื่อง“ระบบนิเวศ”จึงหมายความว่า กำลังพูดถึง ระบบที่เกี่ยวกับระบบ ความสัมพันธ์ระหว่าง พืช สัตว์ และมนุษย์ กับสิ่งแวดล้อมของพืช สัตว์ มนุษย์เหล่านั้น ภายใน อาณาบริเวณที่อย่อู าศัยเดียวกัน ใน 2 ลักษณะ คอื 1. ความสมั พันธ์ระหว่างพืช สตั ว์ มนุษยด์ ว้ ยกันเอง ซึ่งประกอบด้วย 1.1 ความสมั พันธใ์ นเชงิ การถ่ายทอดพลงั งานผ่านห่วงโซอ่ าหาร (food chain ) 1.2 ความสัมพันธใ์ นเชิงการอยูร่ ว่ มกันของสง่ิ มชี วี ิต 2. วฏั จกั รของสาร (material cycle) ตัวอย่างระบบนิเวศที่เห็นได้ชัด คือ บ่อน้ำหรือสระน้ำ เมื่อพิจารณาให้เป็นระบบนิเวศระบบ หนึ่ง ซึ่งตัวอย่างนี้ หนังสือเกี่ยวกับนิเวศวิทยาภาษาไทยหลายๆเล่มได้อ้างอิงจากหนังสือ Fundamentals of Ecology ของ Odum, E.P. (1971) จากแผนภาพระบบนิเวศบ่อน้ำ จะเห็นได้ว่า มีองค์ประกอบทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิตที่ เปน็ ตวั อย่างเท่านั้น แต่ในความเปน็ จริงแล้วในระบบนิเวศดงั กล่าว จะมีองค์ประกอบท้ังส่ิงมีชีวิต และไม่มีชีวิตอ่ืนๆอกี หลากหลาย เช่น

25 1. สิ่งไม่มีชีวิต ได้แก่ อินทรีย์สารและอนินทรีย์สาร เช่น ซากสิ่งมีชีวิต กรดอะมิโน น้ำ ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ แคลเซียม ไนโตรเจน เกลือฟอสฟอรัส ฯลฯ ภาพที่ 4 ระบบนิเวศบอ่ นำ้ 2. สิ่งมีชีวิต ได้แก่ พืชขนาดใหญ่ บางชนิดลอยน้ำ บางชนิดมีรากผังในดิน เช่น ผักตบชวา บัว ผกั กระเฉด ผกั บงุ้ ฯลฯ และพืชขนาดเล็กลอยนำ้ ได้ กระจายอยตู่ ามระดับนำ้ ลึกเท่าท่ีแสงส่อง ผา่ นถึง เชน่ สาหร่าย ฯลฯ สตั ว์ เชน่ กุ้ง ปู ปลา ตัวอ่อนของแมลง ฯลฯ แบคทเี รยี รา ท่กี ระจาย อยู่ก้นสระ ซึ่งเป็นบรเิ วณที่มีซากพืช ซากสัตว์สะสมอยู่ ทำหนา้ ที่ยอ่ ยสลายซากพชื และสตั ว์ การเรยี บเรียงเนือ้ หา จากเนื้อหาความรู้ เรื่อง ความหมายของระบบนิเวศ ผู้สอนได้พิจารณาเห็นว่า เป็นเนื้อหา ความรู้ประเภทความคิดรวบยอด ดังนั้นผู้สอนต้องกรองเนื้อหาความรู้ เรียบเรียงเขียนเฉพาะ ข้อเท็จจริงที่ระบุลักษณะเฉพาะที่สำคัญ(critical attributes)ของความคิดรวบยอดนั้น คือ ระบบนิเวศ แล้วนำมาเรียบเรียงเขยี นขึน้ ใหมใ่ ห้ตอ่ เนื่อง สัมพันธ์กันและใหไ้ ด้ใจความที่อ่านแล้ว เข้าใจได้งา่ ย

26 critical attributes ของระบบนิเวศ ประกอบด้วย 1) ระบบ 2) มีองค์ประกอบทั้ง สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมม่ ีชีวติ อยู่ร่วมกันในระบบ 3) มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกนั ระหว่างสิ่งมชี ีวติ กับ สิ่งมชี ีวติ 4) มีความสมั พันธ์ซง่ึ กันและกันระหว่างสง่ิ มีชวี ติ กบั ส่งิ ไม่มีชีวติ นำ critical attributes ของระบบนิเวศมาเรียบเรียงเขียนขึ้นใหม่เป็นความหมายของ ระบบนเิ วศ ระบบนิเวศ หมายถึง ระบบที่มีองค์ประกอบทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตที่อยู่ร่วมกันใน อาณาบริเวณเดียวกัน และมคี วามสมั พนั ธซ์ ึ่งกนั และกนั ระหวา่ งสง่ิ มีชวี ิตดว้ ยกันเอง และส่ิงมีชีวิต กบั สิ่งไม่มีชีวติ

27 เนื้อหาความรู้: การถ่ายทอดพลังงานในระบบนเิ วศ การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ จะถ่ายทอดไปในทิศทางเดียวกันตลอด คือ เริ่มต้นจาก พลงั งานแสงจากดวงอาทิตย์ผา่ นพืชสีเขียวไปยังส่วนอื่นๆในห่วงโซอ่ าหาร การถ่ายทอดพลังงานเป็นเรอื่ งที่สลบั ซับซอ้ น แตพ่ อท่ีจะอธบิ ายใหเ้ ขา้ ใจไดง้ า่ ย ดังนี้ เริ่มแรก: เมื่อพันธุ์พืชชนิดต่างๆที่อยู่ในระบบนิเวศ ในตัวอย่าง คือ หญ้า ได้รับพลังงานแสง จากดวงอาทิตย์ จะทำการสังเคราะห์แสง สร้างเนื้อเยื่อซึ่งเป็นอาหารแก่ผู้บริโภคลำดับตา่ งๆ ใน ทน่ี ้ี คอื กระตา่ ย ซง่ึ เปน็ ผูบ้ ริโภคท่ีกินพชื เป็นอาหาร และกระตา่ ยเปน็ อาหารของมนุษย์และสัตว์ กินเนือ้ ซึ่งเป็นผู้บริโภคที่กนิ สัตว์เป็นอาหารได้ การถ่ายทอดพลังงานผ่านจากชีวติ หนึง่ สูอ่ ีกชวี ิต หนึ่งโดยกระบวนการกินกนั เปน็ ทอดๆ นี้เรียกว่า“หว่ งโซอ่ าหาร” ดงั แผนภาพที่ 5 แผนภาพท่ี 5 หว่ งโซ่อาหารชนิดทมี่ กี ารกินอาหารโดยตรง การเรียบเรยี งเนอ้ื หา จากเนื้อหาความรู้ เรื่อง การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ ผู้สอนได้พิจารณาเห็นว่าเป็น เนือ้ หาความรู้ ประเภทหลักการ ดังน้ันผสู้ อนต้องกรองเน้ือหาความรู้และเอาเฉพาะข้อเท็จจริงท่ี ยดึ ถือเปน็ หลักปฏบิ ัติมาเรยี บเรียงเขียนขนึ้ เป็นข้อๆให้ได้ใจความทีอ่ ่านแล้วเขา้ ใจไดง้ ่าย หลกั การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนิเวศ 1. การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนิเวศ ถา่ ยทอดไปในทิศทางเดียว 2. เรม่ิ จากพลงั งานแสงอาทติ ยผ์ ่านพืชสีเขียว

28 3. พชื สีเขยี วจะทำการสงั เคราะห์แสงเพ่อื สร้างเนอ้ื เย่ือ 4. เนื้อเยื่อเป็นอาหารแก่ผู้บริโภคลำดับตา่ งๆ กนิ กันเปน็ ทอดๆ ถา้ นำมาเรียบเรียงเขยี นเป็นความเรยี ง จะได้วา่ ....หลักการถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ เป็นการถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ ไปในทศิ ทางเดยี วตลอด คือ เรมิ่ จากพลงั งานแสงอาทติ ย์ ผา่ นพืชสเี ขียว เมือ่ พันธุพืชชนดิ ต่างๆท่ีอย่ใู นระบบนเิ วศได้รับพลังงานแสง จะทำการสงั เคราะห์ แสง สร้างเน้อื เย่อื และเปน็ อาหารแก่ผูบ้ รโิ ภคลำดับต่างๆกินกันเป็นทอดๆ

29 วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ ศาสตร์ทางการศึกษาได้กำหนดกรอบในการเรียนรู้เอาไว้ 3 ด้าน เรียกว่า วัตถุประสงค์ การศึกษา (educational objective) ซ่ึงได้แก่ ดา้ นความรู้ (พุทธิพสิ ัย-cognitive domain) ด้าน ทักษะ (ทักษะพิสัย-psychomotor domain) และด้านเจตคติ (เจตพิสัย-affective domain) โดยทีว่ ตั ถุประสงค์การศกึ ษาแต่ละด้านน้นั มกี ารจัดเป็นระดับวตั ถุประสงคก์ ารศกึ ษาทง้ั 3 ด้านน้ัน สามารถจำแนกออกเป็น วัตถุประสงค์การสอน (instructional objective) และวัตถุประสงค์ เชงิ พฤติกรรม (behavioral objective) วตั ถุประสงคก์ ารศึกษา 1. ด้านความรู้(พุทธิพิสัย) เป็นการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาความสามารถด้านสติปัญญา จำแนกออกเปน็ 6 ระดับ คือ ระดบั ความจำ เขา้ ใจ นำไปใช้ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และประเมนิ คา่ 2. ด้านทักษะ(ทักษะพิสัย) เป็นการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาความสามารถในการปฏิบัติ จำแนกออกเปน็ 7 ระดับ คือ ระดับรบั รู้ การเตรียมพรอ้ ม การปฎิบัติไดภ้ ายใต้คำแนะนำ ปฏิบัติ ได้จนคลอ่ ง การปฏิบัติงานซับซ้อนได้ ปรบั ปรงุ และตน้ แบบ 3 ด้านเจตคติ(เจตพิสัย) เป็นการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาด้านจิตใจ ความรู้สึก จำแนก ออกเป็น 5 ระดบั คอื ระดบั การรับรู้ การตอบสนอง การเหน็ คุณค่า การจัดระบบคุณค่า และการ สรา้ งลกั ษณะนสิ ัย วตั ถุประสงค์การสอน เป็นข้อความที่ระบุคุณลักษณะที่ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนตามระดับของวัตถุประสงค์ การศึกษาทั้ง 3 ระดับ ได้แก่ พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และเจตพิสัย รายละเอียดแต่ละด้านของ วัตถปุ ระสงคก์ ารสอน ดังนี้

30 พทุ ธิพิสัย เปน็ การเรียนรู้ทเ่ี นน้ เก่ยี วกับความรู้ (knowledge ) โดยการพัฒนา เกดิ จากกระบวนการ คดิ (cognitive process) เรยี งลำดบั จากซบั ซอ้ นนอ้ ยไปซบั ซ้อนมาก ดังแผนภาพท่ี 6 แผนภาพท่ี 6 ลำดบั ความซบั ซอ้ นของขัน้ วัตถุประสงคก์ ารสอน ดา้ นพทุ ธพิ ิสัย 1. ขั้น“จำ”:มีความสามารถในการจำเรื่องราวต่างๆที่เรียนและระลึกเรื่องเหล่านั้นได้ ถูกต้อง 2. ข้ัน“เขา้ ใจ”: มีความสามารถ 1) แปลความ (ถา่ ยเทความหมายจากของเดิมเปน็ ของใหม่ทท่ี ำให้เขา้ ใจไดง้ า่ ยข้ึน) 2) ตีความ (สรุปภาพรวมเป็นใจความสั้นๆให้เขา้ ใจไดง้ ่ายขน้ึ 3) ขยายความ (เสรมิ แต่งขอ้ ความเดมิ ทำให้ชัดเจนเขา้ ใจไดง้ ่ายขนึ้ ) 3. ข้ัน“นำไปใช้”: มีความสามารถนำความรู้ท่ไี ด้เรียนมาแลว้ ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ ต่าง จากสถานการณ์เดิมท่เี คยเรยี นรูม้ าแลว้ 4. ข้ัน“วเิ คราะห์”: มีความสามารถในการแยกแยะวา่ สิ่งนัน้ ประกอบดว้ ยสว่ นย่อยๆและ ส่วนยอ่ ยเหลา่ นัน้ เก่ียวข้องกันอย่างไร

31 5. ขั้น“สังเคราะห์”: มีความสามารถในการผสมผสานส่วนย่อยเข้าเป็นเรื่องราวหรือสิ่ง ใหม่อีกรูปแบบหนึง่ แปลกแตกตา่ งไปจากของเดิมกอ่ นนำมารวมกนั 6. ขั้น“ประเมินค่า”: มีความสามารถในการพิจารณาตัดสินเก่ียวกับคุณค่าเรื่องใดเรื่อง หนึง่ หรอื ตดั สนิ ใจกระทำสิ่งใดส่ิงหนึ่ง โดยเปรียบเทียบกับเกณฑห์ รือมาตรฐานที่กำหนดเอาไวแ้ ล้ว ทักษะพสิ ัย เป็นการเรียนรู้ที่เน้นเกี่ยวกับการกระทำ(doing) อย่างมีทักษะในการทำเรื่อง/สิ่งนั้นๆ เรยี งตามลำดบั จากความสามารถท่ซี ับซอ้ นน้อยไปสซู่ บั ซ้อนมาก ดงั แผนภาพที่ 7 แผนภาพท่ี 7 ลำดบั ความซบั ซอ้ นของข้ันวัตถปุ ระสงค์การสอน ด้านทักษะพสิ ัย 1. ขัน้ “รับรู้”: มคี วามสามารถในการใช้ประสาทสมั ผัสทงั้ 5 ในการรบั รไู้ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2. ขนั้ “เตรียมพร้อม”: มีความสามารถในการเตรยี มความพร้อมทั้งดา้ นความรู้ กลา้ มเนื้อ และอารมณ์ท่จี ะใช้ปฏิบตั งิ าน 3. ขัน้ “ปฏบิ ตั ิได้ภายใตค้ ำแนะนำ”: มีความสามารถในการเลียนแบบตามพฤติกรรมของ ผฝู้ ึกและในการลองผิดลองถูก

32 4. ขั้น“ปฏิบัติได้จนคล่อง”: มีความสามารถกระทำได้อย่างชำนิชำนาญ คล่องแคล่ว ว่องไว 5. ขั้น“ปฏิบัติงานทีซ่ ับซอ้ นได้”: มีความสามารถนำทักษะจากงานที่งา่ ย ฝึกจนสามารถ ปฏิบัตงิ านท่ีซบั ซ้อนได้ 6. ขั้น“ปรับปรุง”: มีความสามารถในการปฏิบัติงานจนปรับปรุงได้ผลงานใหม่ ที่มี คณุ ภาพ 7. ขนั้ “ต้นแบบ”: มคี วามสามารถในการปฏบิ ัติงานจนเปน็ ต้นแบบใหผ้ ้อู น่ื ต้องปฏบิ ัติตาม เจตพิสัย เป็นการเรียนรู้ที่เน้นเกี่ยวกับความรู้สึก(feeling) ซึ่งมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้เรียน เรยี งลำดับจากซบั ซ้อนนอ้ ยไปซบั ซ้อนมาก ดงั แผนภาพที่ 8 แผนภาพท่ี 8 ลำดับความซับซ้อนของขั้นวัตถปุ ระสงค์การสอน ดา้ นเจตพสิ ัย 1. ขั้น“รบั รู้”: มีความตงั้ ใจท่จี ะรับรูข้ ้อมลู ต่างๆแลว้ เกดิ การรับรู้วา่ อะไรเป็นอะไร

33 2. ข้ัน“ตอบสนอง”: แสดงออกตอบโตก้ ับข้อมูลและสถานการณท์ ีผ่ ูส้ อนสรา้ งข้ึน 3. ขัน้ “เหน็ คณุ ค่า”: เห็นของดีของเรื่องนน้ั มากกว่าข้อเสยี เห็นว่าสิ่งนั้นๆมีคุณค่าหรือมี ประโยชน์อย่างไร 4. ขั้น“จัดระบบคุณค่า”: นำคุณค่าต่างๆมาประมวล แล้วพิจารณาจนยอมรบั คุณค่านั้น ด้วยตวั ของผ้เู รยี นเอง 5. ขน้ั “สรา้ งลกั ษณะนสิ ยั ”: ปฏบิ ัตติ ามคณุ คา่ น้นั จนออกมาเปน็ ลักษณะนิสยั วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม(behavioral objective)เปน็ ข้อความทขี่ ยายความ“วัตถปุ ระสงค์ การสอน”ให้ชัดเจน จนระบุออกมาเป็นพฤติกรรมของผู้เรียน เพื่อให้สามารถวัดพฤติกรรมท่ี เปลีย่ นแปลงไปไดอ้ ยา่ งชดั เจน เช่น วัตถปุ ระสงค์การสอน ระบวุ า่ : ผูเ้ รยี นตรวจวดั ค่าออกซเิ จนละลายน้ำได้ โดยใชช้ ดุ ทดสอบอยา่ งงา่ ย ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ “ผู้สอนคดิ ว่า หากผู้เรยี นตรวจวัด ไดอ้ ย่างคล่องแคล่วแล้ว จะต้องแสดงพฤตกิ รรมอย่างไร ออกมา ดังน้ันผู้สอนจงึ กำหนดวตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมวา่ ” : ผู้เรยี นทกุ คน สามารถตรวจวัดคา่ ออกซิเจนละลายน้ำโดยใช้ ชดุ ทดสอบอยา่ งงา่ ย ได้ถูกต้องภายใน 10 นาที จากตัวอย่างจะเห็นไดว้ า่ “วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม”ประกอบดว้ ย 3 สว่ น

34 1) พฤติกรรมท่ผี ู้สอนคาดหวังใหเ้ กิดข้ึนในตวั ผเู้ รียน (สามารถตรวจวัดคา่ ออกซิเจน ละลายนำ้ ) 2) เง่ือนไขที่ก่อใหเ้ กิดพฤติกรรมทีผ่ ู้สอนคาดหวงั ให้เกดิ ข้นึ ในตวั ผู้เรียน (โดยใช้ชดุ ทดสอบอย่างง่าย) 3) มาตรฐานของพฤตกิ รรมที่ผสู้ อนคาดหวังให้เกิดขึน้ ในตวั ผเู้ รียน (ได้ถูกต้องภายใน 10นาที) คำกิรยิ าบ่งชพี้ ฤติกรรม คำว่า“กริ ิยา”เปน็ คำภาษาบาลี มคี วามหมายเทา่ กับ“กริยา เปน็ คำภาษาสันสกฤต ในทน่ี ้จี ะ ใช้คำว่า “กริ ิยา” การระบุพฤติกรรมทีผ่ ู้สอนคาดหวังให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนนัน้ มีคำกิริยาที่แสดงพฤติกรรมที่ จะใช้ในการเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมในแต่ละวัตถุประสงค์การสอนแต่ละด้าน ผู้เขียนมี ความเหน็ วา่ “คำกิริยา”ท่ีแสดงการกระทำบง่ ชี้ถึงพฤติกรรม ควรเปน็ คำทีง่ า่ ยตอ่ ความเข้าใจของ คนทั่วไป และขณะเดียวกันก็สามารถสื่อสะท้อนให้เห็นภาพของระดับวัตถุประสงค์การสอนได้ อยา่ งถูกต้องตามความหมายของระดับวตั ถุประสงค์นน้ั ๆ อย่างไรกต็ าม“คำกริ ิยาบ่งชพี้ ฤตกิ รรม”ต่อไปนี้เป็นเพียงตัวอย่างเท่านน้ั ดงั ตารางท่ี 1-3 ซึ่ง ผู้อ่านสามารถคิดคำกิริยาที่สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ของตนข้นึ องได้

35 ตารางท่ี 1 คำกิริยาบง่ ช้ีพฤติกรรม ด้านพทุ ธพิ สิ ัย พทุ ธิพิสัย คำกิรยิ าบ่งชี้พฤตกิ รรม ผู้เรยี น 1.ขั้น“จำ”: มีความสามารถในการจำเรือ่ งราว ผู้เรียนบอก เขยี น เลา่ ตา่ งๆทีเ่ รียนและระลกึ เรื่องเหล่านน้ั ได้ถูกตอ้ ง ส่งิ ที่ผู้สอนได้สอนไปแล้วได้ 2.ขัน้ “เข้าใจ”: มีความสามารถ อธบิ ายสงิ่ ท่ผี ู้สอนไดส้ อนไปแลว้ ด้วย 1) แปลความ (ถ่ายเทความหมายจากของเดิม คำพูดของตนเองได้ เปน็ ของใหมท่ ่ที ำใหเ้ ข้าใจได้งา่ ยข้ึน) 2) ตคี วาม (สรุปภาพรวมเปน็ ใจความสน้ั ๆให้ สรุปยอ่ ส่ิงทผี่ สู้ อนได้สอนไปแลว้ ได้ เขา้ ใจได้ง่ายขน้ึ 3) ขยายความ (เสรมิ แต่งข้อความเดมิ ทำให้ ขยายความ สง่ิ ที่ผู้สอนไดส้ อนไปแล้วได้ ชัดเจนเข้าใจได้งา่ ยขน้ึ ) เชน่ ยกตัวอยา่ งประกอบการอธิบาย เขียนภาพประกอบ เป็นต้น 3.ขั้น “นำไปใช้”: มีความสามารถนำความรทู้ ไ่ี ด้ อธบิ าย ให้เหตุผล ยกตัวอยา่ ง สาธติ ให้ เรยี นมาแล้วไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ ต่างจาก ดู สง่ิ ท่ีผูส้ อนไดส้ อนไปแล้วไปใช้ใน สถานการณเ์ ดิมทเี่ คยเรียนร้มู าแลว้ สถานการณ์ใหม่ทแ่ี ตกต่างจาก สถานการณ์เดิม 4. ข้นั “วิเคราะห”์ : มคี วามสามารถในการ จำแนก แยกแยะ ใหเ้ หตุผล ว่าสว่ นย่อย แยกแยะว่า ส่ิงนนั้ ประกอบดว้ ยสว่ นย่อยๆและ ส่วนใดทมี่ ีความสำคญั มาก มสี ่วน ส่วนย่อยเหลา่ น้นั เกีย่ วข้องกนั อย่างไร เก่ยี วพนั กนั อยา่ งไร อาศยั หลกั การใด 5.ขนั้ “สังเคราะห”์ : มคี วามสามารถในการ ผสมผสานรวมสว่ นยอ่ ยเขา้ ด้วยกัน ผสมผสานส่วนย่อยเข้าเปน็ เรือ่ งราวหรอื สง่ิ ใหม่ เปน็ การสรา้ งสรรคส์ ิ่งใหม่ขึน้ มา อกี รปู แบบหนง่ึ แปลกแตกต่างไปจากของเดมิ ก่อนนำมารวมกัน 6.ข้นั “ประเมนิ คา่ ”: มคี วามสามารถในการ ตดั สนิ เปรยี บเทียบของสิ่งนั้น พิจารณาตดั สนิ เก่ยี วกบั คณุ คา่ เร่อื งใดเรื่องหนึ่ง โดยใชเ้ กณฑห์ รือมาตรฐานท่ี หรอื ตดั สินใจกระทำส่ิงใดสิง่ หนงึ่ โดยเปรยี บ ผสู้ อนได้สอนไปแล้ว เทยี บกับเกณฑห์ รือมาตรฐานท่กี ำหนดเอาไว้แล้ว

36 ตารางท่ี 2 คำกิรยิ าบง่ ชพี้ ฤติกรรม ด้านทักษะพสิ ัย ทักษะพสิ ยั คำกริ ิยาบง่ ช้ีพฤตกิ รรม ผู้เรยี น ผเู้ รียน 1.ขั้น“รบั ร้”ู : มีความสามารถในการใชป้ ระสาท บอก ผลทไ่ี ด้จากประสาทสมั ผัสทัง้ 5 สัมผสั ทั้ง 5 ในการในการรับรูส้ ่ิงทจี่ ะกระทำ เตรียมวัสดุอุปกรณ์อย่างถูกต้อง และ 2.ขน้ั “เตรียมพรอ้ ม”: มคี วามสามารถในการ พรอ้ มใช้งาน เตรยี มความพร้อมที่จะปฎบิ ตั ิ เมือ่ รับรสู้ ิ่งที่ ปฏบิ ัติตามที่ผู้สอนกำหนด จะต้องกระทำ 3.ขั้น“ปฏิบัตไิ ด้ภายใตค้ ำแนะนำ”: มี ปฏิบตั ิไดด้ ว้ ยตนเองอย่างชำนาญ ความสามารถในการเลียนแบบตามพฤติกรรม ปฏบิ ตั งิ านทย่ี ุ่งยากได้ด้วยตนเอง ของผู้ฝึกและในการลองผิดลองถกู 4.ข้ัน“ปฏิบตั ิได้จนคล่อง”: มีความสามารถ แกไ้ ขจนได้ผลงานใหม่ กระทำได้อยา่ งชำนิชำนาญคล่องแคล่วว่องไว สรา้ งข้นึ ด้วยตนเองจนเป็นแบบฉบับ 5. ขน้ั “ปฏบิ ตั งิ านท่ีซับซอ้ นได้”: มี ความสามารถนำทกั ษะจากงานทงี่ ่าย ฝึกจน สามารถปฏิบตั งิ านท่ีซับซ้อนได้ 6. ขนั้ “ปรบั ปรงุ ”: มีความสามารถในการ ปฏบิ ตั งิ านจนปรบั ปรุงได้ผลงานใหม่ท่ีมคี ุณภาพ 7.ขน้ั “ตน้ แบบ”: มคี วามสามารถในการ ปฏิบตั งิ านจนเปน็ ตน้ แบบให้ผอู้ น่ื ตอ้ งปฏิบัติตาม

37 ตารางท่ี 3 คำกิรยิ าบง่ ชพี้ ฤติกรรม ดา้ นเจตพิสยั เจตพสิ ัย คำกิรยิ าบ่งช้ีพฤตกิ รรม ผเู้ รยี น ผเู้ รียน 1.ขนั้ “รบั ร”ู้ : มคี วามตัง้ ใจที่จะรับร้ขู ้อมลู ซักถาม ฟังอยา่ งตั้งอกต้ังใจ และตอบคำถาม ต่างๆแลว้ เกดิ การรับรวู้ ่า อะไรเปน็ อะไร ในเนื้อหาความรู้ที่ผู้สอนได้สอนไปแล้วอย่าง ถูกต้อง 2. ข้ัน“ตอบสนอง”: แสดงออกตอบโตก้ ับ กระตือรือร้น ที่จะตอบข้อซักถามของผู้สอน/ ข้อมูลและสถานการณ์ท่ีผูส้ อนสรา้ งข้ึน รว่ มกิจกรรมทีผ่ สู้ อนกำหนด 3.ข้ัน“เหน็ คุณค่า”: เหน็ ของดขี องเรอ่ื งนนั้ อธบิ ายประโยชน์/ความสำคญั /ความจำเป็น มากกว่าขอ้ เสีย เห็นวา่ ส่ิงนน้ั ๆมีคุณค่าหรอื มี ของเนอ้ื หาความรูเ้ รือ่ งนัน้ ๆ ประโยชนอ์ ย่างไร 4.ข้นั “จดั ระบบคณุ คา่ ”: นำคุณคา่ ตา่ งๆมา อธิบายเหตุผลของการจัดลำดับของคุณค่า ประมวล แลว้ พจิ ารณาจนยอมรับคุณค่านัน้ ตา่ งๆ ดว้ ยตวั ของผูเ้ รียนเอง 5.ขัน้ “สร้างลักษณะนสิ ยั ”: ปฏบิ ัตติ าม ปฏิบัติตาม/ประพฤติตามคุณค่านั้นๆเป็น คณุ ค่าน้ันจนออกมาเป็นลกั ษณะนิสัย ประจำสมำ่ เสมอ ตวั อย่างวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ตวั อยา่ งวตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรมตอ่ ไปน้ี ใชเ้ นอื้ หาความรู้ 5 เรอื่ ง จากหวั ข้อ “ตวั อย่างการ เรียบเรียงเนอ้ื หา” ได้แก่ ประเภททรพั ยากรธรรมชาติ องคป์ ระกอบในระบบนิเวศ ปญั หา สิ่งแวดลอ้ มจากการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ ความหมายของระบบนเิ วศ และการถ่ายทอดพลงั งาน ในระบบนิเวศ ดงั ตารางที่ 4-8

38 ตารางท่ี 4 ประเภททรัพยากรธรรมชาติ เนื้อหาความรู้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารสอน วัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ทรัพยากรธรรมชาตจิ ำแนกเปน็ 3 ผู้เรยี นสามารถจำ ผู้เรียนทกุ คนสามารถบอก ประเภท ประเภทของ ประเภทและตัวอย่างของ 1. ใช้แลว้ ไมห่ มดไป ทรัพยากรธรรมชาตไิ ด้ ทรัพยากรธรรมชาติ (อากาศ นำ้ ในรปู วฏั จกั ร) ตามทีผ่ ู้สอนไดส้ อนไป 2. ทดแทนได้ (นำ้ ใช้ พชื สตั ว์) พทุ ธิพสิ ัย-จำ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 3. ใช้แลว้ หมดไป(ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน น้ำมนั ปโิ ตรเลยี ม) ขอ้ เท็จจริงเฉพาะเจาะจง

39 ตารางท่ี 5 องค์ประกอบในระบบนเิ วศ เนื้อหาความรู้ วัตถปุ ระสงคก์ ารสอน วตั ถุประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ผเู้ รยี นสามารถอธิบาย ระบบนิเวศท่ีกระจายท่วั โลก ทงั้ ผู้เรยี นสามารถนำ องค์ประกอบของสงิ่ มีชวี ิต อย่างนอ้ ย 2 องคป์ ระกอบ ขนาดเลก็ และขนาดใหญ่ มี ความรู้ “องคป์ ระกอบ ในระบบนเิ วศคลองรงั สิตฯ ชว่ งไหลผ่านตำบลหลักหก องคป์ ระกอบท่ีเหมือนกัน 4 ประการ ของระบบนเิ วศ” ไป ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ไดแ้ ก่ อธิบายองค์ประกอบ 1. มสี ารอนิ ทรยี ์และสารอนนิ ทรีย์ ของ ชนดิ ตา่ งๆ ที่จำเป็นต่อการดำรงอยู่ ส่งิ มีชวี ติ ในระบบนิเวศ ของส่งิ มีชีวติ ในระบบนเิ วศน้นั ๆ (นำ้ อื่นได้ ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ แร่ ธาตุต่างๆ) พุทธิพสิ ยั นำไปใช้ 2. มพี ชื เปน็ ผู้ผลติ ซ่ึงมขี นาดตัง้ แต่ เล็กมากจนมองดว้ ยตาเปล่าไมเ่ หน็ จนถึงพืชยืนต้นขนาดใหญ่ พืชเหลา่ น้ี ทำหน้าท่ีนำเอาพลังงานจากแสงแดด มาใชใ้ นการสงั เคราะหส์ ารอนิ ทรยี ์ สำหรับการเจรญิ เติบโตของพชื เอง และเปน็ อาหารของผูบ้ ริโภค 3. มีสัตวข์ นาดต่างๆทำหนา้ ทเ่ี ป็น ผู้บรโิ ภค 4. มจี ุลินทรีย์ทำหนา้ ที่ยอ่ ยสลายสง่ิ ขบั ถา่ ยและสารอินทรยี ์ทีต่ กค้าง ให้ แปรสภาพเปน็ สารอนนิ ทรยี ก์ ลับคนื สู่พืชอกี ครั้งหนึ่ง ขอ้ เทจ็ จรงิ เกณฑ์/มาตรฐาน

40 ตารางที่ 6 ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เนื้อหาความรู้ วัตถุประสงค์ วตั ถปุ ระสงค์ การสอน เชิงพฤติกรรม ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มจากการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ ผ้เู รยี นเห็นผลเสยี รอ้ ยละ 80 1. ปญั หาทเ่ี กดิ จากทรพั ยากรธรรมชาตทิ ี่ใช้แล้ว ของปญั หาทเ่ี กดิ ของผู้เรยี น ไมห่ มดไป จากการใช้ สามารถสรุป 1.1 เกดิ การปนเปื้อนของของเสยี ในทรพั ยากรกลุ่มน้ี ทรัพยากร ความเหน็ ทำใหเ้ กิดเปน็ มลพษิ ทางน้ำ มลพษิ ทางอากาศและทง้ั 2 ธรรมชาติ เก่ียวกบั มลพิษส่งผลเสียตอ่ การดำรงชวี ติ ของมนุษย์ ความจำเป็น 1.2 เกิดการขาดแคลนทรพั ยากรกล่มุ น้ีทำให้สงิ่ มชี ีวติ เจตคติ เหน็ คณุ คา่ ที่ต้องปอ้ งกนั ไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ปญั หา 2.ปัญหาทีเ่ กิดกับทรัพยากรธรรมชาติทีใ่ ช้แล้วทดแทนได้ สง่ิ แวดลอ้ มที่ การใช้ทรัพยากรประเภทน้อี ย่างมากมายของมนุษย์ เกดิ ข้นึ จาก ก่อให้เกิดการขาดแคลนทรพั ยากรกลมุ่ น้ี เช่น การลดลง การใช้ ของพน้ื ทปี่ า่ ไม้และสัตวป์ ่า ทำให้มนุษย์ดำเนนิ ชวี ติ ได้ ทรัพยากร ยากลำบาก เนือ่ งจากทรพั ยากรกล่มุ นเ้ี ปน็ แหลง่ ปัจจยั ส่ี ธรรมชาติ ในการดำรงชวี ติ ของมนษุ ย์ 3. ปัญหาทเ่ี กดิ กบั ทรัพยากรธรรมชาติทใ่ี ช้แล้วหมดไป 3.1 การขาดแคลนพลังงาน เนื่องจากการลดลงของ ทรัพยากรแร่เช้ือเพลิงฟอสซลิ (น้ำมนั ถ่านหนิ กา๊ ซ ธรรมชาติ) 3.2 การใชแ้ รเ่ ช้ือเพลงิ ประเภทต่างๆ ทำให้เกดิ มลพิษ จะเห็นได้ว่า การใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ ทีไ่ ม่เหมาะสม เป็นปญั หาที่สง่ ผลเสียต่อการดำรงชวี ติ ของมนษุ ย์

41 ข้อเทจ็ จริง-เจตคติ ตารางท่ี 7 ความหมายของระบบนิเวศ วัตถุประสงค์การสอน วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เน้อื หาความรู้ ผู้เรียนเข้าใจความหมาย ผูเ้ รียนเขียน ความหมายของระบบนเิ วศ หมายถงึ ระบบทม่ี อี งค์ประกอบท้ัง ของระบบนิเวศ ความหมายของ ส่ิงมชี วี ิตและส่งิ ไม่มีชวี ิตท่ีอยู่ร่วมกันใน อาณาบรเิ วณเดยี วกัน และมี ระบบนเิ วศ ความสมั พนั ธซ์ ึง่ กันและกนั ระหวา่ ง สิง่ มชี ีวติ ดว้ ยกนั เอง และสิง่ มีชีวิตกับ พทุ ธิพิสยั เขา้ ใจ ไดถ้ กู ตอ้ งด้วยภาษา ส่งิ ไมม่ ชี ีวติ ตนเอง ในเวลา ความคดิ รวบยอด 10 นาที

42 ตารางท่ี 8 การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ เนอ้ื หาความรู้ วัตถุประสงคก์ ารสอน วัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม หลกั การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนิเวศ ผเู้ รียนสามารถจำ ผเู้ รียนทกุ คน 1) ถา่ ยทอดไปในทิศทางเดียว หลกั การถา่ ยทอด สามารถเขยี น หลกั การถา่ ยทอด 2) เรม่ิ จากพลงั งานแสงอาทติ ย์ ผา่ นพชื พลังงานในระบบนิเวศ พลงั งานในระบบ นเิ วศ สีเขียว ตามท่ผี ู้สอนได้ สอนไป 3) พชื สเี ขียวจะทำการสงั เคราะหแ์ สง พุทธพิ สิ ยั -จำ ได้ถกู ตอ้ ง เพ่อื สร้างเนื้อเยือ่ 4) เนือ้ เย่ือเปน็ อาหารแก่ผูบ้ รโิ ภคระดบั ต่างๆ กนิ กนั เปน็ ทอดๆ หลักการ หมายเหตุ เนอื้ หาความรหู้ ลกั การ ควรไปถงึ วตั ถุประสงค์การสอนระดับสูงสดุ คอื พุทธพิ สิ ยั ประเมนิ คา่ แตใ่ นทีน่ ผี้ ู้สอนได้ พจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ ควรให้ผเู้ รียนจำ หลกั การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนเิ วศ ไดเ้ ท่าน้นั

43 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งเนื้อหาความรกู้ ับวัตถุประสงค์การสอน ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาความรู้กับวัตถุประสงค์การสอนเป็นการวิเคราะห์ว่า“ประเภท เนื้อหาความรู”้ ได้แก่ เนื้อหาความรู้ภาคความรู้ (1) ข้อเท็จจริงเฉพาะเจาะจง ข้อเท็จจริงเกณฑ์/ มาตรฐาน และข้อเท็จจริงเจตคติ (2) ความคิดรวบยอด (3) หลักการ และเนื้อหาความรู้ ภาคปฏบิ ัติ ควรจะอยู่ตรงกับวตั ถุประสงคก์ ารสอนระดบั ใด การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเนื้อหาความรู้ว่า ควรจะตรงกับระดับวัตถุประสงค์การสอน ระดบั ใดน้ัน มีความสำคญั เป็นอย่างยงิ่ เป็นขัน้ ตอนที่ข้นึ อยู่กบั ดุลยพินิจของผสู้ อนว่า จากเนื้อหา ความรู้ภาคความรู้และเนื้อหาความรู้ภาคปฏิบัติท่ีจะทำการสอนนั้น ผู้สอนต้องการคุณลักษณะ ด้านพทุ ธิพิสัย ทกั ษะพิสัย หรือเจตพิสยั ระดับใด ใหเ้ กดิ ข้ึนในตวั ผเู้ รยี น สมมุติว่า ถ้าครู A กำหนดให้ลูกศิษย์เรียนรู้เนื้อหาภาคความรู้ หรือเนือ้ หาภาคปฏบิ ัติตรงกบั วัตถุประสงค์การสอน ด้านพุทธิพิสัยระดับ“จำ”เพียงระดับเดียว ลูกศิษย์ย่อมมีความสามารถ เพียงแค่“มีความจำในเนื้อหาความรู้ที่ได้เรียนกับครู A เท่านั้น” ไม่มีคุณลักษณะวัตถุประสงค์ การศกึ ษาดา้ นอ่นื ถ้าเนื้อหาความรู้เป็นเนื้อหาความรู้ภาคปฏิบัติ แต่ครู A สอนลูกศิษย์ให้ “จำ” ย่อมเป็นที่ ชัดเจนวา่ ลูกศษิ ย์ไมส่ ามารถลงมอื ปฏบิ ตั ิหรอื ทำได้อยา่ งแน่นอน อันที่จริงแล้วครู A จะต้องสอนให้ลูกศิษย์สามารถทำการตรวจวัดคา่ ออกซิเจนละลายน้ำโดย ใช้ชุดทดสอบอย่างง่ายได้ แต่ครู A กลับสอนลูกศิษย์เพียงแค่ให้ลูกศิษย์สามารถบอกวิธีการ ตรวจวดั คา่ ออกซิเจนละลายน้ำโดยชุดทดสอบอย่างง่ายได้ ย่อมเปน็ ที่แนน่ อนว่า ลกู ศิษย์ของครู A ย่อมไมส่ ามารถทำการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายนำ้ โดยใช้ชุดทดสอบอย่างง่ายได้แน่นอน ถึงแม้ว่าการวิเคราะหค์ วามสัมพันธ์ของเนื้อหาความรู้ ควรจะตรงกับระดับวัตถุประสงค์การ สอนระดับใดนั้น ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอนเป็นสำคญั แต่ สมสุดา ผู้พัฒน์ และโสภณ ธนะมัย

44 (2534) ได้เสนอแนวทางเพ่ือช่วยในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างประเภทเน้ือหาความรูก้ บั วัตถุประสงคก์ ารสอนให้เหมาะสม ดงั น้ี ประเภทเนอื้ หาความรู้ ระดับวัตถปุ ระสงค์การสอนขั้นสงู สุด 1.ขอ้ เท็จจริงเฉพาะเจาะจง ควรเปน็ ขั้นจำ (พทุ ธพิ ิสยั ) 2.ข้อเท็จจริงท่เี ปน็ มาตรฐาน/เป็นเกณฑ์ ควรไปถึง ขั้นประเมนิ ค่า (พทุ ธพิ สิ ัย) 3.ข้อเท็จจริงเจตคติ ควรไปถึง ขน้ั เหน็ คณุ ค่า (เจตพิสยั ) 4.ความคิดรวบยอด ควรไปถึง ขน้ั เข้าใจ - นำไปใช้ (พุทธิพิสยั ) 5.หลกั การ ควรไปถึง ขั้นประเมินค่า (พุทธิพสิ ัย) 6 ปฏบิ ตั ิ ควรไปถงึ ขน้ั ปฏบิ ตั ิได้ภายใต้ตำแนะนำ(ทกั ษะพิสยั ) จะเหน็ ได้ว่าเน้ือหาความรทู้ เี่ ปน็ 1) ข้อเทจ็ จริงเฉพาะเจาะจง ควรเปน็ ไดแ้ ค่ พทุ ธิพิสยั ขัน้ จำ 2) ข้อเทจ็ จริงท่เี ป็นมาตรฐาน/เป็นเกณฑ์ ควรไปถงึ พทุ ธพิ สิ ัยขน้ั ประเมนิ คา่ 3) ข้อเท็จจรงิ เจตคติ ควรไปถึง เจตพิสัยข้ันเหน็ คณุ ค่า 4) ความคิดรวบยอด ควรไปถงึ พุทธิพิสัยขั้นเขา้ ใจหรือนำไปใช้ 5) หลกั การ ควรไปถึง พทุ ธิพสิ ยั ขั้นประเมินคา่ 6) ภาคปฏิบตั ิ ควรไปถึง ทกั ษะพสิ ัยข้นั ปฏบิ ัติไดภ้ ายใตค้ ำแนะนำ จากแนวทางดังกล่าว ผู้เขยี นไดน้ ำมาเขียนในลกั ษณะเป็นคำคล้องจองเพ่ือชว่ ยใหจ้ ำได้ ง่ายขนึ้ ดังนี้ ประเภทเน้ือหาความรู้ ระดับวัตถุประสงค์การสอน เฉพาะ จงึ ตอ้ งจำ เกณฑ์ ใช้ ประเมนิ ค่าได้ เจตคติ สรา้ ง คณุ ค่า ความหมาย ต้อง เขา้ ใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook