เอกสารประกอบการสอน วชิ า RSU172 : 2.65
สารบัญ บทนำ 1 ความหมายของชนิดพนั ธต์ุ า่ งถิ่น ชนิดพนั ธ์ุตา่ งถ่ิน 2 ชนดิ พนั ธตุ์ า่ งถิ่นรกุ ราน 2 สาเหตกุ ารแพรก่ ระจายของชนิดพันธ์ตุ า่ งถน่ิ 3 สถานการณ์ชนิดพันธุ์ตา่ งถนิ่ สถานการณข์ องชนิดพันธุ์ตา่ งถ่ินในระดับโลก 11 สถานการณข์ องชนิดพนั ธใ์ุ นประเทศไทย 11 ชนดิ พันธุ์ตา่ งถนิ่ ท่ีรุกรานแลว้ และมีลำดบั ความสำคญั สงู ในประเทศไทย 13 ชนิดพนั ธส์ุ ตั ว์น้ำต่างถ่ินท่กี รมประมงหา้ มเพาะเล้ยี ง 25 ผลกระทบส่ิงแวดล้อมจากชนดิ พันธ์ุตา่ งถ่ินรกุ รานในประเทศไทย 28 ตัวอยา่ ง พฤตกิ รรมการใช้ชีวติ ที่เป็นสาเหตุการเกดิ ชนดิ พันธุต์ ่างถิ่นในไทย 33 เอกสารอา้ งอิง 36
1 บทนำ สิ่งมีชีวิตนานาชนิด ล้วนเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบนิเวศใน ธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความหลากหลายทางของสรรพสิ่งมีชีวิตในพื้นท่ี หนึ่งๆ ท้งั ชนิดพนั ธ์พุ ชื และสัตว์ ลว้ นเปน็ ปัจจยั สำคัญทีท่ ำให้ระบบนเิ วศในพื้นที่น้ันๆ มีความสมดลุ จนก่อให้เกดิ ส่ิงแวดล้อมท่ีมีคุณภาพและเป็นประโยชน์ต่อการดำเนิน ชีวติ ของมวลมนุษย์ ในพ้ืนท่นี น้ั ๆ ปัจจุบันผลจากการเติบโตทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้ สิ่งมีชีวิตต่างถิ่นนานาชนิด เกิดการเคลื่อนย้ายจากแหล่งกำเนิดไปยังพื้นที่ต่างๆ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า เป็นการนำเข้าชนิดพันธ์ต่างถิ่นเพื่อก่อประโยชน์ต่างๆทั้ง ด้านการเกษตร ปศสุ ัตว์ เศรษฐกจิ ฯลฯ แกป่ ระชาชนในประเทศทน่ี ำเขา้ อย่างไรก็ตามแม้ว่ากิจกรรมเหล่านี้ จะก่อคุณประโยชน์ด้านต่างๆ อย่าง เอนกอนันต์ แต่ในอีกมิติหนึ่ง กล่าวได้ว่า กำลังกลายเป็นปัจจัยสำคัญทีก่ ่อให้เกดิ ปญั หาสงิ่ แวดล้อมที่มแี นวโน้มรุนแรงและสรา้ งผลกระทบส่งิ แวดล้อมที่ยากต่อการ แก้ไข โดยเฉพาะสิ่งมีชีวติ ต่างถิ่นที่ได้เคลื่อนย้ายจากแหล่งกำเนิดไปยงั พื้นที่ตา่ งๆ ได้กลายสภาพเป็น ชนิดพันธ์ต่างถิ่น (Alien Species) ที่รุกรานระบบนิเวศตาม ธรรมชาติและเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมที่มีความรุนแรง ตอ่ เนือ่ ง ยืดเยอ้ื และยาวนาน เพราะเม่อื มีการนำชนิดพันธตุ์ ่างถนิ่ เข้าสู่ประเทศหรือ ระบบนิเวศใหม่ หากชนิดพันธุ์เหล่านั้นสามารถตั้งถิ่นฐาน เกิดการแพร่กระจาย และสามารถดำรงชวี ิตอยใู่ นส่งิ แวดลอ้ มใหมไ่ ดด้ ีกว่า และมีจำนวนประชากรมากกวา่ ชนดิ พันธ์พุ ืน้ เมืองจนสามารถครอบครอง หรือกลายเป็นชนดิ พันธเ์ุ ด่น (dominant species) ในระบบนิเวศใหม่ จะเป็นสาเหตุให้เกิดการสูญพันธุ์ของชนิดพันธุ์ พื้นเมืองและนำไปสู่การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศนั้นๆ ซึ่งนอกจากจะเป็นปัญหาท่ียากต่อการแกไ้ ขแล้ว ผลกระทบจากการสญู เสยี ความ หลากหลายทางชีวภาพของแต่ระบบนิเวศ ยังส่งผลกระทบอย่างต่อเนื่อง รุนแรง ต่อการดำเนินชีวิตของคนทุกคนในระบบนิเวศที่เราอยู่อาศัย เพราะความ หลากหลายทางชีวภาพ คือ ปัจจัยพื้นฐานของการการสร้างอาหาร เสื้อผ้า เครื่อง นุงห่ม และยารกั ษาโรค ร่วมทั้งเปน็ ปจั จยั เกือ้ หนนุ ปจั จยั อำนวยความสะดวกต่างๆ ของมวลมนุษย์อกี ดว้ ย
2 ดังนัน้ การเรยี นร้แู ละทำความเขา้ ใจถึงองคค์ วามรู“้ ชนดิ พันธต์ ่างถ่ิน” จึง เป็นทางออกทางหน่ึงท่ีจะชว่ ยลดหรอื หยดุ ยง้ั พฤตกิ รรมการใชช้ ีวิตท่เี ป็นไมเ่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม ท่ีเป็นสาเหตขุ องปญั หา“ชนดิ พันธ์ตา่ งถนิ่ รกุ ราน” ทกี่ ำลงั ทวี ความรนุ แรงในประเทสของเรา และโลกของเราได้อกี แนวทางหน่ึง ความหมายของ ชนดิ พนั ธุ์ตา่ งถน่ิ คณะทำงานชนิดพันธุต่างถิ่น( 2550) กระทรางทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมได้ให้ความหมายของคำว่า“ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น”และ“ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นท่ี รุกราน”ดังนี้ ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น (Alien Species) หมายถึง หมายถึง ชนิดพันธุส่งิ มีชีวิต ทไ่ี มเคยปรากฏในถ่ินชีวภูมศิ าสตรหน่งึ มากอน แตถูกนาํ เขามาจากถ่ินอ่ืนซึ่งอาจจะ สามารถดํารงชีวิตอยูและสืบพันธุไดหรือไม ขึ้นอยูกับความเหมาะสมของปจจัย แวดลอมและการปรับตัวของชนิดนั้น ๆ ซึ่งอาจจะแบงไดเปนชนดิ พันธุตางถิ่นท่ไี ม รุกรานและชนดิ พนั ธุตางถ่ินที่รกุ ราน ( สํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม, 2552 “ชนิดพันธ์ตุ า่ งถนิ่ รุกราน” (Invasive Alien Species) หมายถึง ชนดิ พันธุตางถิ่นท่ีเขามาแลวสามารถตั้งถิ่นฐานและมกี ารแพรระบาดไดในธรรมชาติ เป นชนิดพันธุเดนในส่งิ แวดลอมใหม (Dominant species) และเปนชนิดพันธุที่อาจ ทําใหชนิดพนั ธุทองถ่ินหรอื ชนดิ พันธุพ้นื เมืองสูญพนั ธุ รวมไปถงึ สงผลคุกคามต อความหลากหลายทางชีวภาพและกอใหเกิดความสูญเสียทางสงิ่ แวดลอม เศรษฐกิจ และสุขอนามยั (สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม, 2552)
3 สาเหตุของการแพรก่ ระจายของชนิดพันธ์ุต่างถน่ิ เข้าสู่ประเทศหรอื ระบบนเิ วศใหม่ การแพรก่ ระจายของชนิดพันธ์ตุ า่ งถ่ินเขา้ สู่ประเทศหรอื ระบบนิเวศใหม่ เกิด ได้ 2 ลกั ษณะ1 คือ เกิดขึน้ โดยตัง้ ใจและโดยไม่ไดต้ ัง้ ใจ ดังนี้ 1. ชนดิ พนั ธุ์ต่างถ่ินทีเ่ ข้ามาโดยความตัง้ ใจของมนุษย์ โดยมีวัตถปุ ระสงค์ ชัดเจน ไดแ้ ก่ 1.1 เพือ่ ประโยชนท์ างด้านการเกษตรกรรม ตัวอย่างเชน่ • การนำเข้าปลาแซลมอนจากทะเลบอลตกิ 2 เขา้ ไปเล้ยี งเพื่อการ ประมง ในประเทศนอรเวย์ ส่งผลให้ปลาแอคแลนดิก แซลมอน (Salno salar) ใน ลำน้ำกว่า 30 แห่งในประเทศนอรเวย์หายไปจากระบบ นิเวศ เนื่องมาจากเชื้อโรคและพยาธิที่คิดเข้ามากับปลา บอลติกแซลมอน (อุทศิ กุฎอนิ ทร์, 2539) ภาพ Atlantic Salmon, Salmo salar, Taken thru glas, in Atlanterhavsparken, Ålesund, Norway • การนำเข้าไมยราบยักษ์ (Mimosa pigra) ท่มี ีถิน่ กำเนดิ จาก ประเทศแถบอเมริกากลาง และทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ โดยในปี พ.ศ. 2495 ผู้นำเกษตรกรชาวไร่ยาสูบทางภาคเหนือ ได้นำเมล็ดพันธุ์ไมยราบยักษ์สอง ชนิดจากประเทศอินโดนเี ซีย มาปลูกที่อำเภอเชยี งดาว และอำเภอ แม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ของประเทศไทย เพื่อใช้เป็นพืชบำรุง ดิน ในอุตสาหกรรมไรย่ าสบู ภาพ ไมยราบยักษ์ (Mimosa pigra) http://bangkrod.blogspot.com/2012/10/blog-post_8.html 1 http://chmthai.onep.go.th/chm/alien/mean_alien.html 2 อุทศิ กฎุ อนิ ทร,์ ชนดิ พนั ธต์ า่ งถ่ิน. สานกั งานนโยบายและแผนส่งิ แวดลอ้ ม และศนู ยพ์ นั ธวุ ิศวกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพ แห่งชาติ รายงานการประชมุ วิชาการ ชนดิ พนั ธต์ ่างถน่ิ ในประเทศไทย, 24-26 ตุลาคม 2539 รร อมารี รีสอรท์ พทั ยา ชลบรุ ี
4 • การนำเขา้ ปลาหมอสคี างดำ ท่ีมถี ่นิ กำเนิดด้งั เดมิ คือทวีปแอฟรกิ า ได้ถูกนำเข้ามาในประเทสไทยในปี 2553 จำนวน 5,000 ตัว เพือ่ พฒั นาชนิดพนั ธมุ์ ุง่ หวังด้านปลาเศรษฐกิจ 2. เพือ่ ความสวยงาม ทำให้เกดิ ความเพลิดเพลิน • การนำเข้าแมวบ้านที่ประเทศสหรัฐอเมริกานำเข้าจาก ประเทศอื่น ๆ ได้ขยายพันธุ์จนไม่สามารถควบคุมได้ แมวเหล่านี้ฆ่า นกในสวนสาธารณะถงึ ปีละ 10 ล้านตวั • หอยเชอร่ีเป็นสตั วพ์ นื้ เมืองของทวปี อเมรกิ าใต้ ถูกนำเขา้ สู่ประเทศ ไทยเมอ่ื ปี 2525-2526 เพ่ือมาทำฟารม์ เลยี้ งสง่ ขายประเทศญ่ปี ุ่น เพอ่ื เปน็ อาหาร และขายเป็นปลาสวยงาม เป็นสตั ว์เลยี้ งประดับตปู้ ลา ทีต่ ลาดนัดสวนจตุจักร ภายหลงั ผูเ้ ลย้ี งหาตลาดไม่ได้ ประกอบกบั หอยขยายพันธุ์ อยา่ งรวดเรว็ จนมีปรมิ าณมาก จึงถูกนำไปปลอ่ ยลงแม่น้ำ ลำคลอง (https://www.sarakadee.com/feature/2002/01/alien_species.htm) •ปลาซัคเกอร์ มีถิ่นกำเนิดในประเทศปานามา คอสตาริกา และอเมรกิ ากลาง ถกู นำเข้าส่ปู ระเทศไทยมาขายเปน็ ปลาตู้ เพื่อให้กำจัดสาหร่ายและของเสียในตู้ ในช่วงปี พ.ศ. 25203 แต่ได้หลุดลอดออกไปสู่แหล่งนำ้ ธรรมชาติ และมีจำนวนเพ่ิมขึ้นอย่างมากมาย จน กลานเป็นชนิดพันธ์ต่างถิ่นรุกรานที่สำคัญของไทย เนื่องจากปลาซักเกอร์มีเกล็ด แข็งปกคลมุ ตัวและเง่ยี งแขง็ ทค่ี รีบทำให้มศี ตั รตู ามธรรมชาติน้อย • ปลาดุกรัสเซีย มีถ่ินกำเนดิ อยใู่ นประเทศแอฟริกาใต้ ไดน้ ำเข้ามา ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2528 โดยเอกชนบางรายในจังหวัดหนองคายและ อบุ ลราชธานี โดยนำเข้ามาจากประเทศลาวเพือ่ เล้ยี งไวดั ูเล่น เน่อื งจากมขี นาดตำตัว ใหญ่กว่าปลาดุกทั่วไป เป็นปลาขนาดใหญ่ แต่มีนิสัย กา้ วรา้ ว ดรุ า้ ย ต่อมากรมประมงได้ผสมข้ามพันธุ์กับปลาดุก อุยของไทยได้ ลูกผสมเรียกว่า บิ๊กอุย กลายเป็นปลา เศรษฐกิจของไทย ปังจุบันปลาคุกรัสเซียในประเทศไทย 3 https://fishingthai.com/story-sucker-catfis/
5 บางส่วนได้หลดุ รอดและถูกปล่อยลงสู่แหลง่ นำ้ ธรรมชาติ ทำให้เป็นสิ่งมีชีวติ ตา่ งถ่ิน ชนิดหน่งึ ท่คี ุกคามการอยู่รอคสตั วน์ ้ำพนื้ เมอื งของไทย • เตา่ ญี่ปุ่น4 หรอื เต่าแก้มแดง (Red-eared slider) ชื่อวิทยาศาสตร์ (Trachemys scripta elegans) เปน็ เตา่ นำ้ จดื มีถิ่นกำเนิดอยทู่ ่ีทวปี อเมริกาเหนือ อาศัยในบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำ ถูกนำเข้ามาเป็นสัตว์เลี้ยง แต่เมื่อโตขึ้นหมดความ สวยงาม มักถูกปล่อยสแู่ หล่งนำ้ ธรรมชาติ เต่าญี่ป่นุ มนี สิ ยั ชอบขุดไข่เตา่ ชนิดอ่ืนกิน เป็นสัตว์น้ำอีกชนิดที่สร้างความ เสยี หายตอ่ ระบบนเิ วศ ภาพ เตา่ ญปี่ ุ่น5ขนาดเลก็ (ซา้ ย) และ เตา่ ญี่ปุ่นเมอื่ โตเต็มวัย(ขวา) • ตะพาบไต้หวัน เนอื่ งมาจากประเทศใน แถบทวีปเอเชียมีความต้องการบริโภคตะพาบน้ำมากข้ึน จึงได้มีผู้นำตะพาบน้ำพันธุ์ไต้หวันเข้ามาทดลองเลี้ยงในประเทศไทย ซึ่งสามารถ เพาะเลี้ยงไดเ้ ปน็ ผลสำเรจ็ และมีการขยายจำนวนฟารม์ เลยี้ งตะพาบนำ้ พันธ์ุไต้หวัน ขึ้นอย่างมากมาย เช่น แถบจังหวัดระยองชลบุรี ตราด และเพชรบุรีซ่ึงฟาร์ม เพาะเลี้ยงตะพาบน้ำเหล่านี้ประสบผลสำเร็จ แต่น้ำก็ยังไม่เพียงพอจำหน่าย เนื่องจากตลาดตา่ งประเทศมีความต้องการมาก ทำให้มีที่ผู้สนใจเล้ียงตะพาบน้ำา พนั ธไ์ุ ตห้ วนั เป็นจำนวนมาก 4 เหตทุ ่ไี ดช้ ่อื ว่าเตา่ ญ่ปี ุ่นเพราะพ่อคา้ ชาวญ่ีป่นุ เป็นคนแรกทน่ี าเข้ามาในไทย เตา่ ตวั นีเ้ มอ่ื เมอ่ื แรกเกดิ ตวั จะมีสีเขยี วรอบดวงตามสี ีแดง โต เตม็ ที่ประมาณ 1 ฟุต เต่าตวั นีส้ มยั ก่อนนิยมเลยี้ งกันมาเน่อื งจากมีความน่ารักและราคาถกู แต่เม่ือเต่าโตขนึ้ สีกระดองจะเปลีย่ นเป็นสีน้าตาล ดาดูไม่นา่ รกั จึงอาจเป็นเหตใุ หถ้ ูกนามาปลอ่ ยตามแหล่งนา้ ธรรมชาติได้ เนอื่ งจากเตา่ ญ่ปี ุ่นสามารถปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กับสภาพแวดลอ้ มใน ประเทศไทยไดเ้ ป็นอย่างดี และยงั ทนทานตอ่ มลภาวะไดด้ กี ว่าเตา่ พืน้ เมอื ง ทาใหแ้ พร่ขยายพนั ธแุ์ ยง่ อาหารและถิ่นที่อยขู่ องเต่าพนื้ เมอื งไทย จึงอาจสง่ ผลกระทบตอ่ ประชากรเต่าพนื้ เมอื งของไทยได้ https://phuketaquarium.org/knowleadge/%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B9%8C%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%81 %E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%B4/ 5 เอกสารอา้ งอิง https://th.wikipedia.org/wiki/เต่าญ่ปี ่ นุ https://phuketaquarium.org/knowleadge/%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0 %B9%8C%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%96%E0 %B8%B4/
6 • การนำผกั ตบชว6าจากประเทศอนิ โดนีเซยี เข้ามาส่ปู ระเทศ ไทยครง้ั แรก เม่ือ พ.ศ. 2444 เพอ่ื เปน็ ไมป้ ระดบั ในสระน้ำ ปจั จุบัน พืชชนดิ กลายเป็นชนิดพนั ธต์ า่ งถ่นิ รุกราน7ที่สำคัญของไทย • หอยเชอรี่เป็นสตั วพ์ น้ื เมืองของทวีปอเมริกาใต้ ถกู นำเขา้ สู่ ประเทศไทยเม่ือปี 2525 -2526 เพ่อื มาทำฟารม์ เล้ยี งส่งขายประเทศญีป่ ุ่น และ ขายเปน็ สัตวเ์ ลย้ี งประดับตูป้ ลา ท่ตี ลาดนัดสวนจตจุ กั ร ภายหลงั ผู้เลย้ี งหาตลาด ไมไ่ ด้ ประกอบกบั หอยขยายพันธ์ุอยา่ งรวดเรว็ จนมปี ริมาณมาก จึงถกู นำไปปลอ่ ยลงแมน่ ้ำลำคลอง ปจั จบุ นั กลายเป็นชนิด พันธ์ต่างถิ่นรุกราน 8ทส่ี ำคญั ของไทย 6 การแพร่กระจายของหอยเชอรี่ในนาขา้ ว พบเป็นครงั้ แรกตอนตน้ ปี ๒๕๓๐ ในนาทดลองสถานีทดลองขา้ วบางเขน กรมวิชาการ เกษตร กระท่งั ตน้ ปี ๒๕๓๑ ประชากรหอยเชอรเ่ี พม่ิ มากขนึ้ และทาลายตน้ ขา้ วในแปลงทดลองของสถานเี สียหายทง้ั ๑๐๐ ไร่ https://www.sarakadee.com/2011/02/01/top-alien/ 7 งานวิจยั ของ สทุ ธเิ จตต์ จนั ทรศริ ิ และ สจุ รรยา ไซยูปถมั ภ์ ระบวุ ่า ผกั ตบชวา ๒ ตน้ สามารถแตกไหลเป็นตน้ ใหม่ ๓๐ ตน้ ภายในเวลา ๒๐ วนั หรือเพ่ิมนา้ หนกั ขนึ้ ๑ เทา่ ตวั ภายในเวลา ๑๐ วนั สามารถขยายตวั ปกคลมุ ผิวนา้ ไดใ้ นอตั รารอ้ ยละ ๘ ตอ่ วนั ถา้ เร่มิ ปลอ่ ยผกั ตบชวาในแหล่งนา้ เพียง ๑๐ ตน้ จะสามารถแพร่กระจายเพ่มิ ปริมาณเป็น ๑ ลา้ นตน้ ภายในเวลา ๑ ปี https://www.sarakadee.com/feature/2002/01/alien_species.htm 8 \"ไข่หอยเชอรท่ี ีเ่ ห็นเป็นกอ้ นสชี มพู มีจานวนตงั้ แต่ ๓๐๐ ถงึ ๓,๐๐๐ ฟอง ขณะที่หอยโข่งพนื้ เมืองของเรามแี ค่ ๒๐๐-๓๐๐ ฟอง เทา่ นนั้ \" ชมพนู ชุ กล่าว \"แลว้ แค่ ๗-๑๒ วนั มนั ก็ฟักเป็นตวั เป็นลกู หอยเล็กๆ รว่ งไปในนา้ อตั ราการฟักสงู ถึง ๗๗-๙๑ เปอรเ์ ซน็ ต์ แลว้ โตเร็วมาก กินเก่ง กนิ พชื นา้ ซากปลาตาย แคส่ ามเดอื นกโ็ ตเต็มวยั สามารถผสมพนั ธไุ์ ด้ แม่หอยสามารถวางไข่ไดต้ ลอดปี โดยเฉพาะในฤดูฝนจะวางไขถ่ งึ ๑๐-๑๔ ครงั้ ต่อเดอื น \"มนั ยงั สามารถทนแลง้ ดว้ ยการจาศีลไดเ้ ป็นเวลานาน ฝังใตด้ ินระดบั ตนื้ ๆ ในนาขา้ ว หมนุ ตวั ลง ปิดฝา เคยมบี างคนบอกว่าปล่อยนา้ ในนาใหแ้ หง้ สกั พกั มนั กต็ ายไปเอง แต่มรี ายงานจาก ต่างประเทศบอกวา่ มนั สามารถจาศีลนานถึงหา้ หรือหกเดอื น เราเลยทาการทดลองในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ พบว่าถงึ ๑๖ เดอื นมนั ยงั อยรู่ อด ๗ เปอรเ์ ซ็นต \"แมแ้ ตใ่ นนา้ เนา่ หอยเชอรก่ี ็สามารถอย่ไู ด้ เพราะมนั มอี วยั วะเรียกว่าทอ่ ไซฟ่อน ยื่น ขนึ้ มารบั อากาศบนผิวนา้ \"https://www.sarakadee.com/feature/2002/01/alien_species.htm
7 3. การนำเข้าเพื่อวัตถุประสงค์ อื่นๆ เช่น ใช้ในการศึกษา ทดลอง และจัด แสดง9 เชน่ ในปี พ.ศ.2427 นักธุรกิจชาวญป่ี ่นุ นำผักตบชวา ทีเ่ ก็บจากแมน่ ้ำโอริโน โก ประเทศเวเนซุเอลา ไปแสดงในงานนิทรรศการฝ้าย ที่เมืองนิวออร์ลีนส์ รัฐ ลุยเซียนา สหรฐั อเมริกา และแจกเปน็ ทีร่ ะลึก ใหแ้ ก่บุคคลสำคญั ท่ีมาเท่ยี วชมคนละ ต้น หลังจากนนั้ 11 ปี แมน่ ้ำเซนตจ์ อห์นในรัฐฟลอริดา ซ่งึ อยู่ห่างจากเมืองนิวออร์ ลีนส์ไปทางใต้ถึง 600 ไมล์ เกิดมีแพผักตบชวายาวถึง 100 ไมล์ คลุมผิวน้ำหา่ งไป จากฝัง่ ถงึ 200 ฟุต 10 2.ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่เข้ามาโดยความไม่ตั้งใจของมนุษย์ ซึ่งเกิดจาก หลายสาเหตุ 2.1 ชนิดพันธ์ตุ า่ งถนิ่ ท่ีติดมากับการขนสง่ กล่องบรรจุสนิ ค้า • เมลด็ พชื ท่ตี ดิ มากบั ล้อรถ กรณีตัวอยา่ งการแพรก่ ระจายของ ไมยราบยักษ์จาคเหนือของไทยไปยังส่วนต่างของประเทศ เกิดจากรถบรรทุกที่ขน้ึ ไปส่งของทางภาคเหนือ วิ่งผ่านดงไมยราบยักษ์ ขากลับเมล็ดก็ติดมากับรถ เม่ือ คนขับหยุดล้างรถระหว่างทางแถวจังหวัดตาก กำแพงเพชร เมล็ดก็ตกอยู่ตรงน้ัน กระจายไปทั่ว มาถึงภาคกลาง สระบุรี จะไปโคราช ท่ีอ่างเก็บน้ำลำตะคองเป็นอีก จุดที่คนขับรถบรรทุกชอบแวะล้างรถ ก็พบว่ามีไมยราบยักษ์เจริญงอกงามจำนวน มาก (ไพฑูรย์ กติ ติพงษ์ , 253911) • เมลด็ พืชทต่ี ดิ มากับไดต้ ิดปะปนไปกบั วสั ดกุ ่อสรา้ ง และเครอื่ งมอื ท่ี ใช้ กรณีตัวอยา่ งเช่น การแพร่กระจายของไมยราบยกั ษ์12จากจงั หวัดเชียงใหม่ สู่ จังหวัดเชียงราย ซึ่งเกดิ ขึน้ โดยอาศัยการก่อสร้างเส้นทางสายใหม่ ระหว่างจงั หวัด 9 เช่น การนาเข้าสตั วท์ ดลอง หรอื พอ่ -แมพ่ นั ธุส์ ตั วท์ ดลอง ซ่ึงสว่ นใหญเ่ ป็นสตั วเ์ ลยี้ งลูกดว้ ยนม เช่น หนู การนาเขา้ ชนิดพนั ธุเ์ พ่ือจดั แสดงใน พพิ ธิ ภัณฑส์ ตั วน์ า้ สวนสตั ว์ สวนพฤษศาสตร์ ฯลฯ เช่น 10https://www.sarakadee.com/feature/2002/01/alien_species.htm 11 เอกสารของกรมวชิ าการเกษตร เร่ือง \"ไมยราบยกั ษ์และการควบคมุ \" เขยี นโดย ดร. ไพฑรู ย์ กติ ตพิ งษ์ กลา่ วไวใ้ นวารสารสารคดี https://www.sarakadee.com/feature/2002/01/alien_species.htm 12เอกสารของกรมวชิ าการเกษตร เรือ่ ง \"ไมยราบยกั ษ์และการควบคมุ \" เขียนโดย ดร. ไพฑูรย์ กิตติพงษ์ ระบวุ า่ ตวั อยา่ งการแพร่กระจายของ ไมยราบยกั ษ์ทเี่ กิดขนึ้ ทางบกคือ การแพร่กระจายจากจงั หวดั เชียงใหม่ สจู่ งั หวดั เชยี งราย ซึง่ เกิดขนึ้ โดยอาศยั การกอ่ สรา้ งเสน้ ทางสายใหม่ ระหวา่ งจงั หวดั เชยี งใหม่ผ่านอาเภอเวยี งป่าเป้าส่จู ังหวดั เชียงราย เพราะการก่อสรา้ งเสน้ ทางคมนาคมสายนใี้ ชว้ สั ดุก่อสรา้ ง เชน่ ดินและทราย จากแมน่ า้ ปิง และเคร่ืองมอื จากเชียงใหมท่ าการกอ่ สรา้ ง ตลอดแนวสองขา้ งทางสายนี้ จงึ พบไมยราบยกั ษข์ นึ้ เจรญิ งอกงามเป็นระยะ เพราะ เมล็ดไมยราบยกั ษ์ ไดต้ ดิ ปะปนไปกับวสั ดุกอ่ สรา้ ง และเครอื่ งมอื ท่ใี ช้ และประกอบกับเสน้ ทางเชยี งใหม่-เชียงราย ไดท้ อดผา่ นลานา้ สาคญั เช่น ลานา้ แมเ่ จดีย์ แม่ลาว แมส่ รวย และแมข่ ะจาน ซึ่งเป็นสาขาหลกั ของแมน่ า้ กกในจังหวดั เชียงรายดว้ ย ดงั นนั้ ไมยราบยักษจ์ งึ อาศยั แมน่ า้
8 เชียงใหม่ผ่านอำเภอเวียงป่าเป้าสู่จังหวัดเชียงราย เพราะการก่อสร้างเส้นทาง คมนาคมสายนี้ใช้วัสดุก่อสร้าง เช่นดินและทรายจากแม่น้ำปิง และเครื่องมือจาก เชยี งใหม่ทำการกอ่ สร้าง ตลอดแนวสองข้างทางสายนี้ จึงพบไมยราบยกั ษข์ นึ้ เจรญิ งอกงามเปน็ ระยะ (ไพฑูรย์ กติ ตพิ งษ์ , 254413) • สิ่งมชี ีวิตทต่ี ิดมากบั น้ำอับเฉา14 น้ำอับเฉา คอื นำ้ ท่เี รอื สนิ คา้ สูบจากบริเวณทเี่ รือจอดอยู่ เขา้ ไป เก็บไว้ในถังน้ำบริเวณท้องเรือ (ballast tanks) จนเต็มเกือบทุกถัง เพื่อชดเชย นำ้ หนักของสินคา้ เมอื่ เรอื เดนิ ทางถงึ เมอื งท่าทท่ี ำการรับสินค้า (port of loading) โดยในระหว่างที่เรือทำการบรรทุกสินค้า ทางเรือก็จะเริ่มสูบถ่ายปล่อยน้ำอับเฉา ตามถังต่าง ๆ ออกนอกตัวเรือเพื่อให้ เรือเบาขึ้นและสามารถบระทุกน้ำหนัก ของสินค้าได้สูงสุดตามที่เส้นแนวน้ำ บรรทกุ ของเรือกำหนดไว้ ภาพ นำ้ ในอบั เฉาเรอื 15 ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตที่ติดมากับน้ำอับเฉา เช่น หอยกะพงเทศ (Mytilopsis adamsi Morrison, 1946) เป็นหอยสองฝาที่มีต้น ก ำ เ น ิ ด ใ น ต อ น ก ล า ง ข อ ง ท ว ี ป อ เ ม ร ิ ก ด ้ า น ฝั่ ง มหาสมุทรแปซิฟิค แต่มีการแพร่กระจายพันธุ์ รุกรานไปในประเทศต่างๆ หลายประเทศ เช่น เช่น อินเดีย ออสเตรเลีย สิงคโปร์ เป็นต้น สำหรับการ เหล่านี้ แพร่กระจายท่วั ลานา้ กก ย่ิงไปกว่านั้นไมยราบยกั ษ์บริเวณนี้ ยงั ไดอ้ าศยั แม่นา้ สาคญั สามสายในจงั หวดั เชียงรายคอื แม่นา้ รวก แมน่ า้ ดา และแม่นา้ กก เปิดทางส่ดู ินแดนอนั ไพศาลของลุม่ นา้ โขง 13 https://www.sarakadee.com/feature/2002/01/alien_species.htm 14 (วารสารการจดั การสิง่ แวดลอ้ ม Vol. 17 No. 1 (2021) บทความวิชาการ ภเู บศ อยู่สขุ , วรี ะพงษ์ แสนกล้า มพชร กิจจาเจิรญชัย. การควบคุมการสบู ถ่ายน้าอบั เฉาของเรอื เดินทะเลเพ่ือปอ้ งกันผลกระทบต่อระบบนเิ วศชายฝ่ังและส่ิงแวดลอ้ มทางทะเล) 15 http://ballastwatermanagementturkey.com
9 แพรก่ ระจายนั้น คาดวา่ น่าจะติดมากบั น้ำในถังอบั เฉาเรือเดินสมุทรที่มีตัวอ่อนของ หอยกะพงเทศ เจรญิ เติบโตอยู่ หรือจากตัวเต็มวยั ที่เกาะติดมากับตัวเรือ และได้มา แพรพ่ ันธุ์ในไทยบริเวณ ทะเสาปสงขลา16ตง้ั แตป่ ี 2553 https://board.postjung.com/653138 2. ชนดิ พันธ์ุตา่ งถนิ่ ทตี่ ดิ มากบั ส่งิ มีชีวติ อืน่ ๆ เช่น แมลง ปรสติ จลุ ินทรีย์ ทต่ี ิด มากับ พืช สัตว์ มนุษย์ ที่มาจากต่างประเทศ รวมถึงชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ติดตาม รองเทา้ กระเปา๋ เดินทาง เปข้ องนักทอ่ งเท่ยี ว https://www.youtube.com/watch?v=4G1q24rulRc https://www.trueplookpanya.com/education/content/60741 3. ชนิดพันธุ์ต่างถ่ินที่ติดมากับการให้ความช่วยเหลือและบรรเทาสาธารณ ภยั เช่น เสือ้ ผา้ ทีไ่ ด้จากการบรจิ าค 4.ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ติดมากับกิจกรรมทางทหาร เช่น การส่งทหารพรอ้ ม ยุทธโธปกรณ์ไปช่วยรบ เมื่อกลับมาอาจมีชนิดพันธุ์ต่างถิ่นติดมากับตัวคน ติดมา กับล้อรถถัง เชน่ 16 (https://www.nstda.or.th/brt/news/276-mytilopsis-adamsi.html)
10 • งูต้นไม้สีน้ำตาล ที่ติดไปกับหีบห่อสินค้า และอาวุธยุทโธปกรณ์บนเครื่องบิน สู่เกาะกวม ได้ แพร่ระบาดกินสัตว์อื่น ทำให้ประชากรของนก กบ เขียด กงิ้ ก่า ลดจำนวนลงอย่างรวดเรว็ นกพ้นื เมือง ของเกาะกวมสญู พนั ธไุ์ ปกว่า 12 ชนิด 5.ชนดิ พันธุ์ตา่ งถิ่นทเ่ี ดินทางเขา้ มาได้เอง เชน่ นกกระจอกใหญ่17 (House sparrow) ที่แพร่กระจายจากทางตะวันตกของ ประเทศไทยมายังบริเวณ ภาคกลาง ซึ่งมีการสณั นฐิ านว่าเกดิ จากสภาพภูมิประเทศเปลย่ี นไป พ้ืนท่ี ป่าลดลงนกจึงแพร่กระจายมายังพื้นที่ที่ไม่ใช้ถิ่น กำเนดิ เดิม 6. ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ถูกปัจจัยทางธรรมชาตินำพาเข้ามา เช่น เมล็ดพืช บางชนิดถูกพัดพาเข้ามาโดยลมพายุ, ถูกพัดพาเขา้ มาจากการเกิดอุทกภัยท่รี ุนแรง เชน่ ข้อมูลจากกรมส่งเสริมการเกษตรระบุว่า ในเดือน พฤษภาคม 2531 เกิดการระบาดของหอยเชอรีในนาข้าว พื้นที่ จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร ปี พ.ศ. 2533 เกิด อุทกภัย หอยเชอรี่ระบาดทำความเสียหาย 8 จังหวัด ครอบคลุม พื้นที่ 2 หมื่นกว่าไร่ และระบาดเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี ปี พ.ศ. 2538 เกดิ อุทกภยั ครงั้ ใหญใ่ นประเทศไทย ทำใหห้ อยเชอรแี่ พรร่ ะบาดทำความ เสียหาย 27 จังหวัด ครอบคลุมพื้นที่ 4 แสนกว่าไร่ และขยายการระบาดเป็น 30 จังหวัดในปี พ.ศ.2539 พื้นที่ได้รับความเสยี หาย 4 แสนห้าหมื่นไร่ และการระบาด เพ่มิ เป็น 60 จงั หวดั ในปี พ.ศ.2543 พน้ื ท่เี สียหาย 5 ลา้ น 5 แสน ไร่ โดยจังหวัดที่ มีพื้นที่เสียหายมากในลำดับต้น ๆ ได้แก่ จังหวัดสุพรรณบุรี สุโขทัย อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร ปทุมธานี ขอนแก่น พิษณุโลก เชียงใหม่ และศรสี ะเกษ 17 http://chmthai.onep.go.th/chm/alien/introduce.html
11 สถานการณ์ชนิดพนั ธุ์ต่างถิ่นรกุ รานของโลก สหภาพสากลว่าด้วยการอนรุ ักษ์ (International Union of conservation or Nature and Natural Resources หรือ World Conservative Union : IUCN) ได้คัดเลือกจากชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานทั่วโลก 100 ชนิด ที่สร้างผลกระทบ อย่างร้ายแรงต่อความหลากหลายทางชีวภาพ การเกษตร และมนุษย์ แล้วจัดทำ บัญชีรายการชนิดพันธุ์ต่างถน่ิ ทีร่ ุกรานอย่างรา้ ยแรงของโลก ซง่ึ ประกอบดว้ ย ชนิด พันธุ์พืช 36 ชนิด ชนิดพันธุ์จุลินทรีย์ 8 ชนิด ชนิดพันธุ์สัตว์ 56 ชนิด ตัวอย่าง บางสว่ น ดงั ภาพ โดยผสู้ นใจสามารถศกึ ษาเพิ่มเติมไดจ้ าก ร้อยชนิดพนั ธ์ุตา่ งถิน่ ที่รุกรานของ โลก ตาม weblink _ http://chmthai.onep.go.th/chm/alien/problem_Al.html สถานการณ์ ชนดิ พนั ธตุ์ ่างถนิ่ ในประเทศไทย ปจั จบุ ันประเทศไทยมีชนดิ พันธ์ุตา่ งถ่ินอยู่มากกว่า 3,500 ชนดิ 18 และจาก ความต้องการใช้ประโยชน์จากชนิดพันธ์ต่างถิ่นในด้านต่างๆ (เช่น ด้านการเกษตร ธรุ กจิ การเพาะเลย้ี ง ธุรกิจเพื่อเปน็ สตั ว์เลยี้ ง ธรุ กจิ ไมด้ อกไม้ประดับ เปน็ ตน้ ) จงึ ทำ ใหก้ ารนำเขา้ ชนิดพันธตุ์ า่ งถิ่นใหม่ๆ ยังคงเกดิ ข้นึ อยูต่ ลอดเวลา จึงกล่าวได้ว่า ชนิด พันธุ์ต่างถิ่นจึงมีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นการใช้ ประโยชน์จากชนดิ พนั ธ์ตุ ่างถน่ิ ควบคู่ไปกับการกำกับดูแล ป้องกันและควบคุม มิให้ ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นกลายสภาพเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกราน (Invasive alien 18 สำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสแ่ิ วดลอ้ ม http://chmthai.onep.go.th/chm/alien/index.html
12 species) ที่ส่งผลคุกคามต่อความหลากหลายทางชีวภาพ สร้างความเสียหายต่อ ระบบนิเวศ ตลอดจนก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ จึงเป็นสิ่งที่มี ความสำคัญยิ่ง ซึ่งผู้สนใจสามารถเข้าศึกษารายการชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกราน ทั้ง ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นท่ีมีแนวโน้มรุกราน ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มปี ระวัติว่ารุกรานแล้วใน ประเทศอ่นื แต่ยงั ไมร่ ุกรานในประเทศไทย และชนิดพันธตุ์ ่างถ่ินท่ีรกุ รานทย่ี ังไม่เข้า มาในประเทศไทยได้ตาม weblink _ http://chmthai.onep.go.th/chm/alien/invasive_main.html ส่วนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว(Invasive alien species) จะ นำเสนอไว้ในเอกสารฉบับนี้ เพื่อให้ผู้เรียนและผู้สนใจได้เรียนรู้ถึงสาเหตุและ ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของชนิดพันธุ์ต่างถน่ิ ทีร่ ุกรานแลว้ โดยมุง่ หวงั ให้เกิด ความระมัดระวังในการใช้ประโยชน์ และการจดั การชนดิ พันธต์ ่างถิ่นอยา่ งเหมาะสม เพอิ่ ลดปัญหาและผลกระทบส่ิงแวดล้อมที่อาจเกดิ ขึ้น สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2561) ได้จัดทำทะเบียนรายงานชนิดพันธุ์ ต่างถ่ินประเภทต่างๆของประเทศไทยไวด้ งั น้ี
13 • ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว มีจำนวนทั้ง 138 ชนิด โดยเป็นชนิด พันธ์ต่างถิ่นที่รุกรานที่มีการส่งเสริมให้ใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ จำนวน 16 ชนดิ • ชนดิ พันธุ์ต่างถนิ่ ท่ีมีแนวโน้มรกุ ราน มจี ำนวนท้ัง 58 ชนิด โดยเปน็ ชนิดพันธ์ตา่ งถิ่นทร่ี กุ รานทม่ี ีการสง่ เสรมิ ให้ใช้ประโยชนท์ างเศรษฐกิจ จำนวน 15 ชนิด • ชนดิ พันธตุ์ า่ งถิ่นท่ีมีประวตั วิ ่ารุกรานแลว้ ในประเทศอื่น แต่ยังไม่ รกุ รานในประเทศไทย มีจำนวนท้งั 45 ชนิด โดยเป็นชนดิ พนั ธ์ต่างถน่ิ ทีร่ ุกรานท่ีมีการส่งเสรมิ ใหใ้ ช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ จำนวน 4 ชนิด • ชนดิ พันธุ์ต่างถิน่ ที่รุกรานทย่ี งั ไม่เขา้ มาในประเทศไทย มีจำนวนทงั้ 82 ชนิด ชนิดพนั ธต์ า่ งถนิ่ ทีร่ ุกรานแลว้ และมีลำดับความสำคญั สูง ชนิดพันธ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว และมีลำดับความสำคัญสงู หมายถงึ ชนิด พนั ธต์ า่ งถน่ิ ทรี่ กุ รานแล้ว และมีลำดับความสำคัญสูง เน่ืองจากได้ส่งผลกระทบต่อ ชนิดพันธพ์ ้นื เมืองและระบบนเิ วศในประเทสไทยอยา่ งรุนแรง ตอ้ งใชแ้ นวทางในการ ควบคมุ หรือกำจัดอยา่ งเร่งด่วน ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีลำดับความสำคัญสูงของประเทศไทย ในปัจจุบันมี จำนวน 23 ชนิด แบง่ เปน็ ชนดิ พันธสุ์ ตั ว์ต่างถ่ิน จำนวน 12 ชนดิ และชนิดพันธ์ุพืช ตา่ งถิ่น จำนวน 11 ชนดิ โดยมรี ายละเอียดดังนี้
14 รายชื่อชนิดพันธุก์ ลมุ่ สัตว์ 12 ชนดิ 1.ไส้เดอื นฝอยรากปม (Meloidogyne sp.) 2.หนูทอ่ (Rattus norvegicus)
15 3.หอยทากยกั ษ์แอฟรกิ า (Achatina fulica) 4.หอยเซอรี่ (Pomacea canaliculata)
16 5.หอยเชอรีย่ ักษ์ (Pomacea gigas) 6.ปลาซักเกอร์ (Hypostomus plecostornus)
17 7.ซักเกอร์ (Liposarcus pardalis) 8.ปลาซักเกอร์ ( pterygoplichthys sp.)
18 9.ปลาหมอมายนั (Cichlasoma urophthalmus) 10 .ปลาหมอลางดำ (Sarotherodon melanotheron)
19 11.เต่าแก้มแดง (Trachemys scripta elegens) 12.เมงมุมเมห่ ม้ายสีนำ้ ตาล (Latrodactus geometriaus)
20 กลมุ่ พืช 1.ไมยราบยักษ์ (Mimosa pigra) 2.หญ้าขจรจบดอกเล็ก (Pennisetum polystachion)
21 3.ขจรจบดอกใหญ่ (Pannisetum pedicelatum) 4.หญ้าขจรจบดอกเหลือง (Pennisetum setosum)
22 5.ผักตบชวา (Eichhornia crassipes) 6.สาบหมา (Ageratina adenophora)
23 7.ขไี้ ก่ยา่ น (Mikanie micrantha) 8.กระดนิ ทางกระรอก (Prosopis juliflora)
24 9.ธูปฤาษี (Typha fatifolia) 10.กกชา้ ง (Typha angustifolia)
25 11.จอกหหู นูยักษ์ (Salvinia moiesta) ชนดิ พนั ธุส์ ตั วน์ ้ำตา่ งถ่นิ ท่ีกรมประมงห้ามเพาะเลี้ยง กรมประมง...ออกประกาศฯคุมเข้ม !!! ชนิดพันธุ์สัตว์น้ำต่างถิ่นที่ขึ้นบัญชี เพิ่มอีกจำนวน 13 ชนิดหวังตัดวงจรการแพร่พันธุ์และคุ้มครองพันธุ์สตั ว์น้ำพ้ืนถิ่น พร้อมป้องกนั ผลกระทบตอ่ ระบบนิเวศแหลง่ น้ำของไทยไมใ่ หเ้ กิดความเสียหาย ประกอบสตั ว์น้ำดว้ ย 13 ชนดิ ไดแ้ ก่ ปลา 1 ปลาหมอสีคางดำ Blackchin tilapia Sarotherodon melanotheron 2 ปลาหมอมายนั Mayan cichlidMayaheros urophthalmus 3 ปลาหมอบัตเตอร์ Zebra cichlid Heterotilapia buttikoferi 4 ปลาทุกชนิดในสกุล Cichla และปลาลูกผสม Peacock cichlid, Butterfly peacock bass Cichla spp 5 ปลาเทราท์สายร้งุ Rainbow troutOncorhynchus mykiss 6 ปลาเทราทส์ นี ำ้ ตาล Sea trout Salmo trutta 7 ปลากะพงปากกว้าง Largemouth black bass Micropterus salmoides
26 8 ปลาโกไลแอทไทเกอร์ฟชิ Goliath tigerfish, Giant tigerfish Hydrocynus goliath 9 ปลาเกา๋ หยก Jade perch Scortum barcoo 10 ปลาท่ีมีการดดั แปลงหรอื ตดั แตง่ พันธกุ รรม GMO LMO ทกุ ชนิด ชนดิ สัตว์นำ้ อืน่ ๆ 1 ปูขนจนี Chinese mitten crab Eriocheir sinensis 2 หอยมุกนำ้ จืดTriangle shell mussel Hyriopsis cumingii 3 หมึกสายวงน้ำเงนิ ทุกชนดิ ในสกุล Hapalochlaena Blue-ringed octopus Hapalochlaena spp ท้งั นี้ ประกาศฉบับดงั กล่าวฯ มแี นวทางการปฏิบัตทิ ส่ี ำคัญดังนี้ 1. กรณีที่เกษตรกรที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในกลุ่มเหล่านี้ ต้องดำเนินการขอ ใบอนุญาตตามประกาศกรมประมง ภายใน 30 วนั หลงั จากประกาศฯ มี ผลบังคับใช้และเมื่อไม่ต้องการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำต่างถิ่นกลุ่มดังกล่าว แลว้ ใหร้ บี นำสตั วน์ ำ้ สง่ มอบใหส้ ำนักงานประมงจังหวดั หรือ หน่วยงาน กรมประมงอืน่ ๆในพืน้ ที่โดยดว่ น 2. กรณีที่ประชาชนทำการประมงแล้วได้สัตว์น้ำทั้ง 13 ชนิดนี้ในแหล่งนำ้ ธรรมชาติ ประชาชนสามารถนำไปบรโิ ภคหรือจำหน่ายได้ แตต่ อ้ งทำให้ สัตวน์ ้ำตายกอ่ นนำไปจำหนา่ ย 3. กรณีที่สัตว์น้ำทั้ง 13 ชนิดนี้จากธรรมชาติได้หลุดรอดเข้าในบ่อ เพาะเลี้ยงของเกษตรกรโดยไม่เจตนาเกษตรกรสามารถนำไปบริโภค หรอื จำหน่ายได้ แตต่ อ้ งทำใหป้ ลาตายกอ่ นนำไปจำหนา่ ย 4. กรณีส่วนราชการ สถาบันการศึกษา หรือกรณีจำเป็นอื่นใดที่ต้องการ เพาะเลยี้ งสัตว์นำ้ ท้งั 13 ชนดิ ไว้เพ่ือศกึ ษาวิจยั และประโยชนท์ างราชการ ให้แจ้งขออนญุ าตกรมประมงกอ่ น 5. ห้ามผู้ใดปล่อยสัตว์น้ำทั้ง 13 ชนดิ ลงในแหล่งน้ำธรรมชาตโิ ดยเด็ดขาด เนื่องจากมีความผิดตามมาตรา 144 แห่ง พรก.การประมง 2558 บทลงโทษหากพบผใู้ ดฝา่ ฝืนมาตรา 64 หรอื มาตรา 65 วรรคสอง ต้อง ระวางโทษตามมาตรา 144 จำคกุ ไมเ่ กินหนง่ึ ปี หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ หนงึ่ ล้าน บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ ในกรณีที่ผู้กระทำความผิดตามวรรคหนึ่ง นำ
27 สัตวน์ ำ้ ไปปล่อยในท่ีจับสตั ว์น้ำ ตอ้ งระวางโทษจำคุกไมเ่ กินสองปี หรือ ปรับไม่เกินสองล้านบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (ที่มา: กลุ่มวิจัยและ พัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสวยงามและพรรณไมน้ ้ำ)
28 ผลกระทบจากชนดิ พันธุ์ต่างถน่ิ ในประเทศไทย ชนิดพนั ธ์พุ ืชตา่ งถิ่นท่ีนำเขา้ มาในประเทศไทย ส่วนใหญม่ ีวัตถุประสงค์เพ่ือ นำมาใช้เปน็ อาหาร เพ่อื ความเพลดิ เพลิน และเพื่อประกอบธรุ กิจ ชนิดพันธุ์พชื ต่าง ถน่ิ เหล่านจ้ี ะเปน็ ประเภทท่ีถูกนำเข้า (imported) ส่วนอกี ประเภทหน่ึงจะพบอาศัย ในธรรรมชาติ เป็นชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นต่างถิ่น ( alien species) ที่มนุษย์นำมา ปล่อยสูธ่ รรมชาตโิ ดยต้ังใจ เช่น เพ่ือทำบญุ ตามความเชอ่ื เบื่อทจี่ ะเลีย้ ง ประสบกับ การขาดทนุ ในการเพาะขยายพันธ์ุเพอ่ื ธุรกิจและแอบปล่อยทิ้งเพ่ือหลกี เลี่ยงการถูก จับกุม การนำข้ามาในประเทศและมีไว้ในครอบครองอย่างผิดกฏหมาย หรืออาจ หลุดลงไปในแหล่งน้ำธรรมชาติด้วยสาเหตุต่างๆ โดยไม่ได้ตั้งใจ เช่น เกิดอุบัติเหตุ ขณะขนสง่ เกิดภัยธรรมชาติ อาทิ นำ้ ทว่ ม เกิดพายุ และเกดิ ไฟป่า เป็นตน้ ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นท่ี มีบทบาทต่อระบบนิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อม บาง ชนดิ ไมร่ กุ รานไม่มผี ลกระทบต่อสงิ่ มชี ีวติ ชนดิ อื่นๆ หรอื ระบบนิเวศโดยตรง แต่บาง ชนิดเป็นพวกที่รุกราน เพราะสามารถปรับตัวและแข่งขัน จนสามารถแทนที่ชนิด พันธุ์พื้นเมืองได้ดี และมีการดำรงชีวิตทีม่ ีผลกระทบต่อสมดุลของระบบนเิ วศ และ บางชนิดเป็นศัตรูต่อผลผลติ การเกษตร บางชนดิ ส่งผลต่อสุขภาพของมนษุ ย์ ตัวอย่างผลกระทบจากชนดิ พนั ธตุ์ ่างถน่ิ มดี ังน้ี 1.ชนดิ พันธต์ า่ งถน่ิ เป็นผู้ลา่ (predator) ชนดิ พันธุพ์ ้นื บา้ น ชนิดพันธ์ต่างถิ่นที่รุกราน เป้นผู้ล่าชนิดพันธุ์พื้นบ้าน จนทำให้ชนิดพันธุ์ พ้นื บ้านลดปรมิ าณลงจนเสยี สมดุลในระบบนเิ วศ ตวั อยา่ งเชน่ 1.1 การระบาดของปลาดุกรัสเซีย ในแหล่งน้ำธรรมชาติ ปลาดุกรัสเซีย (ปลาดุกแอฟริกา) (Clarias gariepinus) อยู่ใน วงศ์ Clariidae สรา้ งความเสียหายใหแ้ กร่ ะบบนิเวศ แหล่งน้ำอย่างยากที่จะฟื้นคืนเหมือเดิม เนื่องจาก ปลาดุกรัสเซีย เป็นปลาที่กินทั้งสัตว์และพืชเป็น อาหาร ตั้งแต่แพลงก์ตอนสัตว์ ลูกกุ้ง แมลงน้ำ หอยน้ำจดื และเศษพืชอ่ืนๆ จนถงึ ปลา
29 เวลาพบเหย่อื จะเข้าโจมตอี ยา่ งฉับพลันไมใ่ ชก้ ารไลล่ ่า จากลักษณะนสิ ัยของ ปลาดุกรัสเซียที่สามารถล่าเหยื่อได้เก่ง สามารถกินเหยื่อที่มีขนาด ¼ ของตัวเอง ดังนั้นจึงทำให้เกิดการ ทำลายสายพันธุ์ของปลา ไทยในแหล่งน้ำธรรมชาติ เกิดผลกระทบต่อห่วงโซ่ อาหารทางธรรมชาติ ส่วนการเพิ่มจำนวนตามธรรมชาติ มีรายงานว่า ปลาดุกรัสเซียที่โตเต็มท่ี อาจจะ วางไข่ได้ถึง 150,000 ฟอง ดังนั้นการเพิ่มขึ้นของปลาดุกรัสเซียในแหล่ง ตามธรรมชาติ จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำใหป้ ลาประจำถิน่ ลดน้อยลง เพราะมีปลาก ดุกรัสเซียเป็นผู้ล่าตัวสำคัญในระบบนิเวศแหล่งน้ำนั่นเอง (https://www.bangkokbiznews.com/health/social/1024745) จากตัวอย่างนี้จะเห็นได้ว่า พฤติกรรมมนุษย์ที่ทำให้ปลาดุกรัสเซีย ลงสู่ แหล่งน้ำในประเทศไทย ทั้งที่ตั้งใจและมิได้ตั้งใจจากคนทุกคน จากองค์การทุก องค์กร และหน่วยงานทกุ หน่วยงาน ล้วนเป็นสาเหตสุ ำคัญทีท่ ำให้ปลากดุกรสั เซีย กลายเป็นชนดิ พันธต์ุ ่างถิ่นชนดิ หน่ึงท่ี กำลังเข้ามารุกรานระบบนเิ วศทอี่ ุดมสมบูรณ์ ของประเทศไทยให้เสียหาย จนยากที่จะฟน้ื คนื ได้เหมอื นเดิม สิ่งทจี่ ะเกดิ ตามมากค็ ือ ผลกระทบสง่ิ แวดล้อมนานัปการที่เป็นผลพวงจากการสูญเสยี สมดลุ ของระบบนเิ วศ แหล่งน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเป็น ปัจจัยสำคัญของปัจจัยสี่ อาหาร ที่อยู่อาศัย เสื้อผ้า และยารักษาโรค ซ่ึง ปจั จยั พื้นฐานทีส่ ำคัญยงิ่ ของมนษุ ยท์ ุกคน 1.2 การระบาดของปลากดเกราะหรอื ปลาซัคเกอร์ ปัจจบุ นั ในแหลง่ น้ำธรรมชาติของไทยพบ ปลาซคั เกอรร์ ะบาดอยู่ในทุกภาค ส่วนของประเทศไทย (กองวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด กรมประมง กระทรวง เกษตรและสหกรณ์,2563) เป็นสิ่งบ่งชี้ถึงความรุนแรง ของปัญหาการทำลายระบบ นิเวศแหล่งน้ำของสัตว์น้ำ
30 ต่างถิ่นชนิดนี้ได้อย่างชัดเจน เนื่องจากปลาซัคเกอร์เป็นปลาที่มีความอดทนสูง สามารถอาศัยในแหล่งน้ำได้ทุกรูปแบบรวมทั้งแหล่งน้ำคุณภาพต่ำ อีกทั้งยังกิน อาหารได้เกือบทุกชนิด จึงทำให้ปลาซัคเกอร์มีจำนวนมากขึ้นอย่างรวดเร็วและ ต่อเน่อื ง สถานการณ์เช่นนี้ นอกจากปลาพื้นเมืองถูกแย่งอาหารจนทำให้การเพิ่ม จำนวนของปลาพื้นเมืองลดลงแล้ว ยังทำให้ปลาพืน้ มืองมีโอกาสสูญพันธ์อีกด้วย เนื่องจากปลาซัคเกอร์ เป็นสัตว์กินซากพืช ซากสัตว์ กินสัตว์น้ำขนาดเล็กตาม พื้นท้องน้ำ อีกทั้งยังจะกินไข่ปลาและลูกปลาวัยอ่อน ผลกระทบที่ตามมา ก็คือ ปญั หาเศรษฐกจิ ดงั จะเหน็ ไดจ้ าก กรณีปลาซคั เกอร์รุกรานทำลายระบบนเิ วศบงึ ทุ่ง สร้าง จังหวัดขอนแก่น จนชาวประมงพื้นเมืองต้องประสบปัญหาในการประกอบ อาชีพ (ดงั ภาพ) ภาพ ข่าวปลาซัคเกอร์ทำลายระบบนิเวศบึงทุ่งสรา้ ง จังหวดั ขอนแกน่ ท่ีมา: https://old.khonkaenlink.info/home/news/8459.html
31 2. ชนดิ พนั ธ์ต่างถ่นิ เป็นตัวแกง่ แยง่ (competitor) ชนิดพันธ์ต่างรุกราน เป็นตัวแก่งแย่งถิ่นอาศัย อาหาร หรือที่วางไข่ของ ชนิดพันธ์พื้นบ้าน ทำใหช้ นิดพันธ์พ้นื บ้านลดลง หรอื มีโอกาสสูญพนั ธุ์ ตัวอยา่ งเชน่ 2.1 ปลาหมอสคี างดำ เมือ่ ปลาหมอสคี างดำนี้ได้หลดุ สู่แหลง่ นำ้ ธรรมชาติ ก็ส่งผลให้ทั้งแพลงก์ตอน ลูกปลา และกุ้งในธรรมชาติลดลง อีกทั้งยัง ขยายพันธ์ุได้อย่างรวดเร็ว รวมทั้งสามารถอาศัยได้ทุกแหล่งนำ้ จึงส่งผลต่อสัตว์ท้องถิ่นรวมถึงบ่อเลี้ยงของเกษตรกรให้ได้รับ ความเสยี หาย ดังภาพ ปลาหมอสคี างดำ 19 2.2 การขุดโพรงวางไขข่ องปลาซคั เกอร์ ทำใหโ้ ครงสร้างของผนังตล่ิง พังทลาย ระบบนิเวศแหล่งน้ำเกดิ ความเสียหาย 3. สตั ว์นำ้ ตา่ งถน่ิ รกุ ราน เปน็ ตวั นำโรคหรอื ปรสติ (disease and parasite carrier) สู่สิ่งมีชีวิตและมนุษย์ ส่งผลต่อสุขภาพโดยรวมของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ตัวอย่างเชน่ 3.1 หอยเชอรี่ เป็นส่วนประกอบหนึ่ง ในวงจรชีวิตของพยาธิ Angiostoma sp. จากปัญหาการระบาดของหอยเชอรีในพื้นที่ต่างๆทั่วประเทศ มาตรการกำกับ ดูแล ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดของหอยเชอรี่จึงเกิดข้ึน ในทุกภาคส่วน การใช้หอยเชอรี่เป็นแหล่งอาหารของนชุมชน เป็นมาตรการหนึ่งที่ ไดร้ บั การสง่ เสริม โดยตอ้ งควบค่ไู ปกบั คำแนะนำใหบ้ ริโภคเมนอู าหารจากหอยเชอรี 19 ท่ีมา https://www.seub.or.th/bloging/knowledge/%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0 %B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B9%8C%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B9%88 %E0%B8%99/
32 ที่ปรุงสุกเป็นสำคัญ เนื่องจากหอยเชอรี เป็นตัวนำโรคหรือปรสิตที่เกิดโรคจาก พยาธิหอยโขง่ (Angiostrongylus cantonensis) ได้ วงจรชีวิตของพยาธิ พยาธติ ัวเต็มวัยทง้ั สองเพศจะอาศยั อย่ใู นหลอดเลอื ดแดงของปอดหนู พยาธิตัวเมียจะออกไข่ในหลอดเลอื ดแดงและฟกั ตัวเปน็ ตวั ออ่ นระยะที่ 1 ปนออกมา กับมลู หนู ตวั อ่อนระยะน้ไี ชเข้าหอยทากหรอื หอยนำ้ จดื เช่น หอยโขง่ (หอยปัง) หอยขม หอยเชอร่ี แลว้ เจรญิ เป็นตัวอ่อนระยะ ติดต่อ เมื่อหนกู นิ หอย พยาธิจากหอยจะเขา้ ไป ในสมองหนู เจรญิ ตอ่ ไปเป็นพยาธติ ัวแกใ่ น หลอดเลอื ดแดงของปอดหนู และออกไข่ซง่ึ จะพฒั นาต่อไปตามวงจรชีวิต หากคน รับประทานหอยดบิ ๆ สุกๆ ซ่ึงมีพยาธิ ระยะตดิ ต่อ พยาธจิ ะเขา้ สู่ระบบ ประสาท เช่น สมอง ไขสนั หลงั หรอื ตา https://www.tropmedhospital.com/knowledge/angiostrongyliasis.html 4. สัตว์น้ำต่างถิ่นรุกราน เป็นตัวรบกวนหรือทำลายสภาพนิเวศ (habitat disturbance) สตั วน์ ำ้ บางชนดิ ที่เปน็ ผ้ลู ่าหรอื กนิ พืช มีผลต่อองคป์ ระกอบชนิดสัตว์น้ำและ พืชน้ำในถิ่นอาศัยเดิมที่เคยมีสมดุล เช่น หอยเชอรี่มีผลกระทบตอ่ สังคมพชื น้ำที่มี ต้น ใบอ่อน โดยหอยเชอรี่ จะกัดกินทำลายจนหมดและเกิดการเปลี่ยนสังคมพืชใน แหลง่ นำ้ ทำให้ความหลากหลายชนดิ ของสตั ว์น้ำลดลง ตวั อยา่ งเช่น • การระบาดของหอยเชอรื่ทำให้นาข้าวเสียหาย เนื่องจากข้าวเป็น แหล่งอาหารของหอยเชอรรี • เกษตรกรตอ้ งกำจดั หอยเชอรีวธิ ีการตา่ งๆ การใช้ สาร Endosulfan เอนโดซลั แฟน เป็นทางเลอื กหนงึ่ ซง่ึ ผลทตี่ ามคอื เกิดสารตกค้างมี ผลทำให้กบและเขียดในแหล่งน้ำลดลง สมดุลของระบบนิเวศนา ข้าวเสยี หาย https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20200623153716_1_file.pdf
33 5. สัตว์น้ำต่างถิ่นอาจก่อให้เกิดการเสื่อมทางพันธุกรรม ( genetic pollution) • เชน่ การปล่อยปลาดุกรัสเซียลงสแู่ หลง่ น้ำธรรมชาติ ทำใหเ้ กิดการ ผสมข้ามพันธ์กับปลาดุกอุยท่ีเป็นพันธุ์พื้นเมือง อาจทำให้เกิดการ ปนเป้อื นพนั ธกุ รรมในปลาดยุ ได้ 6.สตั ว์นำ้ ตา่ งถ่ินอาจแทนที่ ในอุตสาหกรรรมการเพาะเล้ยี ง • เมื่อนำสัตว์น้ำต่างถิ่นเข้ามาเลี้ยงทดแทนชนิดพันธ์พื้นเมือง เพื่อ ผลผลติ จะสง่ ผลให้สัตวพ์ ันธ์ุพื้นเมืองมีปริมาณน้อยลงจนอาจสูญ พันธ์ได้ เช่น ปลาดุด้าน ปลาดุกอุยถูกทดแทนด้วยปลาดุกรัสเซีย และปลาดุกลูกผสมบิ๊กอุย หรือกุ้งขาวแวนนาไมที่เลี้ยงแทนกุ้ง กุลาดำ เป็นต้น ตวั อยา่ งพฤติกรรมการใชช้ วี ิตทีเ่ ป็นสาเหตกุ ารเกดิ ชนิดพนั ธุ์ตา่ งถ่นิ ในไทย 1. การท่องเทยี่ มท่ีขาดความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถงึ ปญั หาและ ผลกระทบจาก ชนดิ พันธต์ า่ งถ่นิ ท้ังผสู้ ่งเสริมการทอ่ งเท่ียว และนกั ท่องเทีย่ วเช่น • กรณีการเพิ่มพื้นที่ทุ่งบัวตองเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในแหล่ง ธรรมชาติ กำลังทำล่ายระบบนิเวศของประเทศอย่างรุนแรง เนื่องจาก บวั ตองเป็นพืชต่างถ่ินทต่ี น้ บวั ตองสรา้ งสารซึ่งเป็นพษิ ตอ่ พืชอนื่ เรียกวา่ สารอัลลีโลพาธี(allelopathy) ที่สามารถยับยั้งการเจริญของหน่อและ ราก และการดูดซึมแร่ธาตุของพืชหลายชนิด เช่น ยับยั้งการ งอกของเมล็ดข้าว ข้าวโพด มะเขือเทศ หัวหอม แตงกวา บัวตองแพร่พันธุ์ทำลายทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ และป่าหญ้าตามธรรมชาติในหลายประเทศ ทำให้ ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง คือ ชนิดของพืช และสัตว์อื่นๆ ในพื้นที่ลดจำนวนลง ทำให้เกิดการ สูญเสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพ ที่มา: https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/783220
34 2. ทำบญุ .ปล่อยปลา...ทำลายระบบนิเวศ ทีม่ า: https://www4.fisheries.go.th/local/index.php/main/view_activities/125/85609
35 อ่านบทความนี้ https://www.thaipost.net/main/detail/73902 การปล่อยปลาดกุ 1 ตนั เรา จะสูญเสียสัตว์น้ำท้องถิ่นไป ประมาณ 1.8 ล้านชีวิตต่อปี ใน จำนวนนี้อาจจะเป็นลูกปลา เศรษฐกิจ ที่ถ้าปล่อยให้โตไปก็จะ เป็นอาหารของชาวบ้านได้อีก ใน จำนวนน้อี าจจะเป็นปลาหายากที่ถ้า รอดไปก็จะสามารถไปสืบพันธุ์ต่อได้ ในจำนวนนี้มีปลาท้องถิ่นขนาดเล็ก ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของระบบนิเวศอยา่ งปลาซิวท่จี ะเป็นอาหารของปลาท้องถิ่นขนาด ใหญ่ต่อไป ทั้งหมดนี้เป็นสัตว์น้ำที่อยู่ของเค้าดีๆกม็ ีใครก็ไม่รูเ้ อาสัตว์ผู้ล่ามาปลอ่ ย ลงไปในบ้านเค้าเต็มไปหมด คือลองนึกภาพคุณอยูใ่ นบ้านของคุณดีๆกม็ ีใครไมร่ ้เู อา เสือ เอาสงิ โตมาปล่อยลงไปในหมู่บา้ นคณุ เพอื่ ทำบญุ โดยคุณไม่มีทางทจ่ี ะส้เู ลย 3. การเลือกซ้อื ไมป้ ระดบั โดยขาดความรูค้ วามเขา้ ใจ และความตระหนักถงึ ปญั หาและผลกระทบจาก ชนดิ พันธ์ต่างถ่ิน เชน่ “ผกากรอง” พชื รกุ ราน ตา่ งถ่นิ มีถ่ินกำเนดิ ในทวปี อเมริกา เน่อื งจาก เปน็ พืชที่สามารถสร้างสารทเ่ี ปน็ พิษตอ่ คน และสัตว์ได้ ซงึ่ จะส่งผลกระทบต่อความ หลาหลากของชนพิ นั ธุ์สตั ว์ในประเทสของ เราได้เชน่ กัน
36 4.การเลือกซื้อสัตว์เลี้ยง โดยขาดความรู้ความเข้าใจ และความตระหนกั ถึง ปญั หาและผลกระทบจาก ชนิดพันธ์ต่างถิ่น เชน่ เช่น การเลอื กซื้อ“ปลา”นานาชนิด ที่เป็นสัตว์รุกรานต่างถิ่น เพื่อการประกอบอาชพี เป็นงานอดิเรก เป็นอาหาร เป็น ตน้ 5. การเดินทาง โดยขาดความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงปัญหา และผลกระทบจาก ชนิดพนั ธต์ า่ งถิ่น เอกสารอ้างอิง คณะทำงานชนดิ พนั ธตุ า่ งถิน่ ( 2550) กระทรางทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เนาวรัตน์ พิมพก์ ลัด (2556). การควบคุมปอ้ งกันชนดิ พันธ์ตุ ่างถน่ิ กรณี ปลาซคั เกอร์ในประเทศไทย. มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์ ภูเบศ อยสู่ ขุ , วรี ะพงษ์ แสนกลา้ มพชร กิจจาเจิรญชยั . วารสารการจดั การ ส่ิงแวดลอ้ ม Vol. 17 No. 1 (2021) สํานักงานนโยบายและแผน ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม, 2552. http://chmthai.onep.go.th/chm/alien/mean_alien.html สำนกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม (2561) สทุ ธิเจตต์ จนั ทรศริ ิ และสจุ รรยา ไซยูปถัมภ์ https://www.sarakadee.com/feature/2002/01/alien_species.htm อุทศิ กฎุ อนิ ทร์, ชนดิ พันธ์ต่างถน่ิ . สำนักงานนโยบายและแผนส่ิงแวดลอ้ ม และ ศูนยพ์ ันธวุ ศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ รายงานการประชุมวิชาการ ชนดิ พนั ธ์ตา่ งถ่ินในประเทศไทย, 24-26 ตลุ าคม 2539 รร อมารี รสี อรท์ พัทยา ชลบรุ ี. Atlantic Salmon, Salmo salar, Taken thru glas, in Atlanterhavsparken, Ålesund, Norway http://ballastwatermanagementturkey.com http://bangkrod.blogspot.com/2012/10/blog-post_8.html http://chmthai.onep.go.th/chm/alien/introduce.html
37 http://chmthai.onep.go.th/chm/alien/invasive_main.html https://board.postjung.com/653138 https://fishingthai.com/story-sucker-catfis/ https://old.khonkaenlink.info/home/news/8459.html https://phuketaquarium.org/knowleadge/%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0 %B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%9 8%E0%B8%B8%E0%B9%8C%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0 %B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8% B2%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%B4/ https://www.bangkokbiznews.com/health/social/1024745 https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/783220 https://www.nstda.or.th/brt/news/276-mytilopsis-adamsi.html https://www.sarakadee.com/feature/2002/01/alien_species.htm https://www.sarakadee.com/feature/2002/01/alien_species.htm https://www.seub.or.th/bloging/knowledge/%E0%B8%8A%E0%B8%99%E 0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8 %98%E0%B8%B8%E0%B9%8C%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2% E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99/ https://www.tropmedhospital.com/knowledge/angiostrongyliasis.html https://www.trueplookpanya.com/education/content/60741 https://www.youtube.com/watch?v=4G1q24rulRc https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20200623153716_1_file .pdf https://www4.fisheries.go.th/local/index.php/main/view_activities/125/85 609
38 Assignment • ใหน้ กั ศกึ ษาศกึ ษาเน้อื หาชนิดพนั ธ์ต่างถ่ิน • สรปุ สาระสำคญั ของเนื้อหาแล้วจดั ทำเปน็ infographic • นำเสนอและแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ร่วมกันในชั้นเรยี น
Search
Read the Text Version
- 1 - 44
Pages: