Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือมาตรการความปลอดภัยในสถานศึกษา สพป.นม 4

คู่มือมาตรการความปลอดภัยในสถานศึกษา สพป.นม 4

Published by ส่งเสริม โคราช4, 2021-09-16 08:26:06

Description: คู่มือมาตรการความปลอดภัยในสถานศึกษา สพป.นม 4

Search

Read the Text Version

คานา คู่มือมาตรการความปลอดภัยในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 4 เล่มน้ี จัดทาข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นแนวทางในการคุ้มครอง ช่วยเหลือปูองกันและ ดูแลความปลอดภัยให้กับเด็กนักเรียน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 4 ในการดาเนนิ งานเกีย่ วกับการคุ้มครองดูแลช่วยเหลือให้นักเรียนให้ ปลอดภัยจาก ภัยคุกคามประเภทต่างๆประกอบกับเป็นแนวทางท่ีจะปฏิบัติต่อนักเรียนมิให้เกิดกรณี ละเมิด สิทธิการกระทาความรุนแรง หรือไม่ได้รับความเป็นธรรมทางการศึกษาของนักเรียนโดยยึดความปลอดภัยของ นกั เรยี นเป็นที่ตง้ั ทง้ั ด้านรา่ งกาย จิตใจ และสทิ ธิเสรภี าพทางสังคม ซึ่งจะทาให้ลดช่องว่างระหว่างนักเรียนและ บุคลากรทางการศึกษาที่มีความคิดเห็นท่ีขัดแย้ง และส่งผลสู่การจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สูงสดุ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือเล่มนี้ จะสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติที่มีผลให้เด็กนักเรียนได้รับการดูแลช่วยเหลือคุ้มครอง และเยยี วยา ไดอ้ ย่างเหมาะสมถูกต้องตามสถานการณ์รุนแรงของปัญหา แนวทางการค้มุ ครองและช่วยเหลอื เดก็ นักเรียนสานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานคราชสีมา เขค 4 กลมุ่ สง่ เสริมการจัดการศึกษา สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษานครรราชสีมา เขต 4

สารบญั เรอื่ ง หนา้ บทนา 1 มาตรการสถานศึกษาปลอดภยั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 4 2 ส่วนท่ี 1 การคุ้มครองและช่วยเหลือเดก็ นกั เรยี นขอ้ มลู ทั่วไป 3 4 1.1 นิยามเกี่ยวกบั การคุ้มครองและช่วยเหลือเดก็ นักเรยี น 5 1.2 กระบวนการและบทบาทคุ้มครองชว่ ยเหลอื เดก็ นักเรยี น 6 1.3 กระบวนการดาเนนิ งานคุ้มครองและชว่ ยเหลือเด็กนักเรียน 7 1.4 บทบาทการคุ้มครองช่วยเหลือนกั เรียน 8 สว่ นที่ 2 แนวทางการคมุ้ ครองและช่วยเหลอื เดก็ นักเรยี น 8 1. กรณลี ่วงละเมิดทางเพศ 12 2. กรณคี วามรนุ แรง 15 3. กรณีไม่ไดร้ บั ความเปน็ ธรรมจากระบบการศึกษา 17 3.1 กรณีเดก็ นักเรยี นออกกลางคัน 18 3.2 กรณีเด็กนกั เรยี นติด 0 ร และ มส. 19 4. ตงั้ ครรภ์ในวัยเรียน 21 5. ภาวะจิตเวช 24 6. เดก็ นกั เรยี นตดิ เกม/อนิ เตอร์เนต็ /เล่นการพนนั 28 7. เด็กนกั เรียนถกู ปล่อยปละ ละเลย ทอดท้ิง 31 8. ยาเสพติด 33 9. อุปทานหมู่ 36 10.โรคตดิ ต่อในสถานศกึ ษา 38 11.อบุ ตั ิเหตุภายในสถานศกึ ษา 39 11.1 กรณอี บุ ัติเหตภุ ายในสถานศกึ ษา (เด็กนกั เรียนจมน้า) 42 11.2 กรณีอุบัตเิ หตภุ ายในสถานศึกษา (เด็กนกั เรยี นเสยี ชีวิตในสถานศกึ ษา) 43 12.อุบัติเหตุภายนอกสถานศึกษา 46 13.ภัยพิบัติ 47 14.การกล่ันแกล้ง (Bully) 49 บรรณานุกรม 52 ภาคผนวก แบบรายงาน ฉก.01

1 บทนา ด้วยสภาพสังคมโลกในยุคโลกาภิวัตน์ นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา จึงจาเป็นต้องปรับตัว เพือ่ ใหส้ ามารถดารงชวี ติ อย่ไู ด้อยา่ งรเู้ ทา่ ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงของโลก การศกึ ษาจงึ เป็นกลไกสาคัญในการพัฒนา ทรัพยากรมนษุ ย์ให้มีคุณภาพ และมีผลต่อพฤติกรรมของเด็กนกั เรยี นและเยาวชนในสงั คมไทย จากการศึกษาข้อมูล จาก กรมสุขภาพจิตในส่วนของการให้บริการสายด่วนสุขภาพจิตในช่วง 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2563 (ตลุ าคม 2562 - มีนาคม 2563) พบว่า 1 ใน 3 ของผใู้ ชบ้ รกิ ารทั้งหมดเปน็ กลุ่มเด็กและเยาวชน อายุ 11 - 25 ปี และปัญหาท่ีพบมาก 5 อันดับ คือ ปัญหาความเครียดหรือวิตกกังวล ปัญหาจิตเวช ปัญหาความรัก ปัญหา ซึมเศร้าและปัญหาครอบครวั ท่อี าจนาไปสูพ่ ฤตกิ รรมท่ีไม่พงึ ประสงค์หรือเหตุการณท์ ี่เปน็ อันตราย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาและแก้ปัญหา เดก็ นกั เรียนและเยาวชนในสังคมไทยเปน็ อยา่ งยิ่ง เพราะเป็นแนวทางในการพัฒนา สร้างผลผลิต ผลลัพธ์ให้เกิดกับ ผูเ้ รียน ให้มคี วามสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศในช่วงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ท่ีสามารถตอบสนองต่อเปูาหมายของการพัฒนา ประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่ิงยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ซ่ึงเป็น ยุทธศาสตร์ท่ีเน้นการวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้น การพัฒนาและยกระดับคนในทุกมิติ และในทุกช่วงวัย ให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ดี เก่ง และมีคุณภาพ พร้อม ขบั เคลอ่ื นการพัฒนาประเทศไปข้างหนา้ ได้อย่างเต็มศกั ยภาพ ในการนี้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 จึงได้จัดให้มีการจัดทาคู่มือคู่มือ มาตรการความปลอดภัยในสถานศกึ ษาสงั กัดสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 4 เพ่ือให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 4 ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติตามข้ันตอนได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องสัมพันธ์กันอย่างเป็น ระบบ โดยอธิบายข้ันตอนการปฏิบัติให้ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ปฏิบัติแต่ละระดับปฏิบัติได้จริง มีผลให้เด็ก นักเรียนได้รับโอกาสและประโยชน์สูงสุด จากการคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียนของสานักงาน เขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4

2 มาตรการสถานศกึ ษาปลอดภัย (Safety School) สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ******************* หลักการและเหตุผล ด้วยสถานการณ์การเปล่ียนแปลงของบริบททางสังคมทาให้คนไทยในยุคปัจจุบันเกิดการตื่นตัว และ สนใจ การค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อพัฒนาตนเองและคนรอบข้าง ทุกคนมีสิทธิเข้าถึงข้ อมูลข่าวสาร ที่หลากหลายได้อย่างเสรีทาให้เกิดการพัฒนาตนเองเป็นแบบพลวัต สังคมถูกขับเคลื่อนผ่านการแสดงออก ด้าน สทิ ธเิ สรีภาพอยา่ งอิสระ โดยเฉพาะเดก็ หรือเยาวชนในวยั เรียนที่ให้ความสาคัญในเรอื่ งสิทธิและเสรีภาพ ของตนเอง นักเรียนมีความสนใจในการหาข้อมูลข่าวสารด้วยตนเอง ผ่านสื่อโซเชียลมีเดียท่ีหลากหลาย อีกทั้ง กล้าที่จะแสดงออกผ่านพฤติกรรมการส่ือสารออนไลน์ หรือรวมไปถึงการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ในกลุ่มวัย ของ ตนเอง เพ่ือใหผ้ ูท้ ่ีมีแนวคิดท่ีเห็นต่างได้รับรู้ และแก้ไขในส่ิงที่เรียกร้อง แต่อย่างไรก็ตาม เม่ือเกิดการ แสดงออกซึ่ง ความเหน็ ต่างทีอ่ ยู่บนพื้นฐานค่านิยมไทยอาจจะทาให้เกิดความขัดแย้งข้ึนระหว่างผู้ท่ีมีความเห็น ต่างกัน นามาซ่ึง การปะทะสู่ความรุนแรง โดยการเร่ิมจากความรุนแรงระดับเล็กน้อยจนถึงขั้นทาให้เกิดชนวน ความแตกแยกและ เข้าใจผิดทล่ี กุ ลามเปน็ ปัญหาใหญ่พรอ้ มท้ังสง่ ผลต่อความปลอดภัยของนักเรียนในโรงเรียน ซ่ึงเป็นเร่ืองสาคัญอย่าง ยิ่งทีข่ ้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาต้องคอยระมัดระวงั ปอู งกันและสนับสนุน ใหน้ ักเรียนมีความปลอดภัย สูงสุด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงได้กาหนดมาตรการโรงเรียนปลอดภัย (Safety School) เพ่ือปูองกันและดูแลความปลอดภัยให้กับบุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนในการสร้างข้อตกลง แนวทางปฏิบัติในการยอมรับฟังความคิดเห็นท่ีแตกต่างจากการแสดงออกด้านสิทธิและเสรีภาพของนักเรียน โดย การสร้างความเข้าใจในกลุ่มข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่มีหน้าท่ีหลักในการจัดการ เรียน การสอนควบคู่กับการปูองกันและส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงออกอย่างเสรีอยู่บนพื้นฐานความเหมาะสม ตามคุณลักษณะของนกั เรยี น โดยยดึ ความปลอดภยั ของนักเรยี นเปน็ ที่ตั้ง ทั้งดา้ น ร่างกาย จิตใจ และสิทธิ เสรีภาพ ทางสงั คม ซ่ึงจะทาให้ลดชอ่ งวา่ งระหว่างนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีความคิดเห็นท่ีขัดแย้ง และส่งผลสู่ การจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เพ่ือให้การดาเนินงานมาตรการ โรงเรียนปลอดภัย (Safety School) เป็นไปด้วยความเรียบร้อยเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล การดาเนินงาน เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 จึงกาหนดมาตรการ โรงเรียนปลอดภัย (Safety School) สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อกาหนดมาตรการการให้แก่สถานศึกษาในสังกัดในเป็นแนวทางในการปูองกันภัย/อุบัติเหตุ/ ความรนุ แรง ทีเ่ กดิ ข้นึ กับนักเรยี น ด้านร่างกาย จิตใจ และสิทธเิ สรภี าพทางสงั คม 2. เพอ่ื แกไ้ ขปญั หานกั เรียนท่ไี ด้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความรุนแรงเฉพาะหน้า 3. เพื่อเยียวยาและติดตามให้ความช่วยเหลือนักเรียนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความรุนแรง 4. เพื่อสรา้ งมาตรการรายงานเหตกุ ารณ์ตอ่ ผ้บู ังคบั บัญชาอย่างฉับไว 5. เพอ่ื พฒั นาบุคลากรทางการศึกษาในการดาเนินการตามมาตรการโรงเรยี นปลอดภัย เปา้ หมาย 1. โรงเรยี นในสงั กดั มีมาตรการดาเนนิ โรงเรียนปลอดภัยของนกั เรียน ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ และสทิ ธิเสรีภาพ ทางสังคม

3 2. ข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 สามรถดาเนนิ งานตามข้นั ตอนดาเนนิ การตามแผนเผชิญเหตุ ในการดาเนินการมาตรการโรงเรียนปลอดภัยมี แนวคดิ ทด่ี ีในการสร้าง ขอ้ ตกลง แนวทางปฏบิ ตั ิ และยอมรับฟังความคิดเห็นที่แตกต่างจากการแสดงออกด้านสิทธิ และเสรภี าพ ของนักเรียน ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ 1. โรงเรยี นกาหนดมาตรการ และสามารถปฏิบัติตามมาตรการดาเนนิ การโรงเรียนปลอดภัย 2. นกั เรยี นได้รบั การคุ้มครองความปลอดภัยด้านร่างการ จิตใจ และสิทธิเสรภี าพทางสังคม 3. บรรยากาศในโรงเรียนสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ 4. ส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยท่ีสนับสนุนให้บุคคลได้แสดงออกอย่างเสรีภาพ และ ความปลอดภยั สว่ นที่ 1 การคมุ้ ครองและชว่ ยเหลือเด็กนักเรยี น สถานศึกษา เป็นสถานท่ีที่เด็กนักเรียนมีความใกล้ชิดมากท่ีสุด รองลงมาจากครอบครัว ผ้ปู กครองให้การยอมรับ และคาดหวังว่าจะได้รับความรู้ การอบรมสั่งสอน การดูแลด้วยการเอาใจใส่ สถานศึกษา จะต้องคานึงถงึ ผลประโยชน์ สูงสดุ ของเด็กนักเรยี นเป็นหลกั ใหเ้ ดก็ นักเรียนไดอ้ ยู่ในสภาพแวดล้อมทางการศึกษาท่ี มีความปลอดภยั การจดั การเรยี นการสอนต้องครอบคลุม ท้ังด้านความรู้ ทักษะ สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ รวมทั้งสอนทักษะชีวิต ท่ีจาเป็นสาหรับการใช้ชีวิตที่ปลอดภัยและมีคุณภาพ ตรงตามจุดมุ่งหมายของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) คือ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ เป็นคนดี มีปัญญา มีความรู้ คู่คุณธรรม มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ นั่นคือ เด็กนักเรียนได้รับ การพฒั นาใหเ้ ป็น “คนดี เก่ง และมคี วามสขุ ” นอกจากน้ี ครตู อ้ งบูรณาการเนอ้ื หาความรู้ และพัฒนาคุณภาพเด็กนักเรียนให้มีความพร้อมอย่าง เป็นองค์รวม โดยการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตเด็กนักเรียน และแก้วิกฤติทางสังคม สถานศึกษาต้องจัดระบบงาน กิจกรรมท่ีส่งเสริมความประพฤติให้เหมาะสมความรับผิดชอบต่อสังคม และความปลอดภัยให้กับเด็กนักเรียน นา ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน พัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กนักเรียน โดยการนากระบวนการของระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน 5 ขั้นตอน ได้แก่ การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล การคัดกรองนักเรียน การส่งเสริมนักเรียน การปูองกันและแก้ไขปัญหา และการส่งต่อไปใช้ในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม เด็กนักเรียนจะต้องได้รับการพิทักษ์ ปกปูอง คุ้มครอง และดูแล โดยมีผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาเป็นแบบอย่าง ทีด่ ีในการดาเนินชีวิต การสรา้ งความปลอดภยั ให้กบั เดก็ นกั เรียน เปน็ บทบาทหน้าที่ท่สี าคญั ทสี่ ดุ ที่สถานศึกษาจะต้องดาเนินการ โดยต้องจัดให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา และครูเป็นผู้มีความสาคัญท่ีสุดในการ ขับเคล่อื น เพ่ือคุ้มครองดูแลเดก็ นักเรียน สถานศกึ ษาเป็นสถานที่ท่ีมีความใกลช้ ิดกับเดก็ นักเรยี น ดังน้ันในการสร้าง ความปลอดภัย ให้กับเด็กนักเรียนจะต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายๆ ฝุาย เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับเด็ก นักเรียนอย่างแท้จริง สถานศึกษาต้องส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กนักเรียนเติบโตอย่างเต็มศักยภาพด้วยการสร้าง ความปลอดภัยในชีวิตของเด็กนักเรียน รวมทั้งการปกปูอง คุ้มครอง และช่วยเหลือเด็กนักเรียนจากอันตรายต่างๆ ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ การสร้างความปลอดภัยให้กับเด็กนักเรียนย่อมส่งผลต่อคุณภาพการเรียนของเด็ก นกั เรียน สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ซ่ึงจะนาไปสู่การพัฒนาชีวิตที่ดี และเป็นกาลังสาคัญในการ พัฒนาประเทศต่อไป

4 1.1 นิยามเก่ยี วกับการค้มุ ครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียน การคุ้มครอง หมายถึง การดูแลช่วยเหลือเด็กนักเรียนที่เส่ียง หรือต้องสงสัยว่าถูกกระทารุนแรง หรือล่วง ละเมิด เด็กนักเรียนท่ีถูกกระทารุนแรง หรือถูกล่วงละเมิด และเด็กนักเรียนที่กระทารุนแรง หรือล่วงละเมิ ดต่อ บุคคลอื่น โดยมี ระบบและข้ันตอนการปฏิบัติท่ีคานึงถึงประโยชน์สูงสุดที่เกิดขึ้นกับเด็กนักเรียน เป็นหลัก สอดคล้องกบั หลักปฏิบัติตาม กฎหมาย และหลกั ปฏบิ ัตทิ ่ีมมี าตรฐาน การช่วยเหลือ หมายถึง การส่งเสริม พัฒนา การปูองกัน และแก้ไขปัญหา เพื่อให้เด็กนักเรียนได้พัฒนา เต็มตาม ศักยภาพ มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ มีภูมิคุ้มกันทางจิตใจท่ีเข้มแข็ง มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีทักษะการ ดารงชวี ิตและรอดพน้ จากวกิ ฤตทงั้ ปวง เด็ก หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุต่ากว่าสิบแปดปีบริบูรณ์ แต่ไม่รวมถึงผู้ที่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส นักเรียน หมายถึง เด็กซึ่งกาลังรับการศึกษาที่อยู่ในความดูแลของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน เด็กนักเรียน หมายถึง บุคคลซ่ึงมีอายุต่ากว่าสิบแปดปีบริบูรณ์ แต่ไม่รวมถึงผู้ที่บรรลุนิติภาวะด้วยการ สมรส และเป็นเด็กนักเรียนซ่ึงกาลังรับการศึกษาท่ีอยู่ในความดูแลของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน ครูนักจิตวิทยาประจาสถานศึกษา หมายถึง ข้าราชการครูท่ีปฏิบัติหน้าท่ีครูนักจิตวิทยาประจา สถานศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา ผู้ปกครอง หมายถงึ บดิ า มารดา ผู้อนุบาล ผู้รับบุตรบุญธรรม และผู้ปกครอง ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ และให้หมายความรวมถึงพ่อเล้ียง แม่เล้ียง ผู้ปกครองสวัสดิภาพ นายจ้าง ตลอดจนบุคคลอ่ืน ซึ่งรับ เดก็ นกั เรียนไวใ้ นความอุปการะเล้ยี งดูหรอื ซึ่งเด็กนักเรียนอาศยั อยู่ดว้ ย พนกั งานเจา้ หน้าท่ี หมายถึง ผ้ซู งึ่ รัฐมนตรแี ตง่ ตั้งให้ปฏบิ ตั ติ ามพระราชบัญญัติการคมุ้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546 ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษาแต่ละแห่งทั้งของรัฐ และเอกชน ผู้บริหารระดับจังหวัดสังกัด สพฐ. หมายถึง ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา/ ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา/ผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษจังหวัด/ผู้อานวยการ สานกั งาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ฉก.ชน.สพฐ. หมายถึง ศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียน สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พื้นฐาน ฉก.ชน.สพป.นม.4 หมายถึง ศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียน สานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 4 สถานศึกษา หมายถึง สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียนศูนย์การเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงานทางการศึกษา หรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐหรือเอกชนที่มีอานาจหน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ในการจัด การศึกษา ทีมสหวิชาชีพ หมายถึง กลุ่มบุคคลท่ีทางานประสานความร่วมมือจากหลายสาขาวิชาชีพ เพื่อมุ่ง แกป้ ัญหาอยา่ งมรี ะบบ เปน็ กระบวนการอยู่บนพน้ื ฐานทมี่ ีจดุ ประสงค์ และเปูาหมายเดียวกันในการปฏิบัติงาน โดย มีการติดต่อส่ือสารระหวา่ งกนั อยา่ งตอ่ เนื่อง เพื่อการประเมนิ สภาพการณ์ของปัญหา และมีความรับผิดชอบร่วมกัน ทงั้ กระบวนการ เช่น ศูนยช์ ่วยเหลอื สังคม (OSCC) มูลนิธิต่าง ๆ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ แพทย์ พยาบาล

5 เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข เจ้าพนักงานส่วนท้องถิ่น พนักงานเจ้าหน้าที่ตารวจ องค์กรเพื่อการกุศล บ้านพักเด็กและ ครอบครวั สานักงานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ เป็นตน้ ศูนย์ช่วยเหลือสังคม (OSCC) หมายถึง ศูนย์ช่วยเหลือสังคมภายใต้ช่ือ OSCC (One Stop Crisis Center) เป็นศูนย์บริการประชาชน ผู้ประสบปัญหาที่มีลักษณะบูรณาการและครบวงจร โดยมีหน้าที่รับแจ้งเหตุ เบาะแส ประสาน ส่งต่อ และติดตามการใช้ความช่วยเหลือเก่ียวกับการต้ังครรภ์ไม่พร้อม การค้ามนุษย์ การใช้ แรงงานเด็กการกระทาความรุนแรงตอ่ เด็กสตรี ผูส้ งู อายุ และคนพกิ าร 1.2 กระบวนการและบทบาทคุ้มครองชว่ ยเหลือเดก็ นักเรียน การคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียน สถานศึกษาและครูต้องมีความตระหนักและเห็น ความสาคัญในการปกปูองคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียน เพ่ือเด็กนักเรียนจะได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้ เด็กนักเรียนเติบโตอย่างมีศักยภาพ ท้ังทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ อย่างมีความสุข ดังนั้น ครูและสถานศึกษาจะต้องมีกระบวนการดาเนินงานคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียน ดงั นี้ แผนผังกระบวนการดาเนินงานคุ้มครองและชว่ ยเหลอื นกั เรยี นของสถานศกึ ษา ในสังกัดสานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 4 ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาไดร้ ับแจง้ เหตุหรือประสบเหตุ ประสานงานครูนกั จติ วิทยาประจาโรงเรยี น/ผ้รู ับผดิ ชอบงานระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ตรวจสอบขอ้ เท็จจริง ประเมนิ ปญั หา สถานการณ์ แจง้ ผู้ปกครอง/ผดู้ แู ล ดาเนนิ การชว่ ยเหลือด้านร่างกาย จติ ใจ ใหค้ าปรึกษาแก่เด็กนกั เรยี น พร้อมประเมินสถานการณ์ แจง้ ทมี ฉก.ชน.สพป.นม.4 แจง้ /ประสานการสง่ ต่อทีมสหวชิ าชพี และนักจติ วิทยาประจาเขตพ้ืนทีฯ่ ให้การดูแลชว่ ยเหลือเด็กนักเรยี น/คมุ้ ครอง/ติดตามเย่ยี ม/ฟน้ื ฟสู ภาพจิตใจ โดยคานงึ ถึงความปลอดภัยของเดก็ นกั เรยี นเป็นหลกั (รักษาความลับ) กรณีเด็กนักเรียนมคี วามเสย่ี ง กรณีเด็กนกั เรียนตอ้ งได้รับ ต้องไดร้ ับการคุม้ ครอง การสงเคราะห์ ใหค้ วามค้มุ ครองเดก็ นักเรยี น ใหเ้ จา้ หนา้ ทส่ี ง่ ตอ่ เพอ่ื รบั บรกิ ารสงเคราะหต์ ามระเบียบกระทรวงวา่ ข้นั ต้นทนั ที ดว้ ยกาสงเคราะหเ์ ด็กนกั เรียน จดั ทา/จัดเกบ็ ขอ้ มลู การดาเนินงานของสถานศึกษาสรุปผลการทางานและรายงานไปยงั สพป.นม 4 ฉก.ชน.สพป.นม 4 รายงาน สพฐ.และ ฉก.ชน.สพฐ. ตอ่ ไป

6 1.3 กระบวนการดาเนินงานค้มุ ครองและช่วยเหลือเดก็ นกั เรยี น การดาเนนิ การคมุ้ ครองและชว่ ยเหลือเด็กนักเรียนเป็นกระบวนการที่มีขั้นตอน วิธีการปฏิบัติงานและ เคร่ืองมือ โดยมีผู้บริหารสถานศึกษา ครูเป็นบุคลากรหลักในการดาเนินงานและบุคลากรทุกฝุายที่เกี่ยวข้องท้ังใน และนอกสถานศึกษา ได้แก่ ผู้ปกครอง ชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการคุ้มครองและช่วยเหลือ เด็กนกั เรยี น ซึง่ มีกระบวนการ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ผู้บริหารสถานศกึ ษา ครทู ีไ่ ดร้ บั แจ้งเหตุ หรือประสบเหตุ 2. บันทึกขอ้ มลู ตามแบบรายงาน ฉก.01 รายงานเหตกุ ารณ์และแจ้งไปยังศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและ ช่วยเหลือเด็กนักเรียน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน หากกรณีต้องการพนักงานเจ้าหน้าท่ี ให้แจ้ง ตามสภาพปัญหาที่ต้องการช่วยเหลือ เช่น ผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กนักเรียนตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 24 ตารวจ พนกั งาน ฝุายปกครอง โรงพยาบาล ฯลฯ 3. ผู้ที่ได้รบั แจ้งเหตุดาเนินการช่วยเหลือ ด้านร่างกายและจิตใจ พร้อมประเมินสถานการณ์เบื้องต้น โดยทันที 4. ให้การคุม้ ครองและชว่ ยเหลอื เด็กนักเรยี น โดยคานงึ ถึงความปลอดภัยของเดก็ นกั เรียน 5. กรณีเด็กนักเรียนมีความเส่ียงต้องได้รับการคุ้มครอง และจัดเจ้าหน้าที่ให้ความคุ้มครองขั้นต้นกับ เด็กนักเรียนผู้ประสบเหตุทันที ซึ่งจะต้องคานึงถึงผลความปลอดภัยของเด็กนักเรียน พร้อมดาเนินการหาข้อมูล ข้อเท็จจริง และกรณเี รง่ ด่วนให้รายงานหน่วยงานต้นสังกัดทันที 6. กรณเี ดก็ นักเรียนพงึ ไดร้ บั การสงเคราะห์ โดยใหเ้ จ้าหน้าทส่ี ง่ ตอ่ ไปรบั บรกิ ารสงเคราะห์ 7. ประสานข้อมูล จัดทา/จัดเก็บข้อมูลสถานศึกษา และรายงานไปยัง สพป.นครราชสีมา เขต 4 และ ผูเ้ ก่ยี วขอ้ งทราบ 8. รายงานและประสานความรว่ มมอื เพอื่ สง่ ตอ่ ความรบั ผิดชอบดา้ นข้อมลู แก่ผเู้ กีย่ วข้อง 9. ติดตามสถานการณ์และทบทวนการดาเนินงานและรายงานสถานการณ์ต่อศูนย์เฉพาะกิจ ค้มุ ครอง และช่วยเหลอื เด็กนกั เรียน กรณีเร่งดว่ นของการรายงาน 1. กรณีเป็นข่าว สื่อมวลชนเข้าติดตามสถานการณ์ให้สถานศึกษาประมวลสถานการณ์แล้ว รายงานต่อต้นสงั กดั ทนั ที ตามช่องทางการส่ือสาร เชน่ LINE โทรศัพท์ โทรสาร และหนงั สอื ราชการ 2. กรณีฉุกเฉิน/รุนแรงให้รายงานต่อต้นสังกัดทราบทันทีหรือภายใน 24 ชั่วโมง ตามแบบ รายงาน ฉก.01 โดยตดิ ตามผลพรอ้ มรายงาน เป็นระยะ 3. กรณีเรื่องยุติแล้ว ให้รายงานการดาเนินงานตามแบบสรุปผลการดาเนินงานคุ้มครองและ ชว่ ยเหลือ เด็กนักเรียนตามลาดับข้ัน เพื่อให้การรายงานมีประสิทธิภาพ สถานศึกษาควรติดตาม ตรวจสอบผลการ รายงานอกี คร้งั พรอ้ มทงั้ จดั เกบ็ ขอ้ มูลอยา่ งเปน็ ระบบเพื่อใชใ้ นการดาเนินงานต่อไป

7 1.4 บทบาทการคุ้มครองช่วยเหลือนักเรยี น บทบาทครู 1. ให้การศกึ ษาแกเ่ ดก็ นักเรยี น โดยมงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นให้เปน็ คนดีมีปญั ญา และมคี วามรู้ 2. จดั ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน 5 ข้ันตอน และให้คาปรกึ ษากับเด็กนักเรยี น 3. จัดส่งิ แวดลอ้ มและเฝาู ระวังปจั จัย/พื้นที่เสยี่ งด้านสังคมรอบ ๆ ตัวเดก็ นกั เรยี น 4. จัดกจิ กรรมสง่ เสริมสนบั สนนุ ทง้ั ในและนอกช้นั เรียน 5. ดแู ลสุขภาพเด็กนกั เรยี นขณะอยูใ่ นสถานศกึ ษา 6. ส่งเสรมิ ใหพ้ ่อแม่ และผู้ปกครองมีสว่ นร่วมในการดาเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ ของสถานศกึ ษา 7. ครูและผู้ปกครองมสี ว่ นรว่ มในการดแู ลเด็กนกั เรยี น 8. สร้างเครือขา่ ย/ประสานความร่วมมอื ในการคมุ้ ครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียน 9. มเี คร่ืองมือในการติดตามสภาวะเดก็ นกั เรียน 11. มีการแต่งต้ังครูนักจิตวิทยาประจาสถานศึกษาเพ่ือคัดกรองนักเรียนเบ้ืองต้นและ ประสานงานร่วมกับนกั จติ วทิ ยาประจาเขตพนื้ ท่ีการศึกษาในการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น 10. ให้ความชว่ ยเหลือเดก็ นกั เรียนเบอื้ งต้นในกรณที เี่ กิดเหตุการณผ์ ิดปกติกับเด็กนกั เรียน 11. รายงานต่อ สพป.นครราชสมี า เขต 4 เม่อื พบเหตุความผดิ ปกติ บทบาทสถานศึกษา 1. ผู้บริหารสถานศกึ ษาตระหนักและใหค้ วามสาคัญในการคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียนท้ัง ในและนอกสถานศกึ ษา 2. สถานศึกษาจัดระบบดูแลช่วยเหลือเด็กนักเรียนอย่างเข้มแข็ง โดยการจัดระบบคัดกรอง ระบบการเข้าถงึ สภาวะปัญหาของเด็กนักเรียน ระบบการประเมินสภาวะปญั หา และระบบการใหค้ าปรึกษา 3. ปูองกันและเฝูาระวังเพ่ือไม่ให้เด็กนักเรียนเส่ียงต่อภัยอันตราย ปูองกันให้เด็กนักเรียน ปลอดภัย จากส่ิงแวดล้อมทางกายภาพและบุคคล โดยสถานศึกษาจะต้องหามาตรการปูองกัน แก้ไขบริเวณเสี่ยง อนั ตราย และมรี ะบบกฎเกณฑค์ วามปลอดภัยท่เี หมาะสม 4. จดั ระบบงานและกจิ กรรมให้กบั เด็กนกั เรียนและผู้มสี ่วนร่วม 5. ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาจะต้องแจง้ เหตุ พรอ้ มทง้ั รายงาน สพป.นครราชสีมา เขต 4 บทบาทสานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา 1. ให้การชว่ ยเหลอื ปอู งกัน ส่งเสรมิ ในกรณที ี่เกนิ ขดี ความสามารถของสถานศึกษา 2. ชว่ ยประสานงานหน่วยงานที่เกยี่ วข้องในกรณีส่งต่อ 3. กากบั ตดิ ตาม และให้คาปรึกษาสถานศึกษา 4. รายงานให้ ฉก.ชน.สพฐ. ทราบ ขอบเขตการคมุ้ ครองและชว่ ยเหลือเด็กนักเรยี น 1. กรณถี กู ล่วงละเมดิ ทางเพศ 2. กรณคี วามรุนแรง 3. กรณไี ม่ได้รับความเปน็ ธรรมจากระบบการศึกษา 3.1 เด็กนกั เรียนออกกลางคัน 3.2 เดก็ นักเรยี นตดิ 0 ร และ มส. 4. ตง้ั ครรภ์ในวัยเรยี น 5. ภาวะจิตเวช 6. เดก็ นักเรยี นตดิ เกม/อินเทอร์เน็ต/เล่นการพนัน 7. เดก็ นักเรียนถูกปล่อยปละ ละเลย ทอดทง้ิ

8 8. ยาเสพติด 9. อปุ ทานหมู่ 10. โรคตดิ ต่อในสถานศึกษา 11. อบุ ตั เิ หตุในสถานศกึ ษา 11.1 เดก็ นักเรยี นจมน้า 11.2 เด็กนักเรียนเสียชิตในสถานศกึ ษา 12. อุบัตเิ หตนุ อกสถานศกึ ษา 13.ภยั พิบตั ิ 14. การกล่นั แกล้งรงั แกกนั (Bully) สว่ นที่ 2 แนวทางการคมุ้ ครองและชว่ ยเหลอื เดก็ นกั เรยี น สถานการณ์เด็กนักเรียนในปัจจุบันมีความซับซ้อนมากขึ้นตามการเปล่ียนแปลงของโลกปัจจุบัน ในยุคโลกาภิวัตน์รอบด้าน ส่งผลต่อพฤติกรรมและความปลอดภัยของเด็กนักเรียน ดังน้ัน จึงได้จัดทาแนวทางการ คุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียนในกรณตี ่าง ๆ ดงั นี้ 1. กรณลี ว่ งละเมดิ ทางเพศ การล่วงละเมิดทางเพศ เป็นปัญหาท่ีเกิดข้ึนเสมอๆ ในสังคม ท้ังการล่วงละเมิดด้วยคาพูด การสัมผัส การ แอบดู รวมถึงการกระทารุนแรงทางเพศ เด็กนักเรียนจึงควรรู้วิธีปูองกัน และหาทางออกเมื่อต้องเผชิญกับ เหตกุ ารณ์ รวมท้งั การขอความช่วยเหลอื จากบคุ คลหรอื หนว่ ยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง การล่วงละเมิดทางเพศ หมายถึง การกระทาท่ีมีผลทาให้ผู้ถูกกระทาได้รับความเสียหายเกี่ยวข้องกับเร่ือง เพศ ไดแ้ ก่ กระทาชาเรา อนาจาร เปน็ ต้น ผู้ทถ่ี กู ล่วงละเมิดทางเพศจะไดร้ ับผลกระทบทง้ั ทางร่างกายและจิตใจ มาตรการป้องกัน 1. ให้ความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักแก่ครู เด็กนักเรียน และผู้ปกครอง ในการปูองกัน หาทางออก เมื่อต้องเผชิญกับเหตุการณ์การล่วงละเมิด และสร้างกลไกการปูองกันเด็กนักเรียนจากการ ถูก ละเมดิ 2. ใชก้ ระบวนการระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน ครูที่ปรึกษาร่วมกับครูนักจิตวิทยาประจาสถานศึกษา ในการเอาใจใส่เด็กนักเรียนอย่างใกลช้ ิด และต้องทางานเปน็ ทีม 3. ใหส้ ถานศึกษาดแู ลพิทักษ์ ปกปูอง และคุ้มครองเด็กนักเรียน ไม่ให้ถูกล่วงละเมิดทางเพศจากบุคคลท้ัง ท่อี ย่ภู ายในและภายนอกสถานศกึ ษา 4. จัดสถานที่ภายในสถานศึกษาให้เหมาะสม เช่น มีกล้องวงจรปิด มีการจัดต้ังเวรยามตรวจตราพื้นท่ีจุด เสีย่ ง เพอ่ื ไม่ใหเ้ กิดการล่วงละเมดิ ระหวา่ งครกู บั เด็กนกั เรียน เดก็ นกั เรียนกบั เด็กนกั เรยี น และจากบุคคลอน่ื 5. สถานศึกษาสอนเร่ืองเพศศึกษาในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โดยเฉพาะการดูแล ปอู งกนั ตนเองของเดก็ นักเรยี นให้ปลอดภัยจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ 6. กาหนดโทษและมาตรการทเ่ี ข้มแข็งตอ่ ผกู้ ระทาผดิ รนุ แรง แนวทางการช่วยเหลอื

9 1. ผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายตรวจสอบข้อเท็จจริง และปรึกษากับผู้เก่ียวข้องใน สถานศกึ ษา สพป.นม.4 ทันที 2. ตรวจสอบข้อมูลประวัติเด็กนักเรียนโดยใช้กระบวนการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การบันทึก ขอ้ มลู และการจัดเก็บข้อมลู ตามแบบรายงาน ฉก.01 3. ประสานทีมสหวิชาชีพ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เช่น สพป.นม.4 สานักงานพัฒนาสังคมและ ความมนั่ คงของมนุษย์ บา้ นพกั เดก็ และครอบครัว สถานตี ารวจ องค์การบริหารส่วนท้องถ่ิน และผู้มีหน้าที่คุ้มครอง สวสั ดภิ าพเดก็ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง พ.ศ. 2546 เป็นตน้ 4. เชิญผู้ปกครองเด็กนักเรียนท้ังสองฝุาย/หรือผู้ท่ีเด็กนักเรียนไว้วางใจ/หรือผู้ท่ีเด็กนักเรียนร้องขอมา พูดคยุ / รับทราบเหตุการณ์ และใหค้ าปรกึ ษา 5. ประสานศูนย์ช่วยเหลือสังคม (OSCC) สถานพยาบาลในพ้ืนที่ เพื่อนาเด็กนักเรียนเข้ารับการตรวจ รกั ษา ดา้ นร่างกายและจิตใจภายใน 24 ชั่วโมง 6. แจง้ ผูป้ กครองเดก็ นักเรยี นหาแนวทาง และวธิ กี ารรว่ มกนั ในการปรับพฤตกิ รรมเดก็ นกั เรยี น 7. ดาเนนิ การโดยเกบ็ ขอ้ มลู เป็นความลบั พทิ ักษส์ ิทธิผู้ถูกกระทาและผกู้ ระทา 8. กรณีเด็กนักเรียนกับครูหรือบุคลากรทางการศึกษา ตรวจสอบประวัติครู ให้เชิญคณะกรรมการ สถานศึกษามาปรึกษา สถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงในสถานศึกษา และรายงาน ผู้บังคบั บัญชาทราบทนั ที 9. กรณีข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่กระทาการละเมิด ให้ดาเนินการทางวินัย สรุปและ จัดทารายงานเสนอผบู้ ริหารสานศกึ ษาทราบ 10. ติดตามผล/เยยี่ มบา้ นเดก็ นักเรียนเปน็ ระยะ ให้คาปรกึ ษา/ให้กาลงั ใจ 11. จัดทาเป็นกรณีศึกษาเพ่ือเป็นข้อมูลและแนวทางในการปกปูอง คุ้มครอง และดูแลช่วยเหลือเด็ก นกั เรยี นตอ่ ไป มาตรการการดาเนนิ งานของผู้บรหิ ารระดบั จังหวดั สังกัด สพฐ. 1. ผู้บรหิ ารระดบั จงั หวัดสงั กัด สพฐ. รายงานเหตุให้เลขาธิการ กพฐ. ทราบทนั ที กรณีเรง่ ดว่ น 2. มอบทีมผบู้ ริหารระดบั จงั หวัดสงั กัด สพฐ. ประสานงานกับทมี สหวิชาชีพ เข้าช่วยเหลือเด็กนักเรียนเมื่อ ทราบ และตรวจร่างกายภายใน 24 ชั่วโมง 3. รายงานข้อมลู รายละเอียดอยา่ งเปน็ ทางการเบอ้ื งต้น ภายใน 24 ช่วั โมง 4. กรณสี ่อื มวลชนเข้าติดตามสถานการณ์ ใหร้ ายงานผูบ้ รหิ ารระดบั จงั หวัดสงั กดั สพฐ. ทันที 6. รายงานสถานการณ์ใหผ้ บู้ งั คบั บัญชาทราบเป็นระยะ ๆ จนการชว่ ยเหลือเสร็จสิ้นกระบวนการ 5. ครูลว่ งละเมิดทางเพศเด็กนักเรียนได้รับผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจอย่างแสนสาหัส มีข้อร้องเรียน และมีการเผยแพรผ่ ่านสื่อสาธารณะ ผู้อานวยการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ส่ังให้ครูมา ปฏิบัติงานที่สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 โดยไม่ชักช้า และ เร่ง ดาเนินการ แต่งตั้งคณะกรรมการใหไ้ ดข้ อ้ เทจ็ จรงิ โดยเร็ว 7. สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียนประชุม วางแผน กาหนดแนว ปฏิบตั ิ ติดตาม และประเมนิ ผล 8. สถานศึกษาต้องดาเนินระงับเหตุภยนั ตรายจากบุคคลภายนอก การถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ

10 9. เม่ือปรากฏว่า มีเด็กนักเรียนถูกล่วงละเมิดทางเพศให้ดาเนินการสืบสวนข้อเท็จจริงทันที และให้เสร็จ สน้ิ โดยเรว็ ให้ทราบผลอยา่ งช้าภายใน 10 วัน และถ้าเห็นว่ากระทาผิดทางวินัยให้ดาเนินการทางวินัยทันที พร้อม กบั ให้พกั ราชการหรอื ให้ออกจากราชการไว้กอ่ น 10. หา้ มชว่ ยเหลือผกู้ ระทาผิดใหไ้ ม่ตอ้ งรบั โทษหรือเข้าไปไกล่เกลีย่ ประนีประนอมความกบั ผเู้ สยี หาย 11. ใหค้ าแนะนาแก่ผู้ปกครองพาเด็กนักเรียนผู้เสียหายไปให้แพทย์ตรวจร่างกายโดยเร็ว อย่างช้าภายใน 72 ชม. นบั แตเ่ กดิ เหตเุ พอ่ื เป็นหลักฐานในคดี 12. กรณขี ้าราชการครแู ละบุคลากรทางศึกษา ถกู ร้องเรียนกล่าวหา หรือต้องหาว่ากระทาผิดอาญา กรณี มีพฤติการณ์ล่วงละเมิดสิทธิทางเพศเด็กนักเรียน ให้ผู้บังคับบัญชาตรวจสอบข้อเท็จจริง และรายงานการ ดาเนนิ การ ให้สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานทราบโดยด่วน 13. กรณีปรากฏ พยานหลักฐานเบ้ืองต้น และมีเหตุอันน่าเชื่อว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวินัยให้ ผู้บังคับบัญชาย้ายผู้ถูกล่าวหาออกจากสถานศึกษา เพ่ือให้ได้มีการตรวจสอบข้อเท็จจริงได้ชัดเจน หรือเพื่อ ประโยชน์ในการสอบสวน ปูองกนั การขม่ ขูผ่ เู้ สยี หายหรอื พยาน และไม่ให้เกิดผลกระทบต่อเดก็ นกั เรียน 14. เมื่อปรากฏมูลกรณีอันเป็นความผิดทางวินัยร้ายแรง จนถูกตั้งคณะกรรมการสอบสวนหรือถูกฟูอง คดีอาญา หรือต้องหาว่ากระทาผิดอาญา ว่ามีเหตุอันควรเชื่อว่าหากผู้นั้นคงอยู่ในหน้าที่ราชการอาจเกิดความ เสียหาย หรือผู้น้ันมีพฤติการณ์ที่แสดงว่าถ้าคงอยู่ในหน้าที่ราชการ จะเป็นอุปสรรคต่อการสอบสวนพิจารณาหรือ จะก่อความไม่สงบ ให้ผูบ้ งั คบั บญั ชาสง่ั พักราชการ หรอื สัง่ ให้ออกจากราชการไวก้ ่อน เพื่อรอฟังผลการสอบสวน แหล่งชว่ ยเหลือ 1. สถานพยาบาล 2. บา้ นพกั เด็กและครอบครวั 3. สานักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ 4. ศูนย์ช่วยเหลือสงั คม (OSCC) โทร. 1300 5. สถานตี ารวจ 6. สถานพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน 7. นกั จิตวิทยา 8. ศาลเยาวชนและครอบครัว

11 แผนผงั ขนั้ ตอนการชว่ ยเหลือเดก็ นกั เรยี น กรณีลว่ งละเมิดทางเพศ ผบู้ ริหารสนสถานศกึ ษาได้รับแจ้งเหตหุ รือประสบเหตเุ ด็กนักเรยี นถูกล่วงละเมิดทางเพศ ประสานครนู ักจติ วิทยาประจาโรงเรียน/ผรู้ บั ผิดชอบงานระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น ทาความเข้าใจกบั สื่อมวลชน ตรวจสอบขอ้ มลู เบ้อื งตน้ ประเมินปัญหา สถานการณ์ แจ้งผปู้ กครอง/ผดู้ ูแล บนั ทกึ ขอ้ มลู แบบรายงาน ฉก.01 และแจ้งมายงั หน่วยงานทีด่ ูแลเดก็ นกั เรียน ดาเนินการชว่ ยเหลือดา้ นร่างกาย จติ ใจ ให้คาปรึกษาแก่เด็กนักเรยี น พร้อมประเมนิ สถานการณ์ แจ้ง ทีม ฉก.ชน.สพป.นม.๔ แจง้ /ประสานการส่งตอ่ ทมี สหวชิ าชีพ ใหก้ ารดูแลช่วยเหลือเดก็ นักเรียน/คุม้ ครอง/ติดตามเยย่ี ม โดยคานึงถึงความปลอดภยั ของเดก็ นกั เรยี น กรณีเดก็ นักเรียนมีความเสี่ยงได้รับการคุ้มครอง กรณเี ด็กนักเรียนไดร้ บั การสงเคราะห์ ใหค้ วามคุ้มครองเดก็ นักเรยี นขัน้ ตน้ ทันที ให้เจา้ หนา้ ท่ีส่งต่อไปรับบริการสงเคราะห์ ตามระเบียบกระทรวงว่าดว้ ยยการสงเคราะห์ เด็กนกั เรียน จัดทา/จัดเก็บขอ้ มูล การดาเนินงานของสถานศึกษา สรุปผลการทางานและ รายงานไปยัง สพป.นม.๔ และผ้เู ก่ยี วข้องทราบตามกรณี

12 2. กรณคี วามรนุ แรง ความรนุ แรงตอ่ เด็กนกั เรยี นเกิดขึ้นบ่อยครง้ั ท่วั ทุกพนื้ ท่ขี องสงั คม ไม่ว่าจะเป็นสถานศึกษาในระดับอนุบาล ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ไปจนถึงระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าในสถานศึกษาขนาดเล็ก ขนาดกลาง หรือ ขนาด ใหญ่ ไม่ว่าสถานศึกษาจะอยู่ในภาคไหนในประเทศไทยในบริบทสังคม อย่างไรก็ตามความรุนแรงต่อเด็ก นักเรยี น ที่เกดิ ขนึ้ หลายแห่ง อาจมรี ูปแบบคล้ายคลึงหรอื แตกต่างกนั บา้ งตามสถานการณ์ ส่วนสาเหตุบ่มเพาะ และ เอื้อต่อการเกิดความรุนแรงเหล่านั้น มีท้ังเหมือนและแตกต่างกันออกไป ความรุนแรงเป็นพฤติกรรมหรือการ กระทาใด ๆ ก็ตามที่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลทั้งทางร่างกาย วาจา จิตใจหรือ ทางเพศ และนามาซ่ึงอันตรายหรือ ความทุกขท์ รมานตอ่ ผ้ถู ูกกระทาทง้ั ดา้ นรา่ งกาย และจติ ใจ ในท่นี ีไ้ ดแ้ บง่ ความรนุ แรง ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. ความรุนแรงทางดา้ นร่างกาย เช่น การทบุ ตีทารา้ ยรา่ งกาย ตบ เตะ ต่อย การใช้อาวุธ และ การลงโทษ เดก็ นักเรียนทเี่ กินกวา่ เหตใุ นสถานศกึ ษาและครอบครัว เป็นตน้ 2. ความรุนแรงทางด้านจิตใจ เช่น การใช้คาพูด กิริยา หรือการกระทาที่เป็นการดูถูกดูหม่ิน เหยียดหยาม ด่าว่า ให้อับอาย การกล่ันแกล้ง ทรมานให้เจ็บช้าน้าใจ การบังคับ ข่มขู่ กักขัง ควบคุม ไม่ให้แสดง ความคิดเห็น การหึงหวง การเลือกปฏิบัติ การเอารัดเอาเปรียบ การตักตวงผลประโยชน์ การถูกทอดท้ิงไม่ได้รับ การเอาใจใสเ่ ล้ยี งดู เป็นต้น 3. ความรุนแรงทางเพศ เช่น การถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ การพดู เร่อื งลามกอนาจาร การแอบดู การจับต้อง ของสงวน การบงั คับใหเ้ ปลอื้ งผ้า การบงั คับให้มเี พศสมั พนั ธ์ เปน็ ต้น ดงั นัน้ เพื่อลดปญั หาความรุนแรง ส่วนหนึ่งจึงต้องมุ่งท่ีการปรับเปล่ียนเจตคติหรือความเชื่อเดิม เพื่อให้ทุก คนเกิดความตระหนักว่า ความรุนแรงสามารถเกิดขึ้นได้ และมีผลกระทบมาก ยอมรับว่าปัญหา ความรุนแรงไม่ใช่เร่ืองส่วนตัวที่ต้องอับอายหรือปกปิด แต่ต้องแสวงหาวิธีการปูองกันไม่ให้เกิดข้ึน เมื่อเกิดขึ้นแล้ว ต้องหาทางแกไ้ ข ตลอดจนแสวงหาข้อมูล แนวทางการปูองกันการแกไ้ ขปญั หา และแหล่งชว่ ยเหลือตา่ งๆ มาตรการป้องกนั การปูองกันการใช้ความรุนแรงในเด็กนักเรียนน้ัน ไม่ควรทาเพียงเพื่อเพราะต้องการเร่งหาทางออกแบบ ชว่ั คราว ในเวลาท่ีมีเหตกุ ารณ์ร้ายแรงเกดิ ขึ้น จากนน้ั กเ็ งียบหายไป ซึง่ จะไม่สามารถปอู งกนั แกไ้ ข ปัญหาพฤติกรรม ก้าวร้าว และรุนแรงในระยะยาวได้อย่างแท้จริง ดังน้ันการคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียนจึงเป็นการปูองกัน และปกปูองเด็กนกั เรียนจากความรุนแรง การแสวงหาประโยชน์ การละเลยทอดท้ิง หรือรูปแบบการกระทาต่าง ๆ ทอ่ี าจกอ่ ให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อรา่ งกาย จติ ใจ พัฒนาการ และศักดศ์ิ รีของเด็กนักเรยี น ดงั นี้ 1. สพฐ. และ สพป.นม.4 กาหนดเป็นนโยบายให้ทุกสถานศึกษาจัดทาโครงการ เพื่อเสนอแนวทางแก้ไข และปูองกันอย่างชัดเจน และเปน็ ขนั้ ตอน จดั ทาแผนยุทธศาสตร์ระยะส้ัน และพัฒนาครูให้เป็นแบบอย่าง สามารถ แก้ไขความรุนแรงท่ีเกิดขึ้น จัดกิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์ให้เด็กนักเรียนเห็นคุณค่า ศักยภาพของตัวเอง โดย สอดแทรกคา่ นยิ ม ร้แู พ้ รูช้ นะ ร้อู ภยั เน้นการใชเ้ หตผุ ลมากกวา่ อารมณ์ 2. หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องมีบทบาทสาคัญ คือ การแก้ไขและปูองกันการใช้ความรุนแรงให้เป็นไปอย่าง ต่อเนอื่ ง ตลอดจนกระตุน้ ใหส้ ื่อตา่ งๆ นาเสนอเนอ้ื หาและผลงานท่ีสร้างสรรค์ 3. จัดให้มีช่องทางการสื่อสารระหว่างสถานศึกษา ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพ่ือ สามารถแก้ไขปัญหาความรุนแรงที่เกิดกับเด็กนักเรียนได้ทันต่อสถานการณ์ เช่น สายด่วน, , LINE และ เวบ็ ไซต์ แจง้ ข่าวกรณเี ด็กนักเรียนขาดเรยี น/กจิ กรรมของสถานศกึ ษา เปน็ ต้น 4. ครูจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการคุณธรรมจริยธรรม สร้างความตระหนักในคุณค่าแห่งตน การมุ่งอนาคต และความสาเรจ็ การคิดวเิ คราะห์ การยับยั้งช่ังใจ ทักษะการควบคุมอารมณ์ เป็นตน้

13 5. ครูเวรประจาวัน คณะกรรมการนักเรียน สารวัตรนักเรียน ยามรักษาความปลอดภัย ดูแลรักษาความ ปลอดภัยแก่เด็กนักเรียนทุกอาคาร บริเวณจุดอับและจุดเส่ียง ตลอดจนดูภาพจากกล้องวงจรปิดที่ติดไว้ท่ัวบริเวณ สถานศึกษา หากมีสิ่งบอกเหตุว่าจะเกิดความรุนแรง ให้เร่งรีบดาเนินการแจ้งผู้เก่ียวข้อง เพ่ือ แกป้ ัญหาทันที เชน่ มคี นแปลกหนา้ มาบริเวณหน้าสถานศกึ ษา พกพาอาวุธ ขบั ข่ีจกั รยานยนต์ เปน็ ตน้ 6. พ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือคนในครอบครัวเป็นผู้ใกล้ชิด และมีบทบาทสาคัญในการลดแรงกระตุ้น พฤติกรรมก้าวร้าว และความรุนแรงในเด็กนักเรียน โดยการขัดเกลาพฤติกรรมลูกตั้งแต่ปฐมวัย เช่น การเป็น แบบอย่างทดี่ แี กล่ กู ให้เวลากบั ลกู อยา่ งเพยี งพอ ไม่ปลอ่ ยปละ ละเลยลูก ในการรบั ส่ือหรือการคบเพ่ือน และเอาใจ ใสใ่ นเรือ่ งตา่ งๆ เม่อื พบเห็นลกู มพี ฤติกรรมกา้ วร้าวไมค่ วรเพิกเฉย แต่ควรเรียกมาพูดคุยสื่อสารกับลูก ด้วยความรัก และมีเหตมุ ีผลเปน็ หลกั ว่าส่งิ ใดทาได้สงิ่ ใดทาไม่ได้เพราะเหตุใด และผลทจี่ ะเกดิ ตามมานนั้ คอื อะไร 7. ครูลงโทษเด็กนกั เรยี นเกนิ กวา่ เหตุ เดก็ นกั เรยี นไดร้ บั ผลกระทบต่อรา่ งกาย และจิตใจอย่างรุนแรง มีข้อ รอ้ งเรียน และเผยแพรผ่ ่านสื่อสาธารณะ ใหผ้ ูอ้ านวยการสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาระถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 ส่ังให้ครูมาปฏิบัติงานที่สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาระถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 โดยไม่ชักช้าและเร่ง ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการให้ได้ขอ้ เทจ็ จรงิ โดยเร็ว 8. เด็กนักเรียนถูกกระทาด้วยอาวุธปืน มีด และของมีคมอื่นใด ถูกแขวนคอ ถูกกรอกยาพิษ ถูกกักขัง บริเวณ จากเด็กนกั เรียนด้วยกนั เองหรือจากบุคลากรทางการศกึ ษา ที่ส่งผลให้เด็กนักเรียนได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือ สญู เสียชีวติ ในสถานศกึ ษา อนั เน่ืองจากผูอ้ านวยการโรงเรียนปล่อยปละ ละเลย ในการกากับ ดูแล ตรวจตรา มีข้อ ร้องเรียนและ มีการเผยแพร่ผ่านสื่อสาธารณะอย่างกว้างขวาง ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาระถม ศึกษานครราชสีมา เขต 4 สั่งให้ครูมาปฏิบัติงานท่ีสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาระถมศึกษานครราชสีมา เขต 4 พเิ ศษ โดยไมช่ ักช้า และเร่งดาเนินการแตง่ ต้งั คณะกรรมการให้ได้ข้อเทจ็ จริงโดยเรว็ 9. สถานศกึ ษาตอ้ งดาเนินการเลือกต้งั ระงบั เหตภุ ยนั ตรายจากบุคคลภายนอกจากการใชค้ วามรุนแรง 10. หากมีการลงโทษเด็กนักเรียนที่รุนแรงเกินกว่าเหตุด้วยวิธีการท่ีไม่เหมาะสม จะถือว่าผู้อานวยการ โรงเรยี น ขาดความเอาใจใสใ่ นการปฏิบัตหิ นา้ ท่แี ละอาจถูกดาเนินการทางวินัยตามสมควร 11. กรณีครูลงโทษเด็กนักเรียนด้วยวิธีการท่ีไม่เหมาะสม ให้ผู้อานวยการสถานศึกษา เข้าไปตรวจดู รายงานตน้ สงั กัดตามลาดับ และให้ความคุ้มครองชว่ ยเหลือเยียวยาแกเ่ ด็กนกั เรียนตามสมควร แนวทางการช่วยเหลอื 1. กรณีเกิดเหตุความรุนแรงในสถานศึกษาหรือบริเวณใกล้เคียง ครูผู้ประสบเหตุมีการประสานงานครู นกั จิตวทิ ยาประจาโรงเรยี น/ผู้รบั ผดิ ชอบงานระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียนในการพิจารณาว่าเหตุการณ์นั้นๆ รุนแรง เพยี งใด สามารถหยุดพฤติกรรมของเด็กนักเรียนได้ด้วยตนเองหรือไม่เพียงใด หากเกินกาลังให้หาคนช่วยเหลือ ใน การระงบั เหตแุ ลว้ แจง้ ให้ครูทีป่ รึกษา ผเู้ กีย่ วขอ้ ง และผบู้ ริหารสถานศึกษาทราบทันที 2. ครทู ป่ี รกึ ษา/ครูผปู้ ระสบเหตุ พูดคุย ให้กาลังใจ สร้างความไว้วางใจแก่เด็กนักเรียน รอจนเด็กนักเรียน ผ่อนคลายลง ประสานเชญิ ผู้ปกครองมาพบเด็กนักเรยี นท่สี ถานศึกษา เพื่อรับทราบข้อเท็จจริงจาก คาบอก เล่าของเด็กนักเรียนด้วยตนเองแล้ว ร่วมกันแสวงหาแนวทางช่วยเหลือเด็กนักเรียนไม่ให้กลับไปกระทาพฤติกรรม ความรุนแรงขึ้นอกี 3. หากค่กู รณีอยู่ในสถานศึกษาเดียวกันให้หลีกเล่ียงการเผชิญหน้ากัน และเม่ือความขัดแย้งลดลงครูฝุาย ปกครองจึงจดั ให้ทั้งสองฝาุ ยไดพ้ บกันเพอ่ื ปรบั ความเข้าใจ และสร้างความรักความสามัคคกี นั 4. หากคู่กรณีเป็นบุคคลภายนอกสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษามอบหมายบุคลากรท่ีเหมาะสมเป็น ผดู้ าเนนิ การในการแกไ้ ขปญั หา

14 5. จัดให้มีเด็กนักเรียนเพ่ือนท่ีปรึกษาสาหรับเด็กนักเรียนท่ีอยู่ระหว่างปรับพฤติกรรม คอยช่วยเหลือ แนะนาและใหค้ าปรึกษา 6. ประสานทีมสหวิชาชพี ในกรณตี ้องสง่ ต่อภายนอก 7. กรณีเหตุการณ์รุนแรง ให้รายงานข้อมูลรายละเอียดเบ้ืองต้นอย่างเป็นทางการภายใน 24 ช่ัวโมง ถึง ฉก.ชน.สพป.นม.1 8. เมื่อเด็กนักเรียนถูกเจ้าหน้าท่ีตารวจควบคุมตัว หรือมอบตัว ทางสถานศึกษาต้องออกหนังสือรับรอง การเปน็ เดก็ นกั เรยี นให้ 9. กรณีต้องการประกนั ตวั นกั เรียน สามารถใช้ตาแหน่งหน้าทข่ี องข้าราชการในการประกันตวั ได้ มาตรการการดาเนนิ งานของผู้บริหารระดบั จงั หวดั สงั กัด สพฐ. 1. กรณเี ด็กนักเรยี นถกู ดาเนินคดี ผู้บริหารระดับจังหวดั สังกัด สพฐ. รายงานให้เลขาธกิ าร กพฐ. ทราบทนั ที 2. มอบหมายทมี ผูบ้ รหิ ารระดบั จงั หวัดสงั กดั สพฐ. เขา้ ประสานช่วยเหลือกบั สถานศกึ ษาทันที 3. รายงานขอ้ มูลรายละเอียดอยา่ งเปน็ ทางการเบ้อื งต้น ภายใน 24 ช่วั โมง 4. กรณีมีสื่อมวลชนเข้าติดตามสถานการณ์ ให้รายงานผู้บริหารระดับจังหวัดสังกัด สพฐ. ให้รายงาน เลขาธกิ าร กพฐ. ทราบทันทีและทาความเขา้ ใจกบั สื่อมวลชน 5. ผู้บริหารระดับจังหวัดสังกัด สพฐ. มอบเป็นนโยบาย และส่ังการแก่สถานศึกษาในสังกัด เพื่อปฏิบัติ เปน็ แนวทางเดยี วกนั แหล่งช่วยเหลอื 1. ศูนยช์ ว่ ยเหลอื สังคม (OSCC) โทร. 1300 2. ศนู ย์ฉุกเฉิน โทร. 1669 3. สถานพยาบาล 4. สถานีตารวจ 5. สถานพินจิ และคุ้มครองเดก็ และเยาวชน 6. นกั จติ วิทยา 7. ศาลเยาวชนและครอบครวั

15 แผนผังขน้ั ตอนการชว่ ยเหลือเด็กนักเรียน กรณีความรนุ แรง รับแจ้ง/ประสบเหตเุ ด็กนกั เรียนเกย่ี วขอ้ งกับความรุนแรงต่างๆ ประสานงานครนู กั จิตวทิ ยา ตรวจสอบข้อเท็จจรงิ ทาความเข้าใจกบั สื่อมวลชน ประจาสถานศึกษา/ ประเมินเบ้ืองตน้ /ส่งต่อ ทมี สหวิชาชีพ ผูร้ บั ผิดชอบงานระบบดูแล ชว่ ยเหลือนักเรียน ไม่ถูกดาเนนิ คดี ถูกดาเนนิ คดี เขา้ ส่กู ระบวนการยตุ ิธรรม สรา้ งภูม/ิ ให้คาปรกึ ษา ผู้ปกครอง ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ผ้บู ริหารสถานศึกษา ออกหนงั สอื รบั รอง การเปน็ นักเรยี น ผอ.สพป.นม.4 เลขาธกิ าร กพฐ. 3. กรณีไม่ได้รับความเปน็ ธรรมจากระบบการศึกษา การไม่ได้รับความเป็นธรรม หมายถึง การที่เด็กนักเรียน บิดา มารดา หรือผู้ปกครองไม่ได้รับสิทธิตามที่ กฎหมายกาหนดให้ได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน โดยได้รับการปฏิบัติหรือถูกละเว้นจากสถานศึกษาอย่างไม่ เป็นธรรม ขาดความเสมอภาค ซึง่ เป็นผลให้เสียโอกาสในการเขา้ ถึงการศึกษาท่มี ีคุณภาพ มาตรการป้องกนั 1. สถานศึกษาต้องปฏิบัติตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2562 กฎกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายของ สพฐ. ตามลาดับสถานศึกษากาหนด ระเบียบ แนวปฏิบัติ ตลอดจนมาตรการในการปูองกันการไม่ได้รับความเป็นธรรม จากระบบการศึกษา 2. แตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอ้ เท็จจริง 3. สถานศึกษาใหค้ วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั เร่ืองสิทธิ ระเบียบ แนวปฏิบัติ ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับระบบการศึกษาแก่เด็กนักเรียน ครู บิดา มารดา ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และ ผเู้ กีย่ วขอ้ ง

16 4. ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาตดิ ตาม และตรวจสอบการปฏบิ ัติงานของบคุ ลากรในสถานศึกษา 5. สถานศกึ ษาเปดิ ชอ่ งทางการส่อื สารระหว่างบิดา มารดา ผู้ปกครอง และเด็กนักเรียน เพ่ือมีส่วนร่วมใน การแสดงความคดิ เหน็ 6. ตามนโยบายของ สพฐ. ปีงบประมาณ 2563 นโยบายที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการ ทางการศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพ มีมาตรฐานและลดการเหลอื่ มลา้ ทางการศกึ ษา แบ่งได้ ดังนี้ 6.1 สร้างความรว่ มมือกับองคก์ รปกครองระดับท้องถ่ิน ภาคเอกชน หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการ จดั การศึกษา ใหส้ อดคลอ้ งกับบรบิ ทกับพน้ื ท่ี 6.2 การยกระดับสถานศึกษาในสังกัดทุกระดับและทุกประเภท ให้มีคุณภาพและมาตรฐานตาม บริบทของ พ้นื ที่ 6.3 จดั สรรงบประมาณสนับสนุนผู้เรยี นทุกกลุ่ม และสถานศึกษาทุกประเภทอย่างเหมาะสมและ เพยี งพอ 6.4 การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั เปน็ เครื่องมือในการพัฒนาคณุ ภาพของผูเ้ รียน แนวทางการชว่ ยเหลือ การเรยี กเก็บเงนิ จากเด็กนกั เรยี นตามระเบียบกฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง 1. ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาและครผู ู้สอนรบั เรื่องร้องเรยี นและตรวจสอบขอ้ เท็จจริงเบอื้ งตน้ 2. เชิญผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสยี เข้าสกู่ ระบวนการเจรจา และสรา้ งความเขา้ ใจอนั ดตี อ่ กันเพอ่ื ให้ได้ขอ้ ยตุ โิ ดยเร็ว 3. หากการดาเนนิ การยังไมไ่ ด้ขอ้ ยตุ ิ ใหร้ ายงานผบู้ งั คบั บญั ชาตามลาดับชั้น 4. สถานศึกษาติดตามความคืบหน้าเพื่อหาทางกาหนดมาตรการในการปูองกัน และให้ความช่วยเหลือ ต่อไป แผนผังข้ันตอนการช่วยเหลือเด็กนักเรียนกรณไี ม่ได้รบั ความเป็นธรรมจากระบบการศึกษา

17 3.1 กรณเี ดก็ นักเรียนออกกลางคัน การออกเรียนกลางคัน หมายถึง การท่ีเด็กนักเรียนหายไปจากระบบสถานศึกษา ขาดการติดต่อกับครูที่ ปรึกษา หรือครูผู้สอน จนพ้นสภาพการเป็นนักเรียนก่อนเรียนจบหลักสูตรที่กาหนดไว้ โดยมีสาเหตุมาจากตัวเด็ก นักเรียน ครอบครัว สถานศกึ ษา หลักสตู ร สภาพแวดล้อมและสังคม (นิพนธ์ แก้วเกิด : 2555) มาตรการป้องกัน 1. สถานศึกษาปฏิบตั ิตามนโยบายของ สพฐ. และกระทวงศึกษาธิการ 2. สถานศึกษากาหนดระเบียบ แนวปฏิบัติ ตลอดจนมาตรการในการปอู งกนั เด็กนกั เรยี นออกกลางคัน 3. สถานศึกษาให้ความรู้ ความเข้าใจแก่เดก็ นกั เรยี น ผ้ปู กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษาและผู้เก่ียวข้อง เก่ียวกับพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 และแนวทางดาเนนิ การในการช่วยเหลือและติดตามเด็ก นักเรียนมาเรยี น 4. สถานศกึ ษาดาเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและเครือข่ายผู้ปกครอง เพ่ือหาทางช่วยเหลือ เด็กนักเรยี นท่ปี ระสบปญั หาและอาจออกเรยี นกลางคัน 5. สถานศึกษาติดตาม ผลการดาเนนิ งานช่วยเหลือนักเรียนท่อี อกเรียนกลางคนั แนวทางการช่วยเหลอื 1. สารวจขอ้ มูลเด็กนักเรียนทม่ี ีแนวโนม้ ออกเรียนกลางคัน และเดก็ นักเรียนท่ีออกเรียนกลางคัน 2. สังเคราะห์และวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือแยกปัญหาและร่วมหาทางช่วยเหลือเด็กนักเรียนที่มีปัญหา แตล่ ะดา้ น 3. ให้ความช่วยเหลือตามสภาพปัญหา และประสานเครือข่าย ผู้นา/แกนนาชุมชน เพ่ือติดตามเด็ก นกั เรยี นให้กลับเขา้ ส่รู ะบบการศึกษา 4. ติตตาม และสรปุ ผลการชว่ ยเหลือเด็กนักเรียนออกเรียนกลางคัน แผนผังขน้ั ตอนการชว่ ยเหลือเด็กนกั เรยี นกรณีไมไ่ ด้รบั ความเปน็ ธรรมจากระบบการศกึ ษา เด็กนกั เรยี นออกกลางคนั สารวจเดก็ นักเรยี น ทม่ี ีแนวโนม้ ออกกลางคนั /ออกกลางคนั วิเคราะห์สาเหตุละวางแผนแก้ไขปัญหา ประสานเครือข่ายเพือ่ ช่วยเหลอื เดก็ นักเรยี น ตดิ ตามและสรุป

18 3.2 กรณีเด็กนกั เรียนตดิ 0 ร และ มส. มาตรการปอ้ งกัน 1. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนศึกษาระเบียบ แนวปฏิบัติที่เก่ียวข้องกับการวัดและประเมินผล การศึกษา ขั้นพื้นฐาน พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (แกไ้ ข เพิ่มเติม ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 2. ประชุมครูผู้สอนเพ่ือชี้แจงซักซ้อมความเข้าใจให้ทราบถึงแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการวัดและ ประเมินผลการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 3. ครูผ้สู อนแจ้งระเบียบแนวปฏิบัตเิ ก่ียวกับการวัดและประเมินผลการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานใหเ้ ด็กนกั เรยี นทราบ 4. จดั ใหม้ กี ารสอนปรบั พืน้ ฐานความรู้ สอนซ่อมเสรมิ และสอบซอ่ มใหก้ บั เด็กนกั เรยี นกลมุ่ เส่ยี ง แนวทางการชว่ ยเหลอื 1. ครูฝุายทะเบียนวัดผล สารวจจัดทาข้อมูลเด็กนักเรียนท่ีติด 0 ร และ มส. และแจ้งผู้ปกครองให้ รับทราบผลการเรยี นของเดก็ นักเรยี น 2. ประชมุ วิเคราะหห์ าสาเหตุ และวางแผนหาแนวทางการแกป้ ัญหาเดก็ นกั เรยี นตดิ 0 ร และ มส. 3. ดาเนินการแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติด 0 ร และ มส. ตามระเบียบว่าด้วยการวัดผลและประเมินผลตาม หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 4. กากบั ตดิ ตาม ดแู ลชว่ ยเหลือเด็กนักเรียนติด 0 ร และ มส. แผนผังข้นั ตอนการช่วยเหลือเด็กนักเรียนกรณีไมไ่ ด้รบั ความเป็นธรรมจากระบบการศกึ ษา เด็กนกั เรยี นติด 0 ร และ มส. สารวจ/จัดทาข้อมูลเด็กนักเรียนท่ตี ดิ 0 ร และ มส. แจ้งผลการเรียนใหผ้ ้ปู กครองทราบ ประชมุ วิเคราะหส์ าเหตุและวางแผนเพื่อแก้ปัญหา ดาเนนิ การแกป้ ญั หา กากับ ติดตาม ดแู ลชว่ ยเหลือ

19 4. ต้ังครรภใ์ นวยั เรียน ตงั้ ครรภใ์ นวัยเรยี น หมายถึง เด็กนักเรียนที่ตั้งครรภ์ หรือสงสัยว่าต้ังครรภ์ ไม่ได้มีการวางแผนจะให้เกิด โดย มีสาเหตุจากการไม่มีความรู้ข้ึนความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการต้ังครรภ์ และการคุมกาเนิด การถูกข่มขืนจน ตั้งครรภ์ ตลอดจนความไม่พร้อมในด้านภาวะต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ สังคม การไม่รับผิดชอบของบิดาเด็ก ในครรภ์ เปน็ ต้น มาตรการป้องกัน 1. ใช้กระบวนการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียผ่านครูท่ีปรึกษา ครูผู้สอน ครูนักจิตวิทยาประจา สถานศึกษาและผปู้ กครอง เอาใจใสเ่ ดก็ นักเรียนอย่างใกลช้ ิด และตอ้ งทางานเป็นทีม 2. สถานศึกษาสร้างความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจแก่ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกคนถึง แนวปฏิบัติของสถานศึกษาในการปูองกันแก้ไข ให้ความช่วยเหลือเด็กนักเรียนท่ีมีเพศสัมพันธ์เบ้ืองต้น และ ตั้งครรภ์ในวยั เรยี น 3. จดั ทาฐานข้อมูลเด็กนักเรียนทกุ คนตามกระบวนการคัดกรองระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน รวมทั้งมี รายชื่อเด็กนักเรียนที่มีแนวโน้มว่าจะออกกลางคันหรืออยู่ในภาวะเส่ียงด้านต่างๆ โดยแจ้งผู้ป กครอง และ ผู้เก่ียวข้องให้ทราบ และเฝูาระวังช่วยเหลือเด็กนักเรียนท่ีมีปัญหา โดยการจัดการศึกษาด้วยรูปแบบและวิธีการท่ี เหมาะสม หากไม่สามารถใหค้ วามช่วยเหลือได้ ให้ส่งตอ่ จะเปน็ ภายในหรือภายนอกแล้วแตก่ รณี 4. จัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้ ให้กับเด็กนักเรียนเร่ืองเพศศึกษาตามความเหมาะสมกับช่วงวัยของเด็ก นักเรียน 5. ให้สถานศึกษากาหนดมาตรการ ในการเฝูาระวังเด็กนักเรียนหญิงและเด็กนักเรียนชายกลุ่มเส่ียง ท่ี อาจจะมเี พศสัมพันธ์กอ่ นวัยอนั ควร โดยเน้นการให้ความรเู้ รื่องเพศศกึ ษาเชงิ ลึก และวิธกี ารที่หลากหลายทันสมยั แนวทางการช่วยเหลอื 1. ตรวจสอบขอ้ มูลเด็กนักเรียนโดยใช้กระบวนการระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน 2. ครูประจาช้ันร่วมกับครูนักจิตวิทยาประจาสถานศึกษาให้การแนะนาและช่วยเหลือเด็กนักเรียนใน เบอื้ งต้นทง้ั สองฝาุ ย และบันทึกข้อมลู ตามแบบรายงาน ฉก.01 3. พาเดก็ นกั เรียนตรวจรา่ งกาย 4. เชิญผู้ปกครองของคู่กรณีหรือผู้ท่ีเด็กนักเรียนไว้วางใจ ผู้ที่เด็กนักเรียนร้องขอมาพูดคุยรับทราบ เหตกุ ารณ์ และใหค้ าปรกึ ษา 5. จดั ผูท้ ไี่ ด้รบั มอบหมายดาเนนิ การเกย่ี วขอ้ งกบั เดก็ นักเรียนตง้ั แต่ตน้ จนจบกระบวนการ 6. ประสานหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือวางแผนการช่วยเหลือและทีมสหวิชาชีพ เช่น สานักงานพัฒนา สงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ บ้านพักเด็กและครอบครวั โรงพยาบาล เป็นตน้ 7. ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ ให้กาลังใจ หรือจัดการศึกษาทางเลือก หรือแนวทางในการประกอบอาชีพ สาหรบั เดก็ กา้ วพลาด 8. สถานศกึ ษาต้องไมผ่ ลักดันให้เดก็ นักเรียนออกจากสถานศึกษา หาทางช่วยเหลือเด็กนักเรียนตามความ เหมาะสม รวดเรว็ และปลอดภัย ทัง้ ประสานทีมสหวิชาชีพในการช่วยเหลือ/ส่งตอ่ 9. สรุปรายงานผู้บริหารสถานศึกษา แนวทางการดาเนินงานของ สพป.นม.4

20 1. ผอ.สพป.นม.4 รายงานเหตุใหเ้ ลขาธกิ าร กพฐ. ทราบทนั ที 2. มอบทมี ฉก.ชน.สพป.นม.4 เขา้ ประสานช่วยเหลอื กับสถานศึกษาทันที 3. รายงานขอ้ มลู รายละเอยี ดอยา่ งเปน็ ทางการเบอ้ื งต้นภายใน 24 ชัว่ โมง 4. กรณีส่ือมวลชนเข้าติดตามสถานการณใ์ ห้รายงาน ผอ.สพป.นม.4 ทันที 5. รายงานสถานการณใ์ ห้ผูบ้ งั คับบญั ชาทราบเปน็ ระยะๆ จนการช่วยเหลือเสร็จสน้ิ กระบวนการ แหลง่ ชว่ ยเหลือ 1. สถานพยาบาล 2. บ้านพกั เด็กและครอบครัว 3. แนวทางการจัดการศกึ ษาทางเลือกเพือ่ เด็กก้าวพลาด ของ ฉก.ชน.สพฐ. 4. แนวทางการดแู ลทอ้ งไมพ่ ร้อม กระทรวงสาธารณสุข แผนผงั ขน้ั ตอนการชว่ ยเหลือเด็กนักเรยี น กรณีตัง้ ครรภใ์ นวัยเรียน ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา/ครรู ับแจง้ เหตหุ รอื ประสบเหตุ ตรวจสอบขอ้ มูล ประเมนิ ปัญหา ใหก้ ารปรกึ ษาเบ้ืองต้น และบันทึกข้อมลู ตามแบบรางาน ฉก.0๑ ตั้งครรภ์ในวยั ไม่แน่ใจ เรยี น สง่ ตรวจรา่ งกายสถานพยาบาล ใช่ ครู/ครูนักจิตฯประจาสถานศกึ ษาให้ สง่ พบแพทย์ ใหค้ าปรึกษาแก่ผ้ปู กครอง/ครอบครวั คาปรึกษาและช่วยเหลอื หรือส่งต่อหนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้อง จัดการศึกษาทางเลอื กสาหรบั เด็กก้าวพลาด จัดทา/จดั เก็บขอ้ มูล การดาเนินการสรุป/ตดิ ตามผลการทางาน รายงานใหผ้ ูบ้ รหิ ารและผ้ทู เ่ี ก่ียวข้องทราบ

21 5. ภาวะจิตเวช ปัญหาสุขภาพจิต จิตเวช ฆ่าตัวตาย ส่งผลกระทบต่อสังคม และมีแนวโน้มจะเพ่ิมขึ้นเน่ืองจากภาวะ เศรษฐกิจ สังคมที่เปลี่ยนไป รวมถึงภัยพิบัติต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น ส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจ ท้ังต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม ถ้าขาดการจัดการดูแลที่ไม่เหมาะสม อาจเกิดการเจ็บปุวย การฆ่าตัวตาย ทาให้เกิดการสูญเสีย ทรพั ยากรของประเทศ ภาวะทางจิตเวช หมายถงึ ผู้ที่มีการแสดงออกท่ีเปลี่ยนแปลงไปในด้านอารมณ์ความคิดหรือพฤติกรรม ซึ่ง ผู้นัน้ ตอ้ งได้รับการช่วยเหลอื เพราะถ้าปล่อยไวอ้ าจเกิดอนั ตรายต่อตนเองและผู้อ่ืนได้ มาตรการป้องกนั 1. ใชก้ ระบวนการระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ให้ครูที่ปรึกษาดูแล เอาใจใส่เด็กนักเรียนอย่างใกล้ชิด จะทาใหม้ โี อกาสรบั ร้ปู ญั หา 2. ผู้บริหารสถานศึกษาให้ครูท่ีปรึกษา/ครูผู้สอนประเมิน และสังเกตเด็กนักเรียนในทุกครั้ง กอ่ นการสอนหรือทากิจกรรม 3. จัดกจิ กรรมทักษะชีวิตในสถานศึกษา 4. พัฒนาครูท่ีปรึกษาใหเ้ ปน็ ครแู นะแนว และนักจิตวิทยาประจาชัน้ เรียน 5. การใช้เครื่องมือประเมิน/วัดสุขภาพจิตของนักเรียนอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง หรือตามความ เหมาะสม แนวทางการชว่ ยเหลือ 1. ครูตรวจสอบข้อมูลประวัติเด็กนักเรียนโดยใช้กระบวนการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดย ประสานงานร่วมกับครูนักจิตวิทยาประจาสถานศึกษาในการบันทึกข้อมูล และการจัดเก็บข้อมูลตามแบบรายงาน ฉก.01 2. รายงานผู้บังคบั บัญชา รว่ มปรึกษาหารือกบั ผู้เก่ียวข้องในสถานศึกษา 3. ผ้ทู ี่ไดร้ บั มอบหมายดาเนนิ การเกี่ยวข้องกับเด็กนกั เรยี นตั้งแตต่ ้นจนจบกระบวนการ 4. เชญิ ผูป้ กครอง/หรือผทู้ ่เี ดก็ นกั เรียนไวว้ างใจ เด็กนกั เรยี นรอ้ งขอมาพูดคยุ และให้คาปรึกษา 5. กรณเี ดก็ นักเรยี นท่ีมปี ัญหาสขุ ภาพจิต จิตเวช ก้าวร้าว ความรนุ แรง เสี่ยงตอ่ การทาร้ายผ้อู ืน่ ทารา้ ยตนเอง หรือได้รบั อันตราย ประสานทีมสหวชิ าชพี เพือ่ ชว่ ยเหลือ/ส่งตอ่ เดก็ นักเรียน 6. สรุปรายงานผลการดาเนินการแก่ผบู้ ริหาร 7. บนั ทึกในสมุดหมายเหตุประจาวันของสถานศกึ ษา 8. จัดทาเปน็ กรณีศึกษาเพือ่ เปน็ ข้อมลู และแนวทางในการปกปูอง คุ้มครองชว่ ยเหลอื เดก็ นักเรยี นต่อไป ขอ้ สังเกต ในการประเมิน ถ้าพบอาการที่อาจเกิดอันตรายแก่ตัวเด็กนักเรียน หรือผู้อื่นได้ จะต้องให้การดูแลอย่าง ใกล้ชดิ และเรง่ ดว่ นให้ประสาน การส่งต่อ ได้แก่ 1. ระดับความรสู้ ึกตัว สบั สน งุนงง ไมค่ อ่ ยร้สู ึกตัว หรือไมร่ สู้ ึกตวั 2. ลักษณะท่ีปรากฏ มีพฤตกิ รรมรนุ แรง เช่น เอะอะ ก้าวร้าว หรือไม่เป็นมิตร พกอาวุธ แสดงท่าทางต่อสู้ หรอื มกี ารเคลื่อนไหวตลอดเวลา หรือเกือบตลอดเวลา ระมัดระวังตวั มาก หวาดระแวง หรือหวาดกลัว

22 3. มอี ารมณซ์ มึ เศรา้ อยา่ งรุนแรง โดยจะร่วมกบั ความคิดหรอื ความพยายามฆ่าตวั ตายหรือไม่ก็ตามอารมณ์ โกรธ โดยเฉพาะอารมณ์โกรธท่ีเดก็ นกั เรยี นควบคมุ ไม่ได้ 4. ความคิด มีความคิดจะฆ่าตนเองหรือฆ่าผู้อื่น หวาดระแวงว่าจะมีคนมาทาร้าย ความรู้สึกผิด ความคิด วา่ ตนเองไร้ค่า หมดหวงั ขาดทีพ่ ึง่ และโดดเด่ียว 5. การรับรู้ (perception) มีประสาทหลอนทางหูเป็นเสียงตาหนิ เสียงด่า เสียงสาปแช่ง เสียงขู่จะ ทา รา้ ย หรือเสยี งสั่งใหก้ ระทาพฤติกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะใหท้ าร้ายตนเองหรือผ้อู น่ื เห็นภาพหลอน เช่น ภาพปีศาจมาหลอกหลอน หรือภาพคนถืออาวุธจะทาร้าย รวมท้ังการแปลส่ิงเร้าผิด เช่น เห็นกิ่งไม้ใกล้ๆ ตัวเป็นงู พิษกาลังจะกัดตน เป็นต้น แนวทางการดาเนนิ งานของ สพป.นม.4 1. ผอ.สพป.นม.4 รายงานเหตุใหเ้ ลขาธกิ าร กพฐ. ทราบทนั ที กรณีเรง่ ดว่ น 2. มอบทีม ฉก.ชน.สพป.นม.4 เขา้ ประสานทมี สหวชิ าชพี ชว่ ยเหลอื กับสถานศึกษาทนั ที 3. รายงานขอ้ มูลรายละเอยี ดอยา่ งเป็นทางการเบ้ืองต้น ภายใน 24 ชว่ั โมง 4. กรณีสอ่ื มวลชนเขา้ ตดิ ตามสถานการณ์ให้รายงาน ผอ.สพป.นม.4 และเลขาธิการ กพฐ. ทันที 5. รายงานสถานการณใ์ ห้ผบู้ งั คับบญั ชาทราบเปน็ ระยะ ๆ จนการช่วยเหลือเสร็จสิน้ กระบวนการ แหล่งชว่ ยเหลือ 1. สถานพยาบาล 2. ศูนยฉ์ ุกเฉิน โทร. 1669 3. สถานีตารวจในพน้ื ท่ี 4. โรงพยาบาลจติ เวชในพื้นท่ี 5. องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ในพนื้ ที่

23 แผนผังขน้ั ตอนการช่วยเหลือเดก็ นักเรียนกรณีภาวะจติ เวช ฉก.01 แจ้งทีมฉก.ชน.สพป.นม.4 รายงาน สพป.นม.4และผูเ้ ก่ยี วขอ้ ง

24 6. เด็กนักเรียนติดเกม/อนิ เตอร์เน็ต/เล่นการพนัน เด็กนักเรียนติดเกม (ส่ือออนไลน์ท่ีไม่พึงประสงค์ในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต) หมายถึง เด็กนักเรียน ท่ีหมกมุ่นกับการเล่นเกม/หมกมุ่นในการใช้ส่ือลามกอนาจาร ภาพยนตร์ท่ีห้ามเผยแพร่ในราชอาณาจักร หรือหมกมุ่น ในกิจกรรมคาราโอเกะผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต จนไม่สามารถควบคุมตนเองในเวลาท่ีกาหนด ถ้าไม่ไดเ้ ลน่ จะกระวนกระวายใจมาก บางคนเลน่ ขา้ มวนั ขา้ มคืน จนสง่ ผลกระทบต่อตัวเด็กนักเรียน ทั้งด้านสุขภาพ กาย สุขภาพจติ ด้าน ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ และส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของ พลเมืองในสงั คม เด็กนักเรียนเล่นพนัน หมายถึง เด็กนักเรียนท่ีมีพฤติกรรมเล่นการพนัน จัดให้มีการเล่นการพนัน หรือมั่ว สมุ ในวงการพนัน ประพฤตติ นไมส่ มควรกบั สภาพการเป็นเด็กนักเรียน มีพฤติกรรมการเล่นเอาเงิน และส่ิงของมีค่า ด้วยการเส่ียงโชค หรือใช้ความสามารถโดยคาดเดาผลท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต ความชานาญ เล่ห์เหล่ียม ไหวพริบ และฝีมือ รวมทั้งเสี่ยงโชค ถ้าเด็กนักเรียนมีพฤติกรรมเล่นการพนันจนติดเป็นนิสัย จะส่งผลให้เด็กนักเรียนขาด ความซอ่ื สตั ย์ ขาดความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว และสงั คม มาตรการป้องกนั 1. สถานศึกษากาหนดมาตรการปูองกัน โดยจัดทาระเบียบสถานศึกษา ว่าด้วยความประพฤติ เดก็ นักเรียน เพือ่ ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎกระทรวงท่กี าหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548 2. สถานศึกษากาหนดมาตรการสร้างภูมิคุ้มกันเพ่ือปูองกันกลุ่มเสี่ยง ให้ความรู้ความเข้าใจ ทราบถึง ประโยชนแ์ ละโทษของการเล่นเกม การใช้สื่อออนไลน์ที่ไม่พึงประสงค์ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยส่งเสริมการจัด อบรม จัดกิจกรรมเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์และสังคม จัดค่ายกิจกรรม จัดโครงการหยุดการพนัน เปิด โอกาสให้เด็ก นักเรียนได้ค้นพบ และแสดงศักยภาพเชิงบวก กิจกรรมจิตอาสา สร้างพื้นที่สร้างสรรค์ ให้เด็ก นักเรยี นได้ทากจิ กรรมตามความถนดั และความสนใจสนใจ เป็นการปูองกันมิให้เกิดนักพนันหน้าใหม่ และส่งเสริม ใหก้ ิจกรรมตา่ ง ๆ เปน็ ตัวสรา้ งให้ เด็กนกั เรยี นห่างไกลการพนนั หา่ งไกลการติดเกม เป็นตน้ 3. สถานศึกษากาหนดมาตรการสร้างภูมิคุ้มกัน โดยการสร้างความเข้มแข็งให้ระบบการดูแลช่วยเหลือ นักเรียน กาหนดบทบาทหน้าที่ของบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องในระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน พร้อมเร่งรัดพัฒนาครู ประจาชั้น ให้สามารถทาหน้าที่ได้ทั้งครูปกครองและครูแนะแนวเพื่อช่วยเหลือ สร้างเจตคติท่ีดีในการปรับ พฤตกิ รรมของเด็กนักเรียนในการใช้เครือข่ายอินเตอร์เพ่ือการสืบค้นข้อมูลทางด้านวิชาการ อาจมอบหมายงานให้ เดก็ นักเรียนไดใ้ ช้คอมพิวเตอร์และอินเทอรเ์ น็ตเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ท่ีท้าทาย เสริมสร้างความรู้สึกมี คุณคา่ ในตนเอง รวมถงึ การสร้างสัมพันธภาพทด่ี ีในโรงเรียน 4. สถานศกึ ษากาหนดมาตรการเฝูาระวงั ขอความรว่ มมอื จากผปู้ กครองชว่ ยดแู ลเด็กนักเรียนเร่ืองการเล่น เกม/ สื่อออนไลน์ที่ไม่พึงประสงค์/เล่นพนัน สร้างความร่วมมือกับผู้ปกครองในการกากับ ดูแล ติดตามพฤติกรรม ของเดก็ นกั เรยี นขณะใช้ชวี ิตอยู่ท่ีบา้ นในการใช้เครอื ข่ายอนิ เตอร์เน็ตเพื่อการสบื ค้นข้อมลู ทางด้านวิชาการ 5. มาตรการเฝูาระวังโดยสถานศึกษาสร้างภาคีเครือข่ายในรูปแบบ สหวิชาชีพในระดับสถานศึกษา ร่วมกับ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น สถานีตารวจ โรงพยาบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการร่วมกันเฝูาระวัง และขอความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายช่วยดูแลเด็กนักเรียนในด้านการพัฒนาทักษะชีวิต วิชาชีพ การสืบค้นข้อมูล ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และการดูกีฬาผ่านเครือข่ายออนไลน์ เพื่อปูองกันการเล่น การพนันในระบบกีฬา เปน็ ตน้

25 แนวทางการช่วยเหลอื 1. พฒั นาครนู ักจติ วิทยาประจาสถานศึกษา ครูทีป่ รกึ ษา ครแู นะแนว ในการเป็นผใู้ หค้ าแนะนา คาปรึกษา วิธีการใช้ส่ือให้เป็นประโยชน์ในด้านการศึกษาหาแหล่งเรียนรู้ โดยให้สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมานาเสนอ เพ่อื ให้เด็กนกั เรยี นมีความรู้ความสนในดา้ นอ่ืนๆ จะได้ไมม่ ุ่งเล่นเกมเพียงอยา่ งเดียว 2. เน้นการประชมุ เครือข่ายผปู้ กครอง พบปะพดู คุย เพ่ือร่วมมือแก้ไขปัญหา หรือใช้วิธีการเยี่ยมบ้าน เพื่อ สืบเสาะหาข้อเท็จจริง หาแนวทางการแก้ไข เพื่อสร้างสัมพันธภาพอันดีระหว่างเด็กนักเรียน ผู้ปกครอง และ สถานศกึ ษา ปรบั พฤติกรรม สง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมสร้างแรงจงู ใจ และการเสริมแรงอยา่ งเหมาะสม และตอ่ เน่ือง 3. กาหนดรูปแบบและวิธีการในระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษา โดยเน้นการปรับ พฤติกรรม แบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างสม่าเสมอ และมีการติดตามประเมินผลพฤติกรรมเป็นระยะ หากพบว่าเด็ก นกั เรียนยังมีพฤตกิ รรมตดิ เกม/ตดิ สือ่ ออนไลนท์ ่ีไม่พงึ ประสงค์ในระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ /เล่นพนัน/ ลกั ขโมย ใหส้ ถานศกึ ษาประสานความรว่ มมือกบั ทมี สหวชิ าชพี ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตอ่ ไป 4. สถานศึกษาจัดทาระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยความประพฤตินักเรียนเพ่ือให้เป็นไปตามกฎกระทรวงท่ี กาหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548 เพ่ือการเน้นภารกิจ เช่น หากพบว่าเด็กนักเรียนยัง ไม่ปรับพฤติกรรมติดเกม/ติดส่ือออนไลน์ที่ไม่พึงประสงค์/เล่นพนัน ให้สถานศึกษาประสานทีมสหวิชาชีพให้ความ ช่วยเหลือ ต่อไป 5. เร่งรัดจัดต้ังศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียนระดับสถานศึกษา โดยผู้อานวยการ สถานศึกษา กาหนดนโยบาย ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนให้มีกรอบทิศทางการดาเนินงานเป็นแนวทาง เดียวกัน 6. ระดับสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา โดยผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษากาหนดนโยบาย ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนให้มีกรอบทิศทางการดาเนินงานเป็นแนวทางเดียวกันโดยมีการประสานงานของ ครูนกั จติ วิทยาประจาสถานศึกษาและนักจติ วิทยาประจาสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาทางานรว่ มกนั 7. ระดับ สพฐ.และระดับกระทรวง จัดต้ังศูนย์คุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียนและนักศึกษาท่ีถูก ล่วงละเมิดทางเพศ กระทรวงศึกษาธิการ ทั้งน้ีเพื่อเป็นการกากับ ดูแล การถูกล่วงละเมิดทางเพศอันอาจเกิดจาก การเล่นพนนั /สื่อลามกอนาจาร เป็นต้น

26 แผนผงั ขั้นตอนการชว่ ยเหลือเดก็ นกั เรียนกรณเี ด็กนกั เรียนติดเกม/อนิ เตอรเ์ นต็ ครูนกั จติ วทิ ยาประจาสถานศึกษา/ครูทปี่ รกึ ษา/ครผู สู้ อนให้คาปรกึ ษา ครนู ักจิตวิทยาประจาสถานศึกษา/ครูทปี่ รึกษา/ครูผูส้ อน

27 แผนผงั ข้นั ตอนการช่วยเหลือเด็กนกั เรียนกรณเี ดก็ นักเรียนเล่นการพนนั ครนู กั จิตวิทยาประจา สถานศกึ ษา/ครูประจาช้นั ผอ.สพป.นม.4 ทีมฉก.ชน..สพป.นม.4

28 7. เดก็ นักเรียนถูกปลอ่ ยปละ ละเลย ทอดทง้ิ จากสภาพสังคมเศรษฐกิจในปัจจุบันส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเล้ียงดูบุตร และท่ามกลาง กระแสเศรษฐกิจสังคมที่มุ่งพัฒนาบ้านเมือง ทาให้ขาดการดูแลส่งผลกระทบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในครอบครัวและ สังคม ทาให้ผู้ปกครองไม่มีเวลาดูแลบุตรหลาน เด็กนักเรียนถูกทอดท้ิงหรือปล่อยปละละเลย ปล่อยให้คนแก่หรือ เครือญาติคอยดูแล รวมไปถึงเด็กนักเรียนท่ีถูกปล่อยท้ิงให้มีชีวิตอยู่ตามลาพังหรือบุคคลอื่น โดยไม่ได้รับการดูแล เอาใจใส่ ไม่ใหค้ วามสาคัญ เพิกเฉย ไม่สนใจ กอ่ ให้เกดิ ปัญหากบั เดก็ นักเรียน ปัญหาของสงั คม เด็กนักเรียนมี สภาพชวี ิตอย่ทู า่ มกลางความสบั สน กลายเปน็ การทารณุ กรรมทน่ี าไปสู่การทารุณในรูปแบบอื่นได้อีก เช่น การลักพาตัว เด็ก การใช้แรงงานเด็ก การค้าประเวณี เป็นต้น ดังนั้น ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กนักเรียนจาเป็นต้องมี ผู้เกี่ยวข้องหลายฝุาย เช่น ผู้ปกครองและชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมดูแลและช่วยเหลือ ครูรู้จักเด็กนักเรียนเป็น รายบุคคลโดยการเยย่ี มบ้าน การคัดกรอง การปูองกัน การแก้ปัญหา การให้คาปรึกษา และการส่งเสริมพัฒนาเด็ก นักเรียนด้านความสามารถและทักษะ ตลอดจนคุณลักษณะท่ีจะช่วยเสริมสร้างให้เด็กนักเรียนมีคุณภาพและมี ภูมิคุ้มกันการดาเนินชีวิตของเด็กนักเรียนจะต้องมีความสามารถ ในการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมทางสังคม การ เปล่ียนแปลงการตัดสินใจท่ีเหมาะสม และสามารถอยู่ในสังคมอย่างปลอดภัย รวมท้ังหน่วยงานของรัฐให้ ความสาคญั ของปญั หา และร่วมมือกันแก้ปัญหาอยา่ งจริงจัง มาตรการป้องกัน 1. ครูรู้จักเดก็ นักเรยี นเป็นรายบคุ คล โดยการเยยี่ มบ้าน การคัดกรอง การปูองกัน การแก้ปัญหา และการ ให้คาปรึกษา 2. ผู้บริหารสถานศึกษา นิเทศ กากับ และติดตาม ให้ครูที่ปรึกษา ครูผู้สอน หมั่นสังเกตพฤติกรรม และ สภาพร่างกายเด็กนกั เรยี นทกุ คร้งั ก่อนทาการสอน 3. การส่งเสริมพัฒนาเด็กนักเรียนด้านความสามารถตามความถนัด ความสนใจ และความต้องการของ เด็กนักเรียน ตลอดจนคุณลักษณะที่จะช่วยเสริมสร้างให้เด็กนักเรียนมีคุณภาพ มีภูมิคุ้มกันในการดาเนินชีวิต มีความสามารถในการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เปลี่ยนแปลง มีการตัดสินใจท่ีเหมาะสม และสามารถ อยู่ในสงั คมอยา่ งปลอดภัย 4. หน่วยงานของรัฐให้ความสาคญั กบั ปัญหา และรว่ มมือกนั แกป้ ญั หาอยา่ งจรงิ จงั แนวทางการช่วยเหลือ 1. ผู้บริหารสถานศึกษารับแจ้งเหตุหรือประสบเหตุ นาเด็กนักเรียนมาบันทึกข้อเท็จจริง สอบถาม ข้อเท็จจรงิ และบันทกึ ขอ้ มูลโดยละเอยี ด 2. จัดทาบันทึกรบั แจง้ เหตุพรอ้ มประวัติและภาพถา่ ยเดก็ นักเรียน 3. แต่งตง้ั คณะทางานในการตรวจสอบข้อเท็จจริง โดยไปเยี่ยมบ้านเด็กนักเรียน สอบถามบุคคลแวดล้อม เช่น เพ่ือนบา้ น ญาตพิ ี่นอ้ งของเดก็ นักเรียน หรอื กานนั ผใู้ หญ่บ้านในพน้ื ที่ 4. รายงาน ฉก.ชน.สพป.นม.4 ทีมสหวิชาชีพ และเจ้าพนักงาน เจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 5. ให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น ได้แก่ เงินทุนการศึกษา ปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิต ฟ้ืนฟูสภาพจิตใจ เป็นตน้ 6. เมอ่ื สถานการณ์เด็กนักเรียนดีขึ้น สถานศึกษาต้องดาเนินการปูองกัน และพัฒนาในสภาพปัญหาต่อไป เชน่ การกาหนดบริเวณปลอดภัย การเสรมิ ทักษะการดูแลเด็กนักเรียน ทักษะการจัดการกับปัญหา และทักษะทาง

29 สังคม ให้กับผู้ปกครองหรือผู้ที่เก่ียวข้อง สร้างเครือข่ายชุมชนในการช่วยเหลือ หรือแจ้งเบาะแสเบื้องต้นในการ ร่วมกันปอู งกนั ปญั หา แนวทางการดาเนินงานของ สพป.นม.4 1. รับแจง้ เหตจุ ากสถานศกึ ษาและบุคคลอ่นื ๆ 2. ประสานหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง และทีมสหวิชาชพี เพือ่ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื เด็กนกั เรยี น 3. ทีมเจ้าหนา้ ที่ ฉก.ชน.สพป.นม.4 ลงพ้ืนท่ีเก็บข้อมูล เย่ียมบ้าน สอบถามบุคคลแวดล้อม ร่วมกับทีมสห วชิ าชีพ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครูนกั จติ วทิ ยาประจาสถานศกึ ษา และครทู ี่ได้รบั มอบหมาย 4. ประเมนิ ผล วิเคราะห์สถานการณ์ และตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ 5. ประชุมผู้ปกครอง ผู้เกี่ยวข้อง และทีมสหวิชาชีพ ร่วมปรึกษาเพื่อวางแผนการให้ความช่วยเหลือ ให้ คาปรึกษา แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 เพื่อ ดาเนนิ การสงเคราะหค์ มุ้ ครองสวสั ดิภาพเดก็ นกั เรยี นตอ่ ไป 6. ตดิ ตามประเมนิ สถานการณ์เป็นระยะ ๆ 7. การตดิ ตามประเมนิ ผลในการสง่ ต่อ ซ่ึงสามารถดาเนินการได้ 2 วิธี คอื 7.1 กรณยี ตุ เิ ร่อื ง ดาเนนิ การเมอื่ เดก็ นักเรียนคนดังกลา่ วไดร้ ับการคมุ้ ครองชว่ ยเหลอื 7.2 กรณีปรับเปลี่ยนวิธีการให้ความคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียน หลังจากพบว่า เด็กนักเรียนยังมีปัญหาไม่สามารถคุ้มครอง และช่วยเหลือเด็กนักเรียนได้ ผู้ท่ีเกี่ยวข้องต้องดาเนินการแก้ไข ปรับเปลีย่ นวธิ ีการในการค้มุ ครองและช่วยเหลือเดก็ นักเรยี นต่อไป แหล่งชว่ ยเหลอื 1. ศนู ยช์ ว่ ยเหลือสังคม (OSCC) โทร. 1300 2. สถานพยาบาล 3. สถานีตารวจ 4. องคก์ รเพอ่ื การกศุ ล 5. บา้ นพักเดก็ และครอบครัว เพ่ิมโครงการมอบบ้านให้กับเด็กนักเรียนตามโครงการจิตอาสาเราทาดีด้วย หัวใจ ของ สพฐ. 6. สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ 7. ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ

30 แผนผงั ขนั้ ตอนการช่วยเหลือเดก็ นักเรยี นเดก็ นกั เรียนถกู ปลอ่ ยปละ ละเลย ทอดท้ิง รายงานเบื้องต้นให้ สพป.นม.4 ทราบทนั ที ผอ.สพป.นม.4/ทมี ฉก.ชน..สพป.นม.4รับแจง้ เหตุ

31 8. ยาเสพตดิ ยาเสพติด หมายถึง สารใดกต็ ามท่เี กิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารทส่ี ังเคราะห์ขึ้น หรือวัตถุใด เม่ือเสพเข้าสู่ ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใดๆ แล้วทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ ใน ลกั ษณะสาคญั เชน่ ตอ้ งเพ่ิมขนาดการเสพขนึ้ เปน็ ลาดับ มอี าการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพทั้งร่างกาย และจิตใจ อย่างรุนแรงอยตู่ ลอดเวลา และสุขภาพโดยทัว่ ไปจะทรดุ โทรมลง มาตรการป้องกนั 1. เสรมิ สร้างภมู คิ ุ้มกนั และทักษะชีวิตใหเ้ ด็กนกั เรียน 2. จัดกิจกรรมการปูองกัน เฝาู ระวงั และแกไ้ ขปญั หายาเสพติดในสถานศกึ ษา 3. พฒั นาระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี นให้เข้มแขง็ 4. การดาเนินงานในการปูองกนั และแก้ไขปญั หายาเสพติดในสถานศึกษา ควรให้เด็กนักเรียนเข้ามามีส่วน ร่วม ในการดาเนนิ งาน โดยมคี รเู ปน็ ผู้คอยให้การสนบั สนนุ ให้คาแนะนาและดูแล 5. สถานศึกษาต้องดาเนินการตามโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข ของ กระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายของ สพฐ. 6. สร้างเครือข่ายภายนอกในการเฝูาระวังและปูองกันปัญหา เช่น โครงการครู DEAR. โครงการ 1 โรงเรยี น 1 ตารวจ และโครงการตาสับปะรด เปน็ ต้น 7. จัดต้งั ชมรมศนู ย์เพื่อนใจวัยรุน่ TO BE NUMBER ONE และเพ่ือนช่วยเพอื่ น 8. ศูนยพ์ ทิ กั ษ์สิทธเิ ดก็ แนวทางการชว่ ยเหลือ 1. ครูท่ีปรึกษาคัดกรองเด็กนักเรียนเป็นรายบุคคล การเยี่ยมบ้าน และการคัดกรองนักเรียน ออกมา 4 กลุ่ม ไดแ้ ก่ กลุ่มปกติ กลุ่มเสย่ี ง กลุม่ เสพ และกลุ่มคา้ 2. หากครทู ป่ี รึกษาพบเดก็ นักเรียนกลุ่มเส่ียง กลุ่มเสพ และมยี าเสพตดิ ไว้ในครอบครองให้ดาเนนิ การ ดงั น้ี 2.1 ติดต่อกับผปู้ กครองเพอ่ื หาแนวทางปูองกันและแก้ไขปัญหารว่ มกนั 2.2 ดาเนินการตามแนวทางการดูแลชว่ ยเหลือเดก็ นกั เรยี นกล่มุ เสพ โดยเข้าสกู่ ระบวนการบาบดั รกั ษา 2.3 ติดตามผลการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง และรายงานผลการดาเนินการให้ผู้บริหารสถานศึกษา รับทราบ 2.4 สถานศึกษารายงาน สพป.นม.4 ทราบ 3. กรณพี บวา่ นักเรยี นเปน็ ผคู้ ้า ใหเ้ จา้ หน้าทีผ่ ้มู ีอานาจดาเนินการตามกฎหมาย 4. กรณีเด็กนักเรียนถูกควบคุมตัวหรือเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม ให้สถานศึกษาดาเนินการออกหนังสือ รับรองการเปน็ นักเรยี นเพื่อเป็นหลักฐานประกอบ แหลง่ ชว่ ยเหลือ 1. ศูนย์ช่วยเหลอื สงั คม OSCC) โทร. 1300 2. ศูนยฉ์ ุกเฉนิ โทร. 1669 3. สถานพยาบาล 4. สถานีตารวจ 5. องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ 6. คณะกรรมการปูองกนั และปราบปรามยาเสพติด (ปปส.)

32 แผนผงั ขนั้ ตอนการชว่ ยเหลือเดก็ นกั เรียนกรณียาเสพติด ผอ.สพป.นม.4 ทีมฉก.ชน..สพป.นม.4

33 9. อปุ ทานหมู่ อุปทานหมู่ เป็นปรากฏการณ์ซึ่งเกิดขึ้นกับบุคคลตั้งแต่ 1 คนข้ึนไปท่ีมีความเชื่อร่วมกัน และมีการ แสดงออกอาการทางร่างกายกลุ่มนักเรียนที่มักพบอาการ มักพบในนักเรียนเพศหญิงมากกว่านักเรียนเพศชาย มัก เกดิ กบั บคุ ลทมี่ ีสภาพจติ ใจไมม่ ่นั คง เกิดการคล้อยตามไดง้ า่ ย สาเหตุการเกิดอาการ อาการอปุ ทานหมู่ มักมีสาเหตุเกิดจากความรู้สึกคิดภายในจิตใจ เป็นการแสดงออก ทาง ภาวะความเครียด อาจเกิดจากผลกระทบจากภูมิหลัง สภาพครอบครัว อาการหวาดกลัวบางสิ่ง วิตกกังวล รสู้ ึกตื่นเต้น ตอ่ เหตุการณ์หรือเรอ่ื งราวทีไ่ ดเ้ ห็น ได้ยิน และไดฟ้ ังทีม่ ตี อ่ สภาพแวดล้อมน้ัน ๆ ลกั ษณะอาการ ปวดศีรษะ มึนงงศีรษะ คล่ืนไส้ ปวดท้อง เกร็งท้อง อ่อนเพลีย ง่วง เจ็บปวดในคอ หายใจ ลาบาก หรือหายใจหอบเร็ว (Hyperventilation or Difficulty Breathing) ชักเกร็งตัว เป็นลม หมดสติ อาการ เหล่านี้ คงอยู่เพียงช่ัวคราว มีการแพร่กระจายอาการไปสู่คนอื่น ๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน และมีการฟื้นตัวเร็ว กลบั มาเปน็ ปกติ ซง่ึ เม่อื ตรวจทางการแพทยแ์ ล้วไม่พบวา่ มีสาเหตุมาจากโรคทางกาย วิธีดูแลเบื้องต้น คือ แยกเด็กนักเรียนคนแรกที่แสดงอาการอุปทานหมู่ออกจากกลุ่ม และควรแยกเด็ก นักเรียนท่ีมีอาการทุกคนออกจากกัน โดยการจัดให้เด็กนักเรียนอยู่ในห้องท่ีสงบ เพ่ือระงับอาการท่ีเกิดจากสติ อารมณ์ วิธดี ูแลตามอาการนกั เรียน แบง่ เป็น 2 กลมุ่ ดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุม่ อาการไม่ร้ายแรง ครปู ระเมินอาการเด็กนักเรยี นเบื้องตน้ รกั ษาตามอาการ โดยทา ให้ร่างกาย ผ่อนคลาย ไดพ้ ักผอ่ นสักพกั ให้อาการจะดีข้ึนตามลาดับ กลุ่มที่ 2 กลุ่มอาการร้ายแรง หากพบว่า เด็กนักเรียนได้รับบาดเจ็บ มีการทาร้ายร่างกาย ใหค้ รูทาการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ แล้วรบี นาสง่ แพทยท์ นั ที ขอ้ พึงสงั เกต หากสังเกตว่า เด็กนักเรยี นมอี าการหายใจเร็วผดิ ปกติให้ครูรักษาด้วยการใช้ถุงกระดาษครอบ หน้า เพื่อใหเ้ ดก็ นักเรียนหายใจเอาคารบ์ อนไดออกไซต์เข้าไป จะชว่ ยทเุ ลาอาการลงไดต้ ามลาดับ วิธีดูแลหลังอาการยุติ ในการปฐมพยาบาลและประเมินอาการ เม่ือเด็กนักเรียนมีอาการดีขึ้นจนเป็นปกติ หากแต่เข้ากลุ่มอาจเกิดอาการซ้าได้อีก ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับความเช่ือยังคงมีอยู่ ดังนั้นการประเมินสภาพจิตใจ ร่วมกับ สภาพแวดล้อม หรือพูดคุยโดยการใช้กระบวนการให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การรักษาด้วยจิต บาบัด) จะช่วยคลายความกังวลหรือความรู้สึกท่ีอยู่ภายในจิตใจ เพื่อปูองกันไม่ให้เกิดอาการซ้า อาจทาได้โดยให้ เด็กนักเรียน หยุดเรียนชั่วคราว โดยเฉพาะเด็กนักเรียนที่แสดงอาการคนแรก ซ่ึงมีอิทธิพลต่อความรู้สึกและแสดง อาการรว่ มตอ่ ผ้อู นื่ มาตรการป้องกัน 1. ครูที่ปรึกษา/ครูประจาวิชา/ครูผู้ดูแลนักเรียน/ครูนักจิตวิทยาประจาสถานศึกษา ศึกษาข้อมูลเด็ก นักเรียนเป็นรายบุคคล ด้วยเครื่องมือคัดกรองนักเรียน เช่น แบบประเมิน SDQ แบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) แบบสารวจความเครียด แบบสังเกตพฤติกรรม เป็นต้น ประกอบกับทางานร่วมกับงานระบบการดูแล ชว่ ยเหลือนักเรยี น โดยทาการเยย่ี มบ้านนกั เรยี น เพือ่ ประเมินพฤตกิ รรม ศึกษาภูมิหลังเด็กนักเรียน และร่วมพูดคุย กับผปู้ กครอง เพอื่ ร่วมดูแลเด็กนกั เรยี นอย่างใกลช้ ดิ 2. บทบาทครูแนะแนว/ครูนักจิตวิทยาประจาสถานศึกษา ให้การดูแลช่วยเหลือเด็กนักเรียน ด้วยกระบวนการการให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม เพื่อตรวจสอบสภาพจิตใจเบ้ืองต้นของเด็กนักเรียน และเร่งรัดใหค้ วามรคู้ รใู นโรงเรยี นเกี่ยวกบั วิธีดูแลสขุ ภาวะทางจติ เบอื้ งต้น ใหเ้ ป็นนกั จติ วิทยาโรงเรยี นทีด่ ี

34 3. สถานศกึ ษาเผยแพร่ใหค้ วามรูเ้ พิ่มเติมแก่เด็กนักเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง โดยจากจัดโครงการ/กิจกรรม ตามความเหมาะสม ทางานร่วมกับสหวิชาชีพ เช่น นักจิตวิทยาคลินิก ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพ่ือมี สว่ นร่วมในการสร้างความเช่ือท่ีถกู ต้อง การอุปทานหม่ใู หเ้ ด็กนักเรียนมีเจตคติท่ีดี เสริมสร้าง เจตคติท่ีดีให้เด็ก นกั เรียนมีการ ตระหนกั รู้ ยอมรบั นับถือตนเอง และเห็นคณุ ค่าในตนเอง 4. ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาควรใหค้ รปู ระจาวิชาครูทป่ี รกึ ษาครูประจาหอ หมั่นสังเกตสภาพร่างกายและจิตใจ ของเดก็ นกั เรยี น ในทกุ คร้งั กอ่ นการสอนหรือทากจิ กรรม แนวทางการช่วยเหลอื 1. ครูตรวจสอบข้อมูลประวัติเด็กนักเรียนโดยใช้กระบวนการช่วยเหลือนักเรียน การบันทึกข้อมูล การจดั เกบ็ ขอ้ มูลตามแบบรายงาน ฉก.01 2. แยกเดก็ นกั เรียนคนแรกท่เี กิดอาการออกจากกลมุ่ 3. ปฐมพยาบาลเด็กนักเรยี นทกุ คนท่เี กดิ อาการ และประเมนิ อาการ 4. ผ้ทู ี่ไดร้ บั มอบหมายดาเนนิ การเกี่ยวขอ้ งกับเดก็ นกั เรียนตั้งแตต่ น้ จนจบกระบวนการ 5. เพื่อประสานการสง่ ตอ่ ชว่ ยเหลือแกเ่ ดก็ นกั เรียน 6. สรุปรายงานผลการดาเนนิ การแกผ่ ู้บริหารสถานศกึ ษา 7. ในรายท่เี รง่ ด่วนประสานหนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น โรงพยาบาล เป็นตน้ 8. จดั ทาเป็นกรณศี ึกษาเพื่อเป็นข้อมูลและแนวทางในการปกปูองคุ้มครองและชว่ ยเหลือเด็กนักเรียนต่อไป แนวทางการดาเนนิ งานของ สพป.นม.4 1. ผอ.สพป.นม.4 รายงานเหตใุ หเ้ ลขาธกิ าร กพฐ. ทราบทันที 2. มอบทมี ฉก.ชน.สพป.นม.4 เข้าประสานชว่ ยเหลอื กบั สถานศกึ ษาทันที 3. รายงานสถานการณ์ให้ผู้บงั คบั บัญชาทราบเป็นระยะ ๆ จนการช่วยเหลอื เสรจ็ สิ้นกระบวนการ 4. กรณีส่ือมวลชนเขา้ ติดตามสถานการณ์ใหร้ ายงาน ผอ.สพป.นม.4 ทันที แหลง่ ช่วยเหลอื 1. สถานพยาบาล 2. ศูนยฉ์ กุ เฉนิ โทร. 1669 3. ศนู ย์ปอู งกันการฆ่าตัวตายระดับชาติ 4. มูลนธิ แิ พททเู ฮลท์ 5. สถาบนั สขุ ภาพจิตเดก็ และวยั รุ่นราชนครินทร์ 6. กรมสขุ ภาพจิต

35 แผนผังข้ันตอนการคุ้มครองและชว่ ยเหลือเด็กนกั เรียนกรณอี ปุ ทานหมู่ ฉก.01 รายงาน สพป.นม.4

36 10. โรคติดต่อในสถานศึกษา โรคติดต่อ คอื โรคทส่ี ามารถถา่ ยทอดติดต่อกันได้ระหว่างบุคคล โดยมีเช้ือจุลินทรีย์ต่าง ๆ เป็นสาเหตุของ โรค และถึงแม้ว่าเชื้อโรคจะเป็นตัวก่อเหตุ แต่พฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสมของมนุษย์ก็เป็นปัจจัยร่วมที่สาคัญ ท่ีจะทาให้เกิดโรคติดต่อน้ันๆ กรมอนามัยได้รวบรวมนิยามของโรคติดต่อ จากพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 และประกาศ กระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ช่ือและอาการสาคัญของโรคติดต่ออันตราย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2563 หมายถึง โรค ซง่ึ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศใหเ้ ปน็ โรคติดตอ่ สาหรับท่ัวประเทศหรือผู้ว่า ราชการจังหวัดเฉพาะในเขตของตนประกาศ ให้เป็นโรคติดต่อในกรณีท่ีตรวจพบหรือมีเหตุสงสัยว่าโรคใดโรคหนึ่ง เป็นโรคซึ่งอาจติดต่อแพร่ระบาด เป็นอันตรายแก่ประชาชนได้ โรคติดต่ออันตราย หมายความว่า โรคติดต่อท่ี รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศ (รายละเอียดคมู่ อื แนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัย ของสถานศกึ ษาฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2556 หนา้ 108 - 121) มาตรการปอ้ งกัน การตรวจร่างกายเด็กนักเรียนก่อนรับเข้าเรียน ซึ่งเด็กนักเรียนทุกคน แนบผลเอกสารการตรวจสุขภาพ (ระเบียนสขุ ภาพ) จากโรงเรยี นเกา่ 1. ควรได้รับการตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละครั้ง เด็กนักเรียนท่ีมีโรคประจาตัวควรได้รับการดูแลจาก แพทยอ์ ย่างใกลช้ ิด และควรมีสมุดบนั ทกึ ประวัตกิ ารตรวจสุขภาพประจาตวั ทกุ คน 2. ครู บุคลากรและเจ้าหน้าท่ีทุกภาคส่วนในสถานศึกษา ผู้ประกอบการอาหารผู้ขายอาหาร ฯลฯ ควรไดร้ บั การตรวจสุขภาพจากแพทยอ์ ยา่ งน้อยปีละ 2 ครั้ง 3. สถานศกึ ษาตอ้ งมกี ารจดั การสขุ าภบิ าลสขุ อนามัยและสง่ิ แวดล้อมใหถ้ กู สุขลักษณะ โดยปฏิบัติตามหลัก สุขาภิบาลสถานศึกษา (รายละเอียดคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ฉบับ ปรับปรงุ พ.ศ. 2556 หนา้ 99 - 107) 4. สถานศึกษามีการให้ความรู้แก่ ครู บุคลากร และเด็กนักเรียน ในการเฝูาระวัง ปูองกัน และควบคุม โรคติดตอ่ โดยตรง รวมถึงการขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ มา เป็นวทิ ยากรใหก้ ับเดก็ นักเรยี นตามโอกาสท่เี หมาะสม แนวทางการช่วยเหลอื 1. คัดกรองนักเรยี น แยกเด็กนักเรยี นท่ีปุวยออก 2. ส่งต่อสถานพยาบาลใกล้เคียง หรือโทรศัพท์แจ้งศูนย์ฉุกเฉิน โทร. 1669 และวิทยุสื่อสารช่องความถี่ 147.300 MHz 3. รายงานผ้บู งั คับบญั ชา โดยใช้ชอ่ งทางการสอ่ื สารที่รวดเร็วทส่ี ุด 4. แจง้ บิดา มารดา ญาติ และผู้ปกครองทราบ 5. กรณีเป็นโรคติดต่อให้ผู้บริหารสถานศึกษาพิจารณาปิดสถานศึกษา โดยคาแนะนาจากสถานพยาบาล ในพื้นท่ี 6. ทาความสะอาดฆ่าเชอ้ื โรค โดยประสานกบั สาธารณสขุ และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นในพ้นื ท่ี 7. ติดตามผล เฝูาระวงั การระบาดของโรคติดตอ่ และปอู งกันการแพรร่ ะบาด 8. ดาเนินการตามนโยบายมาตรการสาธารณสุข (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ.2560 ในสถานศึกษา

37 แนวทางการดาเนินงานของ สพป.นม.4 1. รายงานใหเ้ ลขาธิการ กพฐ. ทราบโดยทันที 2. มอบหมายทีม ฉก.ชน.สพป.นม.4 ประสานใหค้ วามช่วยเหลอื กบั สถานศกึ ษาทนั ที 3. รายงานขอ้ มลู รายละเอยี ดอยา่ งเปน็ ทางการ ภายใน 24 ช่วั โมง 4. กรณมี สี ่อื มวลชนเข้าติดตามข่าวสถานการณร์ ายงาน ผอ.สพป.นม.4 ทนั ที 5. รายงานผู้บงั คบั บัญชาทราบเป็นระยะ ๆ จนกว่าสถานการณ์ดีข้นึ และกลบั สภู่ าวะปกติ แหล่งชว่ ยเหลอื 1. สถานพยาบาลใกล้เคียง 2. ศนู ยฉ์ ุกเฉิน โทร. 1669 3. วทิ ยสุ ือ่ สารช่องความถี่ 147.300 MHz. 4. ที่วา่ การอาเภอเมอื งนครราชสมี า,อาเภอโนนสูง/สานักงานเขตนครราชสมี า 5. องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน แผนผงั ขัน้ ตอนการช่วยเหลือเด็กนักเรยี นกรณโี รคติดต่อในสถานศึกษา รายงานผอ.สพป.นม.4 ทมี ฉก.ชน..สพป.นม.4

38 11. อบุ ตั เิ หตุภายในสถานศกึ ษา อุบัติเหตุในสถานศึกษา หมายถึง อันตรายที่เกิดข้ึนในสถานศึกษาโดยฉับพลันซ่ึงไม่คาดคิดมาก่อนอัน เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ หรือการกระทาของมนุษย์ ส่งผลให้เกิดความเสียหาย ท้ังร่างกาย และทรัพย์สิน โดยมี สถานการณ์เสีย่ งจากสภาพแวดลอ้ ม ขาดความระมดั ระวัง หรอื การเรยี นการสอน มาตรการปอ้ งกัน 1. สร้างความตระหนักและใหค้ วามรขู้ า้ ราชการครูบุคลากรทางการศกึ ษา และเดก็ นกั เรียน 2. ตรวจสอบสภาพความพร้อมใชง้ านของอาคารสถานท่ีและอปุ กรณ์การเรยี นการสอนอย่างสม่าเสมอ 3. สารวจจุดเส่ียงภายในและรอบบริเวณสถานศึกษา (ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมในคู่มือแนวทางปฏิบัติและ มาตรการ รักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556 หน้า 24 - 38) และหนังสือสพฐ.ด่วน ท่ีสดุ ท่ี ศธ 04277/136 ลว.15 มนี าคม 2556 เรอื่ ง การดูแลนกั เรยี นในชว่ งเวลาทีอ่ ยู่ในสถานศึกษา 4. จัดระบบการเฝาู ระวงั เช่น ตดิ ตงั้ กล้องวงจรปดิ ในบริเวณจดุ เสยี่ ง เป็นตน้ 5. เตรียมบุคลากรและอุปกรณเ์ คร่อื งมอื การปฐมพยาบาลเบื้องต้น 6. จัดให้มีการทาประกันภัยอุบัติเหตุสาหรับเด็กนักเรียน ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ใน สถานศกึ ษา 7. จดั ระบบการรายงานเหตไุ ปยังสถานพยาบาลใกลเ้ คียง หรอื ศูนยฉ์ ุกเฉนิ โทร. 1669 แนวทางการชว่ ยเหลือ 1. ปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ 2. ประสานศูนย์ฉุกเฉนิ โทร. 1669 และนาส่งสถานพยาบาลใกลเ้ คียง 3. แจง้ เหตตุ อ่ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา แจง้ บิดา มารดา/ผปู้ กครอง/ญาติ 4. รายงานผู้บังคับบัญชาทราบตามลาดับช้ันพร้อมบันทึกตามแบบรายงาน ฉก.01 5. ติดตามการ ชว่ ยเหลอื ในส่วนทเ่ี ก่ยี วข้อง แนวทางการดาเนนิ งานของ สพป.นม.4 1. ผอ.สพป.นม.4 รายงานเหตุให้เลขาธิการ กพฐ. ทราบทนั ที 2. มอบทีม ฉก.ชน.สพป.นม.4 เข้าประสานช่วยเหลอื กบั สถานศึกษาทนั ที 3. รายงานข้อมลู รายละเอยี ดอยา่ งเปน็ ทางการเบื้องตน้ ภายใน 24 ชั่วโมง 4. กรณีส่อื มวลชนเขา้ ตดิ ตามสถานการณใ์ ห้รายงานผอ.สพป.นม.4 ทันที 5. รายงานสถานการณใ์ หผ้ บู้ งั คบั บัญชาทราบเปน็ ระยะ ๆ จนการช่วยเหลอื เสรจ็ สิ้นกระบวนการ แหลง่ ชว่ ยเหลือ 1. สถานพยาบาลใกล้เคยี ง 2. ศูนย์ฉกุ เฉนิ โทร. 1669 3. สถานตี ารวจในพื้นทเี่ กดิ เหตุ

39 แผนผงั ขั้นตอนการช่วยเหลือเด็กนักเรียนกรณีอบุ ัตเิ หตภุ ายในสถานศกึ ษา ผอ.สพป.นม.4 ทีมฉก.ชน.สพป.นม.4 11.1. กรณอี ุบัตเิ หตุภายในสถานศกึ ษา (เดก็ นักเรยี นจมนา้ ) การจมนา้ เปน็ สาเหตุการเสียชวี ิตของเดก็ นักเรยี นประเภทหนงึ่ อบุ ัติเหตุการจมน้า พบวา่ เกิดจากการ รู้เท่าไม่ถึงการณ์เกิดจากความประมาท ความคึกคะนอง มองข้ามความปลอดภัย ไม่เลือกว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ ควรได้รับความรู้และฝกึ ทักษะชีวิตเบ้อื งต้น เพื่อรองรบั ปัญหาท่ีอาจเกิดข้ึน ให้สามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ อย่างถกู วิธหี รอื สามารถถ่ายทอดความรใู้ หก้ บั ผู้อื่นได้

40 มาตรการป้องกัน 1. สถานศึกษามีการให้ความรเู้ กยี่ วกบั เรื่องอบุ ัตเิ หตทุ างน้า ให้เด็กนกั เรียนไดเ้ รียนรู้และฝกึ ปฏิบัติเกี่ยวกับ เร่อื งของการเอาตัวรอด เมอื่ ตอ้ งประสบอบุ ตั เิ หตุทางน้า เช่น รจู้ ักหลักของการตะโกน การโยน การยื่น รวมถึงการ ลอยตัว ในน้าแบบวิธีต่าง ๆ และท่ีสาคัญคือ ต้องมีความรู้เก่ียวกับการปฐมพยาบาลคนที่จมน้าเบ้ืองต้นท่ีถูกต้อง นอกจากนนั้ สถานศึกษาควรจะให้ความรู้เร่อื งของการปฏิบัติตนเม่ือต้องทาภารกจิ เก่ียวกับกิจกรรมทางนา้ ด้วย 2. สารวจจุดเสีย่ งตอ่ การจมน้าของเดก็ นักเรยี นในสถานศึกษา และบริเวณรอบ ๆ สถานศึกษา 3. แจง้ เตือนจุดเส่ยี งให้เดก็ นกั เรยี นทราบและติดปาู ยแจ้งเตอื น หรือลอ้ มรั้วให้มคี วามปลอดภยั สูง 4. กรณีที่สถานศึกษามีสระว่ายน้า หรือกิจกรรมทางน้า ให้จัดต้ังอุปกรณ์ชูชีพ เพ่ือให้เกิดความปลอดภัย และมคี รูควบคมุ ดูแลอย่างใกล้ชดิ 5. สถานศกึ ษาจัดใหม้ กี ารสอนวา่ ยน้า เพอ่ื ปอู งกันการจมนา้ เป็นไปตามบรบิ ททีเ่ อื้อของแตล่ ะพืน้ ที่ แนวทางการชว่ ยเหลอื กรณไี มเ่ สยี ชวี ิต 1. ปฐมพยาบาลเบ้อื งต้นดว้ ยวธิ ีทถี่ ูกตอ้ ง 2. แจ้งเหตุต่อผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาสถานพยาบาลใกล้เคียง ศูนย์ฉุกเฉิน โทร. 1669 และแจ้งบิดามารดา ผู้ปกครอง ญาติ 3. รายงานผ้บู ังคับบัญชาทราบ ตามลาดบั ข้ันพรอ้ มรายงาน ตามแบบรายงาน ฉก.01 4. กรณที ี่เดก็ นกั เรียนทาประกนั อบุ ตั เิ หตุกบั บริษัทประกันภัย ให้ดาเนินการเรียกค่าเสียหาย และ ค่า สินไหมทดแทน หากมีปัญหาให้ติดต่อประสานกับสานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกนั ภัย (คปภ.) แนวทางการชว่ ยเหลือ กรณีเสยี ชีวิต 1. แจ้งผ้บู รหิ ารสถานศึกษาเจา้ พนกั งานปกครองเจ้าหน้าที่ตารวจ 2. กนั พื้นทีเ่ กดิ เหตุ และอานวยความสะดวกเจ้าพนักงาน 3. รายงานผู้บังคบั บญั ชาตามลาดบั ชน้ั ทราบและแจง้ บดิ ามารดา ผู้ปกครอง ญาติ 4. กรณีที่เด็กนักเรียนทาประกันอุบัติเหตุกับบริษัทประกันภัยให้ดาเนินการเรียกค่าเสียหาย และ ค่าสินไหมทดแทน หากมปี ญั หาใหต้ ดิ ตอ่ ประสานกับสานกั งานคณะกรรมการกากบั และส่งเสริมการประกอบ ธุรกิจ ประกันภยั (คปภ.) แนวทางการดาเนินงานของ สพป.นม.4 1. กรณเี สยี ชีวิตต้องรายงานให้เลขาธกิ าร กพฐ. ทราบโดยทันที 2. มอบหมายทีม ฉก.ชน.สพป.นม.4 เขา้ ประสานช่วยเหลอื ทนั ที 3. รายงานขอ้ มูลรายละเอียดอย่างเป็นทางการเบ้อื งตน้ ภายใน 24 ชวั่ โมง 4. กรณมี สี ื่อมวลชนเข้าตดิ ตามขา่ วใหร้ ายงาน ผอ.สพป.นม.4 ทนั ที 5. รายงานผู้บังคบั บัญชาทราบเป็นระยะ ๆ จนการช่วยเหลือเสร็จสน้ิ กระบวนการ แหล่งชว่ ยเหลือ 1. สถานพยาบาลใกลเ้ คยี ง 2. ศนู ยฉ์ ุกเฉิน โทร. 1669 3. สถานีตารวจพ้นื ทเี่ กดิ เหตุ (กรณเี สยี ชีวิต)

41 แผนผังขั้นตอนการชว่ ยเหลือเดก็ นกั เรียนกรณอี บุ ัติเหตภุ ายในสถานศึกษา (เดก็ นกั เรียนจมน้า) ผอ.สพป.นม.4 ทีมฉก.ชน..สพป.นม.4

42 11.2 กรณีอุบัติเหตุภายในสถานศึกษา (เด็กนักเรียนเสียชีวิตในสถานศึกษา) เด็กนักเรียนเสียชีวิตในสถานศึกษา หมายถึง เด็กนักเรียนท่ีอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสถานศึกษาได้ เสียชีวิตด้วยเหตุตายตามธรรมชาติ ตายผิดธรรมชาติหรืออุบัติเหตุซ่ึงผู้ประสบเหตุ ได้พบเด็กนักเรียนในสภาพท่ี เสียชวี ติ แล้ว ไมส่ ามารถชว่ ยเหลอื เบอ้ื งตน้ ได้ มาตรการปอ้ งกนั 1. จัดระบบขอ้ มูลนักเรียนเปน็ รายบคุ คล และมีการสง่ ต่อแต่ละระดบั เม่อื จบปีการศกึ ษา 2. จดั อาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมให้มีความปลอดภยั 3. จัดให้มีมาตรการเพื่อความปลอดภัย สอดส่อง ตรวจตราในพ้ืนท่ีบริเวณสถานศึกษา เช่น การติดตั้ง กล้องวงจรปิด จดั เวรยามรกั ษาการณ์ คณะกรรมการนกั เรยี น และสภานักเรียน 4. จัดใหม้ ีระบบหรือซักซ้อมให้มีการแจ้งเตอื นเหตตุ า่ ง ๆ ในสถานศกึ ษา แนวทางการช่วยเหลอื 1. รับแจ้งเหตุกรณีเด็กนักเรียนเสียชีวิต ให้ตรวจสอบว่าเสียชีวิตแล้วหรือไม่ และกันบริเวณพ้ืนที่เกิดเหตุ ไมใ่ ห้บคุ คลทไ่ี ม่เกีย่ วขอ้ งเขา้ ไปในทีเ่ กดิ เหตุ 2. แจ้งผู้บริหารสถานศึกษา เจ้าพนักงานปกครอง เจ้าหน้าที่ตารวจ และผู้บริหารสถานศึกษาทราบทันที และอานวยความสะดวกเจา้ หนา้ ที่ตารวจหรือผู้เกีย่ วข้อง 3. แจ้งบิดามารดาหรอื ผู้ปกครองของเด็กนกั เรียนที่เสียชวี ิต 4. รายงานผ้บู ังคบั บัญชาทราบตามลาดบั 5. ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาร่วมงานบาเพ็ญกุศลศพ แนวทางการดาเนนิ งานของ สพป.นม.4 1. ผอ.สพป.นม.4 รายงานเหตใุ หเ้ ลขาธิการ กพฐ. ทราบทนั ที 2. มอบทีม ฉก.ชน.สพป.นม.4 เขา้ ประสานช่วยเหลอื กับสถานศกึ ษาทันที 3. รายงานขอ้ มูลรายละเอยี ดอย่างเปน็ ทางการเบื้องต้น ภายใน 24 ชั่วโมง 4. กรณีสือ่ มวลชนเขา้ ตดิ ตามสถานการณ์ให้รายงาน ผอ.สพป.นม.4 ทนั ที 5. รายงานสถานการณ์ให้ผูบ้ งั คบั บัญชาทราบเป็นระยะ ๆ จนการช่วยเหลือเสรจ็ ส้นิ กระบวนการ แหลง่ ช่วยเหลือ 1. เจ้าหน้าที่ปกครอง 2. สถานตี ารวจในพืน้ ที่เกิดเหตุ 3. สถานพยาบาลใกลเ้ คยี งในพน้ื ท่ี

43 แผนผังขัน้ ตอนการชว่ ยเหลือเดก็ นักเรียน กรณีอุบตั เิ หตุภายในสถานศึกษา (เดก็ นักเรียนเสยี ชีวิตในสถานศึกษา) ทมี ฉก.ชน.สพป.นม.4 ผอ.สพป.นม.4 12. อุบตั เิ หตภุ ายนอกสถานศกึ ษา อุบัติเหตุนอกสถานศึกษา หมายถึง ภาวะท่ีเกิดขึ้นอย่างกะทันหันโดยไม่ได้ต้ังใจ ทาให้เกิดความ กระทบกระเทือนต่อสุขภาพชีวิตและทรัพย์สินของเด็กนักเรียน หรืออุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้นมีผลกระทบต่อสถานศึกษา เชน่ อุบัติเหตุกบั รถนกั เรยี น รถทศั นศึกษา รถทัศนาจร รถรับส่งนักเรียน รถโรงเรียนรถส่วนบุคคลของครูท่ีพาเด็ก นักเรียนไปทากิจกรรม (รายละเอียดคู่มือแนวทางการปฏิบัติมาตรการการรักษาความปลอดภัย ของสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556 หน้า 39 - 51) มาตรการปอ้ งกัน ปฏิบตั ติ ามประกาศระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการพานักเรียนและนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. 2562 แนวทางการชว่ ยเหลอื 1. แจง้ ศูนยฉ์ กุ เฉิน โทร. 1669 และเจา้ หนา้ ทต่ี ารวจ 2. แจ้งผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ผู้ปกครอง หรือผอู้ นญุ าตใหเ้ ดก็ นกั เรียนไปนอกสถานศึกษาทราบ 3. แจง้ ผอ.สพป.นม.4 ทราบเปน็ การเบ้ืองต้นทันที 4. แจ้งทะเบียนรถประเภทรถที่ประสบอุบัติเหตุ เพื่อสถานพยาบาลจะได้ดาเนินการค่าใช้จ่ายในการ รกั ษาพยาบาลจาก พ.ร.บ. คุม้ ครองผู้ประสบภยั จากรถ โดยผู้ปกครองนักเรียนไมต่ อ้ งสารองจา่ ย

44 5. จัดหาผูด้ แู ลประสานงานตดิ ตามอาการของเดก็ นกั เรียน และติดตามเร่ืองการประกันภยั 6. แจ้งความลงบนั ทกึ ประจาวันตอ่ เจา้ พนักงานไวเ้ ป็นหลกั ฐานในการเรียกร้องสินไหมทดแทน 7. กรณีทีเ่ ดก็ นักเรยี นทาประกนั อบุ ตั ิเหตุกบั บรษิ ัทประกนั ภัย ให้ดาเนนิ การเรียกคา่ เสยี หายและ ค่าสินไหม ทดแทน หากมีปัญหาให้ติดต่อประสาน กับสานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบ ธุรกจิ ประกันภยั (คปภ.) 8. กรณเี ด็กนกั เรยี นเสียชีวติ ให้ติดตอ่ ขอรบั ใบรับรองของการเสียชีวติ จากสถานพยาบาลในพ้ืนที่ แนวทางการดาเนินงานของ สพป.นม.4 1. ผอ.สพป.นม.1 รายงานเหตุใหเ้ ลขาธิการ กพฐ. ทราบโดยทนั ที 2. มอบหมายให้ทีม ฉก.ชน.สพป.นม.4 เข้าช่วยเหลือโดยทันทีกรณี เกิดเหตุในพื้นท่ีไหนให้ ทีม ฉก.ชน.สพฐ. ให้ดาเนินการเขา้ ชว่ ยเหลอื ในเบื้องตน้ พร้อมประสานงานกบั ทมี ฉก.ชน.สพป.นม.1 ต้นทาง และ ฉก.ชน.สพฐ. 3. รายงานขอ้ มลู รายละเอียดอย่างเป็นทางการเบ้อื งตน้ ภายใน 24 ช่ัวโมง 4. กรณสี ือ่ มวลชนเขา้ ติดตามสถานการณ์ใหร้ ายงาน ผอ.สพป.นม.4 ทนั ที 5. รายงานสถานการณ์ให้กับผู้บังคับบัญชาทราบเป็นระยะจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้รับการช่วยเหลือจน เสร็จสิ้นกระบวนการ แหลง่ ชว่ ยเหลอื 1. ศูนยฉ์ ุกเฉิน โทร. 1669 2. สถานพยาบาล 3. เจา้ หนา้ ท่ตี ารวจ 4. สานกั งานคณะกรรมการกากับและสง่ เสรมิ การประกอบธรุ กจิ ประกันภัย (คปภ.)

45 แผนผังขั้นตอนการชว่ ยเหลือเดก็ นกั เรยี น กรณอี ุบัตเิ หตภุ ายนอกสถานศกึ ษา ศูนยฉ์ ุกเฉิน 1669 ผอ.สพป.นม.4 ศนู ย์ฉกุ เฉิน 1669 ทีมฉก.ชน..สพป.นม.4

46 13. ภัยพบิ ัติ ภยั พบิ ัติ หมายถงึ ภัยทรี่ ุนแรงหรือเหตุการณ์ที่เกดิ ขนึ้ ตามธรรมชาติ หรอื เกิดจากความประมาทของบุคคล ส่งผลกระทบต่อบุคคลหรือต่อผู้คนเป็นจานวนมาก เกิดจากสถานการณ์เสี่ยง เช่น อัคคีภัย แผ่นดินไหว วาตภัย และอุทกภยั เป็นต้น ซง่ึ มคี วามสูญเสยี ท้ังทรัพย์สิน สิ่งของ และผู้คนบาดเจบ็ เสียชวี ติ หรอื ไรท้ ี่อยู่ มาตรการปอ้ งกัน 1. จดั การเรยี นการสอนเรอ่ื งเก่ยี วกบั ภัยพบิ ตั ทิ เี่ กีย่ วข้อง 2. ศกึ ษาแผนปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั ของแต่ละพืน้ ที่ 3. จัดทาแผนปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยฉุกเฉินของสถานศึกษา ซ้อมแผนให้สอดคล้องกับแผน ปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั ระดับตาบล/อาเภอ/จงั หวดั ของกระทรวงมหาดไทย 4. สารวจความเสยี่ งจากสถานการณ์เสี่ยง และตรวจสอบอปุ กรณ์ปอู งกันภัย เช่น ถงั ดบั เพลิงใหม้ ี ความ พรอ้ มในการใช้งาน เปน็ ตน้ 5. ให้จัดระบบส่ือสาร เช่น โทรศัพท์ จัดระบบวิทยุส่ือสาร ความถ่ี 147.300 MHz. ให้คานึงถึงการมี ระบบไฟฟูาในกรณีฉกุ เฉิน สาหรบั พน้ื ทที่ ี่มคี วามเสี่ยงมาก 6. กาหนดผู้รับผิดชอบงานอุบัติภัยในสถานศึกษา ประสานเครือข่ายชุมชน/หน่วยงาน รองรับ การแจง้ เตือน แจง้ เหตุ 7. สถานศึกษาที่อยใู่ นเขตภัยพิบัติ ทบทวนมาตรการเสี่ยงภัยพิบัติของสถานศึกษา อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครงั้ แนวทางการชว่ ยเหลือ 1. แจ้งเหตุตามแผนปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั ท่ีสถานศึกษากาหนดไว้ 2. แจ้งเหตุในช่องทางการสื่อสารท่ีใช้ได้รวดเร็วที่สุด เช่น โทรศัพท์ วิทยุสื่อสารช่องความถ่ี 147.300 MHz. และชอ่ งทางอื่นที่สามารถแจง้ ได้ เปน็ ต้น 3. จุดรับแจ้งเหตุ สพป.นม.1. ศูนย์ฉุกเฉิน โทร. 1669 ศูนย์เตือนภัย โทร. 1860 และสถานีตารวจ พ้นื ทเ่ี กดิ เหตุ 4. รายงานผู้บงั คับบญั ชาตามลาดับโดยใช้แบบรายงาน ฉก.01 5. สถานศึกษาให้ความช่วยเหลอื บรรเทาความเดือดร้อนเบื้องตน้ แนวทางการดาเนินงานของ สพป.นม.4 1. รายงานใหเ้ ลขาธกิ าร กพฐ. ทราบโดยทันที 2. มอบหมายทีม ฉก.ชน.สพป.นม.4 ประสานใหค้ วามช่วยเหลือกบั สถานศึกษาทนั ที 3. รายงานข้อมูลรายละเอยี ดอยา่ งเปน็ ทางการภายใน 24 ชัว่ โมง 4. กรณีมสี อ่ื มวลชนเข้าตดิ ตามข่าวสถานการณร์ ายงาน ผอ.สพป.นม.4 ทนั ที 5. รายงานผู้บงั คบั บญั ชาทราบเปน็ ระยะๆ จนกวา่ สถานการณด์ ีขึ้น และกลับสภู่ าวะปกติ แหลง่ ช่วยเหลือ 1. จุดแจง้ เหตุ ฉก.ชน. สพป.นม.4 2. ศูนย์ฉุกเฉิน โทร. 1669 3. ศนู ย์เตอื นภยั โทร. 1860 4. สถานีตารวจพน้ื ท่เี กดิ เหตุ/ ศูนยป์ อู งกันและบรรเทาสาธารณภัยอาเภอ / จงั หวัด และภูมิภาค

47 แผนผังขนั้ ตอนการชว่ ยเหลือเด็กนกั เรียนกรณภี ยั พิบตั ิ โทรศัพท์/วิทยสุ ือ่ สาร 147.30 MHz หรือ โทร 1669,1860, 191 ทีมฉก.ชน..สพป.นม.4 14. การกลั่นแกล้ง (Bully) การกลัน่ แกลง้ รงั แก หมายถึง พฤติกรรมการกระทาให้ผู้อ่ืนได้รับความทุกข์ความเจ็บปวด ท้ังทางร่างกาย และจิตใจ เพื่อให้ตนเองรู้สึกมีอานาจ มีพลังเหนือกว่าผู้อ่ืน หรือเพ่ือความสนุกสนาน อีกทั้งการกระทาดังกล่าวจะ เกดิ ขึ้นซ้าๆ อย่างต่อเน่อื ง และมีระยะเวลายาวนาน มาตรการป้องกัน 1. ให้ความรู้เก่ียวกบั โทษของการกระทาความผิดทางพระราชบัญญตั คิ อมพวิ เตอร์ 2. ให้ความรคู้ วามเขา้ ใจเร่ืองการกล่ันแกล้งรังแกและทักษะชีวติ 3. ใช้ระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียนในการเฝูาระวัง 4. คดั กรองให้คาปรกึ ษากบั เด็กนกั เรยี นและช่วยเหลอื ในการแก้ปัญหา 5. การเฝูาระวงั ชอ่ งทางการสื่อสารทีท่ าใหเ้ กิดการกลัน่ แกลง้ รังแก