Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักอาชีวศึกษา

หลักอาชีวศึกษา

Published by lawanwijarn4, 2022-01-02 05:42:05

Description: หลักอาชีวศึกษา

Search

Read the Text Version

ท.ุ ส.น.ิ ม. หลกั อาชวี ศึกษา รวบรวมและเรียบเรียง : ลาวัณย์ วิจารณ์



ก ผรู้ วบรวมและเรยี บเรยี ง ผศ.ดร.ลาวณั ย์ วจิ ารณ์ จานวนหนา้ 46 หนา้ ปที ีพ่ ิมพ์ กุมภาพนั ธ์ 2563 จานวนที่พิมพ์ 100 เล่ม พมิ พ์ที่ โรงพมิ พม์ หาวิทยาลยั รงั สิต ถนนพหลโยธนิ เมืองเอก ปทุมธานี 12000 โทร 0-2997-2200-30 จัดพิมพ์และเป็นลิขสิทธ์ขิ อง ผศ.ดร.ลาวัณย์ วจิ ารณ์ ISBN 978-616-565-986-4 ลาวณั ย์ วิจารณ์. หลักอาชวี ศกึ ษา.— กรุงเทพฯ : ผศ.ดร.ลาวัณย์ วจิ ารณ์, 2563. 46 หน้า. 1.อาชีวศึกษา. I.วราพล เกษมสนั ต์, ผู้วาดภาพประกอบ.II. ช่ือเรื่อง. 370.113 ISBN 978-616-565-986-4

ข คานา หลังจาก“ผรู้ วบรวมและเรยี บเรียง”(จะขอเรียกวา่ “นุช”นะคะ)ไดจ้ ัดทา“ถอดรหัส อศ.กช.”เขยี นโดยอาจารย์.ดร.โสภณ ธนะมัย(อ.โส) และไดม้ อบใหพ้ วกเราชาว“กองกาลัง L.E.:L.E.CORPS”ไปแล้วนน้ั โดยสว่ นตวั นชุ ยังมีความสงสยั ใครร่ ้เู ร่ืองราวเก่ยี วกบั “อาชวี ศึกษา” ใหม้ ากข้ึน จึงไดเ้ พยี รพยายามขอความรจู้ าก อ.โส เรือ่ ยมา ซึ่ง อ.โส ได้กรณุ ารอ้ื ค้นบทความ และเอกสารเก่าท่ีใช้ประกอบการบรรยายในวาระงานวิชาการตา่ งๆ รวมทั้งในการสอนเท่า ทห่ี าได้ มอบใหน้ ชุ ไดไ้ วใ้ ชศ้ ึกษาตามความประสงค์ หลังจากท่ีได้อา่ นและทาความเข้าใจ (cognitive domain) แล้ว จึงได้นามาคดั สรรเนือ้ หาความรูเ้ ฉพาะ ทต่ี อบโจทย์ความอยาก ร้ขู องตนเอง จากนั้นจงึ ได้ทาการรวบรวมและเรียบเรยี งขึ้นใหมใ่ ห้ง่ายต่อการอา่ น และขอ ตัง้ ช่ือวา่ “หลักอาชีวศกึ ษา”(Principle of Vocational Education) ระหวา่ งที่ทาการพิมพ์ เพอื่ จะจดั ทาเป็นเล่มใหเ้ รยี บรอ้ ยสวยงาม ใจกน็ กึ ถึง.....ชาว L.E.CORPS......ตลอดเวลาว่า ควรจะไดร้ บั ร้รู บั ทราบเช่นเดียวกับนุช จงึ ตดั สินใจนาตน้ ฉบับ เข้าโรงพิมพ์ ทาเป็นหนังสอื ลกั ษณะเดยี วกบั “ถอดรหัส อศ.กช.”มอบให้พวกเราดว้ ยความ รักและคิดถึงเสมอ อนึง่ ไดใ้ ส่รายชื่อหนังสือ/เอกสารท่ี อ.โส ใช้อ้างองิ ใหไ้ วด้ ้วย สาหรับค้นคว้าต่อไป (ถ้าสนใจ) และหวงั วา่ เปน็ ประโยชน์กับทกุ คนนะคะ อ.นชุ กุมภาพันธ์ 2563 Making Changes Together

สารบัญ ค กาลามสูตร 1 ตาบอดคลาช้าง 2 นกั ปฏิบตั คิ วรเอาเย่ียงนายโคบาล 3 การศึกษาคืออะไร 4 ปรชั ญา: ความหมายและความสาคัญ 8 8 ความหมายของปรัชญา 10 ความสาคัญของปรัชญา 12 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างปรชั ญากบั การศึกษา 14 เศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง กับการศกึ ษา 15 เทคโนโลยี 16 แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยี 17 วธิ กี ารดาเนนิ งานพฒั นาเทคโนโลยี 19 อาชวี ศึกษา คืออะไร 22 ความมงุ่ หมายชองอาชีวศึกษา 23 ปรัชญาอาชวี ศึกษา: ทุ.ส.นิ.ม. 27 หลักอาชวี ศกึ ษา 30 ส่งิ ท่ีไมค่ วรกระทาในดา้ นอาชีวศึกษา 31 ระดับของงานอาชีพ 33 การจดั การศึกษาทางอาชีวศกึ ษา 35 การศกึ ษาเพ่ือการงานและอาชีพ 40 อาชวี ศึกษาครบวงจร 42 โครงการอาชวี ศึกษาเพื่อการพัฒนาชนบท(อศ.กช.)

1 กาลามสตู ร “หลกั ความเช่ือของชาวพุทธ” ทม่ี า: https://board.postjung. ชาวกาลามะแห่งเกสปุตตนคิ ม กราบทลู พระพุทธเจา้ วา่ com/695824 “ไมร่ จู้ ะเช่ือว่าลัทธใิ ดดี” พระพุทธเจ้าทรงตรสั วา่ ... 1.อยา่ เพิ่งเชอ่ื เพราะ ฟังตามกันมา 2.อย่าเพง่ิ เช่ือ เพราะ นบั ถือสบื ๆกันมา 3.อย่าเพ่ิงเชอื่ เพราะ ขา่ วลือ 4.อยา่ เพิ่งเชื่อ เพราะ มอี า้ งไวใ้ นตารา 5.อย่าเพิ่งเช่ือ เพราะนึกเดาเอา (เดา-ตรึงตรองเอา เองโดยคาดการณ์ อย่างไม่มีหลักฐานสนับสนุน ไม่มีการ ทดสอบดวู า่ เป็นจรงิ หรอื ไม่) 6. อย่าเพ่ิงเชื่อ เพราะ คาดคะเน (คาดคะเน – สรุป จากข้อเท็จจริงที่ปรากฏ คาดคะเนดีกว่าเดาข้ึนมาหน่อย ตรงที่เป็นการคาดการณ์โดยมเี หตผุ ลเปน็ พนื้ ฐานอยบู่ ้าง) 7. อยา่ เพง่ิ เชือ่ เพราะ คิดตรองตามอาการทปี่ รากฏ 8. อยา่ เพ่งิ เช่ือ เพราะ ถกู กบั ความคดิ เห็นของตน 9. อย่าเพิ่งเช่ือ เพราะ ผพู้ ดู ควรเชอื่ ถอื ได้ 10.อยา่ เพ่ิงเชอื่ เพราะ เห็นวา่ ผพู้ ดู เป็นครูของตน พระสตู รน้พี ระพุทธเจ้าทรงสอนใหใ้ ช้ปัญญาไตรต่ รองก่อน จึงคอ่ ยเชื่อ

2 ตาบอดคลาช้าง พระพทุ ธเจ้าไดท้ รงเล่าใหพ้ ระภิกษฟุ งั วา่ .... พระราชารับสัง่ ใหค้ นตาบอดคลาช้าง ทมี่ า: https://www.youtub e.com/watch?time_ continue=1 1 3 &v=- E2 6 IDk2 YKg&feature =emb_logo เม่อื ถูกถาม... คนทค่ี ลาศรีษะช้าง ตอบว่า ช้างเหมือนหมอ้ น้า ชา้ งเหมอื นกระดง้ คนท่ีคลาหูชา้ ง ตอบว่า ช้างเหมอื นผาล ช้างเหมือนงอนไถ คนที่คลางาชา้ ง ตอบวา่ ช้างเหมือนฉางข้าว ชา้ งเหมอื นเสาเรอื น คนที่คลางวงชา้ ง ตอบว่า ช้างเหมอื นครกตาขา้ ว ช้างเหมอื นสาก คนทีค่ ลาตัวชา้ ง ตอบว่า ชา้ งเหมือนไม้กวาด คนที่คลาเท้าชา้ ง ตอบวา่ คนท่คี ลาหลงั ช้าง ตอบวา่ คนทค่ี ลาโคนหางชา้ ง ตอบว่า คนทค่ี ลาปลายหางชา้ ง ตอบวา่ คนตาบอดไมว่ ่าอย่างไร ยอ่ มไม่เห็นช้างทั้งตัว ปจั จบุ ันนีม้ คี นทตี่ าบอด เพราะนกึ ว่า ตวั รูต้ วั เหน็ อะไรมากกว่าคนอนื่ อีกมากท่เี ดียว

3 นักปฏบิ ัติควรเอาเยย่ี งนายโคบาล พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า นายโคบาลท่ีมีคุณสมบัติ 11 ประการ สามารถเล้ียงโค และทากิจการเกีย่ วกบั โคใหเ้ จริญได้ 1. รู้จักรูปพรรณโค 2. รู้จกั ลักษณะของโค 3. รูจ้ กั ข้แี มลงวนั ที่แผลโค 4. รูจ้ กั ปิดแผลโค 5. รู้จกั สมุ ควนั 6. รู้จกั หาท่าน้า ท่มี า 7. รู้จกั นา้ ดืม่ :https://pixabay.com/fr/illustrations/vache-traire- laitiers-le-lait-3014201/ 8. รู้จัก หาง 9. รู้จัก ทีห่ ากินของโค 10. รจู้ กั รีดนมโค 11. รู้จกั ทะนถุ นอมพ่อโคที่เป็นจา่ ฝูง พระสตู รนี้บอก competence ของผู้ทีจ่ ะประกอบอาชีพเล้ยี งโคนม? สิปปนนท์ เกตุทัต. 2536.ความรู้สู่อนาคต. (พมิ พค์ ร้ังท่ี 2) กทม.ฯ:สานกั พิมพจ์ ฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . เสฐยี รพงษ์ วรรณปก.2537.พระสูตรสาคัญจากพระไตรปิฏก.กรงุ เทพฯ:บ.พี เจ ลิฟวงิ่ จากัด.

4 การศึกษาคืออะไร คาว่า \"การศึกษา\" มีความหมายกว้างไกล ปรับปรุงจาก https://www.freepik.es/vector- ทั้งนี้ข้ึนอยู่การตีความหมายไปตามลักษณะอาชีพ... เชน่ นักเศรษฐศาสตร์จะให้ความหมายของการศกึ ษา premium/profesor-inteligente-pie-delante- ว่า การศึกษา คือ การลงทุน สาหรับชาวบ้านท่ัวไป pizarra_3973726.htm เข้าใจว่า การศึกษาคือการไปโรงเรียนเพื่อเรียนรู้ท่อง บน่ วิชา... บางคนคิดว่า การศึกษาเป็นเครอื่ งมือรบั ใช้การเมือง... (คณะอาจารยภ์ าควิชาพ้ืนฐานการศกึ ษา, 2535) ในทางมนษุ ยวิทยา มองการศกึ ษาเปน็ กระบวนการถา่ ยทอดวัฒนธรรม... ในทางเศรษฐศาสตร์ เหน็ ว่าการศกึ ษาเป็นกระบวนการพฒั นาสังคม... ในทางรฐั ศาสตร์ มองการศึกษาเปน็ กระบวนการประชาธิปไตย.... ในทางสังคมวทิ ยา มองการศึกษาเปน็ กระบวนการขดั เกลาทางสังคม. (ชนิตา, 2532) ส่วนในทางศาสนาน้ัน... การศึกษา คือ การเห็นซ่ึงตนเองและเห็นโดยตนเองและ เห็นเพ่ือตนเอง การเห็นทั้งหมดน้ี เพื่อให้มีสัมมาทิฐิอย่างครบถ้วนเกิดข้ึน (พุทธทาสภิกขุ, ม.ป.ป.) พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ได้ทรงกล่าวว่า ...คนเราท่ีจะเป็น พลเมืองท่ีดีได้ต้องเป็นผู้ที่มีการศึกษาที่ดี การศึกษานอกจากจะเป็นเคร่ืองวัดความเจริญ ของคนเราแลว้ ยังเป็นเครอ่ื งมือสาหรบั ทามาหากนิ อกี ดว้ ย...(นิรมล, 2526) การศึกษาในความหมายของชาวชนบทมิได้มีค่าเป็นเพียงองค์คุณสาหรับการดารง ตนเป็นพลเมืองดีและนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน หากแต่มันคือจุดเริ่มต้น ของการกา้ วไปส่บู นั ไดดาราท่สี งั คมสรา้ งภาพลวงตาให้...(วิโรจน์, 2532)

5 จากมุมมองการศึกษาดังยกมาเป็นตัวอย่างดังกล่าวข้างต้นสะท้อนให้เห็นถึงนานา ทรรศนะท่ีมตี ่อการศกึ ษาอนั มีขอบเขตกวา้ งขวางมาก แมน้ ักการศึกษาและนักวิชาการกไ็ ด้ ใหค้ านิยามของการศกึ ษาเอาไว้แตกตา่ งกันไปดังเชน่ Dewey (1 9 1 6 ) ไ ด้ ก ล่ า ว ถึ ง ความหมายของการศึกษาว่า\" การศึกษาเป็นกระบวนการทางสังคมและเป็นหน้าท่ีทาง สงั คม.\" Tyler (1949) ให้ความหมายของการศึกษาไว้ว่า ... \"เป็นกระบวนการของการ เปลย่ี นแปลงพฤติกรรมของมนษุ ย.์ ..\" ส่วน Mc Clellan (1976) ให้ความเหน็ ว่า \"...การศึกษาเป็นปรากฎการณ์ธรรมชาติ อย่างหนึ่งท่ีมุ่งใช้วิธีการทางธรรมชาตวิ ิทยา การศึกษาเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการอยรู่ อดของ เผ่าพันธุม์ นุษย์ ให้มนษุ ย์รู้จักใช้กระบวนการทางปญั ญาในการดารงชีวติ อยูใ่ นสังคม...\" นอกจากนี้ Whitehead (อ้างถึงใน เมธี,2523) ก็ได้ให้ความหมายของการศึกมาไว้ ดังน้ี ...การศึกษาเป็นการเตรียมให้ชีวิตได้รับประสบการณ์จากการเผชิญกับส่ิงแวดล้อม โดยใหเ้ กี่ยวขอ้ งกับความคิดและกิจกรรมท่ีเหมาะสมกบั ผเู้ รียน...\" สาหรับนักการศึกษาไทยก็ให้ความหมายของการศึกษาไว้ เช่นสาโรช บัวศรี (2514) กล่าวว่า \"...การศกึ ษา คือ ความเจริญงอกงามที่เกิดขึ้นแก่ผ้เู รียน เน่ืองจากได้รับระ สบการณท์ เ่ี ลอื กเฟน้ แล้วอย่างดี...\" ส่วน สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (2524) ให้ความหมายของการศึกษาว่า หมายถงึ \" 1. วธิ ีการ ต่างๆ ท่ีถ่ายทอดวามรู้ ทักษะและทัศคติ 2.ทฤษฎีต่าง ๆ ที่พยายามจะอธิบายหรือให้ เหตุผลในการถ่ายทอดน้ัน ๆ 3.คุณค่าหรืออุดมคติต่าง ๆ ท่ีมนุษย์พยายามจะเขา้ ให้ถงึ โดย อาศัย ความรู้ ทักษะ ทัศนคติ เพราะฉะนั้นวิธีการฝึกปรือหรือถ่ายทอดจึงข้ึนอยู่กับคุณค่า หรอื อุดมคตทิ ี่ตอ้ งประสงค์นั้นเปน็ ผลบ้ันปลาย\" ภิญโญ สาธร (2526) ให้ความเห็นว่า \"...การศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาบุคคล ทั้งในด้านจิตใจ นิสัย และคุณสมบัติอย่างอ่ืน กระบวนการศึกษาเป็นเพียงเครื่องมือที่คน รุ่นหนึ่งให้แก่คนอีกรุ่นหน่ึง เครื่องมือน้ีถ้าไม่นาไปใช้จะไม่เกิดประโยชน์อันใด นอกจากน้ี

6 การศึกษายังเป็นเคร่ืองมืออันสาคัญของรัฐในการสร้างความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันของ พลเมืองเพ่ือก่อให้เกิดความมั่นคงของรัฐตามท่ีรัฐต้องการท้ังในด้านสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการศึกษา..”. โสภณ ธนะมัย และอุดม ศาสตรเ์ วช (2533 ) ได้ประมวลจากความคดิ เห็นเกย่ี วกับ ความหมายของการศึกษาของนักวิชาการและนักการศึกษาท่ีได้กล่าวมาแล้วว่า \"...ถึงจะ แตกต่างกันบ้างแต่สามารถประมวลได้ว่า การศึกษาเป็นกระบวนการถ่ายทอดวัฒนธรรม ค่านิยมจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง และทาให้เกิดความเจริญงอกงามขึ้นในตัวบุคคล ช่วยให้บุคคลนั้นมีการพัฒนาชีวิตไปในทางที่ดีขึ้น รู้จักแก้ปัญหา สามารถอยู่ในสังคมได้ อยา่ งมีความสุข...” คณะอาจารย์ภาควชิ าพน้ื ฐานการศกึ ษา, คณะวชิ าครุศาสตร์, วทิ ยาลยั ครสู วนสนุ ันทา. 2535.การศกึ ษาไทย. กรงุ เทพมหานคร: อรุณการพิมพ์. ชนิตา รักษ์พลเมือง. 2532. การศึกษาเพื่อพฒั นาประเทศ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ โอเดียนสโตร.์ นิรมล ตรี ณสาร สวสั ดบิ ตุ ร. 2526. แนวคดิ ทางการศกึ ษาของบคุ คลสาคัญของไทยใน รอบสองร้อยปีแหง่ กรุงรตั นโกสนิ ทร์ พระเจา้ วรวงศเ์ ธอกรมหม่ืนพทิ ยลาภพฤฒิยากร. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ตรี ณสาร. พุทธทาสภิกข.ุ ม.ป.ป. จรยิ ธรรมของบัณฑติ . กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พธ์ รรมสภา. ภญิ โญ สาธร. 2526. หลักการบรหิ ารการศึกษา.กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพค์ ุรุสภา. เมธี ปลิ นั ธนานนท์. 2523 ปรัชญาการศกึ ษาสาหรบั คร.ู กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพไ์ ทย วฒั นาพานชิ จากดั . วโิ รจน์ สารรัตนะ. 2532. การศกึ ษากบั การพัฒนาชนบทไทย แนวคิด ทฤษฎี และบท วิเคราะหก์ รณยี ้ายถน่ิ . กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั อักษรพพิ ัฒนจ์ ากัด. สาโรช บวั ศร.ี 2514. แนวคิดบางประการทางการศึกษา. กรงุ เทพมหานคร : กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.

7 สลุ ักษณ์ ศิวรักษ์. 2524. ปรชั ญาการศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ไทยวัฒนา พานชิ จากดั . โสภณ ธนะมยั และอุดม ศาสตร์เวช. 2533. ปรัชญากับการศึกษา : สาระทมี่ ิอาจ มองข้าม.สารพัฒนาหลักสตู ร. 97 (เมษายน 2533) :7. Dewey, John. 1916. Democracy and Education. New York : Macmillan Publishing Company. Mc Clellan, James E. 1976. Philosophy of Education. New Jersey: Prentice - Hall, Inc. Tyler, Ralph W. 1949. Basic Principle of Curriculum and Instruction. Chicago : The University of Chicago Press.

8 ปรชั ญา : ความหมายและความสาคัญ ความหมายของปรัชญา ความหมายของคาว่า \"ปรัชญา\" สามารถพิจารณา ได้ใน 2 ลักษณะ ด้วยกัน ได้แก่ความหมายตามรูป ศัพท์และความหมายตามความเห็นของนักปราชญ์ นกั คดิ ต่าง ๆ ทมี่ า: https://www.jerryapps.com/bio.shtml ความหมายตามรูปศัพท์ คาว่าปรัชญานั้น พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ ประพันธ์ ทรงบัญญัติขึ้นจากคาว่า Philosophy ในภาษาอังกฤษ ซึ่งเมื่อเทียบดูโดยรูป ศัพท์แล้ว ความหมายผิดกันมากเพราะคาว่า Philosophy ในภาษาอังกฤษนั้นมาจากราก ศัพท์กรีกโบราณว่า Philosแปลว่า ผู้รัก ความรัก (Love ๐f) และ Sophia แปลว่า ความ ปราดเปร่ือง (wisdom) ฉะนั้น จึงมีความหมายตามรากศัพท์ว่า ความรักหรือความ ปรารถนาจะเป็นปราชญ์ (กรี ติ, 2523 ) ส่วนคาว่า ปรัชญานั้นเป็นคามาจากรากศัพท์สันสกฤต ปร + ชญา ตรงกับคาบาลี ว่า ปญั ญา ความหมายเดมิ ของคาน้ีคอื ความรู้แจ้ง ความฉลาด (ปรดี ี, 2513 ) ความหมายตามความเห็นของบุคคลต่าง ๆ เพลโต กล่าวว่า \"ปรัชญา คือวิชาที่ว่า ด้วยการศึกษาเรื่องความจริง (truth) ความดี (goodness) และความงาม (beauty)\"ส่วน อริสโตเติล เห็นว่า \" ปรัชญาคือศาสตร์ท่ีสืบค้นถึงธรรมชาติของสิ่งท่ีมีอยู่โดยตัวเอง ตลอดจนคณุ ลักษณะตามธรรมชาตขิ องสิ่งนัน้ \" (เดือน, 2522 ) เบอทรัน รสั เซล (อา้ งถึงในสุลักษณ์, 2524) ไดใ้ ห้ความหมายของปรชั ญาไวด้ ังน้ี ปรัชญาดูจะอยู่ก่ึงกลางเทววิทยา (theology) และวิทยาศาสตร์(science) เหมือน เทววิทยาตรงท่ีว่าด้วยเร่ืองซ่ึงไม่สามารถหาความรู้ได้ อย่างแน่นอน แต่ก็เหมือน วิทยาศาสตร์ตรงที่ใช้หลักเหตุผลย่ิงกว่าอาศัยอานาจอื่นใดเป็นเกณฑ์ ไม่ว่าจะเป็น

9 หลักเกณฑ์แห่งความเชื่อถือนั้นได้มาโดยรหัสนัยจากพระผู้เป็นเจ้าก็ตาม ข้าพเจ้าถือว่า ความรู้ท่ีแน่นอนเป็นเรื่องของวิทยาศาสตร์ หลักคาสอนท่ีอยู่เหนือความรู้ท่ีแน่นอนเป็น เร่อื งของเทววทิ ยา ชอ่ งวา่ งระหว่างสองวิชานี้เปน็ เรอื่ งของปรชั ญา.... นอกจากนี้ นกั คดิ นักการศกึ ษาไทยกไ็ ดใ้ หค้ วามหมายของปรัชญาไวเ้ ช่นกัน ดงั น้ี ปรีดี พนมยงค์ (2513) กล่าวว่า \"...ปรัชญาเป็นยอดสรุปของวิชา (sum of knowledge) หรือวทิ ยาของวทิ ยาท้ังหลาย (science of sciences)...\" คกึ ฤทธิ์ ปราโมช (2524 ) ให้ความหมายของปรัชญาว่า \" ...เป็นศาสตร์อย่างหนึ่งท่ี ทาให้ผูศ้ กึ ษานน้ั เกดิ ปญั ญา คอื เกดิ วามร้อู ันเปน็ แก่นสารของความรทู้ แี่ ท้จรงิ ...\" ส่วนภิญโญ สาธร (2514) ให้นิยามปรัชญาว่า \"..คือศาสตร์ชนิดหนึ่งที่มี วัตถุประสงค์ท่ีจดั หมวดหมหู่ รือแบบความรู้สาขาตา่ ง ๆ เพ่ือนามาใช้เปน็ เครื่องมือทาความ เขา้ ใจและแปลความหมายข้อเทจ็ จริงตา่ ง ๆ อย่างสมบูรณ์แบบ...\" จากนิยามของปรัชญาท่ีนาเสนอนจ้ี ะเหน็ ได้ว่าการวิเคราะหค์ วามหมายของปรชั ญา นั้นแตกต่างกันมาก และยังไม่มีนิยามใดเป็นที่ยอมรับกันโดยท่ัวไป อย่างไรก็ตามถ้า พิจารณาถึงความหมายโดยส่วนรวมแล้วอาจสรุปความหมายของปรัชญาได้เป็น 4 นัย ตามที่ Good เสนอไว้ใน Dictionary of Education (1897) ดังน้ี 1. ปรัชญา หมายถึง ทัศนะส่วนรวมของบุคคลที่เป็นตัวช้ีนาความคิดและการ ประพฤตปิ ฏบิ ัติของคน ๆ น้ัน 2. ปรัชญาเป็นศาสตร์ที่รวบรวมและคัดระบบเกี่ยวกับความรู้เพ่ือทาความเข้าใจ และตีความความเป็นจริงท่ีแท้ ซ่ึงประกอบด้วยสาขาต่างๆ คือ ตรรกวิทยา จริยศาสตร์ สนุ ทรียศาสตร์ อภิปรชั ญา และญาณวิทยา 3. ปรัชญาเป็นการทบทวนหรือการตรึกตรองของจิตท่ีไม่ยึดติดกับแบบแผนธรรม เนยี ม ประเพณีตา่ งๆ แตส่ ามารถคิดพิจารณาสิง่ ต่าง ๆ ในทุก ๆ ทางทเ่ี ห็นว่าเป็นไปได้ 4. ปรัชญาเป็นความเช่ือหรือหลักการท่ีบุคคลยึดเป็นหลักในการตัดสินใจกระทา หรือไม่กระทาส่ิงใดหรือการปฏิบัติในบางสิ่งบางอย่างตามแนวทางใดแนวทางหนึ่ง โดยเฉพาะ

10 ความสาคัญของปรชั ญา การจัดการศึกษาของชาติจะบรรลุเป้าหมายได้ย่อมขึ้นอยู่ กับปัจจัยหลายประการ เช่น นโยบายของรัฐบาล งบประมาณ บุคลากรที่มีคุณภาพ รวมท้ังปัจจัยสาคัญ คือ ปัจจัยด้านปรัชญา เพราะ \"...ปรัชญามีส่วนช่วยให้นัก การศึกษากาหนดเป้าหมายหรือส่ิงอันมีคุณค่าสูงสุดในการดาเนินกิจการการศึกษา...ช่วย ให้นักการศกึ ษาสามารถกาหนดจุดมุ่งหมายของการศึกษาได้แล้ว จากนั้นก็สามารถกาหนด หลักสูตร วธิ ีการเรียนการสอนต่อไป...\" (วิทย์, 2527 ) นอกจากปรชั ญาจะมีบทบาททสี่ าคัญต่อการกาหนดจุดมุ่งหมายเละแนวทางในการ จัด การศึกษาดังกล่าวแล้ว ปรัชญายังมีอิทธิพลต่อแนวคิด การประพฤติปฏิบัติของบุคคล ดงั ท่ี สวุ ัฒน์ พุทธเมธา (2523) กลา่ วไว้ว่า “... ปรัชญาเป็นเร่ืองที่ควรเรียนรู้และทาความเข้าใจ เพราะแม้ว่าแต่ ละคนจะไม่ได้ศึกษา ทาความเข้าใจปรัชญาแต่ต่างก็มีปรชั ญาเป็นพ้ืนฐาน ของการดาเนินชีวิต การกระทาและการปฏิบัติของตนเสมอ การคิดการ ปฏบิ ัติของแตล่ ะคนย่อมอย่กู บั ความเชื่อ โลกทัศน์ การรบั รู้ต่อชีวติ เละ สิ่ง แวดส้อมของบุคคลน้ัน ไม่ว่าใครจะคิดและเชื่ออย่างไร ความคิดความ เชือ่ นั้นย่อมสัมพนั ธ์สอดคล้องกับความคิดความเชอ่ื ของลทั ธิปรัชญาสาขา ใดสาขาหนึ่งเสมอ...\" เน่ืองจากการจัดการศึกษาต้องเก่ียวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย ทั้งผู้บริหาร ครู อาจารย์ ผู้เรียนและผู้ปกครอง บุคคลเหล่านี้อาจมีแนวคิดทางการศึกษาท่ีแตกต่างกัน เพราะ “ความคิดทางด้านการศึกษาย่อมขึ้นอยู่กับทัศนคติในทางปรัชญาของแต่ละคน\"(สุ ลักษณ์, 2524) ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาบางประการ เช่น หลักสูตรควรจะเป็นอย่างไร ครู ควรมบี ทบาทในการสอนอย่างไร

11 ในเรอ่ื งน้ี วิทย์ วิศทเวทย์ (2527) ไดใ้ ห้ความเหน็ ว่า ..ปัญหาเช่นน้ีเป็นเพียงภาพสะท้อนของ \"ความเชื่อ\" ของผู้จัดการ ศึกษาเก่ียวกับธรรมชาติของมนุษย์ ชีวิตที่ดี สิ่งมีค่าของมนุษย์และ จุดหมายของการศึกษา ความเช่ือพื้นฐานเหล่าน้ีถ้าผู้จัดการศึกษามีไม่ ตรงกนั แลว้ ระบบการศึกษาท่ีเขาจดั ยอ่ มตอ้ งแตกต่างกันอย่างแน่นอน... กีรติ บุญเจือ. 2523. ปรชั ญาสาหรบั ผเู้ ริม่ เรียน (พมิ พค์ รั้งท่ี3). กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพไ์ ทยวัฒนาพานชิ จากัด. คกึ ฤทธิ์ ปราโมช,ม.ร.ว. 2524. ลัทธิและนกิ าย. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ชัยฤทธิ์. เดอื น คาดี. 2522. ปรัชญาตะวนั ตก. ภาควิชาปรัชญา, คณะสงั คมศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. (อัดสาเนา) ปรีดี พนมยงค.์ 2513. ปรชั ญาคอื อะไร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์นิติเวชช.์ ภญิ โญ สาธร. 2514. ปรัชญาการศกึ ษาไทย. สภาการศึกษาแห่งชาติ. 5 (กุมภาพนั ธ์ 2514) : 22. สุลกั ษณ์ ศวิ รักษ์. 2525. ปรัชญาการศึกษา. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พไ์ ทยวฒั นาพานิช จากดั . วทิ ย์ วศิ ทเวทย์. 2527. ปรชั ญากบั การศึกษา เอกสารการนเิ ทศการศึกษา ฉบับท่ี 265. หนว่ ยศกึ ษานิเทศก์, กรมการฝึกหดั ครู. สุวฒั น์ พุทธเมธา. 2523. การเรียนการสอนปจั จบุ นั (ศึกษา 33). กรุงเทพๆ : โอเดียนสโตร.์ Good,Carter V. 1987. Dictionary of Education. New York : McGraw – Hill.

12 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งปรชั ญากับการศกึ ษา ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับการศึกษา หรือกล่าวอีกนัยหน่ึง คือการพิจารณา แยกแยะว่าปรัชญาน่าจะมีบทบาทในการศึกษาอย่างไรบ้างน้ัน ท้ังนี้ก็โดยดูว่ามีเนื้อหา และวิธีการของปรัชญาอะไรบ้างที่นักการศึกษาอาจนามาเป็นหลักหรือแนวทางในการจัด การศึกษา จิตรกร ต้ังเกษมสุข (2525) ใหค้ วามเห็นวา่ ที่มา: https://irak.pk/education-system-now-and-from-the-wanted/ ...การศึกษากับปรัชญาเป็นของคู่กัน โดยที่ปรัชญาจะเป็นดังหนึ่งพ้ืนฐานที่รองรับ การศึกษาอยู่ ด้วยเหตุที่หากปราศจากปรัชญาเสียแล้วการจัดการศึกษานั้นย่อมเป็นไป อย่างเลื่อนลอย ไรท้ ิศทาง และปราศจากความสมเหตุสมผล..... เพราะก่อนท่ีจะตอบได้ว่า จะจัดการศกึ ษาเพ่ืออะไร นักการศึกษาจักต้องรู้ว่าสงิ่ ท่ีดีท่ีสดุ ท่ีมนุษยค์ วรจะไดร้ ับคืออะไร อะไรคือความเป็นจริงสูงสุดของชีวิตชีวิตที่ดีท่ีสุด หรือน่าพึงปรารถนาที่สุดเป็นอย่างไร และก่อนที่จะตอบว่าจะจัดการศึกษาอยา่ งไร นักการศึกษาจักต้องรู้ว่าความร้คู ืออะไร และ มนุษย์จะรับความรู้นั้นได้อย่างไร ซึ่งปัญหาพื้นฐานเหล่านี้ ก็คือปัญหาทางปรัชญานั่นเอง จึงอาจกล่าวได้ว่าคาตอบในทางปรัชญาจะช่วยให้ได้คาตอบทางการ ศึกษาด้วยใน ขณะเดียวกนั และเพอ่ื ให้เหน็ ถึงบทบาทของปรัชญาทม่ี ีต่อการศกึ ษาอยา่ งชัดเจนย่ิงขึ้น สุลักษณ์ ศิวรกั ษ์ (2524) ไดเ้ สนอแนวคดิ ไวด้ ังน้ี ...ในรูปแบบของตัวเองแล้ว ปรัชญาพยายามเข้าใจในเรื่องความเป็นจริงของส่ิง ทั้งหลายท้ังปวง แล้วอธิบายเป็นระบบให้โดยตลอด ครั้นเมื่อมาพิจารณาการศึกษาก็ย่อม พยายามจะเข้าใจการศึกษาโดยตลอด แล้วแปลความหมายของการศึกษานั้นออกมาให้ เป็นแนวคิดวงกว้าง จะได้เป็นแนวทางให้เลือกวางนโยบายเละปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมาย หรืออุดมคติทพ่ี งึ ประสงค.์ .

13 นอกจากน้ี วิทย์ วิศทเวทย์ (อ้างถึงใน ไพฑูรย์, 2523) ยังได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ เน้ือหาและวธิ กี ารของปรชั ญาทม่ี บี ทบาทต่อการศกึ ษาดังน้ี 1. ในแง่เนื้อหาของปรัชญา ปรัชญามีส่วนช่วยให้นักการศึกษากาหนดเป้าหมาย หรือกาหนดสิ่งอันมีค่าสูงสุดในการดาเนินกิจการการศึกษา เช่น ถ้าการศึกษามีไว้เพ่ือชีวิต ที่ดี ปรัชญาก็จะช่วยให้คาตอบว่าชีวิตดีท่ีสุดเป็นอย่างไร และหากชีวิตมนุษย์ต้องอยู่ใน สังคมร่วมกับผู้อ่ืนปัญหาท่ีจะโยงไปถึงลักษณะของสังคมท่ีดีคืออย่างไร ความกระจ่างใน ปัญหาเหล่าน้ีจะช่วยให้นักการศึกษาสามารถกาหนดจุดมุ่งหมายของการศึกษาได้ แล้ว จากน้นั กจ็ ะสามารถกาหนดหลักสตู ร วธิ ีการเรยี นการสอน ไดต้ ่อไปเป็นลาดับ 2. ในแง่วิธีการของปรัชญาคือการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และตีความโดยใช้เหตุผล ตามครรลองของตรรกวิทยา ปรัชญามีส่วนช่วยนักการศึกษา โดยวิเคราะห์มูลบทของ การศึกษา ตีความหมายคาท่ีใช้ในวงการศกึ ษาแล้วสังเคราะห์ หรอื รวบรวมข้อมูลให้เข้ามา อยู่ในระบบเดียวกันกล่าวคือปรัชญาช่วยให้นักการศึกษามองเห็นปัญหากระจ่างชัดข้ึน รู้จักตนเองมากขึ้นวา่ ความเข้าใจของตนน้นั เป็นอยา่ งไร และแน่ใจในจุดยนื ของตนมากขน้ึ สรุปได้ว่าปรัชญามีบทบาทสาคัญต่อการศึกษานับแต่จุดเริ่มต้น กล่าวคือ ปรัชญา ช่วยวิเคราะห์ตีความปัญหาพ้ืนฐานของการศึกษา แล้วสังเคราะห์เป็ นระบบให้นัก การศึกษานาไปใช้เป็นแนวทางในการวางรูปแบบจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายที่พึง ประสงค์ จิตรกร ตั้งเกษมสขุ . 2525. พุทธปรชั ญากับปรัชญาการศกึ ษาไทย. กรงุ เทพฯ : บางกอก การพมิ พ์. ไพฑรู ย์ สินลารัตน์ (บรรณาธกิ าร). 2523. ปรัชญาการศึกษาและปรัชญาการศกึ ษาของ ไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ไทยวฒั นาพานชิ จากัด. สลุ ักษณ์ ศิวรักษ์. 2525. ปรชั ญาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ไทยวัฒนาพานชิ จากดั .

14 เศรษฐกจิ - สงั คม - การเมือง กบั การศึกษา มิติของการพัฒนาประเทศถ้าหากจาแนกออกเป็น 3 มิติ คือ มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม และมิติด้านการเมือง แล้ว มิติการพัฒนาประเทศท้ังสามด้านนี้ ตา่ งก็มีความสมั พันธ์ใน เชิงเป็นเหตุเป็นผลต่อกัน .....ต่างก็เป็นตัวการที่จะก่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงซ่ึงกันและกัน และในขณะเดียวกันมิติการ พัฒนาทั้ง 3 ด้านน้ี ก็มีความสัมพันธ์เชิงเป็นเหตุเป็นผลต่อ การศึกษาด้วย......ต่างก็เป็นตัวการท่ีจะทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในตัวการศึกษา และขณะเดียวกันการศึกษา ก็ สามารถจะเป็นตัวการท่ีทาให้มิติการพัฒนาแต่ละด้านน้ัน เปล่ียนแปลงไปดว้ ย (วิโรจน์, 2532) ท่มี า: https://www.thairath.co.th/scoop/1712528 โดยทั่วไปแล้ว รัฐจะอาศัยการศึกษาเป็นเครื่องมือสาคัญท่ีจะฝึกฝนอบรมให้ \"คน\" มีคุณลักษณะต่างๆ ตามที่ต้องการ สามารถจะทาให้เป้าหมายการพัฒนาประเทศแต่ละ ด้านบรรลุผล ประเทศต่าง ๆ มักจะกาหนดวัตถุประสงค์ทางการศึกษาไว้เป็นหัวข้อ ประเด็นกว้าง ๆ เช่น ทางด้านเศรษฐกิจ จะพัฒนาความรู้และทักษะของแต่ละบุคคล เพ่ือให้สามารถมีบทบาทท่ีก่อประโยชน์ในฐานะผู้ประกอบอาชีพ ทางด้านสังคมและ จริยธรรม จะพัฒนาค่านิยมและทัศนคติอันจะก่อให้เกิดความซ่ือสัตย์และการมีส่วนร่วม อย่างรับผิดชอบในชีวิตสังคม ทางด้านการเมือง จะพัฒนาความรู้สึกเป็นส่วนหน่ึงของ ประเทศและสร้างความสานึกในหน้าท่ตี ่อสว่ นรวม (ชนติ า, 2532) ชนิตา รักษพ์ ลเมอื ง. 2532. การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาประเทศ. กรุงเทพมหานคร: สานกั พมิ พ์ โอเดยี นสโตร์. วโิ รจน์ สารรตั นะ. 2532. การศึกษากับการพัฒนาชนบทไทย. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั อักษราพิพฒั น์จากัด.

15 เทคโนโลยี ความหมายของเทคโนโลยี เมื่อพูดถึงคาว่า “เทคโนโลยี” เราจะต้องนึกถึงคาว่า “วิทยาศาสตร์” และต้อง เข้าใจในความหมายให้ได้เสียก่อน จึงจะสามารถให้ความหมายของเทคโนโลยีได้ เพราะ วิทยาศาสตร์เป็นฐานต้นกาเนิด ของเทคโนโลยีนัน่ เอง ท่ี ม า : http://www.baankluayonline.co/article- technology-agriculture/ วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้เก่ียวกับความจริงของส่ิงที่มีอยู่ในธรรมชาติ ซ่ึงมีทั้ง ส่ิงมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ส่ิงมีชีวิตได้ แก่ พืช สัตว์ แบคทีเรียและไวรัส ส่วนสิ่งท่ีไม่มีชีวิต ได้แก่ แร่ธาตตุ า่ งๆ ส่วนเทคโนโลยี หมายถึง การประมวล นาความรู้ท้ังมวลทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ โดยประยุกต์ดัดแปลงวัตถุดิบจากธรรมชาติให้เกิดผลผลิตในด้านต่างๆ เช่น การเกษตร อตุ สาหกรรม การแพทยแ์ ละสาธารณสุข ฯลฯ เปน็ ตน้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ทาให้ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม อีกทั้งวิถีชีวิตมนุษย์ เปล่ียนแปลงไปอย่างมากมาย ท้ังนี้เน่ืองจากการที่มนุษย์นาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มา ประยุกต์เป็นเทคโนโลยี ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นสากลและถ่ายทอดได้ง่ายจากวัฒนธรรมหน่ึงไปสู่อีก วัฒนธรรมหนึ่ง แต่สาหรับเทคโนโลยีน้ัน มนุษย์จะต้องใช้\"ปัญญา\" และ \"สติ\" ท่ีจะ เลือกสรรเฉพาะเทคโนโลยีที่ได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมกับบริบททางสังคม เศรษฐกิจ

16 การเมือง และวัฒนธรรมของท้องถ่ินนั้นเพ่ือมิให้เกิดผลกระทบในเชิงลบ แต่ก็ก่อให้เกิด ประโยชน์ตอ่ คนสว่ นใหญ่อยา่ งแท้จรงิ ดังน้ัน การนาเทคโนโลยีต่างประเทศเข้ามา นักวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไทย จาเป็นจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับภาพรวมทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และ วัฒนธรรมของประเทศเจ้าของเทคโนโลยี เพ่ือให้สามารถเลือกสรรเทคโนโลยีที่เหมาะสม หรือนามาปรับใช้ให้เข้า กับสภาพการณ์ของประเทศไทย อันจะก่อประโยชน์ต่อคนส่วน ใหญ่ของประเทศ แนวความคดิ เกย่ี วกับเทคโนโลยี สาหรับประเทศไทย แนวความคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยี จาแนกออกเป็น 3 แนวทาง ด้วยกัน 1. ถือวา่ เทคโนโลยเี ปน็ วัตถปุ ระสงคส์ งู สดุ ของชาติ 2. ถอื ว่าเทคโนโลยีเปน็ ปจั จัยการผลติ ประการหนงึ่ 3. ถอื ว่าเทคโนโลยเี ป็นผลติ ผลทีซ่ อ้ื ขายกันในทอ้ งตลาด เทคโนโลยีเป็นวัตถุประสงค์สูงสุดของชาติ ภายใต้แนวคิดนี้สภาวะด้อยพัฒนา เศ รษ ฐกิ จคื อ ส ภ าพ แ ห่ งก ารมี ขี ด ค วาม ส าม ารถ เท ค โน โล ยีต่ าแ ล ะ พ่ึ งต น เอ งไม่ ได้ ท าง เทคโนโลยีเป็นเหตุ ให้ไม่สามารถนาเอาทรัพยากรต่างๆ ท่ีมีอยู่ในประเทศมาใช้ประโยชน์ ได้อย่างเต็มท่ี ดังน้ันการสร้างขีดความสมารถทางเทคโนโลยีเพ่ือสามารถพึ่งตนเองได้เป็น สงิ่ จาเป็นอย่างยิ่งและเป็นวัตถุประสงค์สงู สดุ ของชาติ ผลจากความเช่ือนี้ นาไปสู่การจัดตั้ง องค์กรเละสถาบันทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีใหมๆ่ การเพิ่มงบประมาณการวิจัยและ พฒั นา และการเรง่ รัดการผลติ บุคลากรเพอ่ื เปน็ นกั วจิ ยั เทคโนโลยีเป็นปัจจัยการผลิตประการหน่ึง แนวคิดนี้ถอื ว่าเทคโนโลยเี ป็นปัจจัย ซ่ึง ต้องใช้ประกอบหรือร่วมกับปัจจัยการผลิตอย่างอ่ืน เช่น แรงงาน ทุน วัตถุดิบ ฯลฯ ความ ต้องการเทคโนโลยีจึงเปน็ ความต้องการสืบเนอื่ งมาจากความต้องการในการผลิต การได้มา ซึง่ เทคโนโลยี ไดแ้ ก่ การซ้ือ/เช่าจากต่างประเทศ ซึ่งมีการใช้ได้ผลแล้ว ทาให้เสียค่าใช้จ่าย น้อยกว่า ได้ผลแน่นอนกว่าท่ีจะพัฒนาข้ึน กรณีอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ หรือมีการใช้

17 เทคโนโลยีซับซ้อน จะให้ต่างประทศเข้ามาลงทุน หรือร่วมทุนกับต่างประเทศ ทาให้ เทคโนโลยีเขา้ มาแบบเบ็ดเสร็จ เทคโนโลยีเป็นผลิตผลที่มีราคาช้ือขายกัน แนวความคิดนี้มองเทคโนโลยีเป็น ผลิตผลเช่นเดียวกับสินค้าอื่น ผู้คิดค้นเทคโนโลยีสามารถสร้างอานาจผูกขาดในการใช้ เทคโนโลยีที่คิดขึ้น ผู้ท่ีต้องการใช้เทคโนโลยีต้องให้ค่าตอบแทนและเง่ือนไขตามเจ้าของ เทคโนโลยเี รียกร้อง แนวทางการพฒั นาเทคโนโลยี แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยี ในแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 6 มหี ลายประการ 1. การพัฒนากาลังคนด้านเทคโนโลยี เน้นความสาคัญในการจัดหลักสูตร การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ที่จะเช่ือมโยงไปสู่เรอ่ื งของเทคโนโลยี 2. การจัดระบบระเบียบต่างๆ ในการถ่ายทอดเทคโนโลยที ี่นาเข้ามาจากการลงทุน จากต่างประเทศ 3. การตั้งสถาบันท่ีจะช่วยวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีในประเทศ และการสร้างฐาน กจิ การอตุ สาหกรรมท่ีเป็นของไทยใหม้ ากย่ิงขนึ้ วิธีการดาเนนิ งานพัฒนาเทคโนโลยี 1. สง่ เสริมการสอนด้านวิทยาศาสตร์ โดยจัดตง้ั หน่วยงานทีเ่ รยี กว่า \"สสวท\" ซง่ึ รวม ผูท้ รงคุณวุฒิด้านวิทยาศาสตร์จัดทาหลักสตู รการเรียนการสอนทั้งหมด นอกจากนีค้ นท่ีเก่ง และเขา้ มาอยูใ่ นโครงการวทิ ยาศาสตร์ได้เรียนโดยไม่เสียค่าใชจ้ า่ ย จนถึงปริญญาโทในคณะ วิทยาศาสตร์ 2. จัดการดูแลเร่ืองสัญญาเก่ียวกับเทคโนโลยี โดยต้ังเงื่อนไขว่า เคร่ืองจักรที่นาเข้า มาจากต่างประเทศต้องมปี ระสิทธภิ าพสงู กวา่ เครื่องจักรท่ใี ช้ในประเทศ 3. ผทู้ ี่จบการศึกษาในสาขาทข่ี าดแคลน คอื คอมพิวเตอรอ์ ิเลกทรอนิคส์ ปโิ ตรเคมี พันธุวิศวกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมวัสดุต่าง ๆ ได้เงินเดือนสูงกว่าผู้จบ สาขาอน่ื และเร่งผลิตกาลังคนประเภทนี้ใหพ้ อเพยี ง

18 4. จัดตั้งสถาบันที่จะทางานค้นคว้าวิจัยด้านเทคโนโลยีข้ึน เช่น สานักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ศูนย์พันธุวิศวกรรม ศูนย์ เทคโนโลยีชีวภาพ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะการและวัสดุแห่งชาติ เป็นต้น นอกจากนี้ตั้ง สานักงานคณะกรรมการพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี ้ึน โฆษิต ป้ันเปย่ี มรัษฎ.์ 2536. การพัฒนาประเทศไทย แนวความคิดและทิศทาง. (พมิ พ์ ครัง้ ท่ี 2) กรงุ เทพฯ : สานักพิมพด์ อกเบี้ย สิปปนท์ เกตทุ ตั . 2536. ความรสู้ ่อู นาคต. (พมิ พค์ ร้งั ท่ี 2) กรุงเทพฯ: โรงพมิ พจ์ ุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ทวี หอมชง. 2545. วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. กรงุ เทพฯ: สวุ ีรยิ าสาส์น.

19 อาชวี ศึกษาคืออะไร (Vocational Education) แผนการศึกษาแหง่ ชาตพิ ุทธศกั ราช 2520 ไดใ้ ห้ความหมายของอาชีวศกึ ษาไว้ดังน้ี ....เป็นการศึกษาวิชาชีพท่ีมุ่งผลิตกาลังคนในระดับต่างๆกัน ตามความ ต้องการของท้องถนิ่ และสังคม การศึกษาวิชาชีพในระดับประถมศึกษา มุ่งฝึกให้ผู้เรียนเกิดมีนิสัยรัก การทางานสามารถนาความรู้จากบทเรียน และการทางานในโรงเรยี นไปใช้ใน ชวี ติ ประจาวันได้ ทมี่ า: https://www.trueplookpanya.com/tcas/article/detail/65005 การศกึ ษาวิชาชีพในระดับมัธยมศึกษา มุ่งฝึกให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ มีความชานาญที่สามารถจะนาไปใชป้ ฏิบตั ิเละประกอบอาชีพได้จริงอย่างหน่ึง หรือ เพื่อให้รู้แนวทางท่ีจะศึกษาเพิ่มเติมตามความถนัด และความสนใจของ แต่ละบุคคลอีกอย่างหน่ึง..โดยเน้นการฝึกทักษะในระดับก่ึงฝีมือและระดับฝี มือ การศึกษาวิชาชีพในระดบั อุดมศึกษา มุ่งฝึกวชิ าชีพในระดับสูง เพ่ือให้ มีความสามารถและมีความชานาญเฉพาะอย่างสอดคล้องสัมพันธ์กับการ พัฒนาตลาดแรงงาน.... การศึกษาวิชาชีพพิเศษ....มุ่งเพ่ืออบรมการอาชีพบางอย่างท่ีต้องการ ฝึกฝนพเิ ศษแตเ่ ยาว์วัย และเป็นเวลานาน เช่น นาฎศลิ ป์ และดนตรี เป็นต้น

20 การศึกษาวิชาชีพในการศึกษานอกโรงเรียน มุ่งให้ผู้เรียนมีโอกาสฝึก อาชีพระยะส้ันเพื่อให้สามารถประกอบอาชีพที่ต้องการได้ หรือเพ่ือฝึก เพิ่มเติมในส่วนท่ีขาดในอาชีพท่ีกาลังประกอบการอยู่ หรือ ที่จะประกอบการ ต่อไป ให้สมบรู ณ์ หรือเพือ่ สามารถประกอบอาชีพนน้ั ๆ ไดด้ ีขน้ึ คาว่า \"อาชีวศึกษา\" มักมีผู้ให้ความหมายในลักษณะการแปลความ เช่นบรรจง ชู สกุลชาติ (2530) กล่าวว่า อาชีวศึกษา คือการศึกษาเพ่ือการอาชีพ ซึ่งก่อให้เกิดความ สบั สนได้ กบั คาวา่ Career Education ซ่งึ แปลวา่ การศึกษาเพือ่ อาชพี เป็นต้น บุญธรรม จิตต์อนันต์ (2526) อ้างถึงกัฐจนา สินธวานนท์ว่า มักมีความเข้าใจ คลาดเคล่ือนในบรรดานักการศึกษา ซ่ึงกล่าวกันว่า \"อาชีวศึกษา\" นั้น คือ \"การศึกษาเพ่ือ อาชีพ\"(Career Education) ซ่ึงความจริงแลว้ ทงั้ 2 คานี้ มดี วามแตกตา่ งกัน ดังน้ี 1. อาชีวศึกษาเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการจัดกรศึกษาแบบ \"การศึกษาเพื่ออาชีพ\" เท่าน้ันเมื่อถึงจังหวะและข้ันตอนท่ีจะต้องฝึกเพ่ือความรู้ความชานาญ ในอาชีพท่ีตนสนใจ แต่การศึกษาเพื่ออาชีพ เป็นการเตรียมชีวิตให้พร้อมท้ังทางด้านวิชาการและวิชาชีพโดย ละเอยี ดลกึ ซึ้ง นับแตเ่ ร่มิ เข้ารับการศกึ ษาในระดบั ตน้ 2. อาชีวศึกษาเลือกจัดโปรแกรมสอน และ ฝึกงานเฉพาะอาชีพใดอาชีพหนึ่ง โดยเฉพาะเพื่อออกมาประกอบอาชีพในสาขานั้นโตยตรงทันที เป็นการกาหนดผู้เรียนโดย แน่ชัดในเส้นทางท่ีจัดไว้ให้ ส่วนการศึกษาเพ่ืออาชีพนั้นจะจัดเตรียมในลักษณะที่ผู้เรียน สารวจดูความสนใจและความถนัดของตนและเลือกกลุ่มอาชีพท่ีคิดว่าสอดคล้องกับความ ถนัด เเละความสนใจ ในที่สุดจึงจะตัดสินใจเลอื กขั้นสุดท้ายว่าประสงค์จะออกไปประกอบ อาชีพการงานประเภทใด นอกจากนี้ บุญธรรม จิตอนันต์(2526) อ้างถึง Sherley Boes Neill ว่าได้อธิบาย ขอ้ แตกต่างระหวา่ งอาชวี ศกึ ษา กบั การศกึ ษาเพือ่ อาชพี ไวด้ งั น้ี อาชีวศึกษา เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของการศึกษาเพ่ืออาชีพ แต่มิใช่เป็นส่วนที จะครอบคลุมใช้ได้กับผู้เรียนทุกคนและทุกระดับช้ันเรียน โปรแกรมอาชีวศึกษาอาจเสริม

21 เข้ามาในหลักสูตรและจัดสอนเป็นชั้นหนึ่งต่างหากได้ แต่การศึกษาเพื่ออาชีพ ไม่อาจ กระทาเช่นน้ันได้ การศึกษาเพ่ืออาชีพจะต้องผสมผสานกลมกลืนเข้าไปในทุกวชิ าเม่ือเห็น เหมาะสมท่จี ะสอดแทรกความคิด ในเร่อื งนี้เป็นภาระหน้าทีข่ องครู อาจารย์เเต่ละท่านทจี่ ะ สอนการศึกษาเพ่ืออาชีพแก่ผู้เรียนทุกคนให้รู้เกี่ยวกับงาน และรู้จักวัดประมาณดูว่าตนเอง เพอื่ ความเหมาะสมแก่งานอาชีพได้อย่างไร.... อย่างไรก็ตาม ถ้ากล่าวตามหลักการให้คานิยามแล้ว คาศัพท์ที่จัดเป็นประเภท ใกล้ชิดท่ีสุดกับ คาว่า อาชีวศึกษา คือ สามัญศึกษา ท้ังสามัญศึกษาและอาชีวศึกษา มี ลักษณะร่วมกัน คือ\" การศึกษา\" แต่ลักษณะท่ีทาให้อาชีวศึกษามีความแตกต่างกับสามัญ ศึกษาคือ อาชีวศึกษามุ่งพัฒนามนุษย์ให้มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติจนชานาญใน งาน หรือ ในทางการศึกษาเรียกว่า ด้านทักษะ (psychomotor domain) มากกว่าด้าน ความรู้วิชาการเหมือนสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 2520. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2520. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรสุ ภา. บรรจง ชสู กุลชาต.ิ 2530. จากใจอธิบดีถึงใจชาวอาชวี ศึกษา.กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพส์ ารพัดช่างพระนคร. บุญธรรม จติ ต์อนันต์ และคณะ. 2526. หลักอาชวี ศึกษา. ภาควชิ าอาชีวศกึ ษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. (อดั สาเนา)

22 ความม่งุ หมายของอาชีวศกึ ษา บุญธรรม จิตต์อนันต์ (2521) ไดส้ รุปความมุง่ หมายของอาชีวศึกษาไว้ว่า คอื การให้ การศึกษาเพ่ือพัฒนาความสามารถของบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถที่จาเป็น สาหรับการประกอบอาชีพ หรือเพ่ือ ป รับ ป รุงก ารป ระก อบ อาชีพ ให้ ก้าวหน้ายิง่ ขึน้ ท่ีมา: https://www.dek-d.com/education/28461/ ส่วน ปัญญา หิรัญรศั มี (2521) ได้กล่าวถึงความมุ่งหมายของอาชีวศึกษาไว้ด้วยกัน 5 ข้อ ดังนี้ 1. เป็นการชว่ ยให้สังคม หรือประเทศชาติได้แรงงานตามสาขาและอาชีพท่ีตอ้ งการ 2. เปน็ การชว่ ยใหค้ นที่กาลงั ศึกษาไดม้ โี อกาสเลอื กอาชีพไดม้ ากขน้ึ 3. เป็นการช่วยกระต้นุ ความสนใจของผูเ้ รียนเพราะสามารถใหน้ าความรูท้ างทฤษฎี ตา่ ง ๆ มาใชก้ ับการปฏิบัตงิ านอาชีพได้ 4. ป้องกันปัญหาของสังคมโดยช่วยพวกท่ีออกกลางคัน เพราะว่าไม่มีทุนใน การศกึ ษาต่อ หรอื มคี วามจาเป็นในชวี ิตไดม้ ีฝมี ือทางอาชพี เเละทางาน 5. ช่วยให้ประเทศชาตไิ ด้ขยายอุตสาหกรรม และเกษตรกรรมได้มากขน้ึ ถึงแม้ว่าจะมีการกล่าวถึงความมุ่งหมายของอาชีวศึกษาโดยนักการศึกษาหลายๆ ทา่ น แต่เมื่อพิจารณาวิเคราะห์อยา่ งละเอียดแลว้ สามารถสรปุ ได้ว่า การจัดอาชีวศึกษานั้น กม็ วี ัตถปุ ระสงค์ใหผ้ ู้เรียนได้มารับการฝกึ ฝนอบรมให้มีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ เจตคติ วนิ ยั และความรับผดิ ชอบท่ีจะสามารถประกอบอาชพี ได้อยา่ งแทจ้ ริง บุญธรรม จติ ตอ์ นนั ต์ และปญั ญา หิรัญรศั มี. 2521. หลกั อาชวี ศึกษา. ภาควชิ า อาชีวศึกษา,คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (อัดสาเนา) ลาวัณย์ วิจารณ์.2561.R&D:L.E.อาชีวศึกษาเกษตร:แนวทางสู่การปฏิบตั .ิ ปทุมธานี: โรง พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั รงั สติ

23 ปรชั ญาอาชวี ศึกษา : ทุ.ส.น.ิ ม. กระทรวงธรรมการ หรือกระทรวงศึกษาธิการ (ปัจจุบัน) พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าอยู่หัว รัชกาลท่ี5 ทรงสถาปนาขึ้น เม่ือวันที่1เมษายน 2435 ต่อมาในปี พ.ศ. 2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หวั รัชกาลท6ี่ ได้ทรงพระราชทานตราประจา กระทรวงเป็นตราเสมาธรรมจักร โดยมีลักษณะเป็นรูปวงกลม มีลายเสมาตั้งบนฐาน มีรูป พระธรรมจักรอยู่กลางใบเสมา มีอักษรขอม ทุ.ส.นิ.ม. อยู่มีขอบเบ้ืองบนเสมา ซ่ึงต่อมา อักษรขอมไดถ้ กู เปลี่ยนเปน็ อกั ษรไทย อย่างไรก็ตามปัจจุบันน้ีอักษร ทุ.ส.นิ.ม.นี้ มิได้ ปรากฏอยู่ในตราของกระทรวงศึกษาธิการ แต่คง ปรากฏอยู่เฉพาะในตราของ \"กรมอาชีวศึกษา” ณ ฐาน ล่างของตราเสมาธรรมจักร ทีม่ า:https://th.wikipedia.org/ ท.ุ ส.น.ิ ม. อักษร 4 ตัวน้ี ยอ่ มาจากอักษรตัวหนา้ ของคาวา่ ทุกข์ สมทุ ัย นิโรธ มรรค ซึ่งพุทธศาสนาสรุปรวมเรียกว่า \"อริยสัจจ์\"การใช้อักษรย่อของข้อความต่างๆ ที่ผูกไว้น้ี เรียกวา่ \"หัวใจ\"ดังนนั้ ทุ.ส.นิ.ม. ก็คือ \"หวั ใจอริยสัจจ\"์ นน่ั เอง อักษรยอ่ หรอื หัวใจน้ี คนไทยนิยมนามาใช้ \"ภาวนาเป็นคาบ\" เช่น หวั ใจอรยิ สัจจ์ ก็ จะเป็นดงั นี้ (หลวงวจิ ติ รวาทการ ,2532) ภาวนาเทยี่ วที่ 1 ทุ ส นิ ม ภาวนาเท่ียวท่ี 2 ส นิ ม ทุ ภาวนาเทยี่ วท่ี 3 นิ ม ทุ ส ภาวนาเที่ยวที่ 4 ม ทุ ส นิ การภาวนาเป็นคาบน้ัน เป็นวิธีการสร้าง \"สมาธิ\" ซึ่งก็คอื การสร้างความต้ังมั่นแห่ง จิตหรือ การสร้างความตง้ั ใจแนว่ แน่นน่ั เอง

24 ฉะนั้น อาจสรุปรวบยอดลงได้ว่า บรรพบุรุษทางการศึกษาของไทย ท่านได้กรุณา กาหนด \"หัวใจอริยสจั จ์\" เอไว้ให้เป็น \"หลัก\" หรือ \"รากฐาน\" สาหรบั การศึกษาของประเทศ ดว้ ยความตัง้ ม่ันและตั้งใจแนว่ แน่แห่งจิตของทา่ น อริยสัจจ์ คือ \"หลักธรรม\" หรือ \"คาสั่งสอน\" ของพระพุทธเจ้า ผู้ทรงให้กาเนิดพุทธ ศาสนาขน้ึ เพอ่ื อธิบาย \"สัจจธรรม\" หรอื \"ความจรงิ อนั เท่ยี งแท้\" แก่มวลมนษุ ย์ อริยสัจจ์ คือ หลักธรรมท่ีว่าด้วยความจริงอันประเสริฐบ้าง ความจริงของท่านผู้ ประเสริฐบ้าง ความจริงอันทาให้บุคคลเป็นผู้ประเสริฐบ้าง ซ่ึงพระพุทธเจ้าได้ทรงคัดเลือก ขึ้นสาหรับสอนมนุษย์โดยเฉพาะ.....การปราศจากความรู้ในอริยสัจจ์ พระองค์ทรงถือว่า เป็นการปราศจากความรู้โดยส้ินเชิง แม้จะมีความรู้อ่ืน ๆ อยู่มากมายเพียงใด ก็ถือว่ามีค่า เท่ากบั ไม่รูอ้ ะไรเลย อริยสัจจ์ เป็นหลักพื้นฐานหรือฐานรากของหลักธรรมในพุทธศาสนา ซ่ึงก็คือ \"หลกั ทฤษฎ\"ี ที่อธบิ ายถงึ เร่อื ง 4 ประการ 1. อะไร คือทกุ ข์ หรือปัญหา : \"ทุกข์ 2. อะไร เปน็ เหตุ ให้เกดิ ทุกข์ หรอื ปญั หา : \"สมุทยั \" 3. ความดบั สนทิ แห่งทกุ ข์ หรือปัญหา : \"นิโรธ\" 4. ทาอยา่ งไรหรือวิธปี ฏบิ ตั ิเพ่อื ความดับสนทิ แหง่ ทกุ ข์ หรอื ปญั หา:\"มรรค\"ได้แก่ 4.1 สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นอนั ถกู ตอ้ ง) 4.2 สมั มาสงั กัปโป (ความดาริอนั ถูกตอ้ ง) 4.3 สัมมาวาจา (มีวาจาอนั ถกู ตอ้ ง) 4.4 สมั มากมั มนั โต (มีการงานอันถกู ต้อง) 4.5 สัมมาอาชโี ว (เล้ยี งชพี อนั ถูกตอ้ ง) 4.6 สัมมาวายาโม (มคี วามเพียรอันถูกต้อง) 4.7 สัมมาสติ (มีสติระลึกอันถกู ต้อง) 4.8 สัมมาสมาธิ (มสี มาธอิ ันถูกตอ้ ง)

25 หลักทฤษฎี อริยสัจจ์ อุปมาดังเน้ือหาความรู้ทางวิชาการ ยังไม่สามารถนาไปสู่ “จุดหมาย” หรอื \"วตั ถุประสงค\"์ คือการดบั ทกุ ข์หรือแกป้ ัญหา พุทธศาสนาจึงกาหนดให้ต้องมี \"การปฏิบัติ\" คือ การปฏิบัติตาม \"มรรค 8\" นั่นเอง จงึ จะนาไปสู่ผลดังกลา่ วได้ จากที่กล่าวมาแล้วน้ัน จะเห็นได้ว่า หัวใจอริยสัจจ์ได้ช้ีนาให้ตระหนักถึงความ เกี่ยวเน่ืองสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่าง \"หลักทฤษฎี\" เพ่ือให้รู้แนวทางปฏิบัติ การท่ีจะ ปฏิบัติให้ถูกต้องก็ต้องอาศัยหลักทฤษฎีเป็นพ้ืนฐาน และ \"ผลท่ีเกิดจากการปฏิบัติ\" ท่ีมี หลกั ทฤษฎีเปน็ พน้ื ฐาน ซ่งึ ผูป้ ฏิบตั ิจักได้รบั เม่ือได้ปฏบิ ัตไิ ปแลว้ ดังน้ันถ้าหลักทฤษฎีมีปัญหา การปฏิบัติซึ่งอาศัยหลักทฤษฎีท่ีไม่ถูกต้องก็ย่อม เป็นไปตามแนวทางที่ผิด ผลของการปฏิบัติก็ย่อมผิดไปด้วย ขณะท่ีทางพุทธศาสนา เรียกว่า อริยสัจจ์ ในทางวิทยาศาสตร์เรียกว่า scientific thinking เน่ืองจาก “อริสัจจ์” เป็นเรื่องของ “แนวคิด” จึงสามารถนาไปประยุกต์ใช้เป็นฐานในการปฏิบัติ เร่ืองอื่นต่อไป ได้ ดังเช่น เมื่อนามาเป็นฐานในการกาหนดปรัชญาอาชีวศึกษา ก็อาจจะกล่าวได้ว่า... ปรัชญาอาชีวศึกษา ได้แก่ \"การนาความรู้จากทฤษฎีมาปฏิบัติจนเกิดการเรียนรู้อย่าง แท้จรงิ ด้วยตนเอง\" ถ้านามาประยุกต์เป็นฐานกาหนด “วิธีการแก้ปัญหา” ก็อาจจะกล่าวได้ดังแสดง ตามตารางข้างลา่ งนี้ ขน้ั ตอนอรยิ สจั จ์ ขน้ั ตอนวิธีการแก้ปัญหา 1.ขน้ั กาหนดปัญหา: ศึกษาปญั หา กาหนด 1. ทกุ ข:์ ความทุกข์ สภาวะที่บบี ค้นั ขอบเขตของปญั หาทีจ่ ะดาเนนิ การแก้ไข บกพร่อง ความปรารถนาไม่สมหวัง 2.ข้ันกาหนดสมมตุ ิฐาน: พิจารณาสาเหตขุ อง 2.สมทุ ัย: สาเหตุใหเ้ กิดทุกข์ ไดแ้ ก่ ปัญหา ตอ้ งแกป้ ัญหาท่ีสาเหตุของปญั หา ตณั หาทั้ง 3 (กามตณั หา ภวตัณหา กาหนดวา่ อาจจะทาอะไรได้บ้างท่จี ะแกป้ ญั หา วภิ วตัณหา คอื ความอยากประการ ตรงตามสาเหตขุ องมนั ตา่ งๆ) 3.ขั้นการทดลองและเก็บขอ้ มูล 3. นิโรธ: ภาวะท่ีตัณหาดับส้นิ ไป หลดุ พน้ เปน็ อสิ ระ คือ นิพพาน 4.ขั้นวเิ คราะห์ข้อมูลและสรปุ ผลหรอื แนวทาง 4.มรรค: ขอ้ ปฏิบตั ใิ ห้ถึงความดับทุกข์

26 อนึ่ง ขอขยายความคาว่า“ปัญหา”ว่าหมายถึงอะไร ปัญหา(problem) คือ ความ ไม่พอดีกัน ระหว่างความต้องการกับการตอบสนอง หรือระหว่างส่ิงท่ีควรจะเป็นกับส่ิงที่ เป็นอยู่ก่อเกดิ ความรู้สึก ปญั หา = (ส่งิ ที่ควรจะเปน็ - สิง่ ท่ีทาอย)ู่ x ความน่าวิตก ถา้ วิตกกเ็ กดิ เป็นปญั หา ถา้ ไมว่ ิตกกไ็ มเ่ ป็นปญั หา ถา้ ค่าของสิ่งทีค่ าดว่าควรจะเปน็ เป็นศูนย์ คอื ไม่มีความคาดหวงั อะไร ไม่อยากได้ อยากมี อยากเป็นอะไร ....และค่าของสิ่งท่ีเป็นอยู่ก็เป็นศูนย์ คือ ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ศูนย์ไป คณู อะไรกเ็ ปน็ ศูนย์ .....ความน่าวติ ก จงึ ไม่มี ถา้ สิ่งที่ควรจะเป็นมีน้อยกว่าสิง่ ท่ีเป็นอยู่ ค่าของการลบก็จะเป็นลบ แสดงว่า ไม่มี ปญั หา พุทธทาสภิกข.ุ 2537. ปัญหาเกยี่ วกับการปฏิบัติธรรม ปรยิ ตั ิ : ปฏบิ ตั ิ :ปฏเิ วธ. กรงุ เทพมหานคร : สานกั พิมพ์สุขภาพใจ. อาทร จันทวิมล และคณะ. 2535. ตานานในวังจนั ทรเกษม วารสารจนั ทร เกษม. 220(กมุ ภาพันธ-์ พฤษภาคม 2535) พลตรีหลวงวจิ ติ รวาทการ. 2532. กาลงั ความคิด. (พมิ พ์ครง้ั ที6่ ) กรงุ เทพมหานคร :บริษทั สารมวลชน จากดั . วศนิ อนิ ทสระ.2534. หลกั คาสอนสาคัญในพระพุทธศาสนา (พทุ ธปรัชญาเถรวาท): อริยสัจ 4.กรงุ เทพฯ:โรงพมิ พ์มหามงกฎุ ราชวิทยาลัย. ศาสตราจารย์ ดร.สาโรธ บวั ศร.ี 2552. รากแกว้ การศกึ ษา. กรุงเทพฯ:ศนู ยส์ านกั พมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. ศาสตราจารย์ ดร.นิพนธ์ คันธเสวี.2525.มนษุ ยส์ มั พนั ธ์เพ่อื การพฒั นาสังคม.กรงุ เทพฯ: โรงพิมพโ์ รงเรียนสตรเี นติศึกษา.

27 หลักอาชวี ศึกษา บุญธรรม จติ ต์อนนั ต์(2526)ได้เสนอหลักอาชีวศึกษาท่ีสาคญั ไว้ 3 ประการ ดงั นี้ เกยี่ วกบั หน้าที่ ความตอ้ งการและวธิ ีการจัด 1. ห น้ าท่ี ข อ งอ าชีวศึ ก ษ าเพ่ื อเต รียม ค ม ให้ มี ความสามารถท่ีจะทางานให้ก้าวหน้าในอาชีพอย่างใดอย่าง หน่งึ ท่เี ปน็ ประโยชน์ 2. อาชีวศึกษาเป็นส่ิงควบคู่กับสามัญศึกษา เพราะทั้ง สามญั ศึกษา และอาชีวศึกษาใหป้ ระโยชน์คนละอยา่ งทีส่ ัมพนั ธ์กนั 3. การให้การสนับสนุนอาชีวศึกษา ในด้านงบประมาณอย่างเต็มกาลังจากรัฐบาล ถือว่าเป็นมาตรการท่ีช่วยพฒั นาอาชวี ศึกษา และดารงไวซ้ ึ่งมาตรฐานทีด่ ี 4. การจัดอาชีวศึกษา ควรจัดตามความต้องการของชุมชน โดยพิจารณาจากผล ของการศกึ ษาสารวจความต้องการในชุมชน 5. อาชีวศึกษาเป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับการจัดหาแรงงานที่มีประสิทธิภาพเละมี ปรมิ าณเพยี งพอแก่ความต้องการของสงั คม 6.วชิ าศลิ ปปฏิบตั ติ า่ งๆ (เช่น เกษตรทัว่ ไป ธรุ กิจท่ัวไป อตุ สาหกรรมศิลป์ และ คหกรรมทว่ั ไป) ควรจัดข้ึนเปน็ วิชาเลอื กเพอ่ื ความร้ทู ่ัวๆ ไป 7. ควรมกี ารจดั แนะแนวและใหค้ าแนะนาดา้ นอาชพี อย่างแพร่หลาย 8. อาชีวศึกษาต้องคานึงถึงท้องถิ่นเป็นประการสาคัญ ความต้องการของชุมชนใน ทอ้ งถิน่ บุคคลที่จะจัดอาชีวศกึ ษาให้และวัสดุอปุ กรณต์ า่ งๆ ทจ่ี ะหามาได้ในทอ้ งถน่ิ 9. โครงการอาชีวศึกษาควรจะถือเอาผลของการวิจัยที่ทาต่อเน่ืองกันมาเป็น พืน้ ฐาน

28 เกี่ยวกับการบรหิ ารงาน 1.นักการศึกษาด้านอาชีวศึกษา ควรมีส่วนอันสาคัญในการบริหารงานอาชีวศึกษา ระดบั ชาติ 2. ในการจัดและวางโครงการอาชีวศึกษาสาหรับท้องถิ่น ควรให้บุคคลผู้มี ประสบการณแ์ ละหนว่ ยงานในทอ้ งถนิ่ ที่เกีย่ วข้องมีสว่ นรว่ มด้วย 3. การผลิตครูอาชีวศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพอย่างเพียงพอ จะมีส่วนช่วยให้ อาชวี ศกึ ษาประสบผลสาเร็จ 4. สถาบนั ผลิตครูอาชวี ศึกษา ควรมอี าจารย์ผมู้ ีประสบการณ์และอปุ กรณ์การสอน ครบครนั 5. การนิเทศถือเป็นสิ่งสาคัญท่จี ะชว่ ยปรับปรุงการสอน 6. ครผู ู้สอนอาชีวศึกษาควรจะมีประสบการณด์ ้านอาชพี ทีจ่ ะสอนเปน็ อยา่ งดี 7. ครูผู้สอนอาชีวศกึ ษาควรมคี ณุ วุฒทิ างวิชาชพี 8. โครงการสอนทางอาชวี ศกึ ษาควรจดั ดาเนินการอย่างมีประสิทธภิ าพ เกี่ยวกับการสอน 1. ในการสอนวิชาอาชีพ ควรจัดและดาเนินการสอน โดยถือเอาความต้องการทาง วชิ าอาชพี ของผเู้ รียนเปน็ พื้นฐาน 2. ควรสอนวชิ าอาชีพให้ผู้ทตี่ ้องการจะเรยี น และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ 3. วัสดุอุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวกต่างๆ ในการสอนวิชาอาชีพควรจะมี พรอ้ มและจัดให้มีบรรยากาศทน่ี า่ เรียน 4. ห้องปฏิบัติการท่ีดที สี่ ดุ ของอาชวี ศกึ ษา กค็ ืองานอาชีพที่ปฏิบัตกิ นั จริง ๆ 5. ผลผลิตของอาชีวศึกษาควรมีมาตรฐาน ตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการ หรือให้ มมี าตรฐานสงู กว่าทตี่ ้องการ 6. โครงการสอนทางอาชีวศึกษา ควรมีท้ังหลักสูตรระยะส้ัน ระยะยาวและ หลกั สตู รเร่งรัด

29 7. โครงการสอนทางอาชีวศกึ ษา ควรมีลกั ษณะท่ยี ดื หยุ่นได้ 8.ความต้องการความรู้ทางเทคนิคเพื่อพัฒนางานในอาชีพหลายอย่าง มีสูงข้ึน ตามลาดบั 9. ในการสอนวิชาอาชีพ ควรให้มีความรู้ และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกัน อุบัติเหตตุ า่ ง ๆ ในการทางานเพอ่ื ธารงไว้ซึ่งชวี ิตมนุษย์อนั มคี ่า บุญธรรม จิตต์อนันต์ และคณะ. 2526. หลักอาชวี ศึกษา. ภาควชิ าอาชีวศกึ ษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. (อัดสาเนา)

30 สิ่งท่ีไมค่ วรกระทาในดา้ นอาชวี ศกึ ษา สตู รประสิทธภิ าพในการประกอบอาชีพ บุญธรรม จิตต์อนันต์ (2521) อ้างถึง Mason และ Haines ทม่ี าของภาพ: ใน ห นั งสื อ \"Cooperative Occupational Education\" ปี ค .ศ . 1965 ว่า สงิ่ ท่ีไม่ควรกระทาในด้านอาชีวศึกษา ไดแ้ ก่ https://literaturazblai.wordpre ss.com/liburu-txokoa/ 1. การสอนภาคทฤษฏีจนหมดแล้วตามด้วยภาคปฏิบัติ (ทางท่ีถูกควรจะสอน ภาคทฤษฎคี วบคไู่ ปกับภาคปฏบิ ัติ หรอื ตามดว้ ยภาคปฏิบตั ิเป็นตอน ๆ ไป) 2. การสอนความคิดรวบยอด (abstract ideas) โดยปราศจากการอธิบายฟื้นฟูให้ เข้าใจจากประสบการณ์ 3. การสอนใหม้ กี ารท่องจามากเกินไป ทาให้ขาดการรจู้ ักคิด รู้จกั เหตุผล 4. การไม่รจู้ ักใช้ความร้ทู ั่วไป และความรู้ทางเทคนิคเก่ียวกับงานให้ถูกกับกรรมวิธี หรือกระบวนการของงานต่างๆ (สอนวิชาการต่างๆ ให้แล้ว นักเรียนไม่รู้จักนาไปใช้ให้เข้า กับงาน) สาหรับ สตู รประสทิ ธภิ าพในการประกอบอาชพี คอื E = M+T+I+GV E = occupational efficiency (ประสิทธิภาพในการประกอบอาชีพ) M = manipulative skill (ทกั ษะในการปฏิบตั ิ) T = technical knowledge (ความรู้ทางเทคนิค) I = job intelligence (ความสามารถที่จะประยกุ ตท์ กั ษะและความรู้ให้เขา้ กบั งาน GV = general vocational information (ขอ้ มูลขา่ วสารทว่ั ไปทางอาชีพ) บญุ ธรรม จติ ต์อนันต์ และปัญญา หริ ญั รศั มี. 2521. หลักอาชวี ศึกษา. ภาควชิ า อาชวี ศึกษา, คณะศึกษาศาสตร,์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ (อัดสาเนา)

31 ระดับของงานอาชีพ งานอาชพี ต่าง ๆ สามารถแบง่ ได้เปน็ 5 ระดบั ระดับท่ี 1 แรงงานไร้ฝีมือ หรอื ที่ภาษาองั กฤษเรียกว่า Unskilled Labor คอื งาน ที่ไม่ต้องใช้ความรู้ความชานาญในระดับสูง เพียงแต่แนะนา หรืออบรมกันในการทางาน เพียง 2 - 3 วัน ก็ทางานข้ันพ้ืนฐานนั้นได้ งาน พ้ืนฐานท่ัว ๆ ไปอาจจะได้แก่ ผู้จบประถมศึกษา แล้วทางานในโรงงานต่างๆ ใช้แรงงานมากกว่า ความคิด และทางานง่ายๆในการประกอบซ่อมแซม หรือควบคุมดูแลเครื่องจักรเคร่ืองยนต์ต่าง ๆ รวมท้งั การขนย้าย บรรจุหบี ห่อสนิ ค้า เป็นตน้ ทีม่ า: https://news.kapook.com/topics/ https://www.grandprix.co.th https://www.grandprix.co.th ระดบั ที่ 2 แรงงานก่งึ ฝมี ือ หรือทเ่ี รียกว่า Semi-Skilled Labor ในระดบั นี้คนงาน ตอ้ งได้รับการฝึกอบรมอย่างเป็นระบบมาสักระยะหน่ึงซึ่งอาจจะเป็น 3 เดือน 6 เดือนหรือ 1 ปี ในงานพ้ืนฐานที่ผู้ผ่านการฝึกอบรมจะเข้าใจหลักวิชาเบ้ืองต้น และมีฝีมือที่จะทางาน อาชีพเป็นลูกมือหรือช่างฝึกหัด เป็นการฝึกปฏิบัติงานท่ีต้องทาให้มาก เรียนภาคทฤษฎี ประกอบเพยี งเล็กน้อยตามความจาเป็นท่เี กี่ยวข้องกบั ส่ิงท่ีจะต้องปฏิบตั ิจริง ๆ ระดับท่ี3 ช่างฝีมือ หรือ Skilled Labor ช่างฝีมือหมายถึงผู้ผ่านการฝึกฝนท้ัง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวางในอาชีพน้ัน ๆ จนสามารถทางานได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องมีการควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดจากหัวหน้างาน และมีความรู้ในด้านทฤษฎี ประกอบการปฏิบัติงาน เช่น เข้าใจเหตุผลเบ้ืองหลังว่าทาไมเครื่องจักร เครื่องยนต์จึง ทางานได้ ระบบโดยส่วนรวมเป็นอย่างไร จะมีการปรับปรุงซ่อมแซมหรือผลิตให้มี ประสิทธิภาพขึ้นได้อย่างไร เป็นต้น สาหรับระยะเวลาการฝึกนั้นแตกต่างกันไป อาจะเป็น 2 หรอื 3 ปี ระดับที่ 4 ช่างเทคนิค หรือเรียกว่า Technicians คือผู้ท่ีมีความรู้ทางทฤษฎีและ ปฏิบัติลึกซึ้งกว่าช่างฝีมือ สามารถคิดคานวณแบบ เขียนแบบ ออกแบบเครื่องมือ

32 เครอ่ื งจกั ร และการถอดถา่ ยแบบของสถาปนิก วิศวกร หรือผู้ชานาญงานในระดับสูงได้ ทา หน้าท่ีเป็นผู้ควบคุมงานในโรงงาน หรือ เป็นผู้ช่วยวิศวกรและสถาปนิกในงานด้านเทคนิค ต่าง ๆ สามารถทางานได้เป็นอิสระตามสมควร การศึกษาอบรมระดับนี้ใช้เวลาต่อจากการ ฝกึ ระดับชา่ งฝีมอื หรอื จาก ม.6 อีกประมาณ 2-3 ปี ระดับท่ี5 วิชาชีพระดับปริญญา หรือ Professional เป็นการศึกษาเล่าเรียนหนัก ไปทางทฤษฎี หลักการ การคานวณ และการออกแบบ การวิจัย โดยให้มีภาคปฏิบัติ ประกอบตามความจาเป็นและเหมาะสม วิชาชีพในระดับน้ี ได้แก่ วิชาชีพในระดับปริญญา เช่น วิศวกรรมสถาปัตยกรรม และอ่ืน ๆ อกี มากมาย ใชเ้ วลาเรียน 4-6 ปี สาโรช บัวศรี และคณะ (2521) ได้ใหต้ ัวอยา่ งเปรยี บเทยี บอาชีพ 5 ระดับไวด้ ังนี้ ระดบั อาชีพ วิชาชพี เทคนิค ฝีมือ ก่งึ ฝมี อื แรงงาน การแพทย์ ชนั้ สงู เจ้าหน้าทีเ่ ทคนคิ นางพยาบาล ทั่วไป นายแพทย์ การแพทย์ อตุ สาห ช่างเทคนคิ ไฟฟา้ ช่างไฟฟ้า ผ้ชู ว่ ยพยาบาล คนงาน กรรมไฟฟ้า วศิ วกร เกษตรกรรม ไฟฟ้า พนักงานเทคนิค พนกั งาน พยาบาล นักวิชาการ การเกษตร สง่ เสริมกสกิ ร ธรุ กจิ พานชิ ย เกษตร รม พนักงานเดนิ คนงานชา่ ง กรรม เจ้าหนา้ ทบ่ี ัญชชี นั้ สูง พนักงานบัญชี นักบัญชี สายไฟ ไฟฟ้า การกอ่ สร้าง นาย ชา่ งเทคนคิ ช่าง ชา่ งรางวัด ธนาคาร ก่อสรา้ ง ช่างเทคนิค ชา่ งก่อสรา้ ง เจ้าหน้าที่ คนงาน สถาปนกิ โยธา ช่างสารวจ ชา่ งไม้ วศิ วกร ประจาหน่วย ประจาไร่ กสกิ รรม เจา้ หน้าที่ พนกั งาน พิมพ์ดดี เสมยี น ทว่ั ไป ชา่ งผูกเหลก็ คนงาน ชา่ งทาสี ช่าง กรรมกร ปนู กอ่ สร้าง วิรัช กมทุ มาศ. 2528. การเตรยี มตัวเยาวชนเพ่อื การงานและอาชพี โดยวิธกี าร อาชีวศึกษา.(บทความวิทยุกระจายเสยี งชดุ การศึกษาเพือ่ การงานและอาชพี ) กรุงเทพ: เจรญิ วิทย์การพิมพ์. สาโรช บวั ศรี และคณะ. 2521. การศกึ ษาเพ่ือการงานและอาชพี . กรงุ เทพมหานคร : สานกั พิมพ์วัฒนาพานชิ จากดั .

33 การจดั การศึกษาทางอาชวี ศกึ ษา เน่ืองจากงานอาชีพมีหลายระดับดังกล่าว มาแล้ว และงานทุกแขนงต้องการผู้ทางานท่ีมี ความรู้ความชานาญงานในหลายระดับด้วยกัน เช่น งานก่อสร้างถนน กย็ ่อมต้องการตั้งแต่วิศวกร ชา่ งเทคนคิ คุมงาน จนกระท่งั ถึงชา่ งไร้ฝีมือ ฉะนั้นการจัดการศึกษาทางด้านวิชาชีพ จึงได้แบ่งออกเป็นระดับเช่นกัน เพื่อฝึกฝนคนให้มีความรู้และทักษะในอาชีพแต่ละแขนง ตามต้องการ ตามความพรอ้ มความสามารถ ความถนดั และความสนใจของแต่ละคนดังน้ี 1.การจดั การศึกษาหลักสูตรระดับช่างก่ึงฝีมอื ในรูปของหลักสตู รระยะสั้น ใช้เวลา เรียน 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ปี ในหน่วยฝึกฝนอาชีพของรัฐและโรงเรียนเอกชนต่าง ๆ เปิดสอนหลักสูตรวิชาชีพทุกแขนงทั้งทางด้านเสริมสวย การทาอาหารขนม ตัดเย็บเสื้อผ้า พมิ พ์ดีด ถา่ ยรูป ไฟฟ้า วิทยุ รถยนต์ ชา่ งเชื่อม ช่างปนู ช่างก่อสรา้ ง ฯลฯ ผทู้ ี่มาเรียนเปน็ ผู้ ที่จบ ป.4 หรือบางสาขาอาจจากัดความร้สู งู ขึ้นตามความจาเปน็ 2.หลักสูตรระดับช่างฝีมือ คือ หลกั สูตรวิชาชีพ 3 ปี ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือ ปวช. รับจากผู้จบ ม.3 มาเรียนในวิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยอาชีวศึกษา วิทยาลัย เกษตรกรรมของกรมอาชีวศึกษา หรือ ของวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา และ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขตพระนครเหนือ และโรงเรียนอาชีวศึกษาของ เอกชนโดยท่ัวไป นอกจากน้ีหน่วยงานบางแห่งยังทาการฝึกอบรมวิชาเฉพาะเพ่ือใช้ในงาน ของตน เช่น หนว่ ยงานราชการทหาร คมนาคม สาธารณสขุ เปน็ ต้น 3.หลักสูตรระดับช่างเทคนิค ซ่ึงแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ประเภทแรกคือ หลักสูตรวิชาชีพชั้นสูงหรือ ปวส. ต่อจาก ปวช.2 ปี และอีกประเภทหน่ึง คือ ปวท. หรือ ประกาศนียบัตรเทคนิค รับผู้จบ ม.6 มาเรียนต่อใช้เวลาประมาณ 2 ปี หลักสูตรระดับนี้ เปิดสอนในวิทยาลัยสังกัดกรมอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา สถาบัน

34 เทคโนโลยีพระจอมเกล้า และสถานศึกษาเอกชนท่ัวไป วิทยาลัยครูก็เปิดสอนหลักสูตร วิชาชีพระดับนี้ในบางสาขาวิชาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนออกไปประกอบอาชีพอิสระ เป็นผู้นา ชมุ ชนมากกวา่ 4.หลักสูตรปริญญาตรี ซ่ึงถ้าเป็นหลักสูตรท่ีรับผู้จบจากระดับ ปวส. และ ปวท.จะ เป็นวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ ยังมี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เปิดโอกาสให้ผู้จบท้ัง ปวส. และปวท. เข้าเรียนในสาขา ต่างๆ ไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง เชน่ ธุรกิจก่อสรา้ ง บรหิ ารธรุ กิจ และเศรษฐศาสตร์ เป็นตน้ ในระดับหลักสูตรระยะสั้น มีวิชาท่ีเปิดสอนมากมายตามตัวอย่างที่กล่าวมาแล้ว และเปิดสอนยดื หยุ่นให้ตรงกบั ผูส้ นใจเข้าเรยี นเป็นรุ่น ๆ ตลอดปีการศกึ ษา สาหรับหลักสูตรในระดับช่างฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับปริญญาตรี คือระดับ ปวช. ปวส. ปวท. และ ค.อ.บ. สามารถแบ่งประเภทได้ 5 ประเภทวชิ า ได้แก่ ประเภทวิชา ช่างอุตสาหกรรม ประกอบด้วยสาขาหลักใหญ่ ๆ คือช่างก่อสร้าง ช่างยนต์ ช่างกลโรงงาน ช่างเชือ่ ม และ โลหะแผ่น ช่างไฟฟา้ และช่างอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ประเภทวิชาคหกรรม มีสาขาวิชาย่อย ได้แก่ อาหารและโภชนาการ ผ้าและเคร่ือง แตง่ กาย และคหกรรมศาสตรท์ ัว่ ไป ประเภทวิชาพณิชยกรรม และบริหารธุรกิจ ในระดับ ปวส. จะแยกเป็นหลายสาขา ด้วยกัน เชน่ การบญั ชี และ ธนาคาร การขาย การตลาด เลขานุการ ประเภทวิชาศิลปะหัตถกรรม ก็มีหลายสาขา เชน่ ช่างหนัง ช่างอุตสาหกรรมสิ่งทอ เปน็ ต้น ประเภทสดุ ทา้ ย คือเกษตรกรรม ซึง่ มพี ืชกรรม สตั วบาล และชา่ งเกษตร วิรัช กมุทมาศ. 2528. การเตรียมตวั เยาวชนเพ่อื การงานและอาชีพโดยวธิ กี าร อาชวี ศึกษา(บทความวทิ ยุกระจายเสียงชดุ การศึกษาเพื่อการงานและอาชีพ). กรุงเทพฯ: เจรญิ วิทย์การพมิ พ์.

35 การศึกษาเพื่อการงานและอาชพี การศึกษาเพื่อการงานและอาชีพนั้น มิได้หมายถึงการศึกษาอบรมแก่เยาวชน เพ่ือให้ออกไปประกอบอาชีพได้เท่านั้น แต่ยังหมายถึงการที่จะให้เยาวชน สามารถทางาน ในสิ่งซึ่งไม่ใช่อาชีพ แต่เป็นสิ่งจาเป็นหรือเป็นประโยชน์สาหรับชีวิตประจาวัน ซ่ึงอาจเป็น เรื่องเฉพาะตัว หรือเพ่ือครอบครัว หรือชุมชนก็ได้ การงานท่ีมิใช่อาชีพนั้นมีมากมายหลาย อยา่ ง ยกตัวอย่างเชน่ การซอ่ มปล๊กั ไฟฟ้าในบา้ น การซ่อมหลังคาบ้าน การทาสี การทาเล้า ไก่ การหุงข้าว ทากับข้าว การเย็บปักถักร้อย และการปลูกผักสวนครัว เป็นต้น งานที่ กล่าวมานี้ ไม่จาเป็นต้องเป็นงานอาชีพ แต่ขณะเดียวกัน ถ้าหากผู้ที่ได้รับการฝึกอบรมจะ พยายามศึกษา เพื่อให้มีความรู้และมีทักษะในงานน้ันเป็นอย่างดี ก็อาจนาเอาความรู้และ ทกั ษะทม่ี อี ยู่ไปประกอบอาชพี ได้ การจดั การศึกษาเพือ่ การงานและอาชพี ในระบบโรงเรยี น ระดับอนุบาลเป็นการให้เด็กได้สัมผัสกับงานอาชีพ หรือการสร้าง ทัศนคติ และอุปนิสัยอันดีเกี่ยวกับอาชีพ เด็กเล็ก ๆ ในชั้นอนุบาลนั้น จะฝึกฝนให้เกดิ ทกั ษะในงานอาชพี นน้ั ย่อมเป็นไปไม่ได้ แต่การช่วยให้ ท่ีมาภาพ: เด็กเริ่มคุ้นเคยกับการทางานและงานอาชีพตั้งแต่ต้นนั้นย่อมทาได้ และอาจถือเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างทัศนคติในเร่ืองนี้ การชักนา https://kalyanamitra.org ให้เด็กได้สัมผัสกับงานอาชีพ ต้ังแต่ยังเล็กเช่นนี้ ย่อมจะช่วยให้เด็ก /th/article_detail.php?i= 13954 เริ่มตระหนักว่าคนเราน้ันเมื่อโตข้ึนจะต้องทามาหาเล้ียงชีพ และอาจทาได้หลายๆ อย่าง แตกต่างกนั นอกจากน้ยี ังมีส่ิงสาคัญอกี ประการหน่ึง ซึ่งควรเริม่ ทาต้ังแต่เมือ่ เด็กยงั เล็ก คือ การเพาะนิสัยในการทางาน เช่น การเก็บส่ิงของเครื่องใช้ให้อยู่ในท่ีซึ่งจัดไว้ในเม่ือใช้เสร็จ เรียบร้อยแล้ว การเก็บถ้วยชาม การเช็ดถูภาชนะต่างๆ ส่ิงเหล่านี้จะช่วยสร้างเสริม คณุ ลักษณะท่ีดีในการทางาน เช่น การรู้จกั หน้าทแี่ ละความรับผิดชอบ การมที ศั นคติที่ดตี ่อ การทางาน ความซือ่ สัตย์และความขยนั หม่ันเพยี ร เป็นตน้

36 ระดับประถมศึกษา เด็กจะโตขึ้น การจัดกิจกรรมเพื่อให้ได้สัมผัสกับ การอาชีพย่อมทาได้มากขึ้น ให้เด็กได้ลงมือทางานด้วยตนเองจริงๆ ด้วย อาทิ ในด้านเกษตร เด็กโตอาจลงมือขุดดิน ทาแปลงเพาะและ ปลูกพืช เด็กเล็กอาจช่วยในการปลูก การใส่ปุ๋ย และการดูแลกาจัด ที่มา:https://oer.lear แมลง ที่มาทาลายพืช งานประเภทเล่ือยไม้ไสกบ รวมท้ังงานด้านศิลป n.in.th/search_detai l/result/34615 งานช่างอุตสาหกรรมบางประเภท งานช่างไฟฟ้า และงานอ่ืนๆ อีก หลายชนิด ก็อาจส่งเสริมให้เด็กในช้ันประถมได้มีโอกาสเรียนรู้ และฝึกฝนได้เช่นเดียวกัน วัตถุประสงค์ทีให้เด็กได้รับสัมผัสกับงานอาชีพในระยะน้ี มิใช่ว่าจะต้องการให้เด็กมีทักษะ ตามความต้องการของตลาด จดุ ประสงค์ในขั้นนี้ก็เปน็ เพยี งให้เดก็ ได้รู้เรื่องราวได้สมั ผัสกับ งานอาชีพ ในวงกว้างขึ้น และได้ฝึกฝนทักษะเบื้องต้นเพ่ือนาไปสู่การเลือกอาชีพในโอกาส ต่อไป สาหรับเด็กท่ตี ้องออกจากโรงเรียนไปหลังจากจบการศึกษาในระดับนี้ ก็ได้รับความรู้ และทักษะขั้นพ้ืนฐานพอที่จะฝึกฝนต่อเพื่อประกอบอาชีพอิสระด้วยตนเอง หรืออาชีพ ประเภทรับจา้ งได้ ระดับมัธยมศึกษา ขยายขอบเขตของงานอาชีพท่ีเด็กควรรู้ให้ กวา้ งขวางยิ่งขึ้น เปิดโอกาสใหไ้ ด้มกี ารฝึกทักษะอยา่ งเข้มข้นยิ่งขน้ึ แต่ อย่างไรก็ตาม เพ่ือเป็นการสนับสนุนให้เด็กได้สัมผัสกับงานอาชีพที่มี อยู่จริง ๆ ควรพ ยายามหาทางให้เด็กได้ไปฝึกงานยังสถาน ที่มา ประกอบการต่างๆ ในช่วงระยะหน่ึงด้วย เช่น ไปฝึกฝนในโรงงาน https://sistacafe.com/ summaries/69795 อุตสาหกรรม ในศูนย์ปฏิบัติงานของรัฐ เช่น ศูนย์เกษตรกรรมและ อุตสาหกรรม ในบริษัท และท่ีทาการธุรกิจต่างๆ การจัดการศึกษาเพ่ืองานอาชีพในระดับ มัธยมศึกษาน้ัน บางทมี ักมองข้ามไป โดยคิดว่า ถ้ามีโรงเรียนอาชีวศึกษาไว้ฝกึ อาชีพแล้ว ก็ นา่ จะเป็นหน้าทขี่ องโรงเรียนอาชีวศึกษาโดยตรง โรงเรียนสามัญไม่จาเปน็ ตอ้ งให้เด็กรเู้ รอ่ื ง งานอาชีพ แต่จากข้อเท็จจริง จะปรากฏว่าเด็กที่เรียนในโรงเรียนสามัญ ส่วนใหญ่จะออก จากโรงเรียนเม่ือเรียนสาเร็จการศึกษาในระดับน้ีแล้ว เด็กเหล่าน้ีจะต้องออกไปประกอบ อาชีพ ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่โรงเรียนจะต้องช่วยให้มีความรู้มีทักษะติดตัวไป การฝึก

37 นิสัยในการทางาน และการสร้างคุณลักษณะที่ดีเพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพในวัน ขา้ งหน้า คงเปน็ ส่งิ จาเปน็ ท่ีจะต้องเน้นอย่เู สมอ ส่ิงสาคัญอีกประการหนึ่งไม่ว่าเด็กจะอยู่ในโรงเรียนสามัญ หรืออาชีวศึกษา เด็ก ควรจะได้เรียนรู้ว่าผู้ที่จะทางานอาชีพแต่ละอย่างน้ันต้องมีพื้นฐานความรู้และทักษะ อะไรบ้าง ลักษณะของงานเป็นอย่างไร ต้องอาศัยคุณสมบัติพิเศษอะไรหรือไม่ รายได้ ขั้นต้นอยู่ในระดับใด โอกาสก้าวหน้าในด้านส่วนตัวและการงานเป็นอย่างไร มีช่องทาง นาไปสู่อาชีพอ่ืนใดหรือไม่ ฯลฯ สิ่งดังกล่าวน้ีจะเป็นประโยชน์ให้เด็กสามารถตัดสินใจ เลือกอาชีพของตนได้ในโอกาสต่อไป ระดับอุดมศึกษา เป็นการศึกษาเพื่องานอาชีพโดยตรง เรียกกัน ว่า เป็นวิชาชีพช้ันสูง ผู้ท่ีเรียนสาเร็จออกมาเกือบท้ังหมดจะ ออกไปประกอบอาชีพตรงตามสาขาที่เรียนมา เช่นเป็นแพทย์ ที่มา: https://writer.dek- วิศวกร อาจารย์ สถาปนิก ปลัดอาเภอ นักเคมี และเภสัชกร เป็นต้น การสร้างเสริมความรู้และทักษะแต่ละวิชา จึงนับเป็น d.com/NoIdea_H/writer/vi เร่ืองสาคัญ แต่ที่สาคัญไม่ย่ิงหย่อนกว่ากันก็คือ การสร้าง ew.php?id=1960244 คุณลักษณะท่ีดีให้แก่ผู้ท่ีจะออกไปประกอบอาชีพนั้นๆ ซ่ึงผู้ประกอบอาชีพแต่ละอย่าง ย่อมจะต้องการคณุ ลักษณะทดี่ ีงามหลายๆ อยา่ งประกอบกนั แนวความคิดเกย่ี วกบั การจัดการศึกษาเพ่ืองานอาชพี สาหรับกลุ่มประชากร ที่อยู่ใน โรงเรียน หรอื สถานศึกษา ดังกลา่ วมาแลว้ มหี ลักการทีส่ าคัญพอสรปุ ไดค้ ือ 1. ให้เด็กได้รู้เร่ืองงานอาชีพตั้งแต่เล็ก และให้ขยายขอบเขตให้กว้างขวางออกไป เมื่อเดก็ โตขนึ้ 2. ให้เด็กได้สัมผัสกับงานอาชีพอย่างแท้จริง ให้ได้เห็นและได้ทราบถึงพื้น ฐานความรู้ ทักษะ ทัศนคติและนิสัยท่ีจาเป็นในการประกอบอาชีพแต่ละอย่าง ตลอดจน ปัญหา โอกาส และทางก้าวหน้า ในการประกอบอาชพี 3. ให้เด็กได้ฝึกทักษะ และทัศนคติที่ดีต่อการทางานให้แก่เด็ก โดยการให้ได้ลงมือ ทางานจรงิ ๆ และใหไ้ ด้มีความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั เทคโนโลยีของสิง่ ทเ่ี รียนรู้

38 4. มีการฝึกนสิ ยั และทศั นคติทด่ี ีต่อการทางานใหแ้ กเ่ ดก็ โดยการใหไ้ ดล้ งมือทางาน จรงิ ๆ และให้ได้มีความร้คู วามเขา้ ใจเกีย่ วกับเทคโนโลยีของส่ิงท่เี รียนรู้ 5. มีการปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนในโรงเรียน ให้สนับสนุนหลักการ ดงั กล่าวมาแล้ว โดยเฉพาะควรมีการประสานสัมพันธ์ระหว่างอาชวี ศึกษาและสามัญศึกษา อยา่ งใกล้ชิด 6. สร้างเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับท้องถ่ิน หรือสังคมท่ีโรงเรียนต้ังอยู่ ใหร้ ่วมมอื ซงึ่ กนั และกัน ในการให้การศึกษาด้านอาชีพแก่เด็ก 7. ขจัดช่องว่างระหว่างการศึกษานอกโรงเรียน และในโรงเรียนให้หมดไป โดย พยายามใหแ้ ต่ละฝ่ายไดใ้ ชบ้ รกิ ารของกนั และกนั 8. ระดมกาลังและนาทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาให้ได้มาก ทสี่ ุด และพยายามดาเนนิ การโดยประหยัดทสี่ ดุ เทา่ ทีจ่ ะทาได้ การจดั การศึกษาเพือ่ การงานและอาชีพนอกระบบโรงเรียน การจัดการศึกษาเพ่ืองานอาชีพสาหรับกลุ่มประชากรที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ซ่ึง ประชากรเหล่าน้ีบางพวกก็กาลังประกอบอาชีพอยู่แล้ว และอาจมีบางพวกท่ียังไม่ได้ทา อะไร สาหรับพวกที่มีอาชีพอยู่แล้วน้ัน ความจาเป็นในด้านการศึกษาเพ่ืองานอาชีพ อาจ แบ่งออกได้เป็น 2 นัย กล่าวคือ เพื่อเสริมความรู้และทักษะเกี่ยวกับงานที่กาลังทาอยู่ อัน จะนาไปสคู่ วามกา้ วหน้าในงานอาชพี ของตนประการหนึ่ง หรือเพอื่ ฝึกอาชีพใหมใ่ ห้มีโอกาส เปลี่ยนอาชีพไปประกอบใหม่ ซ่ึงตนถนัดกว่า มีรายได้ดีกว่า หรือมีโอกาสก้าวหน้าดีกว่า อาชีพเดิม ส่วนพวกท่ียังไม่มีอาชีพ เพราะขาดความรู้และทักษะน้ัน ความจาเป็นก็เพียง เพ่ือให้สามารถมีงานทาได้เป็นความจาเป็นซ่ึงไม่แตกต่างไปจากการฝึกอาชีพใหม่ของผูท้ ี่มี อาชพี อยู่แล้ว คอื หาความรแู้ ละฝกึ ทักษะใหม่ เพ่ือนาไปประกอบอาชพี ทต่ี นต้องการ การจัดการศึกษาเพ่ืองานอาชีพ สาหรับประชากรที่อยู่นอกระบบโรงเรียนเท่าท่ี สรปุ หลกั การสาคัญไดด้ ังน้ี 1. ระดมกาลังจากทุกฝ่ายและทุกหน่วยงานที่สามารถดาเนินการศึกษาเพื่องาน อาชีพได้ ให้ร่วมมอื ประสานงานกนั อยา่ งจรงิ จัง

39 2. ส่งเสริมผู้ท่ีมีงานอาชีพอยู่แล้ว ให้ได้มีโอกาสปรับปรุงความรู้ ทักษะ และ ทัศนคตใิ นการทางาน 3. ใช้ประโยชน์จากอาคาร สถานที่ และวัสดุอุปกรณ์ของโรงเรียน และสถานศึกษา หรือสถานที่ของหน่วยราชการ หรือสถานท่ีประกอบการของเอกชน เพื่อประโยชน์ในการ ฝึกอาชพี ให้มากท่สี ุดเท่าที่จะทาได้ 4. ใช้วิทยากรและทรพั ยากรในท้องถิน่ เพอ่ื ประโยชน์ในการศึกษา 5. จัดให้สนองความต้องการของท้องถิ่นอันดับแรก งานอาชีพอ่ืนที่จะเป็น ประโยชน์แก่ท้องถ่ินในอนาคต หรือจะมีประโยชน์แก่ผู้เรียนในเม่ือต้องการไปประกอบ อาชพี ในท้องถิ่นอื่นกน็ ามาสอนได้ แตค่ วรถอื เป็นอันดับรองลงมา 6. หน่วยงานของรัฐ ของเอกชน ตลอดจนสมาคมและองค์การต่างๆ ควรเอาใจใส่ เร่ืองการฝึกงานอาชีพให้แก่ประชากรทั่วๆ ไป และพยายามให้บริการ โดยคิดค่าตอบแทน น้อยที่สุด หรือจัดเป็นบริการให้เปล่า ถ้าสามารถทาได้ โดยเฉพาะเพ่ือประโยชน์แก่ชาว ชนบท 7. สื่อมวลชนตา่ ง ๆ ควรให้การสนับสนุน และถือเป็นนโยบายที่จะส่งเสริมกิจการ ด้านนี้ใหเ้ จรญิ ก้าวหน้า 8. รัฐบาลควรมีนโยบายส่งเสริมการศึกษาเพอ่ื งานอาชีพอย่างจริงจงั โดยปรับปรุง หน่วยงานทมี่ อี ย่ใู หส้ ามารถปฏิบัตงิ านได้เข้มแข็งย่งิ ขึ้น 9. ให้ทุกฝ่ายได้เข้าใจว่าการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ ทาให้ทุกคนเกิดความอยาก ร้อู ยากเรียน และต่างช่วยเหลือแลกเปล่ียนความรู้ ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน อันจะส่งผล ให้ทกุ ฝ่ายมีแต่ความเจริญก้าวหน้า ธารง บวั ศร.ี 2528. การศกึ ษาเพ่ือการงานอาชีพ. (บทความวทิ ยกุ ระจายเสียงชดุ การศึกษาเพ่ือการงานและอาชีพ). กรงุ เทพฯ: เจริญวทิ ย์การพิมพ.์

40 อาชีวศกึ ษาครบวงจร ในช่วงเริ่มของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 5 (พ.ศ. 2525- 2529) เกิดปัญหาวิกฤตเก่ียวกับการว่างงาน โดยเฉพาะผู้ว่างงานที่จบจากอาชีวศึกษามีสูง ถึง 26.7 เปอร์เซ็นต์ กรมอาชีวศึกษาจึงได้มีนโยบายการจัดอาชีวศึกษา เรียกว่า “อาชีวศึกษาครบวงจร” เพื่อบรรเทาวิกฤตการว่างงานดังกล่าว โดยเร่ิมเมื่อต้นปี การศกึ ษา 2528 รา้ นคา้ ในสถานศกึ ษา ท่มี า: https://www.google.co.th/maps/ และ http://www.rtc.ac.th/depart/place/index.php?option=com_content&view=article&id=132&Itemid=183 อาชีวศึกษาครบวงจร เป็นกระบวนการเรียนการสอนอาชีวศึกษา โดยเร่ิมจาก “มี ทักษะ - ผลิตได้ - จาหน่ายได้ -จัดการได้ -บริโภคได้ – บริการได้” โดยส่งเสริมการ สหกรณแ์ ละร้านคา้ ของสถานศึกษา ใหน้ ักศกึ ษาไดป้ ฏิบตั ิงานอยา่ งครบวงจร ดังนัน้ จึงเห็นไดว้ ่ากระบวนการของการอาชวี ศึกษาครบวงจร คอื การฝึกฝน อบรม นักเรียนนักศึกษาให้มีฝีมือจนเกิดทักษะ สามารถนาทักษะนั้นมาผลิต มาสร้างผลผลิต ผลิตภัณฑ์ และนาออกมาจาหน่ายได้ เมื่อมีปัญหาด้านการตลาดและการขายก็สามารถ แกป้ ญั หาด้วยการรจู้ ักจัดการทางด้านธุรกิจได้ ในขณะเดียวกนั ตวั เองทีเ่ ป็นผ้ผู ลติ ก็สามารถ บริโภคสิ่งผลติ นั้นได้ดว้ ยเช่นกัน

41 รปู แบบของอาชวี ศกึ ษาครบวงจร แบ่งออกได้เป็น 4 รูปแบบ 1.แบบโรงเรียน-โรงงาน ถือหลักการและกระบวนการประสานสัมพันธ์และการ รว่ มมือกับสถานประกอบการ ทั้งภาครัฐบาลและเอกชน ท้ังขนาดเล็กและขนาดใหญ่ โดย ส่งนักเรียน นักศึกษาเข้าไปฝึกงาน เพ่ือให้เกิดทักษะจากแหล่งผลิตของจริง ฝึกฝนอบรม ตนเองให้มีระเบยี บ วนิ ัย ขยนั อดทน และเรียนร้โู ลกกวา้ งของงานอาชพี 2.แบบโรงงาน -โรงเรียน เป็นแบบที่จะต้องสร้างสถานศึกษาให้เหมือนโรงงาน และในโรงฝึกงานนั้น จะต้องมีเครื่องมือ เครื่องจักร และส่ิงแวดล้อมอ่ืน ๆ ให้พร้อมเพรียง เพอ่ื อานวยความสะดวกในการฝกึ งานของนกั เรียนนักศึกษาและสถานศึกษาจะต้องรับงาน การผลิตหรืองานการค้าจากภายนอกมาให้นักเรียนนักศึกษาปฏิบัติจัดทา ครู-อาจารย์มี หน้าท่แี ละความรบั ผดิ ชอบในการฝกึ ดูแล และควบคมุ คุณภาพ มาตรฐานของงานทุกชิ้น 3. แบบโรงเรียนธุรกิจการจัดการ เป็นการฝึกฝนให้นักเรียน นักศึกษารู้จัก ดาเนินการขายปลีกและขายส่ง ท้ังการรับบริการและการเป็นนายหน้าเพื่อเป็นสื่อกลาง ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค รูปแบบอาชีวศึกษาครบวงจรรูปแบบน้ีจัดทาได้ในบางสาขา วิชาชีพ เช่น พาณิชยกรรม คหกรรมศาสตร์ และสาขาวิชาชีพที่มีลักษณะเป็นงานบริการ สถานศึกษาอาจทาหน้าท่ีเป็นนายหน้ารับซ้ือ ขายและแลกเปลี่ยนสินค้า หรือรับบริการ บุคคลกับหน่วยงานภายนอก กระจายนักเรียน นักศึกษา ออกฝึกฝนปฏิบัตงิ านตามจุดต่าง ๆ เพอื่ ให้ไดร้ บั ประสบการณจ์ รงิ จากโลกของการงานท่ีดาเนนิ อย่ใู นปัจจุบัน 4. แบบโครงการพิเศษ สถานศึกษาร่วมกันพิจารณากาหนดโครงการผลิตส่ิงของ เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ เครื่องอุปโภคบริโภค อย่างใดอย่างหน่ึงข้ึนตามลักษณะของสาขา วชิ าชีพที่เปิดสอน แล้วสนับสนุนให้นักเรียนนกั ศึกษาได้ฝกึ ฝนและปฏิบัติงานตามโครงการ การผลิต โดยการกระจายงานออกไปตามความถนัด และความสนใจของนักเรียน นักศึกษา ตามระยะเวลาท่ีกาหนด ครู-อาจารย์และสถานศึกษาจะสามารถกากับ ดูแล ติดตามและประเมนิ ผลไดโ้ ดยใกล้ชดิ กรมอาชวี ศกึ ษา. 2534. กรมอาชวี ศึกษา 50 ปี. กรงุ เทพฯ : วทิ ยาลัยสารพัด ช่างพระนคร. ประเชิญ ครไู พศาล. 2537. วชิ าชพี คหกรรมศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร: อมรการพิมพ์.

42 โครงการอาชวี ศึกษาเพ่ือการพัฒนาชนบท (อศ.กช.): เสน้ ทางก้าวสู่ \"ชาวนาบณั ฑติ \"ของบตุ รหลานเกษตรกร หลกั การ การจัดการศึกษาตามโครงการ อศ.กช. เป็นการจัดการศึกษาแบบให้เปล่าแก่บุตร หลานเกษตรกรที่มีฐานะยากจน ไม่สามารถเข้า เรียนในระบบการศึกษาปกติได้ การจัดการเรียน การสอนเป็นแบบผสมผสานระหว่างการเรียนใน สถานศึกษาและการเรียนด้วยตนเองที่บ้าน พร้อม กบั การประกอบอาชพี การเกษตรควบคู่กนั ไปด้วย ท่ีมา: https://pantip.com/topic/35125049 จุดมุ่งหมาย มุ่งเน้นการขยายโอกาสทางการศึกษาวิชาชีพแก่เยาวชนในภาคเกษตร และ ยกระดับการศึกษาของกาลังคนในภาคเกษตรให้สูงขึ้น เพ่ือสร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ท่ีจะ รับผิดชอบต่อการผลิตทางการเกษตรท่ีมีคุณภาพของประทศในอนาคตรวมถึงการสร้าง ลักษณะผนู้ าทางการเกษตรให้เกิดขึ้นในชุมชน เนน้ ให้ผู้จบการศึกษาไดป้ ระกอบอชพี อสิ ระ พัฒนาฟาร์ม พัฒนาอาชีพ สร้างผลิตผลที่มีคุณภาพรองรับการพัฒนาประเทศด้าน อุตสาหกรรมเกษตร ทาไมตอ้ งสรา้ งชาวนาบณั ฑิต พื้นฐานเศรษฐกิจสาคัญของประทศ อยูท่ ี่ภาคการเกษตรเพราะ ประชากรมากกว่า 36 ล้านคน ประกอบอาชีพในภาคเกษตร - เกษตรกรมีปัญหามากมายเช่น ปัญหาความยากจน หนี้สิน ท่ีดินทาดิน ผลผลิตคุณภาพต่า ขายไม่ได้ราคา การใช้สารเคมีในขบวนการผลิตเกิน ที่มา: ความจาเป็น และที่สาคัญคือ ระดับการศึกษาต่า ขาดความรู้ด้านการ จดั การที่ดี https://th.heypik.com/hey- graphic/cartoon-cute- certificate_26363736.html ทิศทางการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต จะต้องพัฒนาไปสู่ ประเทศอุตสาหกรรม ผลิตสินค้าประเภทอาหารส่งออกไปจาหน่ายต่างประเทศเพ่ือเลี้ยง

43 ประชากรโลก การผลิตทางการเกษตรในอนาคตจะต้องนาเทคโนโลยีใช้ในการผลิต เน่ืองจากพื้นที่ทาการเกษตรมีจากัด และผลิตผลการเกษตรจะต้องมีคุณภาพได้มาตรฐาน สาหรับการส่งออกและเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรมเกษตร เกษตรกรผผู้ ลิตในอนาคตจะต้อง มีคณุ ภาพ รอบรู้วชิ าการกา้ วทันเทคโนโลยี และมขี ้อมลู ข่าวสาร ประกอบการตดั สนิ ใจ ในช่วงที่ผ่านมา ผู้ท่ีได้รับการศึกษาสูงหรือบัณฑิตมักไม่กลับสู่ท้องนา ทาให้ขาด ผู้นาในการพัฒนาชนบทเละการเกษตร รัฐจึงต้องจัดการศึกษาให้แก่ประชากรในภาค เกษตร เพ่ือสร้างชาวนาให้เป็นบัณฑิต เป็นเกษตรกรผู้นาในชนบท และพร้อมท่ีจะเป็น ผู้รับผิดชอบการผลิตทางการเกษตรทีม่ ีคุณภาพตอ่ ไป หลกั สตู รทใี่ ช้ 1. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น (เกษตรกรรม) พุทธศักราช 2536 รับผู้จบ ป.6 ท่ี เปน็ เกษตรกรและบตุ รหลานเกษตรกร 2. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพิเศษ (ปวช.พิเศษ) พุทธศักราช2536 รับผู้จบ ม.3 ทเ่ี ป็นเกษตรกรและบุตรหลานเกษตรกร รปู แบบของการจัดการศกึ ษา จัดการศึกษาแบบผสมผสานระหว่างการเรียนในสถานศึกษา ควบคู่กับการ ประกอบอาชีพเกษตรท่ีฟาร์ม หรือท่ีบ้านเข้ามาเรียนในสถานศึกษาอย่างน้อยปีละ 60 วัน เน้นการเรียนวิชาที่ต้องใช้ห้องปฏิบัติการและฝึกทักษะที่ไม่สามารถฝึกท่ีฟาร์มของตนเอง ได้ เรียนด้วยตนเองท่ีบ้านหรอื ที่ฟาร์มจากเอกสารรายวิชาท่อี าจารย์ประจาวิชาจัดให้และมี การพบกลมุ่ ในพืน้ ที่เปน็ ครั้งคราว ผู้เรียนประกอบอาชีพการเกษตรท่ีฟาร์มตนเองท่ีบ้าน โดยความเห็นชอบของ ผู้ปกครองและอาจารยท์ ี่ปรกึ ษาโครงการเกษตร จัดทาโครงการเกษตร และนาความรู้ทางวิชาการจากสถานศึกษาไปปฏิบัติจริงใน การประกอบอาชพี

44 ครูอาจารย์ออกนิเทศการสอน/โครงการเกษตร ตอบปัญหา เป็นท่ีปรึกษาและให้ คาแนะนาในการประกอบอาชีพ สถานศกึ ษาแจ้งขอ้ มูลขา่ วสารความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทางวชิ าการ และข้อมูล ตามผลิตผลการเกษตร นกั ศึกษาเข้าร่วมกจิ กรรมที่สถานศกึ ษาจดั ข้นึ ความสาเร็จของการทาฟาร์ม รายได้ ความมั่นคงในอาชีพ ความอบอุ่นในสถาบัน ครอบครัวเกษตรกร การเป็นผู้นาด้านอาชีพในชุมชน คือความสาเร็จของการจัดการศึกษา อศ.กช. อศ.กช. คอื ความหวงั ของประเทศ ความสาเร็จของการจัดการศึกษาตามโครงการ อศ.กช.จะ ก่อใหเ้ กดิ สง่ิ เหล่านี้ 1. ตรงึ เยาวชนภาคเกษตรให้อยใู่ นพ้ืนท่ี ไมย่ ้ายถน่ิ 2. สรา้ งเกษตรกรที่มคี ุณภาพ เปน็ ผูน้ าด้านอาชีพในชมุ ชน 3. สร้างความมนั่ คงให้กบั สถาบันครอบครัวเกษตรกร 4. เกษตรกรมคี วามม่ันคงในอาชพี เละรายได้ 5. เกษตรกรได้รับการศึกษาสูงข้ึน พร้อมที่จะรับผิดชอบใน กาวางแผนพัฒนาการเกษตรของท้องถ่ิน และประเทศชาติโดย สว่ นรวม 6. ผลผลิตการเกษตรจะมีคุณภาพได้มาตรฐาน ที่จะเป็นฐาน สาคัญของการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมเกษตร

45 การกา้ วสชู่ าวนาบัณฑิตของบตุ รหลานเกษตรกร เกษตรกรผผู้ ลิต เยาวชนภาคเกษตร ม.3 เกษตรควบคกู่ บั การประกอบอาชพี ระยะสนั้ ปวช. พเิ ศษควบค่กู บั ปวช. ปกติ วษ. สะสม การประกอบอาชีพ ทุกแห่ง หน่วยการ ปวส. พเิ ศษควบคกู่ ับ ปวส. ปกติ วษ. เรยี น การประกอบอาชีพ ทุกแหง่ ปริญญาตรี มสธ. ป.ตรี 2 ปี มสธ. แมโ่ จ้ ราชภฏั ราชมงคล ชาวนาบัณฑิตประกอบอาชพี เกษตรในชนบท : https://th.heypik.com/hey- graphic/cartoon-cute- certificate_26363736.html ปจั จบุ นั นี้ 1) มสี ถาบันการอาชวี ศกึ ษาเกษตร มีหน้าท่สี ร้างหลักสตู รปริญญาตรี ของตนเองไดแ้ ล้ว 2) ไม่มี ปวช-พิเศษ ปวส.พิเศษ แล้ว กองวทิ ยาลยั เกษตรกรรม, กรมอาชวี ศึกษา, กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. มปป. ชาวนาบัณฑิต. เอกสารโรเนยี ว.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook