Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเจริญพันปลา

การเจริญพันปลา

Published by EKACHAI DU, 2019-08-24 05:19:14

Description: การเจริญพันปลา

Search

Read the Text Version

27 การเจริญพนั ธ์ุและประสทิ ธิภาพการเพาะพนั ธ์ุของปลาหนัง 3 สายพนั ธ์ุ; ปลาบกึ ปลาสวายและปลาลูกผสมโดยเทคนิคการผสมกลับ Sexual Maturity and Breeding Efficiency of 3 Catfish; Pangasianodon gigas, Pangasianodon hypophthalmus, Their Hybrid (Male P. gigas x Female P. hypophthalmus) and Hybrid Using Backcross Technique ไพบลู ย์ ปะนาเส, ดวงพร อมรเลศิ พศิ าล และเกรียงศักด์ิ เม่งอาํ พัน คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนํา้ มหาวิทยาลยั แม่โจ้ บทคดั ย่อ ทําการศึกษาการเจริญพันธ์ุโดยพิจารณาจากการมีนํา้ เชือ้ และไข่ของปลาบึก ปลาสวาย และปลา ลกู ผสมในช่วง 6 เดือน (พฤษภาคม – ตลุ าคม พ.ศ. 2555) จํานวน 12 ครัง้ พบว่าปลาลกู ผสมทงั ้ เพศผ้แู ละเพศ เมียมีความพร้ อมในการขยายพันธ์ุมากท่ีสดุ คือ ปลาบึกเพศผู้และปลาสวายเพศผู้ในช่วงเดือนมิถุนายน - สิงหาคม ปลาสวายเพศเมียในช่วงเดือนมิถนุ ายน – กรกฎาคม และปลาบึกเพศเมียเฉพาะในเดือนสิงหาคม ตามลาํ ดบั จํานวนไขเ่ ฉลี่ยของปลาสวายและปลาลกู ผสมมีจํานวนสงู สดุ และปลาบกึ มีคา่ ตํ่าสดุ เท่ากบั 1,594, 1,541 และ 1,028 ฟอง/กรัม ตามลําดบั โดยแตกตา่ งกนั ทางสถิติ (p< 0.05) นํา้ หนกั ไขเ่ ฉลี่ยของปลาลกู ผสม ปลาบึกและปลาสวายเรียงจากมากไปน้อยเท่ากบั 125.5, 68.2 และ 24.3กรัม/กิโลกรัมของนํา้ หนกั ปลา ตามลําดบั สว่ นปริมาณนํา้ เชือ้ ในปลาลกู ผสมและปลาสวายมีคา่ สงู และต่ําสดุ ในปลาบกึ เท่ากบั 9.2 และ 7.2 และ 3.1 มิลลลิ ติ ร/กิโลกรัมของนํา้ หนกั ปลา ตามลําดบั ซง่ึ แตกตา่ งกนั อย่างมีนยั สําคญั ทางสถิติ ความสมั พนั ธ์ ของนํา้ หนักพ่อแม่ปลาลูกผสมกับปริมาณไข่และนํา้ เชือ้ มีค่าน้อยโดยมีค่า R2 เท่ากับ 0.715 และ 0.558 ตามลําดบั ประสทิ ธิภาพการเพาะพนั ธ์พุ บวา่ อตั ราปฏิสนธิ 6 ชว่ั โมงหลงั การผสม มีคา่ สงู ในคผู่ สมระหวา่ งปลา บกึ (เพศผ้)ู x ปลาลกู ผสม (เพศเมีย) คผู่ สมปลาบกึ x ปลาบกึ คผู่ สมปลาสวาย x ปลาสวาย และต่ําสดุ ในคู่ ปลาลกู ผสม x ปลาลกู ผสม เท่ากบั 98.6, 97, 96.5 และ 76% ตามลําดบั และมีความแตกตา่ งกนั อย่างมี นยั สาํ คญั ทางสถิตสิ ว่ นอตั ราการรอด 6 วนั หลงั ฟักมีคา่ สงู สดุ ท่ีคผู่ สมระหว่างปลาลกู ผสม x ปลาลกู ผสมเท่ากบั 29.0% ขณะที่คปู่ ลาสวาย x ปลาสวาย คปู่ ลาบกึ (เพศผ้)ู x ปลาลกู ผสม (เพศเมีย) และคปู่ ลาบกึ x ปลาบกึ มี คา่ 7.4, 6.5 และ 6.3% ตามลําดบั ซง่ึ แตกตา่ งอยา่ งมีนยั สําคญั ทางสถิติเมื่อลกู ปลามีอายุ 30 วนั พบว่าลกู ปลาบกึ มีความยาวเฉล่ียสงู สดุ เทา่ กบั 4.5 เซนตเิ มตร รองลงมาคือปลาลกู ผสม (พอ่ ปลาบกึ x แม่ปลาลกู ผสม) 4.3 เซนติเมตร ปลาลกู ผสม (บกึ สยาม) 4.0 เซนติเมตรและปลาสวาย 3.9 เซนตเิ มตร ซง่ึ มีความแตกตา่ งทาง สถิติ จากผลการศกึ ษาครัง้ นีจ้ ะใช้เป็ นข้อมลู พืน้ ฐานในการพฒั นาการเพาะขยายพนั ธ์ุปลาสายพนั ธ์ุปลาที่ไม่มี เกลด็ และปลาลกู ผสมให้มีคณุ ลกั ษณะที่ตรงตามความต้องการตอ่ ไป คาํ สาํ คัญ: การเพาะขยายพนั ธ์ุ การอนบุ าล ประสทิ ธิภาพการเพาะพนั ธ์ุ การผสมกลบั ปลาหนงั ลกู ผสม วารสารวิจยั เทคโนโลยีการประมง ปีท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2556

28 Abstract A study of sexual maturity of Pangasianodon gigas (PG), Pangasianodon hypophthalmus (PH) and their hybrid was investigated by semen and eggs occurrence within 6 months (May – October, 2012) for 12 times. It showed that male and female hybrid were ready to propagation all the times then male PG and male PH were found in June – August, female PH was found in June - July and female PG was found only in August, respectively. The number of eggs per 1 gram of PH and hybrid were the highest and PG was the lowest with 1,594, 1,541 and 1,028, respectively and significant difference (p<0.05). Average weight of eggs (g/Kg) of hybrid was higher in number than PG and PH which were 125.5, 68.2, and 24.3, respectively. Semen volume (ml/Kg) of hybrid was higher volume than PH and PG which were 9.2, 7.2, and 3.1, respectively that were significant difference. The R2 obtained from linear regression of fecundity and semen volume on body weight were 0.715 and 0.558, respectively. Breeding efficiency, the fertilization of 6 hour after fertilized were significant difference of PG (male) x Hybrid (female), PG x PG, PH x PH and hybrid x hybrid were 98.6, 97, 96.5 and 76%, respectively. The survival rate of 6 days after hatched were significant difference and the highest rate in hybrid x hybrid was 29.0 %, PH x PH 7.4 %, PG (male) x Hybrid (female) 6.5 % and PG x PG 6.3 %.The total length of the fingerings at 30 days old showed that PG was longer than PG (male) x Hybrid (female), hybrid x hybrid and PH x PH which were 4.5, 4.3, 4.0 and 3.9 cm, respectively and that significant difference. The results of this study can be used for development and propagation of catfish and hybrid for desirable characteristics. Keywords: propagation, Nursing, backcross breeding, hybrid catfish บทนํา    ปลาบกึ (Pangasianodon gigas) เป็ นปลาไม่มีเกล็ดนํา้ จืดที่มีขนาดใหญ่ท่ีสดุ ในโลกมีคณุ คา่ ทาง โภชนาการสงู ดงั เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต กรดไขมนั ชนิดโอเมกา - 3 และ โอเมกา – 6 เนือ้ แน่นดคู ล้ายวงปี ของเนือ้ ไม้มีมนั แทรกรสชาติดี (Mengumphan and Seangkrachang, 2008) จดั เป็ นปลาที่อยใู่ นกลมุ่ สตั ว์หา ยากและใกล้จะสญู พนั ธ์ุ ซง่ึ อยใู่ นบญั ชีหมายเลข 1 (Appendix I) ของอนสุ ญั ญาวา่ ด้วยการค้าระหว่างประเทศ ในการอนรุ ักษ์สตั ว์ป่ าและพืชป่ าท่ีใกล้จะสญู พนั ธ์ุ (CITES) ซง่ึ จะต้องขออนญุ าตจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องใน กรณี ที่จะต้ องส่งออกนอกราชอาณาจักรตามประกาศกระทรวงพาณิชย์ ว่าด้ วยการส่งสินค้ าออกไปนอก ราชอาณาจกั ร (IUCN, 2005) การผลติ ปลาลกู ผสมโดยการผสมข้ามทงั้ ในระดบั สกลุ และระดบั ชนิดเพื่อต้องการนําสว่ นที่ดีของแตล่ ะ ชนิดหรือสายพนั ธ์มุ ารวมกนั เพ่ือให้ได้ลกู ผสมมีคา่ ลกั ษณะการแสดงออกที่ดีกว่าพอ่ แม่ (heterosis หรือ hybrid vigor) เพิ่มขนึ ้ (Dunham and Masser, 1998; Burnsside, 2004) สอดคล้องกบั Tave (2003) กลา่ ววา่ การ วารสารวจิ ยั เทคโนโลยีการประมง ปีท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2556

29 ผลิตลกู ผสมโดยเทคนิคการผสมข้ามเป็ นการเพิ่มลกั ษณะทางเศรษฐกิจ เช่น อตั ราการเจริญเติบโต อตั ราการ รอด ต้านทางโรค และลดคา่ อตั ราการเปลี่ยนอาหารเป็ นเนือ้ (Feed Conversion Rate; FCR) เป็ นต้น นกั วิจยั ประสบผลสําเร็จในการทําปลาลกู ผสม (พ่อปลาบกึ x แม่ปลาสวาย) ซงึ่ ถกู พฒั นาขนึ ้ มาเป็ นสตั ว์นํา้ เศรษฐกิจ ชนิดใหม่และมีการเพาะเลีย้ งกนั อย่างแพร่หลายเน่ืองจากต้องการทดแทนปลาบกึ ที่เพาะขยายพนั ธ์ุยากและใช้ เวลาเลีย้ งนานจนกว่าจะได้ขนาดตลาดและเข้าส่วู ยั เจริญพนั ธ์ุ ตลอดจนเป็ นการทดแทนปลาสวายซึ่งมีสีเนือ้ เป็ นสีเหลืองและมีกลน่ิ โคลนซง่ึ ไม่เป็ นที่นิยมในการบริโภคในขณะที่ตลาดตา่ งประเทศ เช่น ยโุ รป อเมริกาเหนือ ที่นิยมบริโภคเนือ้ สีขาว ดงั นนั้ ในการศกึ ษาครัง้ นี ้จงึ มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อศกึ ษาการเจริญพนั ธ์ุและประสิทธิภาพ การเพาะพนั ธ์ุของปลาหนงั 3 สายพนั ธ์ุคือ ปลาบกึ ปลาสวาย และปลาลกู ผสม โดยเทคนิคการผสมกลบั (back cross) ระหวา่ งปลาบกึ เพศผ้กู บั ปลาลกู ผสมเพศเมียซง่ึ ไม่พบรายงานการผสมในรูปแบบดงั กลา่ วมาก่อน และ เปรียบเทียบกับค่ผู สมระหว่างปลาลกู ผสมกบั ปลาลกู ผสม (ปลาลกู ผสมบึกสยาม) ค่ผู สมระหว่างปลาบึกกับ ปลาบึกและค่ผู สมระหว่างปลาสวายกับปลาสวาย เพื่อใช้เป็ นข้อมูลพืน้ ฐานในการเพาะขยายพันธ์ุเพื่อเป็ น แนวทางในการพฒั นาเป็ นสตั ว์นํา้ เศรษฐกิจตอ่ ไป อุปกรณ์และวธิ ีการ 1 การศกึ ษาการเจริญพนั ธ์ุของปลา 3 ชนิด โดยการเตรียมพอ่ แม่พนั ธ์ุปลาในบอ่ ดนิ ชนิดละ 30 ตวั แยกเพศผ้แู ละเพศเมียอยา่ งละ 15 ตวั วางแผนการทดลองแบบสมุ่ ตลอดสมบรู ณ์ (Completely Randomized Design; CRD) โดยใช้ชนิดปลาและคผู่ สมพนั ธ์ุเป็ นหน่วยทดลองสว่ นจํานวนพอ่ แม่พนั ธ์ุปลาและจํานวนคผู่ สม พนั ธ์ุเป็ นจํานวนซํา้ ซง่ึ แบง่ การทดลองเป็ น 3 หนว่ ยการทดลอง ดงั นี ้ หน่วยการทดลองท่ี 1 การเลยี ้ งพอ่ แมพ่ นั ธ์ุปลาบกึ ลกู ผสม อายปุ ระมาณ 3 ปี ขนาดเฉลีย่ 3.5 กก. หน่วยการทดลองท่ี 2 การเลยี ้ งพอ่ แม่พนั ธ์ปุ ลาสวาย อายปุ ระมาณ 3 ปี ขนาดเฉล่ีย 3 กก. หน่วยการทดลองท่ี 3 การเลีย้ งพอ่ แมพ่ นั ธ์ุปลาบกึ อายปุ ระมาณ 10 ปี ขนาดเฉลี่ย 15 กก. ในหน่วยการทดลองที่ 1 และ 2 ปลาแตล่ ะตวั จะทําเคร่ืองหมายโดยการฉีดสี Alchian bule ท่ีโคนครีบหลงั และ ครีบก้น ขณะท่ีหน่วยการทดลองที่ 3 ปลาแตล่ ะตวั จะฝังไมโครชิพเพ่ือติดตามข้อมลู ตา่ งๆ เป็ นรายตวั โดยปลา แตล่ ะชนิดและแตล่ ะเพศเลีย้ งในบ่อดินขนาด 50 ตารางเมตร ระดบั นํา้ ลกึ 1 เมตร ให้อาหารผสมท่ีมีโปรตีน 30% ประกอบด้วยปลาป่ น 7% กากถวั่ เหลือง 40% ปลายข้าวและรําอยา่ งละ 21.5% และสาหร่ายสไปรูลินา สด 5% ให้อาหาร 2 เปอร์เซน็ ต์ของนํา้ หนกั ตวั ทกุ วนั โดยแบง่ ให้เวลาเช้าและเยน็ ตรวจสอบจํานวนพ่อแม่พนั ธ์ุปลาแต่ละชนิดที่พร้อมผสมพนั ธ์ุโดยตรวจการพฒั นาของไข่และนํา้ เชือ้ โดยการรีดไข่และนํา้ เชือ้ หากมีการพฒั นาของไข่และพร้อมที่จะผสมเทียมจะใช้ฮอร์โมน suprefact (HRH-a) 5 ไมโครกรัม/กิโลกรัมและยาเสริมฤทธิ์ motilium ในอตั รา 20-40 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ศึกษาจํานวนไข่ (ฟอง/ กรัม) นํา้ หนักไข่รวม (กรัม/กิโลกรัมปลา) ปริมาณนํา้ เชือ้ (มิลลิลิตร/กิโลกรัมปลา) ความเข้มข้นของนํา้ เชือ้ (เซลล์/มิลลิลิตร) ของปลาบึก ปลาสวายและปลาลกู ผสม ศกึ ษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งนํา้ หนกั ตวั กบั ปริมาณไข่ และนํา้ เชือ้ โดยมีสตู รคาํ นวณดงั นี ้ วารสารวิจยั เทคโนโลยีการประมง ปีที่ 7 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2556

30 ความเข้มข้นของนํา้ เชือ้ เจือจางนํา้ เชือ้ กบั นําเกลอื (NaCl) 0.9% ในอตั ราสว่ น 1:800 ดดั แปลงจาก วิธีของ Uavechnichkul (2009) โดยใช้สไลด์นบั เม็ดเลอื ด (hemocytometer) ใช้สตู รคาํ นวณดงั นี ้ 40 N x 106 เซลล์/มิลลลิ ติ ร. เม่ือ N คือ จํานวนเซลล์อสจุ ิที่พบในสี่เหล่ียมจตั รุ ัส 5 ช่อง หาความสัมพันธ์ระหว่างนํา้ หนักไข่รวมและปริมาณนํา้ เชือ้ กับนํา้ หนักตัว ของปลาลกู ผสมแบบ ถดถอยเชิงเส้น (linear regression) ด้วยวิธี least square โดยใช้โปรแกรม Microsoft excel โดยแปลงข้อมลู เป็ นคา่ log 2 ศึกษาประสิทธิภาพการผสมพันธ์ุ ทําการผสมระหวา่ งพอ่ แมพ่ นั ธ์ุที่เป็ นปลาบกึ และปลาสวายแท้ ปลาลกู ผสมกบั ลกู ผสม ปลาบกึ (พอ่ )xปลาลกู ผสม (แม)่ หลงั จากการผสมเทียมศกึ ษาอตั ราการปฏิสนธิ อตั รา การฟัก อตั ราการรอดของลกู ปลาภายใน 6 วนั หลงั ฟักออกเป็ นตวั โดยมีสตู รการคํานวณดงั นี ้ อตั ราการปฏิสนธิ (Fertilization rate; %) = จํานวนไขท่ ี่ปฏิสนธิ x 100 จํานวนไขท่ งั้ หมด อตั ราการฟักเป็นตวั (Hatching rate; %) = จํานวนไขท่ ี่ฟักออกมา x 100 จํานวนไขท่ ี่ปฏิสนธิ อตั ราการรอด (Survival rate; %) 6 วนั หลงั ฟัก = จํานวนลกู ปลาที่รอด x 100 จํานวนลกู ปลาเริ่มต้น 3 การอนุบาลลูกปลา โดยนําลกู ปลาอายุ 6 วนั ไปอนบุ าลตอ่ ในต้กู ระจกขนาด 20 x 42 เซนตเิ มตร ในอตั ราส่วนความหนาแน่น 150 ตวั /ตู้ โดยให้ไรแดงร่วมกบั อาหารลกู กบผสมกบั ปลาป่ นและรําละเอียด เมื่อ ปลาอายุ 20 วนั ให้อาหารลกู กบ 10 % ของนํา้ หนกั ตวั จํานวน 3 มือ้ / วนั และวดั ความยาวเหยียดของลกู ปลา แตล่ ะชนิดเมื่อมีอายคุ รบ 30 วนั สถิตทิ ่ีใช้ในการทดลอง หาความแตกตา่ งทางสถิติโดยวิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ one way analysis of variance หลงั จากนนั้ เปรียบเทียบคา่ เฉล่ียรายคดู่ ้วยวิธีของ Tukey’s test ท่ีระดบั ความเช่ือมน่ั 95 % โดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูป Statistic Package Social Science (SPSS) version 17 ผลการศึกษา การเจริญพนั ธ์ุของปลา 3 ชนิด จากการเพาะขยายพนั ธ์ุปลาตงั้ แตเ่ ดือนพฤษภาคม - ตลุ าคม พบว่า ปลาลกู ผสมที่มีอายปุ ระมาณ 3 ปี ทงั้ เพศผ้แู ละเพศเมียมีความพร้อมในการผสมพนั ธ์ุตลอด 6 เดือน และครบทงั้ 12 ครัง้ โดยพบมากในเดือน มิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม รองลงมาคือทงั้ ปลาสวายเพศผู้และปลาบึกเพศผู้พบมากในเดือนมิถุนายนและ สิงหาคม สว่ นปลาสวายเพศเมียและปลาบกึ เพศเมียจะพบมากในช่วงเดือนมิถนุ ายนและสงิ หาคม แตใ่ นเดือน ตลุ าคมจะพบเฉพาะปลาลกู ผสมทงั้ เพศผ้แู ละเพศเมียเทา่ นนั้ (Figure 1) จาก Table 1 แสดงความสมบรู ณ์ใน การเจริญพนั ธ์ุของพอ่ แม่พนั ธ์ุปลาทงั ้ 3 ชนิด ได้แก่ จํานวนไข่ นํา้ หนกั ไข่รวม ปริมาณนํา้ เชือ้ ความเข้มข้นของ นํา้ เชือ้ ของปลาบกึ ปลาสวายและปลาลกู ผสม พบว่าจํานวนไข่ต่อนํา้ หนกั ไข่1 กรัม โดยมีค่าเฉล่ียเรียงลําดบั วารสารวิจยั เทคโนโลยีการประมง ปีท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2556

31 จากมากไปน้อยได้แก่ ปลาสวาย ปลาลูกผสมและปลาบึก มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) สว่ นคา่ นํา้ หนกั ไขร่ วมโดยเรียงจากมากไปน้อย ได้แก่ ปลาลกู ผสม ปลาบกึ และปลาสวาย ซง่ึ มีความ แตกตา่ งทางสถิติ ปริมาณของนํา้ เชือ้ พบวา่ ปลาลกู ผสมให้ปริมาณนํา้ เชือ้ สงู สดุ รองลงมาคือปลาสวายและปลา บกึ ตามลําดบั ซงึ่ มีความแตกตา่ งทางสถิติ ขณะที่คา่ ความเข้มข้นของนํา้ เชือ้ ไม่มีความแตกตา่ งทางสถิติ ผล ของความสัมพันธ์ระหว่างนํา้ หนักไข่ (กรัม) กับนํา้ หนักตัว (กรัม) โดยได้สมการถดถอยเชิงเส้น (linear regression) ดงั นี ้Log y = 3.101 log X – 8.483 (R2 = 0.715) เม่ือ y คอื นํา้ หนกั ไข่ และ X คือ นํา้ หนกั ตวั และ ความสมั พนั ธ์ระหว่างปริมาณนํา้ เชือ้ (มิลลิลิตร) กบั นํา้ หนกั ตวั (กรัม) ในพ่อปลาลกู ผสมโดยได้สมการดงั นี ้ log y = 0.873 log X – 1.667 (R2 = 0.558) เมื่อ Y คอื ปริมาณนํา้ เชือ้ และ X คือ นํา้ หนกั ตวั (Figure 2) AB   Figure 1 The numbers of the fish maturityseparated by species and sexduring maturation in each month. A; Male, B; Female AB Figure 2 The relationship between body weight and fecundity (A) and semen volume (B) ประสทิ ธิภาพการผสมพนั ธ์ุ จาก Table 2 พบว่าอตั ราปฏิสนธิ 6 ชวั่ โมงหลงั การผสมโดยคผู่ สมระหวา่ งพ่อปลาบึก x แม่ปลา ลกู ผสมมีค่าเฉลี่ยสงู สดุ (98%) รองลงมาคือ ค่ผู สมปลาบกึ x ปลาบึก (97%) คผู่ สมระหวา่ งสวาย x สวาย วารสารวิจยั เทคโนโลยีการประมง ปีท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2556

32 (96.5%) และคผู่ สมลกู ผสม x ลกู ผสม (76%) ตามลาํ ดบั ซงึ่ มีความแตกตา่ งทางสถิตขิ ณะที่คา่ อตั ราการฟักไม่มี ความแตกต่างกนั ทางสถิติ คา่ อตั ราการรอด 6 วนั หลงั ฟัก พบว่า ค่ผู สมระหว่างพ่อปลาลกู ผสม x แม่ปลา ลกู ผสม มีคา่ อตั รารอดเฉลย่ี สงู สดุ รองลงมาคอื คผู่ สมพอ่ ปลาสวาย x แม่ปลาสวาย คผู่ สมพ่อบกึ x แม่ลกู ผสม และคผู่ สมพอ่ ปลาบกึ x แม่ปลาบกึ ตามลําดบั ซงึ่ มีความแตกตา่ งกนั ทางสถิติ Table1 Sexual maturity parameters of brood stock from 3 species P. gigas P. hypophthalmus Hybrid N = 18 (f7, m11) N = 6 (f3, m 3) N = 7 (f2, m 5) 1,541±115.8a 125.5±24.2a Number of eggs (eggs/gram) 1,028±18.5b 1,594±90.9a 9.16±0.7a Average egg weight(gram/kg) 68.2±16.3a 24.3±7.0b 28,274±7,470 Semen volume (ml/kg) 3.1±0.6b 7.2± 0.5a Semen intensity (106 cells/ml) 22,751±10,096 31,255±5,945 Values with different superscripts in the same row are significantly different (p<0.05) f = female; m = male; N = number of fish, mean ± SD Table2 Effectiveness of propagation from 4 mating Mating Fertilization rate (%) Hatching rate (%) Survival rate (%) P. gigas x P. gigas (N=3) 97±0.7a 65±2.0 6.3±0.5b P.gigas (male) x Hybrid (female) (N=3) 98.6±0.6a 58±9.0 6.5±0.4b Hybrid x Hybrid (N=4) 76±6.0b 64±11.5 29.0±6.0a P. hypophthalmus x P. hypophthalmus (N = 1) 96. 5 53.0 7.4 Values with different superscripts in the same column are significantly different (p<0.05) P. hypophthalmus x P. hypophthalmus; No comparison with statistics, N = Number of mating, mean ± SD การอนุบเามล่ือลอกูนปบุ าลลาลกู ปลาท่ีได้จAากการผสมทงั้ 4 ชนิด ครบ 30 วนั สมุ่ ลกู ปลาเพ่ือทําการวดั ความยาว พบวา่ ความยาวเหยียดเฉล่ียของลูกปลาบึกมีค่าสูงสุดรองลงมา คือ ปลาลูกผสมท่ีได้จากคู่ผสมระหว่างพ่อปลา ลกู ผสมกบั แม่ปลาบกึ ปลาลกู ผสมบกึ สยามที่ได้จากคผู่ สมระหวา่ งพ่อปลาลกู ผสมกบั แม่ปลาลกู ผสม และลกู ปลาสวายตามลําดบั ซงึ่ มีความแตกตา่ งกนั ทางสถิติ (Table 3 และ Figure 3) วารสารวิจยั เทคโนโลยีการประมง ปีที่ 7 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2556

33 Table 3 Comparison of total length at 30 days old fingering from 4 treatments. P. gigas Backcross Hybrid Hybrid P. hypophthalmus 3.9 ±0.33c Total length (cm) 4.5 ± 0.12a 4 .3 ± 0.12b 4.0 ± 0.08c Values with different superscripts in the same row are significantly different (p<0.05) m = male; fm = female, mean ± SD Figure 3 Total length of fingering 30 days old of P. gigas (A), hybrid (B), backcross hybrid (C), P. hypophthalmus (D) อภปิ รายผลการทดลอง จากการเพาะขยายพนั ธ์ปุ ลา 12 ครัง้ พบวา่ ปลาลกู ผสมเพศผ้แู ละเพศเมียมีความพร้อมที่จะผสมพนั ธ์ุ มากท่ีสดุ รองลงมาคือปลาบึกเพศผู้ ปลาสวายเพศผู้ ปลาสวายเพศเมียและปลาบึกเพศเมียแสดงให้เห็นว่า ปลาลกู ผสมมีช่วงฤดผู สมพนั ธ์ุที่ยาวนานกว่าปลาสวายและปลาบึกซ่ึงเป็ นข้อมูลที่ยงั ไม่พบรายงานมาก่อน เกี่ยวกบั ช่วงฤดผู สมพนั ธ์ุของปลาลกู ผสมเปรียบเทียบกบั สายพนั ธ์ุแท้ มีเพียงรายงานที่เกี่ยวกบั ความสามารถ ในการสบื พนั ธ์ไุ ด้ของปลาลกู ผสม ดงั เชน่ Krasnai (1987) พบวา่ ปลาลกู ผสมที่เกิดจาก Hypophthalmichthys molitrix x Aristichthys nobilis สามารถสืบพนั ธ์ุได้และมีอตั ราการเจริญเตบิ โตดี สอดคล้องกบั การศกึ ษาของ Snucins (1993) พบวา่ ปลาลกู ผสมท่ีเกิดจาก Salvelinus namaycush x S. fontinalis สามารถสืบพนั ธ์ุได้และ เจริญเติบโตเร็วกวา่ สายพนั ธ์ุแท้เน่ืองจากได้รับ heterosis เชิงบวก (positive heterosis) จากพอ่ แม่จํานวนไข่ ในปลาสวายและปลาลกู ผสมมีคา่ สงู สดุ และต่ําสดุ ในปลาบกึ ทงั้ นีจ้ ะเนื่องมาจากขนาดไข่ของปลาบกึ มีขนาด ใหญ่ที่สดุ ขณะท่ีไขข่ องปลาสวายและปลาลกู ผสมมีขนาดเลก็ และมีคอ่ นข้างใกล้เคียงกนั วารสารวิจยั เทคโนโลยีการประมง ปีท่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2556

34 จากการศึกษาของ Tevarutmaneekul (2007)พบว่าไข่ปลาบึกนํา้ หนัก1 กิโลกรัม มีจํานวนไข่อยู่ ประมาณ 800,000 ฟอง (800 ฟอง/กรัม) อาจจะเน่ืองมาจากความแตกต่างระหว่างพ่อแม่พนั ธ์ุที่ได้จาก ธรรมชาติกับพ่อแม่พนั ธ์ุท่ีเลีย้ งในบ่อดิน ส่วนนํา้ หนกั ไข่โดยปลาลกู ผสมมีค่าสงู สดุ และรองลงมาคือ ปลาบึก ปลาสวาย ตามลําดับ สอดคล้องกับปริมาณนํา้ เชือ้ ซึ่งมีค่าสูงสุดในปลาลูกผสมทัง้ นีอ้ าจจะเป็ นผลมาจาก heterosis ซ่ึงได้ลกั ษณะการเจริญพนั ธ์ุที่เร็วจากปลาสวายและการเจริญเติบโตจากปลาบึกจึงทําให้ลกู ผสมมี ความดีเดน่ กวา่ พอ่ แม่ สอดคล้องกบั ผลการศกึ ษาของ Rahmanet al. (1995) รายงานวา่ ปลาหนงั ลกู ผสมท่ีใช้ Clarias batrachus (female) x Clarias gariepinus (male) มีคา่ heterosis ของอตั ราปฏิสนธิ อตั ราการรอด เพ่ิมขนึ ้ และอตั ราการตายลดลงเมื่อเปรียบเทียบกบั การผสมภายในชนิดเดยี วกนั การศกึ ษาของ Thanith (2008) พบว่าความสมั พนั ธ์ในรูปสมการ logarithm ของระหวา่ งความดกไข่ กบั นํา้ หนกั ตวั มีมากกว่าความดกไข่กบั ความยาวตวั โดยมีค่า R2 เท่ากบั 0.49 และ 0.45 ตามลําดบั แต่ใน การศึกษาครัง้ นี ้ ได้ใช้ประชากรพ่อแม่พันธ์ุปลาลูกผสมที่เลีย้ งไว้ในบ่อดินโดยใช้ตัวอย่างปลาเพศผู้ 11ตัว เพศเมีย 7 ตวั มีคา่ R2 = 0.558 และ R2 = 0.715 ตามลําดบั แสดงวา่ ความดกไขแ่ ละปริมาณนํา้ เชือ้ ของพอ่ แม่ พนั ธ์ุปลาบกึ ลกู ผสมท่ีเลีย้ งในบอ่ ดนิ มีความสมั พนั ธ์กบั นํา้ หนกั ตวั ในระดบั ปานกลาง สว่ น Olurin and Savage (2011) รายงานว่าความดกไข่ไม่มีความสัมพันธ์กับนํา้ หนักตัวและความยาวเหยียดในปลาช่อนแอฟริกา (Parachanna obscura) จากแม่นํา้ Oshun ของประเทศไนจีเรีย ซงึ่ คา่ R2 ของความดกไขก่ บั นํา้ หนกั ตวั และ ความยาวเหยียดเทา่ กบั 0.22 และ 0.49 ตามลําดบั ขณะท่ี Unakornsawat et al.(2011) พบวา่ ปริมาณไขข่ อง แม่ปลาบกึ ที่เลีย้ งในบอ่ ดนิ ไม่มีความสมั พนั ธ์กบั นํา้ หนกั ตวั เช่นปี พ.ศ. 2550 แม่ปลาบกึ นํา้ หนกั 56 กิโลกรัมให้ ไข่หนกั 1,090 กรัม ขณะท่ีแม่ปลาบกึ นํา้ หนกั 42 กิโลกรัม ให้ไข่หนกั 1,680 กรัม และปี พ.ศ. 2552 แม่ปลา หนกั 55 กิโลกรัมให้ไข่หนกั 800 กรัมขณะท่ีแม่ปลาบกึ อีกตวั หนกั 39 กิโลกรัมให้ไขห่ นกั 1,600 กรัม ดงั นนั้ จงึ นา่ จะมีปัจจยั อ่ืนมาเกี่ยวข้องเช่น คณุ ภาพของอาหาร ชว่ งเวลาในการฉีดฮอร์โมน เป็ นต้น ส่วนอัตราปฏิสนธิจากการศึกษาของ Anuar et al.,(2011) พบว่าลูกผสมระหว่างปลา P. hypophthalmus (เพศเมีย) กบั Pangasiu snasutus (เพศผ้)ู มีอตั ราปฏิสนธิสงู (81.17%) เม่ือเทียบกบั คผู่ สมสลบั เพศ (reciprocal) ซงึ่ มีคา่ อตั ราปฏิสนธิตํ่า (60.96%) ขณะที่ผลจากการศกึ ษาในครัง้ นีพ้ บว่าอตั รา การปฏิสนธิในคผู่ สมระหว่างปลาบกึ (เพศผ้)ู กบั ปลาลกู ผสม (เพศเมีย) มีคา่ ใกล้เคียงกบั คผู่ สมระหวา่ งปลาบกึ กบั ปลาบกึ และต่าํ สดุ ในคผู่ สมระหวา่ งปลาลกู ผสมกบั ปลาลกู ผสม แตจ่ ากการศกึ ษาของ Anuar et al. (2011) พบว่า อตั ราการฟักของลกู ผสมระหว่าง P. hypophthalmus (เพศเมีย) กบั Pangasius nasutus (เพศผ้)ู เท่ากบั 83.06±2.7% เช่นเดียวกบั รายงานของ Thai fisheries department (2009) พบว่าไข่ปลาบกึ จะใช้เวลา ในการฟักออกประมาณ 29–32 ชวั่ โมง ที่อณุ หภมู ินํา้ 25–27oC อตั ราการฟักระหว่าง 11.7-19.4% นอกจากนี ้ ยงั มีรายงานของ Saidin and Othman (1986) ปลาหนงั สกลุ Pangasius ถ้าควบคมุ อณุ หภมู ิอย่รู ะหวา่ ง 28 – 32 o C จะมีอตั ราปฏิสนธิระหว่าง 70 – 80% และอตั ราการฟัก 30 – 45% เช่นเดียวกบั รายงานการผสมข้าม ระหว่างสกลุ Clarias กบั Pangasius พบวา่ ถึงแม้จะมีอตั ราปฏิสนธิสงู (68 – 96%) แตอ่ ตั ราการฟักต่ํามากคือ วารสารวจิ ยั เทคโนโลยีการประมง ปีท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2556

35 11 – 23% (Tarnchalanukit, 1985) และจากการศกึ ษาของ Morni (2003) ได้รายงานวา่ การผสมข้ามระหวา่ ง Clarias macrocephalus กบั Clarias gariepinus มีอตั ราปฏิสนธิ 48 – 83% และอตั ราการฟัก 40–86% อตั ราการรอด 6 วนั หลงั ฟักพบว่าคผู่ สมระหวา่ งปลาลกู ผสมกบั ปลาลกู ผสม มีอตั รารอดสงู เม่ือเทียบกบั คผู่ สม สวายกบั สวาย คผู่ สม backcross และ ปลาบึกกบั ปลาบึก 29.0±6.0, 7.4, 6.5±0.4 และ 6.3± 0.5% ตามลําดบั สอดคล้องกบั รายงานของ Thai fisheries department (2009) และ Anuar et al., (2011) กลา่ วว่า ลกู ปลาบกึ มีนิสยั ชอบกดั กินกนั โดยมกั จะเริ่มในชว่ั โมงที่ 24 หลงั จากการฟักออกเน่ืองจากลกู ปลากลมุ่ นีจ้ ะเริ่ม มีฟันตงั ้ แต่ 18 ชว่ั โมงหลงั ฟักเป็ นตวั และจะสมบรู ณ์ภายใน 2 - 3 วนั หลงั ฟัก ดงั นนั ้ ชว่ งระยะเวลาดงั กลา่ วถือว่า เป็ นช่วงวกิ ฤตได้ จากการศกึ ษาครัง้ นีพ้ บว่าปลาลกู ผสมทงั้ 2 ชนิดเม่ือมีอายุ 30 วนั มีความยาวเหยียดมากกว่าปลา สวายแตน่ ้อยกวา่ ปลาบกึ สอดคล้องกบั การศกึ ษาของ Bosworth et al (1997) พบว่าลกู ปลาอายุ 7 วนั หลงั ฟัก ปลาลกู ผสมที่ได้จากการผสมกลบั ระหวา่ ง F1 (เมีย) x Morone saxatilis (ผ้)ู และ M. chrysops (เมีย) x F1 (ผ้)ู มีความยาวเหยียดมากกวา่ ลกู ปลาพนั ธ์ุแท้ M. chrysops x M. chrysops นอกจากนีล้ กู ปลาที่ได้จากคผู่ สม ระหวา่ ง Morone saxatilis (เมีย) x M. chrysops (ผ้)ู มีความเหยียดน้อยกว่า Morone saxatilis x Morone saxatilis สรุปและข้อเสนอแนะ ปลาลูกผสมทงั้ เพศผู้และเพศเมียมีการเจริญพนั ธ์ุดีท่ีสุดโดยพิจารณาจาก ค่าความดกไข่ ปริมาณ นํา้ เชือ้ ที่สงู ท่ีสดุ และฤดกู าลผสมพนั ธ์ุที่ยาวนานกว่าพอ่ แม่พนั ธ์ุปลาชนิดอ่ืน สว่ นประสทิ ธิภาพการผสมพนั ธ์ุใน คผู่ สมพอ่ ปลาบกึ กบั แมป่ ลาบกึ ปลาปลาบกึ กบั แม่ปลาลกู ผสมดีท่ีสดุ เพราะมีอตั ราปฏิสนธิสงู สดุ ขณะที่อตั รา รอดในคผู่ สมระหวา่ งพอ่ ปลาลกู ผสมกบั แมป่ ลาลกู ผสมมีคา่ สงู สดุ ในอนาคตพอ่ แม่พนั ธ์ุปลาลกู ผสมน่าจะมีความเหมาะสมที่จะนําไปพฒั นาเชิงพาณิชย์ได้ดี ขณะที่ปลา ลกู ผสมท่ีได้จากการผสมกลบั ก็เป็ นอีกทางเลือกหน่ึงที่ใช้ในการผลิตปลาลกู ผสมเพ่ืออตุ สาหกรรมและการค้า เพราะมีอตั ราการปฏิสนธิ อตั ราการฟัก อตั ราการรอดและความยาวเฉล่ียเมื่อมีอายุ 30 วนั ใกล้เคียงปลาลกู ปลาบกึ แตอ่ ยา่ งไรก็ตามจําเป็ นจะต้องคดั พอ่ แมพ่ นั ธ์ทุ ่ีดี มีการจดั การเก่ียวกบั อาหารและคณุ ภาพนํา้ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอาหารมีชีวิต เช่น ไรแดง ซ่ึงมีความสําคญั มากในขนั้ ตอนการอนบุ าลและควรแยก อนบุ าลลกู ปลาท่ีมีขนาดโตออกออกจากลกู ปลาขนาดเลก็ เนื่องจากลกู ปลาจะมีพฤติกรรมการกินกนั และสง่ ผล ตอ่ อตั ราการรอดได้ กติ ตกิ รรมประกาศ ขอขอบคณุ สํานกั งานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ (วช.) ที่สนบั สนนุ งบประมาณการวิจยั ในครัง้ นี ้และ ขอบพระคุณอาจารย์ เจ้ าหน้ าท่ีตลอดจนนักศึกษาคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนํา้ มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ ทกุ ทา่ นที่ให้คําปรึกษาและอํานวยความสะดวกตา่ งๆ จนงานวจิ ยั นีส้ าํ เร็จมาด้วยดี วารสารวิจยั เทคโนโลยีการประมง ปีที่ 7 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2556

36 เอกสารอ้างองิ Anuar, H., Mohd A. A. and AGUS P. S .2011. Crossbreeding of Pangasianodon hypophthalmus (SAUVAGE, 1878) and Pangasius nasutus(BLEEKER, 1863) and Their Larval Development. Journal of Sustainability Science and Management .6 : 28-35 p. Bosworth, B. G., Libey. G. S. and Notter, D. R. 1997. Egg, larval, and fingerling traits of crosses among striped bass (Morone saxatilis), white bass M. chrysops, and their Fl hybrids. Aquaculture.154. 201 – 217 p. Burnside, E. B. 2004. To Successfully Crossbreed, It Is Essential to Utilize Breeds That is Competitive and Superior for Individual Strait. Article of Crossbreeding for Profit. November 2004. Twoplus. Norwegia. Dunham, R. A., and Masser, M. 1998. Production of Hybrid Catfish. SRAC Publication.No. 190. Southern Regional Aquaculture Center. IUCN. 2005. 2005 IUCN Red List of Threatened Species. [Online]. Available From http:// www.iucnredlist.org. [2012, October 31]. Krasnai, Z. L. 1987. Interspecific Hybridization of Warm Finfish. - In: Tiews, K. (ed.), Selection, Hybridization, and Genetic Engineering in Aquaculture, Vol 2. FAO, EIFAC and ICES, Rome, Italy and Copenhagen, Denmark, pp. 35-45. Mengumphan K and Saengkrachang J. 2008. Production of Generation 2 Mekong Giant Catfish (Pangasainodon gigas) Cultured with Spirulina sp. Maejo International Journal of Science and Technology. 2(03): 559-567 p. Morni, M. M. 2003. Study on Crossbreeding between Asian and African Catfish (Clarias macrocephalus and Clarias gariepinus) and Some Aspects of The Hybrid Larvae Development and Rearing. Master of Science Thesis. Kolej University of Science and Technology Malaysia.137 p. Olurin K. B. and Savage O. D. 2011. Reproductive biology, length–weight relationship and condition factor of the African snake head, Parachanna obscura, from River Oshun, South-west Nigeria. International Journal of Fisheries and Aquaculture Vol.3(8).146-150 Polprasert, S., and Tavarytmaneekul, P. 1998. Biology and Propagation of Pangasianodon gigas. Academic Paper.Thai Fisheries Department.Volume 31. 79 p. [In Thai] Rahman,M.A., Bhadra,A., Begum N., Islam,M.S. and Hussain, M. G. 1995. Production of hybrid vigor through cross breeding between Clarias batrachus Lin. and Clarias gariepinus Bur. Aquaculture. 138 (1-4). 125 -130 p. วารสารวจิ ยั เทคโนโลยีการประมง ปีที่ 7 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2556

37 Saidin, T. and Othman, A. F. 1986. Induced Spawning of Pangasius sutchi(fowler) using an analog of luteinizing releasing hormone and homoplastic pituitary extract. Proceeding of the First Asian Fisheries Forum. 687-688 p. Snucins, E. J. 1993. Relative Survival of Hatchery-reared Lake Trout, Brook Trout and F1 Splake Stocked in Low-pH Lakes. - N. Am. J. Fish. Manage. 12: 460-464p. Tarnchalanukit, W. 1985. Experimental hybridization Between Catfish of the Families Clariidae and Pangasiidae in Thailand. Kasetsart University.Fishery Research Buletin Number 16. 8p. Thai Fisheries Department. 2009. Knowledge Management of Breeding and Nursing of Pangasianodon gigas. Inland Fisheries research and development Center.Thai Fisheries Department. 31. [In Thai] Tave, D. 2003. Genetics and Stock Improvement. In. Aquaculture. Farming Aquatic Animals and Plant (Ed. By J.S. Lucas And P.C. Southgate), Pp. 123-145. Blackwell Pub. Comp. Oxford. UK. Thanith T. C. 2008. Fecundity Relationship, Maturity Size and Spawning Season of Shark fish (Helicophagus waandersii Bleeker, 1858) In TheMun River, Thailand. Kasetsart University Fisheries Research Bulletin.32 (1). 17 – 29 p. Uavechnichkul, R. 2009. Knowledge Management of Analysis of Semen Quality. [Online]. Available from http://www.dld.go.th/km/th/index.php [2012, October 8]. [In Thai] Unakornsawat, Y., Khunchareon, V. and Khachaphichat, M. 2011. Propagation of Pangsianodon gigas Broodstock from Earthen Ponds. Inland Fisheries Research and Development Bureau. Department of Fisheries. Ministry of Agriculture and Cooperative. 71p. [In Thai] วารสารวจิ ยั เทคโนโลยีการประมง ปีท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2556


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook