Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศึกษาศาสตร์พื้นฐาน .EE

ศึกษาศาสตร์พื้นฐาน .EE

Published by lawanwijarn4, 2022-07-09 17:33:24

Description: ebook ศึกษาศาสตร์พื้นฐาน .EE_4.07.22

Search

Read the Text Version

ศกึ ษาศาสตร์.....พน้ื ฐาน สิ่งแวดล้อมศึกษา ลาวัณย์ วิจารณ์



คำนำ หลักการสาคัญทางศึกษาศาสตร์ท่ีผู้เขียนมีความเห็นว่า มีส่วนเก่ียวพัน เก้ือกูลศาสตร์ทางส่ิงแวดล้อมศึกษา จนกลายเป็นพื้นฐานท่ีสาคัญอย่างมากกับ สิ่งแวดล้อมศึกษาน้ัน ได้แก่ ความคิดรวบยอด(concept)ทางการศึกษา อันเป็น ความรู้ ความเข้าใจพ้ืนฐานที่จะชักนาให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ท่ีจะศึกษาเก่ียวกับ สิ่งแวดล้อมศึกษาได้อย่างลุ่มลกึ ตอ่ ไป ความคดิ รวบยอดเหล่าน้นั ประกอบดว้ ย 1) ความหมายของการศึกษา 2) วตั ถปุ ระสงค์ทางศกึ ษา 3) วตั ถุประสงค์การสอน 4) วตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม 5) ประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้ 6) หลักคิด: การสร้างสถานการณ์การเรียนรู้ (ผู้เขียนได้สรุปคัดลอกจากหนังสือ 1) สิ่งแวดล้อมศึกษา: แนวทางสู่การปฏิบัติ, 2559 และ 2) การวางโครงการสง่ เสริมสง่ิ แวดล้อมศกึ ษาชมุ ชน: บูรณการศาสตรส์ ู่ การปฏิบัต.ิ 2564 โดยผเู้ ขียน) และ 7) ความคดิ รวบยอดของหลกั สตู ร (ผู้เขยี นได้ สรปุ คดั ลอกจากหนงั สือ “การพฒั นาหลกั สตู รการศึกษาเกษตร, 2534 โดยสมสุดา ผพู้ ัฒน์ และโสภณ ธนะมยั ) ผู้เขียนขอกราบขอบพระคุณ ดร.โสภณ ธนะมัย อาจารย์ท่ีปรึกษาของ ผู้เขียนในคราวที่ศึกษาต่อหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2548-2552) ที่ช้ีนาผู้เขียนให้สนใจศาสตร์ทาง การศึกษาเอาไวด้ ว้ ย

สำรบญั 1 2 ความหมายของการศึกษา 2 วตั ถุประสงค์การศึกษา 4 วัตถปุ ระสงค์การสอน 8 วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 14 ประสบการณ์เพอ่ื การเรยี นรู้ 17 หลกั คดิ : การสร้างสถานการณก์ ารเรยี นรู้ ความคิดรวบยอดของหลกั สูตร



1 การศึกษา ในวิชาการศึกษามีความคิดรวบยอด (concept)ท่ีสาคัญเกี่ยวข้องกับการ วางโครงการส่งเสรมิ ส่งิ แวดลอ้ มศกึ ษาชุมชน สมควรจะนามาเสนอในที่น้ี ซ่ึงผ้เู ขียน ไดส้ รุปยอ่ คัดลอกมาจากหนงั สือของผ้เู ขยี น คือ“สงิ่ แวดลอ้ มศกึ ษา: แนวทางสู่การ ปฏบิ ตั ิ” (2559) ประกอบด้วย 1) ความหมายของการศึกษา 2) วัตถุประสงคก์ ารศึกษา 3) วัตถปุ ระสงคก์ ารสอน 4) วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 5) ประสบการณ์เพ่ือการเรยี นรู้ 6) หลกั คิด: การสรา้ งสถานการณ์การเรยี นรู้ ความหมายของการศึกษา คาว่า \"การศึกษา\" มีความหมายกว้างไกล ทั้งนี้ขึ้นอยู่การตีความหมายไป ตามลักษณะอาชีพ(เชน่ ในทางเศรษฐศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ รัฐศาสตร์ สงั คมวิทยา การศึกษา ศาสนา ฯลฯ) แต่ตามท่ผี ู้เขยี นได้รวบรวมความหมายของการศกึ ษาที่ผิด แผกแตกตา่ งกนั บา้ ง แล้วนามาวิเคราะห์ จะพบว่า โดยหลกั การใหญ่ๆ มิได้แตกต่าง กัน ผู้อ่านสามารถศึกษารายละเอียดได้จากหนังสือ“ส่ิงแวดล้อมศึกษา: แนวทางสู่ การปฏิบตั ิ”(ลาวัณย,์ 2559 ) สาหรับผูเ้ ขยี นแล้ว จากประสบการณ์ พบว่า ในชุมชนชนบทและชุมชน เมือง เข้าใจว่า... .....การศกึ ษา คอื ไปโรงเรยี นเพอ่ื เรียนหนังสือ บางคนคดิ วา่ การศกึ ษาเป็น การบังคับให้ประชาชนต้องปฏิบัติตาม มิฉะน้ันจะผิดกฎหมาย....บางคนมองว่า การศึกษามิได้มีค่าสาหรับการดารงตนเป็นพลเมืองดี หรือนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวันแต่อยา่ งไร.....หากแต่มันคือ จุดเร่ิมต้นของการกา้ วไปสู่บนั ไดทาง สังคม ทงั้ การเงินและเกยี รติยศ ชื่อเสยี ง ทัง้ ของตนเองและครอบครัวในอนาคตอีก ดว้ ย.... สาหรับในท่ีน้ี ผู้เขียนขอให้ความหมายของการศึกษาว่า ....การศึกษา คือ กระบวนการจัดประสบการณ์เพ่ือการเรียนรู้(learning experience: L.E.) เพ่ือให้ บุคคลเกิดการเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมตามวัตถุประสงค์การศึกษา ด้านเจตคต(ิ เจต พสิ ัย: affective domain) ด้านความรู้ (พทุ ธิพิสยั : cognitive domain ) และดา้ น ทกั ษะ (ทกั ษะพสิ ยั : psychomotor domain) ที่กาหนดไว้ (ลาวณั ย์, 2559)

2 วัตถปุ ระสงคก์ ารศึกษา ศาสตร์ทางการศึกษาได้กาหนดกรอบในการเรียนรู้เอาไว้ 3 ด้าน เรียกว่า วัตถุประสงค์การศึกษา (educational objective) ซึ่งได้แก่ ด้านความรู้ (พุทธิ พสิ ัย: cognitive domain) ด้านทักษะ (ทกั ษะพสิ ยั : psychomotor domain) และ ด้านเจตคติ (เจตพิสยั : affective domain) 1. ด้านความรู้(พุทธิพิสัย) เป็นการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาความสามารถ ด้านสติปัญญา จาแนกออกเป็น 6 ระดับ คือ ระดับความจา เข้าใจ นาไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมนิ ค่า 2. ด้านทักษะ(ทักษะพิสัย) เป็นการเรียนรู้ท่ีเน้นการพัฒนาความสามารถ ในการปฏิบัติ จาแนกออกเป็น 7 ระดบั คอื ระดบั รับรู้ การเตรยี มพรอ้ ม การปฎบิ ตั ิ ได้ภายใต้คาแนะนา ปฏิบัติได้จนคล่อง การปฏิบัติงานซับซ้อนได้ ปรับปรุง และ ต้นแบบ 3. ด้านเจตคติ(เจตพิสัย) เป็นการเรียนรู้ท่ีเน้นการพัฒนาด้านจิตใจ ความรู้สึก จาแนกออกเป็น 5 ระดับคือ ระดับการรับรู้ การตอบสนอง การเห็น คณุ ค่า การจัดระบบคณุ ค่า และการสรา้ งลกั ษณะนิสัย วตั ถปุ ระสงคก์ ารศกึ ษาแต่ละดา้ นน้ัน ถูกจาแนกออกเปน็ วัตถปุ ระสงค์การ สอน (instructional objective) และวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (behavioral objective) วัตถปุ ระสงคก์ ารสอน เป็นข้อความที่ระบุคุณลักษณะท่ีต้องการให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนตามระดับ ของวัตถุประสงค์การศึกษาทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และเจตพิสัย รายละเอียดแตล่ ะดา้ นของวตั ถุประสงคก์ ารสอน มีดงั นี้ พทุ ธิพิสยั เป็นการเรยี นรู้ท่เี น้นเก่ยี วกับความรู้ (knowledge ) โดยการพัฒนา เกิดจากกระบวนการคิด (cognitive process) เรียงลาดับจากซับซ้อนน้อยไปซับซ้อน มาก ดงั แผนภาพ แผนภาพ ลาดบั ความซับซอ้ นของข้นั วตั ถปุ ระสงคก์ ารสอนดา้ นพทุ ธพิ ิสยั

3 1. ขั้นจา: มีความสามารถในการจาเรื่องราวต่างๆท่ีเรียนและระลึกเรื่อง เหล่านัน้ ไดถ้ ูกต้อง 2. ขัน้ เขา้ ใจ : มคี วามสามารถ 1) แปลความ: ถา่ ยเทความหมายจากของเดิมเปน็ ของใหม่ทีท่ าให้เข้าใจ ไดง้ ่ายขึ้น 2) ตคี วาม: สรุปภาพรวมเปน็ ใจความสน้ั ๆใหเ้ ข้าใจได้งา่ ยข้นึ 3) ขยายความ: เสริมแต่งขอ้ ความเดิม ทาให้ชัดเจนเขา้ ใจไดง้ ่ายขนึ้ ) 3. ข้ันนาไปใช้: มีความสามารถนาความรู้ท่ีได้เรียนมาแล้วไปใช้ใน สถานการณใ์ หม่ ต่างจากสถานการณเ์ ดิมที่เคยเรียนรมู้ าแลว้ 4. ข้ันวิเคราะห์: มีความสามารถในการแยกแยะว่า สิ่งนั้นประกอบด้วย ส่วนย่อยๆ และส่วนยอ่ ยเหล่านั้นเกย่ี วข้องกันอยา่ งไร 5.ขั้นสังเคราะห์: มีความสามารถในการผสมผสานส่วนย่อยเข้าเป็น เร่ืองราวหรือส่ิงใหม่อีกรูปแบบหน่ึง แปลกแตกต่างไปจากของเดิมก่อนนามา รวมกัน 6.ข้ันประเมินค่า: มีความสามารถในการพิจารณาตัดสินเกี่ยวกับคุณค่า เรื่องใดเร่ืองหนึ่งหรือตัดสินใจกระทาสิ่งใดส่ิงหนึ่ง โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือ มาตรฐานทีก่ าหนดเอาไวแ้ ล้ว ทักษะพิสยั เป็นการเรียนรู้ที่เน้นเกี่ยวกับการกระทา(doing) อย่างมีทักษะในการทาเร่ือง/สิ่งน้ันๆ เรียง ตามลาดับจากความสามารถท่ีซับซ้อนน้อยไปสู่ ซับซอ้ นมาก ดังแผนภาพ แผนภาพ ลาดับความซับซอ้ นของขนั้ วตั ถุประสงคก์ ารสอนดา้ นทกั ษะพิสยั 1.ข้ันรบั รู้: มคี วามสามารถในการใชป้ ระสาทสัมผัสท้ัง 5 ในการรับรู้ได้อย่าง ถกู ตอ้ ง 2.ขั้นเตรียมพร้อม: มีความสามารถในการเตรียมความพร้อมท้ังด้าน ความรู้ กล้ามเนอื้ และอารมณ์ที่จะใชป้ ฏิบตั ิงาน 3.ข้ันปฏิบัติได้ภายใต้คาแนะนา: มีความสามารถในการเลียนแบบตาม พฤตกิ รรมของผฝู้ กึ และในการลองผิดลองถูก

4 4.ข้ันปฏิบัติได้จนคล่อง: มีความสามารถกระทาได้อย่างชานิชานาญ คลอ่ งแคล่วว่องไว 5.ขั้นปฏิบัติงานท่ีซับซ้อนได้: มีความสามารถนาทักษะจากงานที่ง่าย ฝึก จนสามารถปฏิบตั ิงานทซ่ี ับซอ้ นได้ 6. ข้ันปรับปรุง: มีความสามารถในการปฏิบัติงานจนปรับปรุงได้ผลงาน ใหม่ ทม่ี คี ุณภาพ 7. ขั้นต้นแบบ: มีความสามารถในการปฏิบัติงานจนเป็นต้นแบบให้ผู้อ่ืน ตอ้ งปฏิบัตติ าม เจตพสิ ัย เป็นการเรยี นรู้ทีเ่ น้นเก่ยี วกบั ความรูส้ ึก(feeling) ซง่ึ มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้เรียน เรียงลาดับจาก ซบั ซอ้ นน้อยไปซบั ซอ้ นมาก ดังแผนภาพ แผนภาพ ลาดับความซบั ซอ้ นของขนั้ วตั ถปุ ระสงค์การสอนด้านเจตพิสัย 1. ข้ันรับรู้: มีความตั้งใจท่ีจะรับรู้ข้อมูลต่างๆแล้วเกิดการรับรู้ว่า อะไรเป็น อะไร 2. ขั้นตอบสนอง: แสดงออกตอบโต้กับข้อมูลและสถานการณ์ที่ผู้สอน สรา้ งขึน้ 3. ขั้นเห็นคุณค่า: เห็นของดีของเรื่องน้ันมากกว่าข้อเสีย เห็นว่าส่ิงน้ันๆมี คุณค่าหรอื มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร 4. ข้ันจัดระบบคุณค่า: นาคุณค่าต่างๆมาประมวลแล้วพิจารณาจนยอมรับ คณุ คา่ น้ันดว้ ยตัวของผู้เรียนเอง 5. ข้ันสร้างลักษณะนสิ ัย: ปฏิบัตติ ามคณุ คา่ นน้ั จนออกมาเป็นลักษณะนิสยั วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม(behavioral objective) เป็นข้อความท่ีขยาย ความวัตถุประสงค์การสอนให้ชัดเจน จนระบุออกมาเป็นพฤติกรรมของผู้เรียน เพอื่ ใหส้ ามารถวดั พฤติกรรมท่เี ปลีย่ นแปลงไปได้อยา่ งชัดเจน เช่น วตั ถปุ ระสงคก์ ารสอน ระบวุ า่ : ผู้เรียนตรวจวดั ค่าออกซิเจนละลายนา้ ได้ โดย ใชช้ ุดทดสอบอยา่ งง่าย ได้อยา่ งคล่องแคลว่

5 ผู้สอนคิดว่าหากผู้เรียนตรวจวัดได้อย่างคล่องแคล่วแล้ว จะต้องแสดง พฤติกรรมอย่างไรออกมา ดังน้ันผู้สอนจึงกาหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมว่า: ผู้เรียนทุกคน สามารถตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายน้าโดยใช้ ชุดทดสอบอย่างง่าย ไดถ้ ูกตอ้ งภายใน 10 นาที จากตัวอย่างจะเห็นไดว้ า่ วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมประกอบดว้ ย 3 ส่วน 1) พฤติกรรมทีผ่ ้สู อนคาดหวังใหเ้ กิดขึน้ ในตัวผู้เรยี น: สามารถตรวจวดั คา่ ออกซิเจนละลายน้า 2) เงอื่ นไขทกี่ อ่ ให้เกิดพฤตกิ รรมที่ผู้สอนคาดหวงั ให้เกดิ ขนึ้ ในตัวผ้เู รียน: โดยใช้ชดุ ทดสอบอย่างง่าย 3) มาตรฐานของพฤตกิ รรมทผ่ี ู้สอนคาดหวังใหเ้ กิดข้ึนในตวั ผเู้ รยี น: ไดถ้ ูกต้องภายใน 10นาที คากริ ิยาบ่งชพ้ี ฤตกิ รรม คาวา่ “กิริยา”เปน็ คาภาษาบาลี มคี วามหมายเท่ากับ“กรยิ า เป็นคาภาษา สันสกฤต ในที่นจ้ี ะใชค้ าว่า “กริ ยิ า” การระบุพฤติกรรมที่ผู้สอนคาดหวังให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนนั้น มีคากิริยาที่ แสดงพฤติกรรมที่จะใช้ในการเขยี นวตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรมในแต่ละวัตถุประสงค์ การสอนแต่ละด้าน ผู้เขียนมีความเห็นว่า“คากิริยา”ท่ีแสดงการกระทาบ่งช้ีถึง พฤติกรรม ควรเป็นคาที่ง่ายต่อความเข้าใจของคนทั่วไป และขณะเดียวกันก็ สามารถส่อื สะทอ้ นใหเ้ ห็นภาพของระดบั วัตถปุ ระสงคก์ ารสอนได้อย่างถกู ต้องตาม ความหมายของระดบั วัตถปุ ระสงคน์ น้ั ๆ อยา่ งไรกต็ ามคากริ ยิ าบ่งชีพ้ ฤติกรรมต่อไปนีเ้ ปน็ เพยี งตัวอยา่ งเท่าน้ัน ดงั ตารางท่ี 1-3 ซ่ึงผู้อ่านสามารถคิดคากิริยาที่สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์ของตนขน้ึ เองได้

6 ตารางท่ี 1 คากริ ิยาบ่งชพ้ี ฤตกิ รรม ด้านพุทธิพิสัย พทุ ธิพิสัย คากิรยิ าบ่งช้ีพฤตกิ รรม ผ้เู รียน ผเู้ รยี น 1.ขั้นจา: มีความสามารถในการจา ผู้เรยี นบอก เขียน เล่า สิง่ ที่ผ้สู อนได้ เรอื่ งราวตา่ งๆทเี่ รียนและระลกึ เรื่อง สอนไปแล้วได้ เหล่านั้นได้ถกู ตอ้ ง 2.ข้ันเขา้ ใจ: มคี วามสามารถ อธบิ ายสง่ิ ที่ผูส้ อนไดส้ อนไปแล้ว ดว้ ย 1) แปลความ (ถ่ายเทความหมาย คาพดู ของตนเองได้ จากของเดมิ เป็นของใหมท่ ่ที าให้เข้าใจ ได้งา่ ยขึน้ ) 2) ตีความ (สรุปภาพรวมเป็น สรปุ ยอ่ สงิ่ ที่ผ้สู อนได้สอนไปแล้วได้ ใจความสั้นๆใหเ้ ขา้ ใจไดง้ า่ ยข้ึน 3) ขยายความ (เสริมแต่งข้อความ ขยายความ สงิ่ ท่ีผู้สอนได้สอนไปแล้ว เดิม ทาใหช้ ัดเจนเขา้ ใจไดง้ ่ายขน้ึ ) ได้ เชน่ ยกตัวอยา่ งประกอบการ อธิบาย เขยี นภาพประกอบ เปน็ ต้น 3.ข้นั นาไปใช้: มคี วามสามารถนา อธิบาย ใหเ้ หตุผล ยกตวั อย่าง ความรทู้ ไี่ ดเ้ รยี นมาแล้วไปใช้ใน สาธติ ใหด้ ู สงิ่ ทผ่ี ูส้ อนได้สอนไปแลว้ ไป สถานการณใ์ หม่ ต่างจากสถานการณ์ ใช้ในสถานการณใ์ หม่ทแ่ี ตกต่างจาก เดิมทเ่ี คยเรยี นรูม้ าแลว้ สถานการณเ์ ดมิ 4. ขัน้ วิเคราะห์: มคี วามสามารถในการ จาแนกแยกแยะใหเ้ หตผุ ลวา่ ส่วนย่อย แยกแยะว่า ส่ิงน้ันประกอบด้วย ส่วนใดท่มี คี วามสาคัญมาก มีสว่ น สว่ นย่อยๆและส่วนยอ่ ยเหลา่ นน้ั เกยี่ วพันกันอยา่ งไร อาศัยหลักการใด เก่ียวขอ้ งกันอยา่ งไร 5.ข้นั สงั เคราะห์: มคี วามสามารถใน ผสมผสานรวมส่วนยอ่ ยเข้าดว้ ยกัน การผสมผสานสว่ นย่อยเข้าเปน็ เปน็ การสร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ขึ้นมา เรื่องราวหรือสิง่ ใหมอ่ กี รูปแบบหน่งึ แปลกแตกต่างไปจากของเดิมกอ่ น นามารวมกัน 6.ขน้ั ประเมินค่า: มีความสามารถใน ตดั สนิ เปรยี บเทยี บของส่งิ น้ัน การพจิ ารณาตดั สนิ เก่ียวกับคุณค่าเร่ือง โดยใช้เกณฑ์หรือมาตรฐานท่ี ใดเรอื่ งหนงึ่ หรือตดั สินใจกระทาส่งิ ใด ผู้สอนได้สอนไปแล้ว ส่ิงหน่ึง โดยเปรยี บเทยี บกบั เกณฑห์ รอื มาตรฐานทก่ี าหนดเอาไว้แลว้

7 ตารางท่ี 2 คากิริยาบ่งชพ้ี ฤตกิ รรม ดา้ นทกั ษะพสิ ัย ทกั ษะพสิ ัย คากิริยาบ่งชพี้ ฤติกรรม ผูเ้ รยี น ผูเ้ รยี น 1.ขัน้ รับร:ู้ มคี วามสามารถในการใช้ บอกผลที่ได้จากประสาทสัมผัสทัง้ 5 ประสาทสมั ผัสทัง้ 5 ในการรับรู้ส่ิงทจ่ี ะ กระทา 2.ข้ันเตรียมพร้อม: มคี วามสามารถใน เตรียมวัสดุอุปกรณ์อย่างถูกต้อง การเตรยี มความพร้อมท่จี ะปฎิบัติ เมือ่ และพร้อมใชง้ าน รบั รสู้ ิง่ ทจ่ี ะต้องกระทา 3.ขน้ั ปฏบิ ัติได้ภายใตค้ าแนะนา: มี ปฏิบัติตามท่ีผู้สอนกาหนด ความสามารถในการเลยี นแบบตาม พฤติกรรมของผฝู้ ึกและในการลองผิด ลองถูก 4.ข้นั ปฏบิ ัติไดจ้ นคลอ่ ง: มคี วามสามารถ ปฏิบัติไดด้ ้วยตนเองอยา่ งชานาญ กระทาไดอ้ ยา่ งชานชิ านาญคล่องแคลว่ วอ่ งไว 5. ขนั้ ปฏบิ ตั ิงานทซี่ ับซอ้ นได:้ มี ปฏิบัติงานที่ย่งุ ยากได้ดว้ ยตนเอง ความสามารถนาทกั ษะจากงานท่ีง่าย ฝึก จนสามารถปฏิบัติงานท่ีซับซ้อนได้ 6. ขัน้ ปรบั ปรงุ : มคี วามสามารถในการ แก้ไขจนได้ผลงานใหม่ ปฏิบัตงิ านจนปรบั ปรุงได้ผลงานใหมท่ ม่ี ี คุณภาพ 7.ขนั้ ตน้ แบบ: มคี วามสามารถในการ สร้างข้ึนด้วยตนเองจนเป็นแบบ ปฏิบัติงานจนเป็นต้นแบบให้ผู้อน่ื ตอ้ ง ฉบับ ปฏบิ ตั ิตาม

8 ตารางที่ 3 คากิรยิ าบ่งชี้พฤตกิ รรม ดา้ นเจตพิสัย เจตพิสัย คากริ ยิ าบง่ ชพ้ี ฤตกิ รรม ผู้เรียน ผเู้ รยี น 1.ขัน้ รับร:ู้ มีความตั้งใจทจี่ ะรับรูข้ อ้ มลู ซักถาม ฟังอย่างตั้งอกตั้งใจ และ ต่างๆแล้วเกดิ การรบั รู้ว่า อะไรเป็นอะไร ตอบคาถามในเน้ือหาความรู้ท่ีผู้สอน ไดส้ อนไปแล้วอยา่ งถกู ตอ้ ง 2. ข้ันตอบสนอง: แสดงออกตอบโต้ กระตอื รือรน้ ทีจ่ ะตอบขอ้ ซักถามของ กับขอ้ มลู และสถานการณ์ที่ผสู้ อน ผสู้ อน/ รว่ มกิจกรรมที่ผสู้ อนกาหนด สรา้ งข้ึน 3.ข้ันเหน็ คณุ คา่ : เห็นของดีของเร่ือง อธิบายประโยชน์/ความสาคัญ/ นั้นมากกวา่ ข้อเสยี เห็นวา่ ส่งิ นั้นๆมี ความจาเป็นของเนื้อหาความรู้เร่ือง คุณค่าหรือมปี ระโยชน์อย่างไร น้นั ๆ 4.ข้ันจดั ระบบคณุ คา่ : นาคุณคา่ ต่างๆ อธิบายเหตุผลของการจัดลาดับของ มาประมวล แลว้ พิจารณาจนยอมรับ คณุ ค่าตา่ งๆ คุณค่านัน้ ดว้ ยตวั ของผ้เู รยี นเอง 5.ขน้ั สร้างลักษณะนสิ ยั : ปฏิบัตติ าม ปฏิบัติตาม/ประพฤติตามคุณคา่ นน้ั ๆ คุณคา่ น้นั จนออกมาเป็นลักษณะนสิ ัย เป็นประจาสมา่ เสมอ ประสบการณ์เพ่ือการเรียนรู้ คาว่า“ประสบการณ์เพอื่ การเรยี นรู้”(learning experience) ได้ ปรากฏในหนังสือชื่อ“Basic Principles of Curriculum and Instruction” ตพี มิ พ์เมอ่ื ปี ค.ศ.1949 ของศาสตราจารย์ Ralph W. Tyler ผู้ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งการพัฒนา หลกั สูตรสมยั ใหม่ของประเทศสหรฐั อเมรกิ า” ภาพ ศาสตราจารย์ Ralph W. Tyler ท่มี า: https://www.amazon.ae/Educating-America-Ralph-Tyler-Taught/dp/0275981975 https://www.amazon.com/Basic-Principles-Curriculum-Instruction-Paperback/dp/B010TS5E62

9 ความหมายของประสบการณเ์ พ่ือการเรยี นรู้ คาว่าประสบการณ์เพ่ือการเรียนรู้(learning experience: L.E.) นั้นเกิด จากการรวมกันของคาว่าการเรียนรู้(การเปลี่ยนพฤติกรรม อันเน่ืองมาจากการมี ประสบการณ)์ และประสบการณ์(การได้ประสบมาด้วยตนเอง หรือเขา้ ไปเก่ียวขอ้ ง กับเหตุการณ์แล้วเกดิ ความรู้) เม่ือนาคาสองคามารวมกัน ประสบการณ์เพ่ือการ เรียนรู้ จึงหมายถึง การแสดงออกอย่างกระตือรือร้นของผู้เรียนต่อสถานการณ์ท่ี ผู้สอนสร้างข้ึนจนบรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ซ่ึงส่งผลให้ผูเ้ รยี นเกิดการเปล่ียน พฤติกรรม ประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้น้ีถือได้ว่าเป็นฟันเฟืองสาคัญท่ี สุดของก าร จัดการเรียนการสอนท่ีมุ่งเน้นไปท่ีตัวผู้เรียนและผู้สอน ซึ่งท้ังสองส่วนน้ีจะต้องมี ปฏิสัมพนั ธ์ (interaction)ตอ่ กันโดยที่ ผสู้ อนทาหน้าท่ีจัดสรา้ งสถานการณ์การเรียนรู้ (learning situation: L.S.) ให้กับผเู้ รยี น ผเู้ รยี น......ทาหน้าทตี่ อบสนอง (interaction: ปฏสิ มั พันธ์) ตอ่ สถานการณ์ การเรียนรู้ที่ผู้สอนได้จัดสร้างขึ้นอย่างกระตือรือร้นจนผู้เรียนมีความรู้และ/หรือมี ทักษะ และ/หรือมเี จตคติ ในเนอื้ หาความรตู้ ามท่ผี ู้สอนตอ้ งการ องคป์ ระกอบของประสบการณ์เพ่อื การเรียนรู้ L.E. ประกอบด้วย 6 องคป์ ระกอบ คอื 1) เน้อื หาความรู้ 2) วัตถุประสงค์ การสอน 3) วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 4) สถานการณก์ ารเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย กจิ กรรมการเรยี นรูใ้ นเนอื้ หาความรู้ทผ่ี ูส้ อนสร้างข้นึ กบั กิจกรรมทผ่ี ูเ้ รยี นกระทา5) สอื่ ชว่ ยสอน และ 6) การประเมนิ ผล ซ่งึ จัดเรยี งอยใู่ นรปู ของตาราง ดังภาพ สถานการณก์ ารเรยี นรู้ สื่อ เนื้อหา วัตถปุ ระสงคก์ าร วตั ถุประสงค์เชงิ กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมที่ ช่วย ประเมนิ สอน ผล ความรู้ สอน พฤตกิ รรม ในเนอื้ หาความร้ทู ี่ ผเู้ รียน ผสู้ อนสร้างขึ้น กระทา แผนภาพ ตารางประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้ เน้อื หาความรู้ เนื้อหาความรู้(subject matter) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เป็นสาระความรู้ท่ี ทันสมัยถูกต้องตามหลักวิชาการของศาสตร์นั้นๆ จาแนกออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ เน้อื หาความรู้ภาคความรู้ (knowing element) และเนื้อหาความร้ภู าคปฏิบัติ (doing element)

10 1.เนอ้ื หาภาคความรู้ (knowing element) หมายถึง เน้อื หาความรูท้ ่ีทาให้ ผู้เรียนเกิดความรู้ ซ่ึงแบ่งออกเป็นเน้ือหาข้อเท็จจริง (ข้อเท็จจริงเฉพาะเจาะจง ข้อเท็จจริงท่ีเป็นเกณฑ์ /มาตรฐาน ข้อเท็จจริงที่เป็นเจตคติ) เน้ือหาความคิดรวบ ยอด และเนอ้ื หาหลกั การ 2. เนื้อหาภาคปฏิบัติ หมายถึง เนื้อหาความรู้ท่ีทาให้ผู้เรียนเกิดทักษะใน การทา เป็นเน้อื หาท่รี ะบุถึง วธิ ีดาเนนิ การ หรอื ระบขุ ั้นตอนการทางาน สาระสาคญั ของเนื้อหาความรูแ้ ต่ละประเภท แผนภาพ สาระสาคัญของเนื้อหาความรแู้ ต่ละประเภท

11 การวเิ คราะห์และเรยี บเรยี งเน้อื หาความรู้ โดยท่ัวไปเนื้อหาความรู้ที่นักวิชาการเขียนข้ึนน้ัน มีลักษณะของการขยาย ความ มีการยกตัวอย่าง มีภาพประกอบเพ่ือชว่ ยใหผ้ ู้อ่านเข้าใจง่าย แต่สาหรับการ จัด L.E.น้ัน เน้ือหาความรู้เหล่านั้นต้องนามาเรียบเรียงใหม่ ให้สอดคล้องกับ ประเภทเนอ้ื หาความรูน้ ั้นๆ ดงั น้ี แผนภาพ การวิเคราะหแ์ ละเรยี บเรียงเนือ้ หาความรู้แตล่ ะประเภท

12 ความสมั พันธร์ ะหว่างเนอ้ื หาความรกู้ ับวัตถปุ ระสงค์การสอน ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาความรู้กับวัตถุประสงค์การสอน เป็นการ วิเคราะห์ว่า ประเภทเนือ้ หาความรู้ ไดแ้ ก่ เนือ้ หาความรู้ภาคความรู้ 1) ขอ้ เท็จจริง เฉพาะเจาะจง ข้อเท็จจรงิ เกณฑ์ / มาตรฐาน และข้อเท็จจริงเจตคติ 2) ความคิด รวบยอด 3) หลักการ และเน้ือหาความรู้ภาคปฏิบัติ ควรอยู่ตรงกับวัตถุประสงค์ การสอนระดับใด ดังน้ี ประเภทเน้อื หาความรู้ ระดบั วัตถปุ ระสงคก์ ารสอนข้นั สงู สุด 1.ขอ้ เท็จจรงิ เฉพาะเจาะจง ควรเปน็ ขนั้ จา (พุทธพิ ิสัย) 2.ข้อเทจ็ จรงิ ทเี่ ปน็ มาตรฐาน/เป็นเกณฑ์ ควรไปถงึ ขน้ั ประเมินค่า (พุทธพิ ิสยั ) 3.ข้อเทจ็ จริงเจตคติ ควรไปถึง ขั้นเหน็ คณุ คา่ (เจตพสิ ยั ) 4.ความคดิ รวบยอด ควรไปถงึ ขน้ั เขา้ ใจ - นาไปใช้ (พุทธิพิสัย) 5.หลกั การ ควรไปถงึ ขน้ั ประเมินค่า (พทุ ธิพสิ ัย) 6.ปฏิบตั ิ ควรไปถงึ ขัน้ ปฏิบัตไิ ด้ภายใตค้ าแนะนา(ทักษะพสิ ยั ) วตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม คือ ข้อความที่ขยายความวัตถุประสงคก์ ารสอนใหช้ ัดเจน จนระบุออกมา เป็นพฤติกรรมของผู้เรียน เพื่อให้สามารถวัดพฤติกรรมท่ีเปล่ียนแปลงไปได้อย่าง ชัดเจน ตัวอย่างเช่น วัตถุประสงค์การสอน ระบุว่า: ผู้เรียนตรวจวัดค่าออกซิเจน ละลายน้าโดยใช้ชุดทดสอบอยา่ งง่ายได้อยา่ งคล่องแคล่ว (รายละเอียดนาเสนอไว้ใน เรื่องวัตถุประสงค์การสอน) สถานการณ์การเรียนรู้ ส ถ า น ก า ร ณ์ ก า ร เ รี ย น รู้ ( learning situation: L.S.) ม า จ า ก ค า ว่ า สถานการณ์ ซ่ึงหมายถึง เหตุการณ์ที่กาลังเป็นไป และการเรียนรู้ หมายถึง การ เปล่ียนแปลงพฤติกรรม ดังน้ัน L.S. จึงหมายถึง การที่ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ (ผู้เรียนคนนั้นได้เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมข้ึนในตัวของผู้เรียนเอง) จาก เหตุการณ์ท่กี าลงั เปน็ ไปด้วยตนเอง ตัวอยา่ งเชน่ ผู้สอนตอ้ งการสอนการวา่ ยนา้ ในชั้นเรียน โดยผู้สอนอธิบาย ข้ันตอนพร้อมทั้งฉายวีดีทัศน์ให้ดู แต่เม่ือนาผู้เรียนลงสระว่ายน้า ปรากฏว่าว่าย น้าไม่เป็น แสดงว่า ส่ิงที่ผู้สอนจัดทาขึ้น คือ การบรรยายน้ันไม่ได้ชว่ ยให้ผ้เู รยี นเกิด ประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้ในการว่ายน้าเพราะผู้เรียนยังว่ายน้าไม่ได้ แต่ถ้า ผู้สอนพาผู้เรียนไปสระว่ายน้า อธิบายข้ันตอนแล้วให้ผู้ที่ว่ายน้าเป็นลงสระว่ายน้า แสดงขั้นตอนเป็นการสาธิตให้ดู แล้วให้ผู้เรียนได้ลงว่ายน้าจริงๆ จนสามารถว่าย

13 เปน็ จงึ จะถอื ไดว้ า่ เป็นประสบการณ์เพือ่ การเรยี นรกู้ ารว่ายน้า น่นั คือ สถานการณ์ การเรยี นรู้ที่ผสู้ อนจดั ข้ึน นับแต่การเตรียมโดยการอธิบายวธิ ีว่าย ผูเ้ รียนลงมือว่าย น้า จนกระทงั่ เกิดการเรยี นรโู้ ดยเปล่ียนพฤติกรรมจากวา่ ยน้าไมเ่ ป็น จนวา่ ยนา้ ได้ สื่อชว่ ยสอน คือ สิ่งท่ีจะช่วยสอนเน้ือหาความรู้ท่ีต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ใน อดตี เครื่องช่วยสอนของครูหรือนกั สง่ เสริมการเกษตรท่ีใช้ในการสอน การเผยแพร่ ความรู้ เรียกว่า “โสตทัศนูปกรณ์” หรือ“โสตทัศนอุปกรณ์”(audio-visual aids) (บุ ญ ธ ร ร ม , 2540) คื อ สงิ่ ทีม่ องเห็นได้ สง่ิ ที่ได้ยิน เสียง เช่น ของจริง ของ จาลอง รูปภาพ สไลด์ powerpoint แผ่นใส แผ่น ข้อความ บัตรข้อความ แผ่นภาพ ภาพถ่าย ภาพยนตร์ เอกสารส่ิงพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น”แต่ในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทสาคัญมากขึ้น จึงมีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้เป็นช่องทาง เผยแพร่ส่ือช่วยสอนในหลากหลายรูปแบบ เช่น การใช้ line application ในการติดต่อส่ือสาร การประชุมกลุ่ม การส่งภาพ การส่ง clip เพื่อช่วยสอนเน้ือหาความรู้ ตา่ งๆ ทต่ี ้องการให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรไู้ ด้อย่างรวดเรว็ ตัวอย่างเช่น เนื้อหาความรู้ท่ีต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ภาคปฏิบัติ สื่อช่วยสอนจะต้องช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติได้ เช่น เน้ือหาความรู้การตรวจวัด คุณภาพน้า สื่อช่วยสอนจะต้องเป็นของจริง คือ อุปกรณ์สาหรับการตรวจวัด คุณภาพน้าให้ผูเ้ รียนไดส้ ัมผัสและฝกึ ใช้งานจริงและสามารถปฏบิ ตั ิได้ สว่ นความรูท้ ตี่ อ้ งการให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรภู้ าคความรนู้ ้นั นอกจากจะใช้ ส่อื ช่วยสอนที่เป็นโสตทัศนปู กรณ์แลว้ ยังสามารถใชส้ อ่ื online เพอ่ื ให้ผู้เรียนเกิด ความเขา้ ใจในเนือ้ หาความร้ทู ่ีต้องการใหเ้ กิดขนึ้ ในตัวผูเ้ รยี น เชน่ การใช้ แอพพลิเคช่นั Air4Thai เพ่อื ตรวจสอบคณุ ภาพอากาศของประเทศไทย ซ่งึ ชว่ ยให้ ผ้เู รยี นได้เรียนรู้เกยี่ วกับสถานการณ์มลพิษทางอากาศทีเ่ กิดขึ้นจริงในสถานท่จี ริงได้ อย่างชัดเจน

14 การประเมนิ ผล การประเมินผล (evaluation) เป็นการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมท่ีผู้สอนต้องการให้เกิดข้ึนในตัวผู้เรียนในทันทีท่ี ผเู้ รยี นได้มีปฏสิ มั พันธ์กับกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ผูส้ อนสร้าง ตวั อยา่ งตาราง L.E. ผู้เขียนทาการวิจัยเรื่อง การสร้างชุดประสบการณ์เพ่ือการเรียนรู้ เรื่อง แมลงในแปลงนาข้าว จังหวัดเพชรบุรี สาหรับนักเรียน ปวช.โครงการอาชีวศึกษา เพ่อื การพฒั นาชนบท: กรณศี ึกษาวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี พชรบุรี (ลาวณั ย์ และศักด์ิศรี, 2561) และได้สร้างตาราง L.E.ขึ้นใช้ในการวิจัย ซ่ึงผู้เขียนได้นามาใช้ เปน็ ตวั อย่างในที่น้ี หลกั คดิ : สรา้ งสถานการณ์การเรียนรู้ ถอดรหัสคดิ : Think: An Introductory Analysis ของ ดร.โสภณ ธนะ มยั (2561) ซึ่งไดน้ าเสนอแผนภาพโครงร่างของการเกดิ ความคิด โดยมี รายละเอียดดงั นี้ แผนภาพ โครงร่างแสดงการเกิดความคิด

15 จากโครงร่างแสดงการเกิดความคิด สามารถนามาถอดรหัสได้ว่า ความคดิ (T) จะเกดิ ข้นึ ได้ จะตอ้ งม.ี ..ข้อเทจ็ จริงทร่ี ู้ F2 มาก่อน เหมอื นกบั ตอ้ งมที นุ ความรู้ เดิมที่เก่ียวข้องกับความคิดที่จะเกิดข้ึน แต่การที่จะเกิดความคิดข้ึนได้น้ัน จะต้องมี สาเหตุให้คิด ซึ่งก็คือ ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องเช่ือมโยงกับ F2 แล้วก่อให้เกิด... ความคิด (T) ข้ึนมา น่ันก็คือ...ข้อเท็จจริงเหตุให้คิด F1 น้ันเอง ดังตัวอย่างจาก หนังสอื ถอดรหัสคิด จากตัวอย่างอนุสาวรีย์สุนทรภู่ สะท้อนให้เห็นว่า ในการจัดการเรียนการ สอนน้ัน ผู้เรียนจะต้องมี F2 ก่อน คือ เน้ือหาความรู้เดิมของตน หรือเป็น F2 ท่ีได้ จากการได้ความรู้จากผู้สอน จากนั้นผู้สอนมีหน้าที่ต้ัง F1 ข้อเท็จจริงเหตุให้คิด ให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ F2 ข้อเท็จจริงที่รู้ท่ีมีอยู่เป็น ต้นทุนของการคิด (T) ซึ่งจะ ก่อให้เกิด“ความคิด”ขึ้นในตัว ผ้เู รยี น การแสดงออกของความคิดที่เป็นรูปธรรมของผู้เรียน จะออกมาใน ลักษณะของการพูด เขียน และทา ดังน้ันเม่ือผู้เรียน พูด เขียน และทาตามท่ี ผู้สอนกาหนด ( F1 หรือข้อเท็จจริงเหตุให้คิด) ก็ทาให้เรารู้ว่า ผู้เรียนได้เกิด กระบวนการคดิ แล้ว ถา้ คิดไดถ้ ูกตอ้ ง แสดงวา่ ผเู้ รยี นมี F2 มากพอจงึ ตอบ F1 ได้ ในทางตรงกันข้ามหากผู้สอนตั้ง F1 แล้วผู้เรียนตอบไม่ได้ เขียนตอบไม่ได้ หรอื ทาไมไ่ ด้ แสดงวา่ ผเู้ รยี นมี F2 ไมเ่ พยี งพอ ผ้สู อนกต็ ้องจัดสถานการณ์เพื่อเติม F2 ให้กลับผู้เรยี น แผนภาพ สรุปโครงร่างการ แสดงออกของความคดิ

16 สรปุ องคค์ วามรขู้ องศาสตร์ เมือ่ พดู ถึงส่งิ แวดล้อมศกึ ษา ก็ตอ้ งรู้และเข้าใจด้านการศกึ ษาด้วย องค์ความรู้ทางการศึกษาทาให้ตระหนักรู้(aware)ว่า ความหมายของ การศึกษาที่เป็นรูปธรรม คือ การเรียนรู้ของบุคคลในทุกเรื่องทุกส่ิงที่ทาให้ พฤติกรรมเกิดการเปลี่ยนแปลงในมิติทางด้านพุทธิพิสัย (cognitive domain) ทกั ษะพสิ ัย(psychomotor domain) เจตพสิ ัย (affective domain) วัตถุประสงค์การสอนทางด้านพุทธิพิสัย (knowledge) ประกอบด้วย 6 ระดบั จากซับซ้อนนอ้ ยไปสู่ซับซ้อนมาก วัตถุประสงค์การสอนทางด้านทักษะพิสัย (skill) ประกอบด้วย 7 ระดับ จากซับซอ้ นน้อยไปสู่ซับซอ้ นมาก วัตถุประสงค์การสอนทางด้านเจตพิสัย (affective ) ประกอบด้วย 5 ระดับ จากซบั ซอ้ นนอ้ ยไปสู่ซบั ซอ้ นมาก จากวัตถุประสงค์การสอน เม่ือนามาระบุออกเป็นพฤติกรรมของผู้เรียน เพื่อให้สามารถวัดพฤติกรรมที่เปล่ียนแปลงไปได้อยา่ งชัดเจน คือ วัตถุประสงคเ์ ชิง พฤติกรรม ซงึ่ ใชเ้ ปน็ ฐานสาหรบั การประเมินผลการเรียนรู้ การกาหนดวัตถุประสงค์การสอนขึน้ อยู่กับประเภทเน้ือหาหาความรู้ว่าเปน็ เนอ้ื หาภาคความรู้ (knowing) หรอื ภาคปฏิบตั ิ (doing) สถานการณ์การเรียนรู้ (learning situation: L.S.) เป็นกิจกรรมที่ผู้สอน กาหนดให้เกิดปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน โดยมีส่ือช่วยสอนเป็นสื่อกลางทาให้เกิดการ เรียนรู้ ตารางประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้(ตาราง L.E.) ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบถือว่าเป็น innovation เก่ียวกับแผนการสอน ซ่ึงสามารถนาไป ทดสอบประสิทธิภาพด้วยวิธีการวิจัยเรียกว่า การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา (R&D ทางการศกึ ษา) ความคิดจะเกิดข้ึนได้ จะต้องมีข้อเท็จจริงท่ีรู้(F2) คือ มีทุนความรู้เดิมท่ี เกย่ี วข้องกบั ความคดิ ที่จะเกิดขึ้นอย่างเพียงพอโยงกับขอ้ เทจ็ จริงเหตุให้คดิ (F1) จน ทาใหเ้ กิดความคดิ ซงึ่ แสดงออกมาในรปู แบบของการพดู การเขยี น และการกระทา

17 ความคดิ รวบยอดของหลักสูตร ความสาเร็จของการจัดการศึกษาจะต้องอาศัยหลักสูตรเป็นหลัก เพราะ หลักสูตรเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาท่ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียนท่ีเม่ือจบ การศึกษาแล้วมีคุณลักษณะตรงตามวัตถุประสงค์ที่หลักสูตรปรารถนา ดังจะ ยกตัวอย่างนิทานการศึกษาเรื่องหลักสูตรสมัยหิน ซ่ึง ภุชงค์ กุลสุกาได้เรียบเรียง จากเรื่อง The Saber-Tooth Curriculum โดย J. Abner Peddiwell ดังนี้ .....ครั้งหน่ึงนานมาแลว้ เม่ือมนุษย์ยังอยใู่ นสมัยหิน มีชายคนหนึ่งซ่ึง คนเรียกกนั วา่ “ผทู้ าค้อนแบบใหม่”หรือเรยี กส้ันๆวา่ “ค้อนใหม่”ชายผู้ นนี้ บั ได้ว่าเป็นนักการศกึ ษาคนแรกของโลก ค้อนใหม่เป็นนักทา แม้ว่าในครั้งกระโน้นจะไม่ค่อยมีอะไรให้ ทามากนักก็ตาม สมัยน้ันค้อนหินเป็นเครื่องมือสาคัญอย่างหน่ึง ค้อนใหม่มีช่ือเสียงข้ึนก็เพราะเขาคิดทาค้อนหินท่ีใช้ได้ ดีกว่าของเดิม ตะบองท่ีเขาใช้ล่าสัตว์ก็ดีกว่าของ คนอ่ืน วิธีท่ีเขาใช้ไฟให้เป็นประโยชน์ก็เฉียบแหลม กว่าวิธีของคนอื่น เขารู้จักทา มีความพยายามท่ีจะทา แล้วยังมีกาลังท่ีจะทาอีกด้วยพูดง่ายๆ ก็คือ เขาเป็นผู้ท่ี พัฒนาแล้ว ที่มาของภาพ https://www.stickpng.com/img/people/cavemen/running-caveman นอกจากจะเป็นนักทาแล้ว ค้อนใหม่ยังเป็นนักคิดอีกด้วย สมัยก่อนก็คล้ายๆกับสมัยนี้น่ีแหละ คนส่วนมากมักจะไม่ชอบคิดกัน นัก แต่ค้อนใหม่เป็นคนขืนโลก จึงพยายามทาสิ่งที่สังคมไม่ค่อยจะ นิยมนัก คือ พยายามใช้ความคิด เวลาที่ล่าสัตว์มาได้มากๆ คนอ่ืนจะ กินกันอย่างเต็มที่ เสร็จแล้วก็น่ังซึมไปหลายชั่วโมง ค้อนใหม่จะกิน น้อยกว่าคนอื่น แล้วไปน่ังคิดอยู่หน้ากองไฟ เขามักจะนั่งจ้องไฟอยู่ นาน ๆ แล้วคิดถึงส่ิงรอบๆตัว เมื่อคิดนานๆ เข้าก็เกิดความรู้สึกไม่ พอใจอย่างรนุ แรงในวธิ ดี าเนินชีวติ ของชนในเผ่าของเขา เขาจึงเริ่มคดิ หาวธิ แี ก้เพื่อจะใหต้ ัวเขา ครอบครัวเขาและเผา่ ของเขาไดก้ ินดี อย่ดู ี วิธีแก้ของเขา ก็คือ การสร้างระบบการศึกษาข้ึน เขาคิดถึง เรื่องการศึกษา ในขณะท่ีเขาดูลูกๆ เล่นกันอยู่หน้าถ้า ของเล่นของ เด็กๆก็มกี ระดกู กง่ิ ไม้ กอ้ นกรวดสีตา่ งๆ เขานึกเปรยี บเทียบการเล่น ของเด็กกับกิจกรรมของผู้ใหญ่ ....เด็กเล่นเพื่อความสนุก.... ผู้ใหญ่ ทางานเพื่อการกินดีอยู่ดี... เด็กต้องการ กระดูก กิ่งไม้ ก้นกรวดเป็น

18 ของเล่น ผู้ใหญ่ต้องการ.....อาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย เพ่ือ การดารงชีวิต เด็กเล่นเพ่ือให้พ้นจากความเบื่อหน่าย ผู้ใหญ่ทางาน เพอ่ื ให้พันจากความหวิ โหย ความหนาวเย็นและอนั ตรายจากสตั วร์ า้ ย ค้อนใหม่ คิดว่า\"เด็กพวกนี้เล่นกันเพ่ือความสนุกเท่านั้น แทนที่จะปล่อยใหเ้ ลน่ กันท้งั วัน เราควรจะให้ทาอยา่ งอ่ืนที่ มปี ระโยชน์บ้าง เราจะใหท้ าอะไรดี?\" เขาถามตวั เองต่อไปว่า \"ก็เวลาเดก็ พวกนี้โตข้ึน....เราอยากให้ แกมีสภาพอย่างไรล่ะ\" แล้วเขาก็อยู่ดีขึ้น ตอบตัวเองว่า \"เราอยากให้ แกมีเน้ือกินมากข้ึน มีหนังสัตว์นุ่งห่มมากข้ึน มีถ้าดีๆ อยู่ และมี ความปลอดภัยมากขึ้น\" เมื่อวางจุดมุ่งหมายของการศึกษาแล้ว เขาก็เริ่มคิดสร้าง หลักสูตรด้วยการถามตัวเองต่อไปว่า \"คนเราจะต้องรู้จักทาอะไรบา้ ง เพื่อให้ทอ้ งอม่ิ ตัวอนุ่ และใจสบาย\" เขานึกตอบตวั เองเป็นข้อ ๆ ไปดังนี้ \"เรากนิ ปลาเป็นสว่ นใหญ่ ฉะน้ันเราจะต้องรจู้ ักจบั ปลา เวลานีถ้ ้าเราข้ึนไปปลาในลาธารตรงแอ่ง ใหญเ่ หนอื คุง้ ดงสะแกโนน่ เราจับดว้ ยมอื เปล่า ถา้ ในแอง่ ใต้ลงมา.... เรากจ็ บั ดว้ ยมือเปล่า เราจะจับปลาในแอ่งไหนก็ตาม เรากจ็ ับดว้ ยมือ เปลา่ ทั้งนัน้ \" ดังนัน้ วชิ าแรกในหลักสูตรของค้อนใหม่ คือ วิชาจบั ปลาด้วยมอื \"เราใช้หนังม้าแกลบมาทาเส้ือผ้า เน้ือม้าเราก็เอามา กนิ ดว้ ย ฉะน้นั เราจะต้องรจู้ กั วิธีลา่ มา้ แกลบ เวลานี้ถา้ ม้าแกลบลงมากินน้าในลาธาร เราใช้ตะบองทุบหัวมัน ถ้าเห็นมันกิน หญ้าอยู่ในทุ่ง เราก็ใช้ตะบองทุบหวั มัน ถ้าเห็นมันนอนหลับอยู่ในพุม่ ไม้ เราก็ใช้ตะบองทุบหัวมัน ไม่ว่าเราจะเจอมันท่ีไหนก็ตาม เราใช้ ตะบองทุบหัวมนั ท้ังนนั้ \" ด้วยประการฉะนี้วิชาทุบหัวม้าแกลบ จึงเป็นวิชาที่สองของ หลักสตู ร \"เวลานี้ เสือเข้ียวคาบ เป็นสัตว์ท่ีเรากลัวท่ีสุด เราต้องคอย ไล่เสืออยู่ตลอดเวลา ถ้าเสือมาที่ปากถา้ เราก็จดุ ไฟ ไล่ ถ้าอยู่กลางป่าแล้วเจอเสือเราก็จุดคบไฟไล่ ถ้า

19 เจอเสือที่บ่อน้าโบกคบไฟไล่ เราจะต้องไล่เสือและเราใช้ไฟไล่เสืออยู่ ตลอดเวลา\" วิชาท่ีสามจึงเป็นวิชาใชไ้ ฟไล่เสอื เมื่อคิดหลักสูตรได้แล้วค้อนใหม่ก็เร่ิมให้การศึกษาแก่ลูก ๆ ของเขา ไม่ว่าเขาจะไปไหนเขาจะพาลกู ๆ ไปด้วย เขาแสดงวิธจี บั ปลา ทุบหัวม้า ไล่เสือให้เด็ก ๆ ดู แล้วให้เด็กลองทาดูด้วย เด็ก ๆชอบมาก เพราะรู้สึกสนุกกว่าเล่นกับก้อนกรวดเป็นไหน ๆ ลูก ๆ ของค้อนใหม่ เรียนรู้วชิ าท้งั สามน้ีได้เป็นอยา่ งดี นับว่าระบบการศกึ ษาของค้อนใหม่ นีป้ ระสบความสาเร็จอย่างงดงาม เมื่อลูก ๆ ของค้อนใหม่โตขึน้ ก็เหน็ ได้ชดั ว่า ได้เปรยี บคนท่ไี มไ่ ด้ รับการศึกษา ตั้งแต่นั้นมาเด็กคนอ่ืน ๆ ในเผ่าก็เร่ิมเอาอย่างค้อนใหม่ ระบบการศึกษานี้ก็เริ่มแพร่หลายมากข้ึน และวิชาท่ีถือว่าเป็นหัวใจ ของการศึกษา ก็คือ วิชาจบั ปลา ทบุ หวั มา้ และใช้ไฟไลเ่ สือ จากนทิ านทเ่ี ล่ามาแล้วจะเหน็ ไดว้ ่าหลักสตู รสมัยหินฉบับท่ี 1 ได้ถูกสร้างขึ้นแล้ว แต่ต่อมาเม่ือสภาพการณ์สังคมเปล่ียนแปลงไป หลักสูตรสมัยหินฉบับที่ 1 จาเป็นต้องได้รับการพัฒนา ซ่ึงก็ หมายความวา่ หลกั สตู รสมัยหินไดร้ บั การปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลง ดัง นิทานเร่อื งหลกั สูตรสมยั หนิ ตอนตอ่ มานี้ ตอ่ มาคอ้ นใหม่และคนรุ่นเขาก็ชราลงในที่สดุ ก็ตายไป คนรุ่น หลังยังคงสนับสนุนระบบการศึกษาสมัยหินของคอ้ นใหม่ ด้วยการให้ บุตรหลานของตนศึกษาหาความรู้ ความชานาญในวิชาทั้งสาม คน เผ่าน้ันก็รุ่งเรืองมีความสุข มีเนื้อกินอย่างพอเพียง มีหนังสัตว์นุ่งห่ม อย่างอบอุน่ มคี วามปลอดภยั จากเสอื เขย้ี วคาบ ระบบการศึกษาท่ีดีอย่างน้ีน่าจะทาให้ชนเผ่านั้นเจริญรุ่งเรอื ง ไปช่ัวกาลนาน เร่ืองก็คงจะจบลงด้วยดีเช่นน้ัน ถ้าสถานการณ์ทุก อย่างคงเดิม แต่สถานการณ์ทั้งหลายเปล่ียนไป ชีวิตซ่ึงเคยสงบสุข กลับถูกกอ่ กวน ยคุ ใหมก่ าลังคบื คลานเชา้ มา ปแี ลว้ ปีเล่า เกดิ นา้ ท่วม บา่ มาจากภเู ขาทางเหนอื นา้ ในลาธารทีเ่ คยใสสะอาด กลบั ขุ่นมวั ด้วย โคลนตมจนมองอะไรไมเ่ หน็ ความเป็นอยู่ของคนในเผ่าน้ันกเ็ ปลย่ี นไป...... เด๋ียวน้ีจับปลา ด้วยมือเปล่าไม่ได้เสียแล้ว เพราะไม่รู้จะจับตรงไหน เนื่องจากน้าขุ่น เสียจนมองไม่เห็นตัวปลา .......นอกจากนี้ปลาในลารางชักจะเร่ิมข้ี

20 ขลาดข้ึน ว่องไวข้ึนและฉลาดข้ึน ปลาโง่ ๆ กล้า ๆ ว่ายข้า ๆ ท่ีมี เหลือเฟือในสมัยก่อนน้ัน....ก็โดนจับด้วยมือเปล่าไปหลายช่ัวโคตร แล้ว..... ปลาที่เหลืออยู่เวลาน้ี ล้วนเป็นปลาที่ฉลาดปราดเปรียว ทั้งนั้น เจ้าปลาเหล่าน้ีหลบ ๆ ซ่อน ๆ อยู่ในโคลนตมได้อย่างสบาย รอดพ้นจากนักจับปลาด้วยมือเปล่า ชาวเผ่าทั้งหลายท่ีเรียนจบชั้น มศ.ปลาย ทจี่ ับปลาไดไ้ ม่มากกวา่ พวกทจี่ บแค่ ป.4 พวกทไ่ี ดป้ ริญญา ทางการจบั ปลาด้วยมอื เปล่าก็ออกจะแย่ ๆ ไปดว้ ยเหมือนกัน คนท่ีร่า เรยี นวชิ าจับปลาด้วยมอื เปล่ามาลึกซ้งึ เพียงใดก็ตาม......กไ็ ม่สามารถ จะจบั ปลาได้ ถ้ามองไม่เห็นปลา นอกจากน้ีน้าซึ่งบ่าลงมาจากเขายังทาให้พื้นดินขึ้นแฉะขึ้น เจ้าม้าแกลบทั้งหลายนี้มีข้อดีอยูอ่ ยา่ งหน่ึง คือ เป็นเป้าให้ทุบหวั ง่าย น้นั กม็ ขี อ้ บกพร่องอยอู่ ยา่ งหนงึ่ คือ มีความมกั ใหญ่ใฝส่ งู มันฝันทจ่ี ะ ได้เหน็ ลูกหลานของมันกลายเป็นม้าเทศพนั ธดุ์ ี ร่างกายกายา สูงใหญ่ วง่ิ เรว็ แลว้ มนั กร็ ู้ว่าถ้าจะอยู่ในทแี่ ฉะ ๆ อย่างนีต้ ่อไป ความฝนั ของมันไม่เป็นความจริงขึ้นมาได้เลย มัน ก็เลยพากันอพยพไปอยู่ที่อื่น สัตว์ท่ีเข้ามาอยู่ แทนที่ม้าแกลบ คือ เลียงผา.....เลียงผาน้ีเป็น สัตว์ขี้ตื่นและวิ่งเร็วมาก พอได้กล่ินหรือได้ยินเสียงผิดปกติเพียงนิด เดียว มันก็จะวิ่งหนีไปไกลเสียแล้ว จึงไม่มีใครทุบหัวมันได้เลย เพราะ ไม่สามารถจะเข้าไปใกล้มนั ได้ พวกทุบหัวม้าแกลบออกไปตามล่าม้ากันทุกวัน พยายามใช้ วิธกี ารทุบหัวมา้ ชนั้ สงู ดังทไ่ี ด้ ศกึ ษากนั มาหลาย ๆ ปี แตว่ นั แล้วก็ วันเล่าก็ต้องกลับถ้ามือเปล่า แม้ผู้เชี่ยวชาญด้านทุบหัวม้ากล็ ่าไม่ได้ เลย เพราะไม่มมี า้ จะให้ลา่ อีกประการหน่ึงอากาศข้ึนที่เกิดจากน้าท่วมนี้ ทาให้เสือเขี้ยว คาบทั้งหลายเป็นปอดบวมตายเกือบหมด ที่เหลืออยู่ไม่กี่ตัวก็พากัน หนีไปอยู่ทางใต้ท่ีมีอากาศแห้งกว่า ภัยที่เกิดจากเสือก็หมดไป แต่ก็มี ภัยอื่นมาแทน ภัยใหม่นี้เกิดจากหมี ซึ่งอพยพมาจาก ทางเหนือ เจ้าหมีร้ายเหล่านี้เดินพลุกพล่านอยู่ท้ัง กลางวันกลางคืน และไม่กลัวไฟเลย จะโบกคบไฟไล่ อย่างไรมันกไ็ มก่ ลับ ผู้ทไ่ี ดร้ ับปรญิ ญาดุษฎีบณั ฑติ ทางการใช้ไฟไล่เสือ กจ็ นปัญญา ไมส่ ามารถจะนาวธิ กี ารทีเ่ รยี นมาใช้ไลห่ มไี ด้

21 วิธที ัง้ สามไดแ้ ก่ จับปลามือเปลา่ ทุบหวั ม้าแกลบ และใช้ไฟไล่ เสือ ก็กลายเป็นวิซาภาคทฤษฎีไป จะนาหลักวิชาเหล่านั้นมาใช้ให้ เป็นประโยชน์ในการดารงชีวิตไม่ได้แล้ว ชนเผ่านี้ได้รับความ เดือดร้อนอย่างมากมาย เพราะไม่มีปลาหรือเนื้อม้าจะกิน ไม่มีหนัง สัตว์นุง่ หม่ และเจ้าหมีรา้ ยกก็ อ่ กวนความสงบสุขอยู่ตลอดเวลา แต่ซนเผ่าน้ียังเคราะห์ดีอยู่ไม่ต้องสูญพันธ์ุไป เพราะยังมีคน ประเภทค้อนใหม่หลงเหลืออยู่บ้าง คนประเภทน้ี...เป็นคนชนิดท่ี กลา้ คดิ กล้าทา คนท่ีหน่ึงไดค้ วามคิดขณะทยี่ นื จบั ปลาอยู่ในลาธารน้าขุ่น เขา เคยพยายามใชว้ ธิ จี บั ปลาดว้ ยมอื เปลา่ ท่ีได้ร่าเรียนหลายครั้งหลายหน แล้วก็ไม่เคยได้ปลาสักที จนกระท่ังสิ้นหวังที่จะจับปลาด้วยมือเปล่า แล้ว แต่ความหิวและความเป็นห่วงลูก ๆ ที่คอยอยู่ในถ้าทาให้เขาคิด นอกครู เลิกคิดที่จะจับปลาด้วยมือเปล่าและพยายามคิดหาวิธีใหม่ ขณะที่ใช้ความคิดอยู่น้ันเขาเหลือบไปเห็นเถาวัลย์เลื้อยอยู่ตามต้นไม้ ข้างลาธาร เขาจึงดึงเถาวัลย์มากระจุกหนึ่ง เด็ดใบทิ้งเสียแล้วเอา ต้นมาพันกลับไปพันกลับมา ท่ีแรกก็ไม่มีจุดมุ่งหมายอะไรมากกว่า ทาเล่นแก้กลุ้ม แต่พอทาต่อไปสักหน่อย ก็เกิดความคิดว่าอาจจะใช้ จับปลาได้ เขาจึงเริ่มทาด้วยความตั้งใจ ในที่สุดสิ่งท่ีเขาทาอยู่ก็เป็น รูปร่างข้ึนมา มีลักษณะเป็นตาข่ายก่ึงสวิงก่ึงเห เขาจึงเรียกเพ่ือนมา คนหน่ึงแล้วอธิบายวิธีใช้ส่ิงที่เขาทาข้ึน (เราจะอนุโลมเรียกส่ิงนี้ว่า สวิง เม่ือเข้าใจดีแล้วคนท้ังสองจึงช่วยกันใช้สวิงช้อนปลาขึ้นมา ภายในเวลาช่วั โมงเดียวเขาก็จบั ปลาได้มากกว่าทค่ี นท้งั เผา่ เคยจบั ได้ใน เวลา 1 วันเสียอีก คนที่สอง เริ่มคิดหาวิธีดักเลียงผาในขณะท่ีเดินหิวอยู่ในป่า เหมือนกนั เขาพยายามจะหาม้าแกลบหนา้ โง่ที่เคยมีอยู่มากมายในป่า แต่ก็ไม่พบ เห็นแต่เลียงผาที่แสนจะเปรียว เขาได้พยายาม มานาน นักหนาแล้วที่จะทุบหัวเลียงผาด้วยวิธีเดียวกับการทุบหัวม้าแกลบที่ เคยเรียนมาอย่างลึกซ้ึง บัดนี้เขาแน่ใจแล้วว่าวิธีที่เรียนมาน้ันใช้ไม่ ได้ผลกับเลียงผา เขาก็พยายามลืมเสียว่าครูเคยสอนว่าอย่างไร แล้ว คิดวิธีใหม่ของเขาข้ึนเอง เขาโน้มต้นไผ่ลงมาต้นหน่ึง เอาเถาวัลย์ทา เป็นห่วงแขวนไว้ แล้วทาไกเอาไว้เพื่อให้ต้นไผ่โน้มอยู่อย่างน้ัน แต่ถ้า ยามใดเลียงผาว่ิงเข้าไปในห่วง เท้าของมนั ก็จะไปถูกไกเข้า ทาใหต้ น้ ไผ่ เด้งขึ้น ตัวเลียงผาก็จะติดห่วงห้อยอยู่ พูดง่าย ๆ ก็คือเขาทาแร้วตัก

22 เลียงผาน่ันเอง เขาทาแร้วเรียงรายไว้ตามป่าเพียงคืนเดียว เขาก็ได้ เลยี งผามากกว่าทคี่ นทั้งเผ่าจะล่าไดด้ ้วยวิธที บหัวในเวลา 1 ปี เสยี อีก คนที่สามก็มีความตั้งใจอย่างแรงกล้าท่ีจะจดั การกับพวกหมี รา้ ย จนกระทงั่ ลมื ไปว่าโรงเรียนเคยสอนใหโ้ บกไฟไลเ่ สืออยา่ งไร เขาขดุ หลุมข้ึนในทางทห่ี มีชอบเดินผา่ น แล้วเอากงิ่ ไม้ใบไม้มา พรางปากหลุมไว้ เม่ือหมีเดิน ผ่านมาก็จะตกหลุมขึ้นไม่ได้ เขาก็ จัดการกับมันได้ตามสบาย เขาบอกกล่าวไปทั่วๆ กัน ผ้คู นกช็ ่วยกันขุด หลมุ พรางดกั หมไี ว้รอบ ๆ บรเิ วณ คนในเผา่ น้ีจงึ ไดร้ ับความปลอดภัย มากกวา่ เดมิ แลว้ ยังไดเ้ นอ้ื หมี มากนิ มาใช้อีกด้วย เม่ือวิธีการใหม่ ๆ เหล่านี้แพร่หลายมากขึ้น ขนเผ่าน้ันก็ใช้ เวลาส่วนมากทาสวิงจับปลา ทาแร้วดักเลียงผา และขุดหลุมดักหมี ทกุ คนก็มงี านทาและอยูด่ กี ินดี ระหว่างท่ีทากิจกรรมพวกนี้อยู่พวกช่างคิดบางคนก็เริ่ม วิพากษ์วิจารณ์ระบบการศึกษาและโรงเรียนขึ้นมาโดยต้ังปัญหาว่า \"กิจกรรมใหม่ ๆ อย่างวิธีทาสวิง วิธีใช้สวิงจับปลา วิธีทาแร้ว วิธีใช้ แร้วดกั เลียงผา วธิ ีชดุ หลมุ พรางดักหมนี ้ี เปน็ กจิ กรรมท่ีทกุ คนจะต้อง รู้ตอ้ งทา ทาไมจงึ ไมส่ อนในโรงเรยี น\" จากนิทานการศึกษาเร่ืองหลักสูตรสมัยหินที่ได้นามากล่าวไว้ คงจะทาให้ ผู้อ่านได้ข้อคิดเก่ียวกบั การพัฒนาหลกั สตู ร ซ่ึงสามารถมองการพฒั นาหลักสูตรได้ เป็น 2 ลกั ษณะด้วยกนั กลา่ วคอื ประการแรกจะหมายถึงว่าเป็นการสร้างหลักสูตรขึ้นมาใหม่ ดังเช่น หลักสูตรสมัยหินฉบับท่ี 1 ได้ถูกสร้างข้ึนมาโดยที่ไม่มีหลักสูตรเดิมเป็นพ้ืนฐานมา ก่อน ส่วนลักษณะประการท่สี องจะหมายถึงเปน็ การปรบั ปรงุ หลักสูตรที่มีอยู่แลว้ ให้ ดีข้ึน ดังตัวอย่างหลักสูตรสมัยหินฉบับท่ี 2 ดังนั้นจึงพอสรุปได้ว่า การพัฒนา หลักสูตรนั้น เป็นการดาเนินการเพื่อการสร้างหลักสูตรข้ึนมาใหม่หรือการจัดการ ปรบั ปรุงหลกั สูตรเดิมทีม่ อี ยแู่ ลว้ ใหด้ ีขึน้ คาว่า \"หลักสูตร\" เป็นศัพท์ (term) ชนิดท่ีเรียกว่า ศัพท์เดี่ยว (simple term) แปลมาจากคาภาษาองั กฤษว่า curriculum โดยท่ีคา curriculumน้ีมาจาก คาในภาษาลาตินว่า currere ซ่ึงแปลว่า the course to run หมายถึง เส้นทางท่ี จะต้องวิ่งไป ซึ่งก็เปรยี บได้กับ \"ล\"ู่ (rack) ที่ใชส้ าหรบั การวง่ิ แข่งขันน่ันเอง

23 ลู่วิ่งนั้นเป็นสิง่ ไม่มชี ีวติ แตเ่ ป็นสิ่งที่กาหนดถงึ สถานที่ทจี่ ะต้อง วิ่ง (ลู่สนาม) จุดเริ่มต้นที่จะต้องว่ิง ระยะทางที่จะตอ้ งว่ิงและ จุดส้ินสุดของการว่ิงเพื่อการเลือกสรรผู้ชนะ ถึงแม้ว่าสู้ว่ิงจะ ไม่มีชีวิตก็ตาม แต่ลู่วิ่งจะมีชีวิตขึ้นมาทันทีเม่ือมีสิ่งมีชีวิต ซึ่งในที่นี้หมายถึง คน ได้มาทาการแข่งขันกันในลู่ว่ิงโดยเร่ิมจากจุดออกวิ่งและวิ่งไปตามระยะทางบนลู่ที่ กาหนดจนจบเม่อื ถึงเสน้ ชยั โดยนับจากการอุปมาอุปมัยกับลู่วิ่งนี้ หลักสูตรก็เปรียบเสมือนเป็นลู่วิ่ง เป็นสิ่งที่ไม่มีชีวิต ซึ่งกาหนดการแข่งชันการว่ิงของผู้วิ่ง หลักสูตรเป็นตัว กาหนดการเรยี นรู้ของผ้เู รียนจนกระทั่งผ้เู รยี นบรรลุจุดมุ่งหมายทางการเรียนรู้ ตามหลักสูตร จากการที่ได้เกร่ินนามาข้างต้นจะเห็นได้ว่า ความไม่มีชีวิตของ หลักสตู รจะประกอบไปดว้ ยสถานทีซ่ ่ึงไดแ้ ก่ สถานศกึ ษา โรงเรียน ฯลฯ จดุ ม่งุ หมาย ของหลักสูตร ซ่ึงได้แก่ส่ิงท่ีหลักสูตรคาดหวังไว้ว่าผู้เรียนจะเรียนรู้ ระยะเวลาท่ีใช้ นานเท่าไรจึงจะจบหลักสูตร จะใช้การวัดผลประเมินผลอย่างไร แต่หลักสูตรจะมี ชีวิตขึ้นมาให้เห็นได้ไม่ใช่ตัวหลักสูตรเอง แต่เป็นกระบวนการเรียนการสอนซึ่ง เกิดขึ้นในสถานศกึ ษา กล่าวคือมีผู้เรียน มีผู้สอน ซึ่งมีปฏิสัมพันธ์ซ่ึงกันและกันและ กอ่ ให้เกดิ การเรยี นรู้แกผ่ ้เู รยี นน้ัน ดังน้ันเม่ือใดก็ตามย่างก้าวเข้าไปในโรงเรียนหรือสถานศึกษาอ่ืนใดจะไม่ สามารถเห็นตัวหลักสูตรปรากฏให้เห็นได้ จะเห็นก็แต่ตัวอาคารสถานที่ ห้องเรียน วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ นักเรียน ครูและบุคลากรอ่ืน ๆ ภายในโรงเรยี น แต่หลักสูตรจะ ปรากฏให้เห็นได้ก็โดยดูจากภาคมีชีวติ ของหลกั สูตร ซ่ึงก็คือกจิ กรรมการเรยี นการ สอนท่ีเกดิ ขน้ึ ในโรงเรียนน้นั ๆ เม่ือกล่าวมาถึงจุดน้ีจะเห็นได้ว่า หลักสูตรกับการเรียนการสอนเป็นของคู่ กัน เปรียบเสมือนเหรียญซึ่งมีด้านหัวและก้อยเป็นของคู่กัน โดยท่ีหลักสูตรเป็น ด้านท่ีไม่แสดงความมีชีวิตให้ปรากฏ แต่การเรียนการสอนจะเป็นด้านท่ีทาให้ หลกั สตู รเป็นส่ิงมีชวี ิตทีป่ รากฏให้เห็นได้ ดงั นั้นจึงอาจจะกลา่ วไดว้ า่ หลักสูตรกับการ เรียนการสอนนนั้ มีความสมั พันธก์ นั ซ่ึง 0iva ได้จาแนกออกเปน็ 4 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบที่มีลักษณะค่กู นั (dualistic model) หลักสูตร การเรยี นการสอน

24 หมายถึงว่า หลักสูตรและการเรียนการสอนเป็นอิสระต่อกัน เม่ือมีการ เปลีย่ นแปลง หลักสูตรหรือกระบวนการเรียนการสอนก็จะไม่มีผลกระทบต่อกัน อย่างมีนยั สาคญั 2. รปู แบบทม่ี ลี ักษณะมสี ่วนทีร่ ว่ มกันอยู่ (interlocking model) หลักสูตร การเรียนการสอน การเรยี นการสอน หลักสูตร หมายถึงว่า หลักสูตรและการเรียนการสอนมีความสัมพันธ์กันและไม่มีสิ่ง ใดสาคัญกว่ากันการท่ีจะแยกหลักสูตรและการเรียนการสอนออกจากกันจะทาให้ เกิดผลเสยี แก่ทง้ั ตวั หลักสตู รและกระบวนการเรียนการสอน 3. รปู แบบที่มลี ักษณะเป็นระบบย่อยของกนั และกนั (concentric model) ก หลักสูตร ข การเรียนการสอน หลักสูตร การเรียน การสอน หมายถึงว่า ทั้งหลักสูตรและการเรียนการสอนมีความสัมพันธ์ท่ีแสดงถึง ความสาคัญก่อนหลังนั่นคือหลักสูตรและการเรียนการสอนมิได้เป็นสิ่งท่ีแยกตัว ออกไปต่างหากเป็นอิสระ แต่เป็นส่วนของสิ่งท่ีจะต้องพึ่งพิงกัน โดยในรูปแบบ ก. การเรียนการสอนเป็นสว่ นหน่ึงที่มาจากหลกั สูตร ส่วนรูปแบบ ข.หลกั สูตรเป็นส่วน หนง่ึ ทีม่ าจากการเรียนการสอน

25 4. รูปแบบทีม่ ลี ักษณะเปน็ วงจร หลักสตู รการเรยี น การสอน หลกั สูตร การเรยี น การสอน หมายถึงว่า ท้ังหลักสูตรและการเรียนการสอนมีอิทธิพลต่อกัน การ ตัดสนิ ใจเก่ียวกับการเรยี นการสอนกระทาหลังจากได้มีการตัดสินใจในเรอื่ งหลักสูตร ไปแลว้ ในทานองเดยี วกัน หลกั สตู รกจ็ ะถูกนาไปปรับปรงุ หลังจากไดม้ ีการประเมิน การเรยี นการสอนไปแล้ว รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรและการเรียนการสอนนี้ สาหรับ ผู้เขียนเอง มีความเห็นสอดคล้องกับ Oiva ท่ีเห็นว่าควรสนับสนุนรูปแบบ ความสัมพันธ์ที่มีลักษณะเป็นวงจร ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงลักษณะความสัมพันธ์ ตอ่ เน่อื งของหลักสตู รและการเรียนการสอน จากรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรและการเรียนการสอนท่ีมี ลักษณะเป็นวงจร สะท้อนให้เห็นถึงคุณสมบัติของหลักสูตรได้เป็นอย่างดีว่า ห ลั ก สู ต ร มี ลั ก ษ ณ ะ ที่ มี ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ป รั บ ป รุ ง ไ ด้ แ ล ะ จ ะ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ กระบวนการเรียนการสอน และในลักษณะเดียวกันกระบวนการเรียนการสอนก็มี การเปลย่ี นแปลงปรบั ปรุงไดเ้ ชน่ กนั ซ่งึ กจ็ ะสง่ ผลกระทบตอ่ หลกั สตู รได้ จากสภาพการณ์ซ่ึงหลักสูตรและการเรียนการสอนเปรียบเสมือน 2 ด้าน ของเหรียญดังกล่าว ก่อให้เกิดความสับสนเป็นอย่างมากแก่บุคคลทั่วไป ทั้งนี้ก็ เพราะบางคน ก็จะมองหลักสูตรโดยมองจาก ภาพของเหรียญด้านเดียว ซึ่งให้ ภาพแคบกว่าบางคนทีม่ องจากภาพรวมของเหรียญทัง้ สองด้านพร้อมกัน ซง่ึ ก็จะ ทาให้การมองภาพหลักสูตรกว้างออกไปมากกว่า ด้วยเหตุดังกล่าวจึงเป็นการ ลาบากต่อการ สื่อความหมายในเร่ืองของหลักสูตรให้ตรงกันได้ ถึงแม้ว่าจะ ยากลาบากเพียงใดก็ตาม แต่เพื่อผลในทางปฏิบัติจริงแล้วเป็นความจาเป็นอย่าง ยง่ิ ที่จะตอ้ งทาความเข้าใจเกีย่ วกับหลกั สูตรใหต้ รงกนั เสียก่อน เป็นพื้นฐานที่สาคัญ ข้ันต้น มิฉะนั้นจะเป็นเหมือนเหตุการณ์ที่ว่าคนตาบอดคลาช้างซึ่งกจ็ ะให้ภาพ ของ ช้างออกมาตา่ ง ๆ กนั แล้แต่ใครจะไปคลาด้านใดของช้าง

26 ความหมายของคาวา่ \"หลักสูตร\" ได้มผี ู้ใหค้ านิยามไว้ต่างๆ กนั อาทเิ ช่น o ประสบการณท์ ัง้ หมดที่นักเรยี นได้รบั ภายใตก้ ารแนะนาของโรงเรียน o ข้อความทรี่ ะบใุ นเชงิ ปฏิบตั ิการของวตั ถุประสงคโ์ รงเรียน o โปรแกรมกิจกรรมต่างๆ ซึ่งวางไว้เพื่อให้นักเรียนสามารถบรรลุ วตั ถปุ ระสงคท์ ีก่ าหนด o รายวชิ าท่กี าหนดใหเ้ รยี น สิ่งทส่ี อนในโรงเรียน โปรแกรมการศึกษา เปน็ ต้น หลักสูตรตามนิยามท่ียกตัวอย่างมานี้ หมายรวมถึงประสบการณ์ของ ผู้เรียน วิธีปฏิบัติที่จะนาไปสู่วัตถุประสงค์ท่ีสถาบันการศึก ษาตั้งไว้ โปรแกรมหรอื โครงการการศึกษา การเรียนรู้ของผู้เรียนเป้าหมายการศึกษา ตลอดจนรายวิชาที่ สอนในโรงเรียน คานิยามหลักสูตรน้ียังตีความกันได้อีกหลาย ประการ แต่ไม่ว่าจะ มองในแง่มมุ ใดก็ตามความหมายหลักสูตรสามารถแยกไดเ้ ป็น 2 มิติ คอื 1. คานยิ ามเชิงความคิดรวบยอด (conceptual definition) 2. คานิยามเชงิ ปฏิบตั ิการ (operational definition) ความหมายหลักสตู รเชิงความคดิ รวบยอด ความหมายหลักสูตรในด้านน้ีเป็นการให้ความหมายในเชิงนามธรรม ให้ ภาพของความคิด ซึ่งจับต้องไม่ได้ เป็นความหมายในมุมกว้างให้ความหมายท่ีเป็น หัวใจสาคัญในเรอ่ื งหลักสูตร หลักสตู รตามความหมายนมี้ ดี ังน้ี o ประสบการณ์ทนี่ ักเรียนไดร้ ับภายใต้การแนะนาของครู o แผนท่ีวางไว้เพ่ือจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับบุคคลเพื่อให้เป็น บุคคลท่ไี ดร้ บั การศึกษา o ประสบการณ์หรือโอกาสการเรียนรู้ ซ่ึงวางแผนขึ้นร่วมกันระหว่างครู และนักเรยี น o ประสบการณ์ท่ีได้วางแผนไว้จัดให้กับผู้เรียน ภายใต้การแนะนาของ โรงเรียน o กิจกรรมและประสบการณ์ท้ังหมดซง่ึ ได้วางแผนจดั ใหก้ ับผู้เรียนภายใต้ ทศิ ทางของโรงเรียน o ประสบการณ์ทงั้ หมดท่ผี เู้ รียนได้รับ ความหมายหลักสูตรในทัศนะน้ี มีคาศัพท์ที่ปรากฏในคานิยาม ซึ่งควรทา ความเข้าใจคือคาว่า “ประสบการณ์การเรียนรู้\" (leaning experience) คาน้ีมา

27 จากการผสมของคาว่าประสบการณ์กับการเรียนรู้ ซึ่งจะแยกวิเคราะห์เป็นคา ๆ ดังนี้ o การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนพฤติกรรมอันเน่ืองจากการมี ประสบการณ์ o ประสบการณ์ หมายถึง การได้ประสบมาด้วยตนเอง หรือการท่ี บุคคลเข้าไปเก่ียวข้องกับเหตุการณ์แล้วเกิดความรู้ โดยรวมถึง ต้ังแต่เกิดการรับรู้ การคิด การจดจาได้ การจินตนาการ การสรุป อา้ งอิง จนถึงการตดั สนิ คุณคา่ o เม่ือนาคาสองคามารวมกัน \"ประสบการณ์การเรียนร\"ู้ จึงหมายถึง การแสดงออกอยา่ งกระตอื รือร้นของผ้เู รยี นต่อสถานการณท์ ผ่ี ู้สอน สร้างขึ้น จนบรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ซ่ึงส่งผลให้ผู้เรียนเกิด การเปลี่ยนพฤติกรรม จากความหมายหลักสูตรในเชงิ ความคิดรวบยอด ท่ีหมายถึงประสบการณ์ การเรียนรู้ โดยผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ได้ต่อเมื่อได้มีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการ สอน ( leaching activities) ห รื อวิธีสอนท่ีครู ใช้ ( teaching method) ห รื อ เหตุการณ์/สถานการณ์ (Situation) ท่ีเกิดขึ้น จึงทาให้เกิดความเข้าใจผิดว่า ประสบการณ์การเรียนรู้ คือกิจกรรมการสอนหรือวิธีสอน และโยงความเข้าใจว่า หลักสูตรคือกระบวนการเรียนการสอน ซ่ึงโดยความจริงแล้วกระบวนการเรยี นการ สอนเป็นแต่เพียงเหตุการณ์ หรือสถานการณ์ท่ีครูวางแผนจัดข้ึนเพ่ือให้ผู้เรียนได้ แสดงออก หรือมีปฏิสัมพันธ์ เพื่อชักนาให้ผู้เรียนเกิดประการที่ผู้เรียนเกิด ประสบการณ์จะชักนาให้เกิดการเรียนรู้ ประสบการณ์เช่นนั้นจึ งเรียกว่า ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ และประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนได้รับตลอดระยะเวลา ทอ่ี ยใู่ นสถานศกึ ษา นนั่ คือหลกั สูตร ความหมายหลกั สตู รในทศั นะน้ีให้ความสาคญั ที่โรงเรยี นจะต้องจัดกจิ กรรม ในรูปธรรมต่าง ๆ ท้ังในและนอกช้ันเรียน ทั้งในและนอกหลักสูตร โดยคาดหวังว่า เม่ือนักเรียนได้ผ่านกิจกรรมนี้แล้ว นักเรียนจะมีประสบการณ์ ซึ่งจะก่อให้เกิดการ เรยี นรู้ตามวตั ถปุ ระสงคท์ โ่ี รงเรียนกาหนดไว้ โดยสรปุ หลักสูตรในเชิงความคิดรวบยอด เขยี นในรูปสมการได้ดงั นี้ หลักสูตร = ประสบการณก์ ารเรียนรู้ + ประสบการณ์การเรียนรู้2 +.......n หลักสูตร - ผลรวมของประสบการณ์การเรียนรู้ หลกั สูตร = มวลประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ซ่งึ สามารถเขียนอธิบายได้ว่า หลักสูตรในเชิงความคดิ รวมยอด หมายถงึ มวลประสบการณก์ ารเรียนรูท้ ส่ี ถาบนั การศึกษาจัดให้กบั ผ้เู รียน เพื่อใหผ้ ้เู รยี นมี

28 ความร้คู วามสามารถตามวัตถปุ ระสงค์ที่กาหนดไว้ ความหมายดงั กล่าวเขียนเป็น ภาพดงั นี ภาพ ความหมายหลกั สูตรเชงิ ความคิดรวบยอด ความหมายหลกั สูตรเชิงปฏบิ ัตกิ าร หลักสูตรตามความหมายเชิงความคิดรอบยอดน้ันเป็นความหมายในเชิง นามธรรม ผู้ที่มใิ ช่นกั พฒั นาหลกั สูตร แต่เป็นบุคคลทั่วไปยอ่ มจะจนิ ตนาการลาบาก ว่าหลักสูตรท่ีว่าเป็นประสบการณ์หรือ กิจกรรมการเรียนรู้น้ัน มีลักษณะอย่างไร จึงจาเป็นจะต้องให้คานิยามหลักสูตรในเชิงปฏิบัติการซ่ึงมีความเป็นรูปธรรม สามารถยกตัวอย่าง หาของจริงมาให้จับต้อง เห็น และศึกษาได้ความหมาย หลกั สูตรเชงิ ปฏิบัตกิ าร จึงมผี ูใ้ หค้ วามหมายรวบรวมเปน็ ตัวอย่างได้ เชน่ o หลกั สูตร หมายถงึ รายวิชาทก่ี าหนดใหเ้ รียน o หลักสูตร หมายถงึ เอกสารที่เขียนข้ึนเก่ียวกับแนวของเน้ือหาทจี่ ะต้อง สอนในหลักสูตรวัตถุประสงค์ หลักการและเหตุผลที่ต้องมีหลักสูตร ฉบับนนั้ ๆ และวิธกี ารประเมินผล o หลักสูตร หมายถงึ แผนการเรียน ตัวอย่างหลักสูตรตามความหมายนี้ หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 โดยในหลักสูตรฉบับนั้น มีต้ังแต่คาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องให้ใช้หลกั สูตร ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ งกาหนดการเปลย่ี นระบบชั้น เรียน และการใช้หลักสูตรใหม่ จุดหมายหลักสูตร โครงสร้างหลักเกณฑ์ การใช้ หลกั สตู รมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย พทุ ธศกั ราช 2524 ตัวอย่างหลักสูตรตามความหมายนี้ เช่น หลักสูตรประกาศนียบัตรวิซาชพี ชั้นสูง (ปวส.) พุทธ-ศักราช 2527 ประเภทวิชาเกษตรกรรม ซึ่ง กรมวิชาการ

29 กระทรวงศึกษาธิการ จัดพิมพ์ส่งไปให้วิทยาลัยเกษตรกรรมตา่ ง ๆ โดยในหลักสตู ร ฉบับนน้ั มีต้ังแต่ o คาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องให้ใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สูง o หลักการและจุดหมายของหลักสตู ร o หลกั เกณฑ์การใช้หลกั สตู ร o คาชแ้ี จงการกาหนดรหสั รายวิชา o โครงสรา้ งหลกั สูตร o จดุ ประสงคห์ มวดวชิ า o คาอธิบายรายวชิ า o คาส่งั แตง่ ต้ังคณะกรรมการชุดต่าง ๆ ในการจัดทาหลักสตู ร นอกจากหลกั สูตรจะพิมพ์เปน็ รูปเลม่ แล้ว บางแหง่ อาจเปน็ เอกสารโรเนยี ว หรอื โรเนยี วเย็บเล่ม หรอื พมิ พ์เปน็ คู่มือนักเรียนนักศึกษา และเขียนตามหวั ขอ้ และ หรือตามแบบฟอร์มท่ีกระทรวงศึกษาธิการหรอื องค์การน้ัน ๆ กาหนด ในบางแห่ง อาจพิมพ์หลักสูตรในรูปแบบแนวการจัดชั้นเรียน รายวิซาที่กาหนดให้เรียนตลอด หลักสูตร คู่มือการใช้หลักสูตร คาอธิบายรายวิชาในหลักสูตร คู่มือการเรียนการ สอน สิง่ เหลา่ น้อี นุโลมให้เปน็ หลักสูตรหรือบางแหง่ เรยี กเอกสารหลกั สตู ร

30 สรุปความหมายหลักสตู ร จากความหมายหลักสูตรท่วี ิเคราะห์มาท้งั ใน 2 มติ ิ ดงั กลา่ วชา้ งตนั แล้วน้ัน สรุปไดด้ ังน้ี หลกั สตู ร มติ ขิ องความหมาย มติ ขิ องความหมาย เชงิ ปฏิบัติการ/รปู ธรรม เชงิ ความคดิ รวบยอด/นามธรรม 1.เนอื้ หาวชิ า หลกั สูตรจะหมายถงึ หลักสูตรในกลุ่มนี้เชื่อว่า หลักสูตร หมายถงึ มวลประสบการณก์ ารเรยี นรู้ 1.1 การกาหนดรายวิชาในหลักสตู ร 1.2 แผนการเรยี น หลักสูตร ประสบการณ์การเรียนรู้1. 1.3 รายวิชาทตี่ ้องเรยี น 1.4: เนื้อหาวิชาท่ีสอน +..ประสบการณ์การเรยี นรู้ n 1.5 เอกสารหลกั สูตร 2.โครงการหรอื กจิ กรรมที่วางแผนไว้ ประสบการณ์การเรียนรจู้ ะเป็นหลักสตู ร หลักสตู รจะหมายถงึ ตอ่ เม่อื 2.1 โครงการที่เขียนเป็นลายลักษณ์ อักษร แผนการสอน รายคาบ ราย 1. มีผเู้ รียน สัปดาห์ หรือรายภาค แผนการสอนท่ี 2. มีเป้าหมายการเรียนรู้หรือเป้าหมาย กลุ่มสถานศึกษาทาข้ึน โครงการและ หลักสตู ร กจิ กรรมตา่ ง ๆ การจดั กิจกรรมการเรียน 3. ผู้เรียนตระหนักถึงเป้าหมายการ การสอน เรยี นรู้ 2.2 โครงการที่ไมไ่ ดเ้ ขียนเป็นลายลักษณ์ 4. มีกิจกรรม/สถานการณ์ที่ทาให้ผู้เรียน อักษร แต่ผู้สอนได้วางแผนไว้ในใจ วิธี ไดม้ ีปฏสิ มั พนั ธ์ สอน กิจกรรมการเรยี นการสอน 5. ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติหรือแสดงออก 2.3 ผลที่ได้จากการเรียนรู้ จุดประสงค์ ตอ่ กจิ กรรมนั้น การเรยี นรแู้ ต่ละคาบ เปา้ หมายหลักสูตร 6.ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมาย 2.4 การถ่ายทอดวัฒนธรรม กลุ่มนี้เชื่อ หลกั สตู ร ว่า หลักสูตรควรสอนให้ผู้เรียนรู้เรื่อง ของ สังคมและวัฒนธรรมของบรรพ บุรุษเนื้อหาเหล่านี้จะปรากฏในรายวิชา และกจิ กรรมการเรียนการสอน

31 เมอื่ นาความหมายหลกั สูตร ทง้ั ในเชงิ ความคิดรวบยอดและเชิงปฏบิ ัติการ มารวมกันแล้ว หลักสูตร หมายถึง เอกสารของสถาบันการศึกษา หรือขององค์กร ตา่ งๆ ทรี่ ะบถุ งึ 1. ความรู้/ความสามารถ/เจตคตทิ ผ่ี ูเ้ รยี นจะต้องได้รับหลังจากผา่ นหลกั สตู ร 2. เนอื้ หาวชิ าทจ่ี ะทาให้ผู้เรยี นบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคห์ ลักสตู ร 3. กระบวนการเรียนการสอน ซ่งึ จะทาใหผ้ ้เู รียนมปี ระสบการณต์ รงและเกดิ การเรียนรู้ตามท่วี ัตถุประสงคห์ ลกั สูตรระบไุ ว้ 4. วิธกี ารวดั ผล/ประเมนิ ผล เพอ่ื ให้ผูเ้ รียนหรือสถาบนั ทราบวา่ ผูเ้ รียนได้ บรรลตุ ามวัตถุประสงคห์ ลกั สูตรทก่ี าหนดไวห้ รอื ไม่ หลักสูตรซึ่งปรากฏในเอกสารหรือในเชิงรูปธรรมนั้น ยังไม่เห็นผลในทาง ปฏบิ ตั ิ ตอ่ เม่ือสถานศึกษา เช่น วิทยาลยั เกษตรกรรม โรงเรียน ไดน้ าไปใช้กับผเู้ รยี น โดยตรง โดยผ่านกิจกรรมการเรียนการสอน และผู้เรียนผ่านขั้นตอนการวัดผล/ ประเมินผล เพื่อตัดสินว่าผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์ตามท่ีระบุไว้ในหลักสูตรหรอื ไม่ จงึ จะเหน็ ผลวา่ ทาใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรู้ การจะให้ความหมายหลักสูตรในมิติใดมิติหนึ่ง อาจทาให้เกิดความเข้าใจ สับสนเน่ืองจากหลักสูตรในทั้ง 2 มิติน้ันต่างเก่ียวข้องกัน ถ้าไม่มีหลักสูตรในเชิง รูปธรรม ผู้ใช้หลักสูตรย่อมไม่ทราบเจตนารมย์ของผู้พัฒนาหลักสูตร และในทาง กลับกนั หากผ้ใู ชแ้ ละผู้พฒั นาหลักสตู รเข้าใจหลักสูตรในเชิงความคดิ รวบยอดยังไม่ ถ่องแท้ การจะหวังให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุ วัตถุประสงค์หลักสูตร ย่อมเป็นไปได้ยากเพราะจะมองหลักสูตรแต่เพียงเป็น รายวิชามากกว่าพิจารณาว่าหลักสูตรเป็นเคร่ืองมือที่ทาให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ ผู้ ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร จึ ง ท า ห น้ า ที่ เ พี ย ง แ ต่ ส อ น ใ ห้ ค ร บ ต า ม เ น้ื อ ห า ท่ี ก ร ะ ท ร ว ง ห รื อ สถาบันการศึกษากาหนดลงมา มากกว่าจะพิจารณาว่าผู้เรียนได้เรียนรู้อะไร และ สง่ิ ท่เี รียนรู้นนั้ เปน็ ไปตามวตั ถุประสงคข์ องหลักสูตรหรอื ไม่

32 บรรณานกุ รม ลาวัณย์ วจิ ารณ์. 2559. สิ่งแวดล้อมศึกษา: แนวทางสกู่ ารปฏบิ ตั ิ.ปทุมธานี. สานักพมิ พ์มหาวทิ ยาลัยรังสิต. _________ .2564. การวางโครงการสง่ เสริมสิ่งแวดลอ้ มศกึ ษาชุมชน: บรู ณ การศาสตร์สู่การปฏิบตั .ิ ปทมุ ธาน.ี โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลัยรงั สิต. สมสดุ า ผู้พัฒน์ และโสภณ ธนะมยั .2534. การพัฒนาหลกั สตู รการศกึ ษาเกษตร. พมิ พค์ รั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: โรงพิมพค์ ุรุสภาพ ลาดพร้าว.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook