ลขิ สิทธิข์ องโรงเรยี นสตรศี รสี รุ ิโยทัย ห้ามทำซำ้ กอ่ นได้รับอนุญาต
ก คำนำ หลกั สูตรอาเซียนศึกษา เป็นส่วนหน่ึงของโครงการพฒั นาสู่ประชาคมอาเซียนที่มุง่ เนน้ ใหผ้ เู้ รียนมี ความพร้อมและศกั ยภาพในการเตรียมเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกบั ความเป็นมาและ วตั ถุประสงค์ ในการก่อต้งั อาเซียน สร้างความเขา้ ใจในเร่ืองราวของประเทศสมาชิกอาเซียนทางดา้ นขอ้ มลู พ้ืนฐานของแตล่ ะประเทศ ท้งั ทางดา้ นการเมืองการปกครอง วถิ ีชีวติ สังคม วฒั นธรรม ประเพณี สามารถใชก้ ระบวนการสืบคน้ ขอ้ มูล โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ การเรียนรู้ การสื่อสาร มีกระบวนการคิด วเิ คราะห์และการแกป้ ัญหา ตลอดจนเห็นคุณคา่ ของการนาความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั มีจริยธรรม คุณธรรม ค่านิยมที่เหมาะสม สามารถทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมีความสุข เป็นประโยชน์ในการพฒั นา เยาวชนไทย มีความพร้อม ในการเป็ นพลเมืองดีของประชาคมอาเซียนต่อไป ขอขอบคุณคุณครูในกลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ที่ไดก้ รุณาจดั ทาเอกสาร ประกอบการเรียน แผนการจดั การเรียนรู้และสื่อประกอบการสอนจดั การเรียนรู้รายวชิ าอาเซียนศึกษา โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทยั
สำรบัญ ข เร่ือง หน้ำ คานา ก สารบญั ข โครงสร้างรายวชิ าอาเซียนศึกษา 1 1 หน่วยการเรียนรู้ปฐมนิเทศ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขอ้ มูลพ้นื ฐานเกี่ยวกบั อาเซียน 8 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ประชาคมอาเซียน 24 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เศรษฐกิจอาเซียน 47 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเมืองการปกครองประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียน 67
1 โครงสร้างรายวชิ าอาเซียนศึกษา 1 รายวชิ า อาเซียนศึกษา 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3,4,5,6 เวลา 16 ช่ัวโมง จานวน 0.5 หน่วยกติ หน่วยที่ ช่ือหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง เวลา/ ปฐมนิเทศ ช่ัวโมง ความสาํ คญั ของ 1. คาํ อธิบายรายวชิ าอาเซียนศึกษา 1 1 การเรียนรู้วชิ า 2. ผลการเรียนรู้รายวชิ าอาเซียนศึกษา 1 1 อาเซียนศึกษา 1 3. กระบวนการเรียนการสอน 2 ขอ้ มลู พ้นื ฐาน 4. แนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 1 เก่ียวกบั อาเซียน 1.ความเป็นมา วตั ถุประสงคข์ องการก่อต้งั 3 1 ประชาคมอาเซียน อาเซียน 2.ธงประจาํ ชาติ และตราสัญลกั ษณ์ประเทศ 1 เศรษฐกิจอาเซียน 1 สมาชิกกลุ่มอาเซียน 1 3.ธงสญั ลกั ษณ์อาเซียนและกฎบตั รอาเซียน 1 1.เสาหลกั ประชาคมอาเซียน 2.วถิ ีชีวติ สังคมอาเซียน 1 3.การเปรียบเทียบวฒั นธรรมอาเซียนของ 1 ประเทศสมาชิก 1 4.อาเซียนในชีวติ ประจาํ วนั 1.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1 2.สกลุ เงิน,อตั ราแลกเปล่ียนและความเขม้ แขง็ 1 ของสกลุ เงินอาเซียน 3.สถานท่ีสาํ คญั และแหล่งทอ่ งเที่ยวใน ประเทศสมาชิกอาเซียน 4.จดั นิทรรศการกลุ่มประเทศอาเซียนและ กิจกรรม Rally ASEAN
2 หน่วยที่ ช่ือหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง เวลา/ 4 ชั่วโมง การเมือง 1. การเมืองการปกครองของประเทศ การปกครองของ สมาชิกอาเซียน 1 ประเทศสมาชิกใน 1 2. การเปรียบเทียบลกั ษณะการเมือง กลุ่มอาเซียน การปกครองของประเทศสมาชิก 1 อาเซียน 1 3. วเิ คราะห์ขา่ วเหตุการณ์ปัจจุบนั ของ 16 กลุ่มประเทศอาเซียน 4. เขียนความเรียงช้นั สูง เรื่องอาเซียนศึกษา รวม
3 หน่วยการเรียนรู้ปฐมนิเทศ เร่ือง ความสาคญั ของการเรียนรู้อาเซียนศึกษา 1 รายวชิ า อาเซียนศึกษา 1 เวลา 1 ช่ัวโมง 1. หน่วยการเรียนรู้ ปฐมนิเทศ เร่ือง ความสาคญั ของการเรียนรู้อาเซียนศึกษา 1 2. ผลการเรียนรู้ 2.1 บอกผลการเรียนรู้รายวชิ าอาเซียนศึกษา 1 ได้ 2.2 อภิปรายกระบวนการเรียนการสอน เพื่อประกอบการสอนแบบต่างๆได้ 2.3 อธิบายการวดั ผลและประเมินผลการเรียนได้ 3. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด การจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั ผสู้ อนจะตอ้ งแจง้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั รวมท้งั วธิ ีการหรือกระบวนการที่ไดม้ าซ่ึงความรู้ แหล่งการเรียนรู้ และรู้เกณฑก์ ารวดั และ ประเมินผล เพื่อใหน้ กั เรียนไดเ้ ตรียมพร้อมและเขา้ ใจถึงกระบวนการจดั การเรียนรู้ ตระหนกั ถึง ความสาํ คญั ของการเรียนรู้วชิ าอาเซียนศึกษา 1 มีความภูมิใจในความเป็นไทยและความเป็นอาเซียน 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 คาํ อธิบายรายวชิ าอาเซียนศึกษา 1 4.2 ผลการเรียนรู้วชิ าอาเซียนศึกษา 1 4.3 กระบวนการเรียนการสอน 4.4 แนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 6.1 มีวนิ ยั 6.2 ใฝ่ เรียนรู้ 6.3 มุง่ มน่ั ในการทาํ งาน 6.4 มีจิตสาธารณะ 6.5 สาํ นึกในการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันติสุข
4 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน 8. การวดั และประเมินผล 8.1 การวดั และประเมินผลก่อนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 8.2 การวดั และประเมินผลระหวา่ งจดั กิจกรรมการเรียนรู้ - สังเกตพฤติกรรมความสนใจระหวา่ งร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 8.3 การวดั และประเมินผลเม่ือสิ้นสุดกิจกรรมการเรียนรู้
5 ใบความรู้ที่ 1 คาอธิบายรายวชิ า อาเซียนศึกษา 1 ศึกษา รวบรวม วเิ คราะห์และสรุป ความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกบั อาเซียน เรื่อง ความเป็นมา/ การก่อต้งั เป้ าหมายและวตั ถุประสงคใ์ นการก่อต้งั กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศคู่เจรจา ขอ้ มลู พ้นื ฐาน ธงอาเซียน กฎบตั ร และสญั ลกั ษณ์ของประเทศในกลุ่มอาเซียน บริบทของประเทศ เรื่องสภาพภมู ิศาสตร์ สภาพทางสงั คมและวฒั นธรรม สภาพทางเศรษฐกิจและลกั ษณะการเมือง การปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียน บทบาทของอาเซียนในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ และเวทีโลก บทบาทของประเทศไทยในอาเซียนดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม ดา้ นการเมืองและ เศรษฐกิจ โดยใช้ กระบวนการอธิบาย อภิปราย สร้างความรู้ความเขา้ ใจ กระบวนการกลุ่มและ สามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ กระบวนการวเิ คราะห์แกป้ ัญหา กระบวนการสาํ รวจ การสืบคน้ กระบวนการสร้าง ความตระหนกั กระบวนการนาํ เสนอขอ้ มูล กระบวนการใชเ้ ทคโนโลยี เพอ่ื ใหด้ าํ รงตนอยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ตระหนกั ในคุณคา่ ภาคภูมิใจและหวงแหน ในความเป็นชาติไทยและอาเซียน มีความรักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวนิ ยั ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมนั่ ในการทาํ งาน รักความเป็นไทย อยอู่ ยา่ งพอเพียง มีจิตสาธารณะ และสาํ นึกในการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันติสุข
6 ใบความรู้ที่ 2 ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั รายวชิ าอาเซียนศึกษา 1 1. อธิบายความเป็นมาและการก่อต้งั อาเซียนได้ 2. บอกเป้ าหมายและวตั ถุประสงคข์ องการก่อต้งั อาเซียนได้ 3. บอกช่ือประเทศสมาชิก ประเทศคูเ่ จรจาของกลุ่มประเทศอาเซียนได้ 4. บอกลกั ษณะธงอาเซียน และสัญลกั ษณ์ของประเทศในกลุ่มอาเซียนได้ 5. อธิบายลกั ษณะกฎบตั รอาเซียนได้ 6. วเิ คราะห์สภาพทวั่ ไปทางภูมิศาสตร์ของประเทศสมาชิกอาเซียนได้ 7. วเิ คราะห์สภาพทว่ั ไปทางสังคมและวฒั นธรรมของประเทศสมาชิกอาเซียนได้ 8. วเิ คราะห์สภาพทว่ั ไปทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกอาเซียนได้ 9. วเิ คราะห์สภาพทว่ั ไปทางการเมืองการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียนได้ 10. วเิ คราะห์บทบาทของอาเซียนในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตแ้ ละเวทีโลกได้ 11. วเิ คราะห์บทบาทของประเทศไทยในอาเซียนดา้ นสังคมและวฒั นธรรม ดา้ นการเมืองและ ดา้ นเศรษฐกิจได้ 12. มีความภาคภมู ิใจในความเป็ นไทย และความเป็นอาเซียน 13. สาํ นึกในการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข
7 ใบความรู้ท่ี 3 แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1. วธิ ีการวดั สังเกตการตอบคาํ ถาม สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล สงั เกตการทาํ งานกลุ่ม การทาํ กิจกรรม/ใบงาน การทาํ แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน 2. เครื่องมอื วดั แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล แบบประเมินพฤติกรรมกลุ่ม กิจกรรม/ใบงาน แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน 3. เกณฑ์การตัดสินผลการเรียนรู้ เกณฑก์ ารตดั สินผลการเรียนรู้ คิดเป็ นสัดส่วนคะแนน 70 : 30 หมายถึง คะแนน ระหวา่ งเรียน 70 คะแนน และคะแนนปลายภาคเรียน 30 คะแนน เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ หรือ 16 ชว่ั โมง/ภาคเรียน ร้อยละ 80 ของเวลาเรียน คือ 13 ชวั่ โมง จาํ นวนหน่วยการเรียน 0.5 หน่วย คะแนนเก็บระหวา่ งภาคเรียน 70 คะแนน - เขา้ เรียน 10 คะแนน - กิจกรรมระหวา่ งเรียน 30 คะแนน - ความเรียงอาเซียน 10 คะแนน - จดั นิทรรศการกลุ่มประเทศอาเซียนและกิจกรรม Rally ASEAN 20 คะแนน คะแนนทดสอบหลงั เรียนอาเซียนศึกษา 1
8 คะแนนจากการสอบหลงั เรียน : 30 คะแนน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลพนื้ ฐานเกย่ี วกบั อาเซียน รายวชิ า อาเซียนศึกษา 1 เวลา 3 ชั่วโมง 1. หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ข้อมูลพนื้ ฐานเกย่ี วกบั อาเซียน 2. ผลการเรียนรู้ 2.1 บอกช่ือประเทศสมาชิกของกลุ่มประเทศอาเซียนได้ 2.2 อธิบายความเป็นมาและการก่อต้งั อาเซียนได้ 2.3 บอกเป้ าหมายและวตั ถุประสงคข์ องการก่อต้งั อาเซียนได้ 2.4 บอกลกั ษณะธงอาเซียน ธงประจาํ ชาติและตราสัญลกั ษณ์ประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียนได้ 2.5 บอกลกั ษณะของสัญลกั ษณ์อาเซียนและกฎบตั รอาเซียนได้ 3. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตห้ รืออาเซียน เป็นองคก์ รภมู ิศาสตร์การเมือง และองคก์ ารความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกท้งั หมด 10 ประเทศ ไดแ้ ก่ ไทย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ลาว กมั พชู า เวยี ดนามและ ประเทศเมียนมาร์ โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื ความร่วมมือในการเพมิ่ อตั ราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การ พฒั นาสังคม วฒั นธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิกและการธาํ รงรักษาสนั ติภาพและความมนั่ คงใน ภูมิภาค 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความเป็นมาและการก่อต้งั อาเซียน 4.2 เป้ าหมายและวตั ถุประสงคข์ องการก่อต้งั อาเซียน 4.3 ประเทศสมาชิกและประเทศคู่เจรจาของกลุ่มประเทศอาเซียน 4.4 ลกั ษณะธงประจาํ ชาติและตราสญั ลกั ษณ์ประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียน 4.5 ธงสญั ลกั ษณ์อาเซียนและกฎบตั รอาเซียน 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะการคิดแกป้ ัญหา - ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ
9 5.3 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ - กระบวนการปฏิบตั ิ - กระบวนการทาํ งานกลุ่ม 5.4 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - กระบวนการสืบคน้ ขอ้ มลู 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 6.1 มีวนิ ยั 6.2 ใฝ่ เรียนรู้ 6.3 มุง่ มน่ั ในการทาํ งาน 6.4 มีจิตสาธารณะ 6.5 สาํ นึกในการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันติสุข 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน 7.1 ชิ้นงาน/ภาระงานระหวา่ งจดั กิจกรรมเรียนรู้ 7.1.1 ศึกษาจาก Power Point 7.1.2 ศึกษาจากใบความรู้ 7.1.3 ทาํ ใบงาน 7.2 ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด 7.2.1 แผน่ พบั เรื่อง แนะนาํ อาเซียน 8. การวดั และประเมินผล การวดั ผลประเมินผลระหวา่ งจดั การเรียนรู้ 8.1 ใบงานท่ี 1 เรื่อง ประเทศสมาชิกของอาเซียน 8.2 ใบงานท่ี 2 เร่ือง ความเป็ นมาของประเทศอาเซียน 8.3 ใบงานที่ 3 เรื่อง เป้ าหมายและวตั ถุประสงคข์ องการจดั ต้งั อาเซียน 8.4 สังเกตความสนใจในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
10 ใบความรู้ท่ี 1 เรื่อง ข้อมูลพนื้ ฐานเกยี่ วกบั อาเซียน 1. อาเซียนมสี มาชิกกปี่ ระเทศ และประเทศใดบ้าง อาเซียนมีประเทศสมาชิกท้งั หมด 10 ประเทศ ไดแ้ ก่ บรูไนดารุสซาลาม กมั พชู า อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย ประเทศเมียนมาร์ ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ ไทย และเวยี ดนาม 2. อาเซียนก่อต้งั เม่ือไร ประเทศไหนบ้างทร่ี ่วมก่อต้งั อาเซียนต้งั ข้ึนเมื่อวนั ท่ี 8 สิงหาคม 2510 หลงั การลงนามในปฏิญญาสมาคมประชาชาติแห่ง เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (Declaration of ASEAN Concord) หรือที่รู้จกั อีกหน่ึงวา่ ปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) โดยรัฐมนตรีจาก 5 ประเทศ ไดแ้ ก่ นายอาดมั มาลิก รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศจาก อินโดนีเซีย ตุน อบั ดุล ราซกั บิน ฮุสเซน รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพฒั นาการแห่งชาติจากมาเลเซีย นายนาซิโซ รามอส รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการตา่ งประเทศ จากฟิ ลิปปิ นส์ นายเอส ราชารัตนมั รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการตา่ งประเทศจากสิงคโปร์ และพนั เอก (พเิ ศษ) ดร.ถนดั คอมนั ตร์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง การตา่ งประเทศจากไทย
11 3. ทาไมถึงจาเป็ นต้องต้ังอาเซียน ประเทศผรู้ ่วมก่อต้งั เห็นวา่ การต้งั องคก์ รความร่วมมือระดบั ภมู ิภาคน่าจะมีส่วนช่วยป้ องกนั การเกิดความขดั แยง้ และส่งเสริมการระงบั ขอ้ พิพาทโดยสันติวธิ ีตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือใน การพฒั นาคุณภาพชีวติ ของประชาชน ท้งั น้ีปฏิญญากรุงเทพฯ กาํ หนดเป้ าหมายและวตั ถุประสงค์ สาํ หรับอาเซียน 7 ประการ ไดแ้ ก่ 1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจและความกา้ วหนา้ ทาง สงั คมและวฒั นธรรม 2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพ และความมนั่ คงของภูมิภาค 3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม วชิ าการ วทิ ยาศาสตร์ และดา้ นการบริหาร 4. ส่งเสริมความร่วมมือซ่ึงกนั และกนั ในการฝึกอบรมและการวจิ ยั 5. ส่งเสริมความร่วมมือในดา้ นเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การคา้ การคมนาคม การสื่อสาร และการปรับปรุงมาตรฐานการดาํ รงชีวิต 6. ส่งเสริมการมีหลกั สูตรการศึกษาเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ 7. ร่วมมือกบั องคก์ รระดบั ภมู ิภาคและองคก์ รระหวา่ งประเทศ 4. ประเทศสมาชิกใหม่เข้าร่วมกบั อาเซียนเมือ่ ใด หลงั การจดั ต้งั อาเซียนเมื่อ 8 สิงหาคม 2510 อาเซียนเปิ ดรับ สมาชิกใหม่ในภมู ิภาคเอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใตเ้ ป็ นระยะ โดย บรูไนดารุสซาลามเขา้ เป็นสมาชิก เมื่อ 7 มกราคม 2527 เวยี ดนามเขา้ มาเป็นสมาชิกเมื่อ 28 กรกฎาคม 2538 ลาวและประเทศเมียนมาร์ เขา้ มาเป็นสมาชิกเมื่อ 23 กรกฎาคม 2540 ขณะที่กมั พชู าเขา้ มาเป็นสมาชิกเมื่อ 30 เมษายน 2542
12 การเขา้ ร่วมของประเทศสมาชิกใหม่เหล่าน้ีสอดคลอ้ งกบั ปฏิญญาอาเซียนซ่ึงระบุไวว้ า่ อาเซียนพร้อมรับทุกประเทศท่ีอยใู่ นภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตท้ ี่พร้อมท่ีจะรับเป้ าหมาย หลกั การและวตั ถุประสงคข์ ององคก์ รเป็ นสมาชิก 5. อะไรคอื ความสาเร็จของอาเซียน นบั แต่ก่อต้งั ประเทศสมาชิกอาเซียนพยายามส่งเสริมการยดึ มน่ั ในบรรทดั ฐานร่วมกนั และสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหวา่ งผกู้ าํ หนด นโยบาย ความร่วมมือท่ีเกิดข้ึนระหวา่ งกนั มีส่วนช่วยป้ องกนั ความขดั แยง้ ไมใ่ หเ้ กิดข้ึนในภูมิภาค ทาํ ใหไ้ ม่มีสงครามระหวา่ งกนั และยงั ประสบ ความสาํ เร็จในการส่งเสริมใหอ้ าเซียนเป็ นเวทีที่ประเทศมหาอาํ นาจหลาย ประเทศเขา้ ร่วมหารือในฐานะประเทศคูเ่ จรจา (Dialogue Partnerships) รวมท้งั มีความร่วมมือในกรอบความร่วมมืออาเซียน+3 (ASEAN Plus Three) ดว้ ยนอกจากน้ีอาเซียนยงั สร้างเวทีหารือดา้ นการเมืองและ ความมนั่ คงซ่ึงเป็นเพยี งเวทีเดียวในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิ กผา่ นการประชุม อาเซียนวา่ ดว้ ยความร่วมมือ ดา้ นการเมืองและความมน่ั คงในภมู ิภาค เอเชีย-แปซิฟิ ก (ASEAN Regional Forum – ARF หรือ เออาร์เอฟ) และ การประชุมสุดยอดอาเซียนตะวนั ออก (East Asia Summit) อาเซียนไดว้ างรากฐานของการบรู ณาการทางเศรษฐกิจในภูมิภาคโดยการจดั ต้งั เขตการคา้ เสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) และยงั มีความตกลงอ่ืนๆท้งั ในอาเซียนเองและกบั ประเทศ คู่เจรจา เพ่ือส่งเสริมความร่วมมือในระดบั ภมู ิภาคในการอนุรักษส์ ภาพแวดลอ้ ม การต่อตา้ น อาชญากรรมขา้ มชาติ การป้ องกนั การแพร่ระบาดของโรคติดต่อร้ายแรงและความร่วมมือสาขาอื่น อีกมากมาย ตลอดจนส่งเสริมความเป็นน้าํ หน่ึงใจเดียวใหเ้ กิดข้ึนในภมู ิภาค
13 ใบงานท่ี 1 เร่ือง ประเทศสมาชิกของอาเซียน คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเติมช่ือประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศลงไปในช่อง
14 เฉลยใบงานท่ี 1 เรื่อง ประเทศสมาชิกของอาเซียน คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเติมชื่อประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศลงไปในช่อง ใบงานท่ี 2
15 ใบงานท่ี 2 เรื่อง ความเป็ นมาของประเทศสมาชิกอาเซียน คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเติมขอ้ ความใหไ้ ดใ้ จความท่ีสมบูรณ์ 1. การก่อต้งั อาเซียนวา่ ดว้ ยปฏิญญากรุงเทพฯ ไดร้ ่วมลงนาม ............ ประเทศ ไดแ้ ก่ 1.1 .................................................................. 1.2 .................................................................. 1.3 .................................................................. 1.4 .................................................................. 1.5 .................................................................. 2. คาํ วา่ “ปฏิญญากรุงเทพฯ” มีวตั ถุประสงคส์ าํ คญั เร่ืองใดบา้ ง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
16 ใบงานท่ี 3 เรื่อง เป้ าหมายและวตั ถุประสงค์ของการจัดต้ังอาเซียน คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเติมขอ้ ความใหไ้ ดใ้ จความที่สมบรู ณ์ 1. นกั เรียนบอกเป้ าหมายและวตั ถุประสงคข์ องการจดั ต้งั อาเซียน 1.1 ................................................................................................................................................... 1.2 ................................................................................................................................................... 1.3................................................................................................................................................... 1.4 ................................................................................................................................................... 1.5 ................................................................................................................................................... 1.6 ................................................................................................................................................... 1.7 ................................................................................................................................................... 2. การเขา้ ร่วมของประเทศสมาชิกใหมป่ ฏิญญาอาเซียนการเขา้ ร่วมของประเทศสมาชิกใหม่ระบุไว้ วา่ อยา่ งไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. เร่ืองใดเป็นความสาํ เร็จของอาเซียน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .........................................................................................................................................................
17 ใบความรู้ที่ 1 เร่ือง ธงและตราสัญลกั ษณ์ประจาประเทศต่างๆ ในกล่มุ สมาชิกอาเซียน คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนศึกษารูปธง และตราสญั ลกั ษณ์ประจาํ ประเทศตา่ งๆ ในกลุ่มสมาชิกอาเซียน รูปธง ตราสัญลกั ษณ์ประเทศ ช่ือประเทศสมาชิก ราชอาณาจกั รไทย Kingdom of Thailand สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว The Loa People’s Democratic Republic ราชอาณาจกั รกมั พชู า Kingdom of Cambodia มาเลเซีย Malaysia บรูไร ดารุสซาลาม Brunei Darussalam สาธารณรัฐสิงคโปร์ Republic of Singapore สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ Republic of the Philippines สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวยี ดนาม The Socialist Republic of Vietnam ประเทศเมียนมาร์ The Union of Mynmar
18 สาธารณรัฐอินโดนีเซีย Republik Indonesia
19 ใบงานท่ี 1 เร่ือง ธงและตราสัญลกั ษณ์ประจาประเทศต่างๆ ในกล่มุ สมาชิกอาเซียน คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนนาํ อกั ษร ก-ญ มาวางไวห้ นา้ ขอ้ ท่ีนกั เรียนคิดวา่ ถูกท่ีสุด พร้อมใส่ชื่อประเทศ หลงั ธงชาติตา่ งๆ ข้อ ชื่อประเทศ ตราแผ่นดนิ ..................... 1. …………………………. ก ..................... 2. …………………………. ข ..................... 3. …………………………. ค ..................... 4. …………………………. ง ..................... 5. …………………………. จ ..................... 6. …………………………. ฉ ..................... 7. …………………………. ช ..................... 8. …………………………. ซ ..................... 9. …………………………. ฌ ..................... 10. …………………………. ญ
20 ใบความรู้ท่ี 2 เร่ือง ธงอาเซียน สัญลกั ษณ์อาเซียนและกฎบัตรอาเซียน คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนศึกษารูปธงอาเซียน สัญลกั ษณ์อาเซียน และกฎบตั รอาเซียน ธงอาเซียนคือส่ิงท่ีแสดงถึงความมนั่ คง สนั ติภาพ ความเป็ นเอกภาพ และพลวตั ของอาเซียน และเป็ นท่ีมาของ สี 4 สีที่ปรากฏอยบู่ นธงซ่ึงไม่เพียงแตจ่ ะรวบรวมจากสีของ ธงประเทศสมาชิกอาเซียนท้งั หมด แตส่ ีน้าํ เงินยงั หมายถึง สนั ติภาพและเสถียรภาพ สีแดงคอื ความกลา้ หาญและการมี พลวตั สีขาวคือความบริสุทธ์ิ และสีเหลืองหมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สิ่งที่ปรากฏอยกู่ ลางธงอาเซียนคือสญั ลกั ษณ์ของ อาเซียน ไดแ้ ก่ รวงขา้ วสีเหลือง 10 ตน้ เป็นตวั แทนของ ประเทศสมาชิกท้งั 10 ประเทศที่เป็ นผรู้ ่วมก่อต้งั อาเซียนเคย วาดฝันไวว้ า่ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตท้ ้งั 10 ประเทศน้ีสามารถอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมีมิตรภาพและ ความเป็ นน้าํ หน่ึงใจเดียวกนั ขณะที่วงกลมท่ีอยรู่ อบรวงขา้ ว น้นั แสดงถึงความเป็ นเอกภาพ ความเป็ นหน่ึงเดียวและ ความสมานฉนั ทข์ องอาเซียน กฎบตั รอาเซียน ( Asean Charter ) กฎบตั รอาเซียนคือธรรมนูญของอาเซียนที่จะทาํ ใหอ้ าเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคลเป็ นการวางกรอบ กฎหมายตลอดจนโครงสร้างองคก์ รใหก้ บั อาเซียน โดยนอกจากการประมวลที่ถือวา่ เป็นคา่ นิยม หลกั การ และ แนวปฏิบตั ิในอดีตของอาเซียนมาประกอบกนั เป็ นขอ้ ปฏิบตั ิอยา่ งเป็ นทางการสาํ หรบั ประเทศสมาชิกแลว้ ยงั มีการปรับปรุงแกไ้ ขและสร้างกลไกใหมข่ ้ึนพร้อมกบั กาํ หนดขอบเขตหนา้ ท่ีและความรับผิดชอบขององคก์ ร สาํ คญั ในอาเซียน ตลอดจนความสมั พนั ธ์ในการดาํ เนินงานขององคก์ รเหล่าน้ี เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความเปล่ียนแปลงในโลกปัจจุบนั โดยมีเป้ าหมายใหอ้ าเซียนเป็นองคก์ รที่มปี ระสิทธิภาพมากข้ึน กฎบตั รอาเซียนประกอบดว้ ยบทบญั ญตั ิ 13 บท 55 ขอ้ ครอบคลุมเป้ าหมายและหลกั การ สมาชิกภาพ โครงสร้างองคก์ รของอาเซียน องคก์ รท่ีมีความสมั พนั ธ์กบั อาเซียน เอกสิทธ์ิและความคุม้ กนั กระบวน การตดั สินใจ การระงบั ขอ้ พพิ าท งบประมาณและการเงิน การบริหารจดั การ เอกลกั ษณ์และสญั ลกั ษณ์ของ อาเซียน และความสมั พนั ธก์ บั ภายนอก
21 สาระสาคญั ของกฎบัตรอาเซียน ตามกฎบตั รน้ี อาเซียนมีฐานะเป็นนิติบุคคล วตั ถุประสงค์ ของกฎบตั รเป็ นการประมวลบรรทดั ฐาน (Norm) และคา่ นิยม (Value) ของ อาเซียนท่ีสรุปไดด้ งั น้ี ภาพรวมของประชาคมอาเซียน การรักษาและเพิม่ พนู สนั ติภาพ ความมน่ั คง เสถียรภาพ การเพ่ิมความร่วมมือดา้ นการเมือง ความมนั่ คง เศรษฐกิจและสงั คมวฒั นธรรม เป็ นเขตปลอดอาวธุ นิวเคลียร์และอาวธุ ท่ีมีอานุภาพทาํ ลายลา้ งสูง ด้านเศรษฐกจิ สร้างตลาดฐานการผลิตเดียวและความสามารถในการแขง่ ขนั สูง การรวมตวั ทางเศรษฐกิจที่มีการเคล่ือนยา้ ยเสรีของสินคา้ /บริการ การลงทุนและแรงงาน การเคล่ือนยา้ ยทุนเสรี ยงิ่ ข้ึน ด้านความมั่นคงของมนุษย์ บรรเทาความยากจน และลดช่องวา่ งการพฒั นา ส่งเสริมพฒั นา ทรัพยากรมนุษยผ์ า่ นความร่วมมือดา้ นการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีพ ด้านสังคม ส่งเสริมอาเซียนที่มีประชาชนเป็นศูนยก์ ลาง สร้างสงั คมท่ีปลอดภยั มนั่ คงจาก ยาเสพติด เพ่ิมพนู ความกินดี อยดู่ ีของประชาชนอาเซียน ผา่ นโอกาสท่ีทดั เทียมกนั ในการเขา้ ถึง การพฒั นามนุษย์ , สวสั ดิการ และความยตุ ิธรรม ด้านสิ่งแวดล้อม สนบั สนุนการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื ท่ีคุม้ ครองสภาพแวดลอ้ ม ความยงั่ ยนื ของ ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านวฒั นธรรม ส่งเสริมอตั ลกั ษณ์ของอาเซียนโดยเคารพความหลากหลายและอนุรักษ์ มรดกทางวฒั นธรรม ด้านการเมืองและความมนั่ คง คุม้ ครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพข้นั พ้ืนฐาน เสริมสร้าง ประชาธิปไตย เพิม่ พนู ธรรมาภิบาลและหลกั นิติธรรม ตอบสนองต่อส่ิงทา้ ทายความมน่ั คง เช่น การก่อการร้าย หลกั การของกฎบตั รนี้ อยบู่ นพ้ืนฐานของกฎหมายระหวา่ งประเทศ เช่น การไม่แทรงแซง กิจการภายใน การระงบั ขอ้ พิพาทโดยสนั ติวธิ ี สิ่งท่ีเนน้ หนกั คือ การรวมศนู ยก์ บั ความสัมพนั ธ์กบั ภายนอก จึงทาํ ใหก้ ฎบตั รน้ีเป็นเสาหลกั ของการสร้างประชาคมอาเซียนและตอกย้าํ ถึงขอ้ ผกู มดั ทาง กฎหมายของขอ้ ตกลงอาเซียนต่างๆ กลไกของอาเซียน ใหท้ ี่ประชุมสุดยอดอาเซียนเป็นองคก์ รสูงสุดในการกาํ หนดนโยบายของอาเซียน โดยมีการประชุมสุดยอดอาเซียนปี ละ 2 คร้ัง มีคณะมนตรีประสานงานอาเซียนท่ีมาจากรัฐมนตรี ต่างประเทศเป็นผบู้ ริหารงานทวั่ ไป และคณะมนตรีประชาคมอาเซียนดาํ เนินการตามพนั ธะกรณีใน แต่ละสาขา เลขาธิการเป็นหวั หนา้ เจา้ หนา้ ที่บริหารสาํ หรับการติดตามความคืบหนา้
22 ในกิจการต่างๆ ของอาเซียนรวมท้งั มีคณะผแู้ ทนถาวรประจาํ อาเซียนเพื่อสนบั สนุนการ ทาํ งานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียน การบริหารงาน ประธานอาเซียนดาํ รงตาํ แหน่งวาระ 1 ปี และประเทศที่เป็นประธาน อาเซียนจะรับตาํ แหน่งประธานของกลไกของอาเซียนทุกตาํ แหน่ง อาทิ ท่ีประชุมอาเซียน มนตรีประสานงานอาเซียน มนตรีประชาคมอาเซียนคณะต่างๆ ประธานผแู้ ทนถาวรประจาํ อาเซียน จากกาํ หนดใหม้ ีการประชุมสุดยอดอาเซียนปี ละ 2 คร้ังแสดงวา่ อาเซียนกาํ ลงั ปรับใหท้ ี่ ประชุมสุดยอดใหม้ ีบทบาทเชิงบริหารอยา่ งใกลช้ ิดกบั การปฏิบตั ิงานมากข้ึน แทนท่ีจะใหท้ ี่ประชุม สุดยอดเป็นเพยี งพธิ ีกรรมทางการทตู รวมท้งั การบริหารงานท่ีทาํ ใหม้ ีความสอดคลอ้ งกบั ประธาน อาเซียนยอ่ มแสดงถึงความพยายามเพ่ิมสมรรถนะขององคก์ รในดา้ นประสิทธิผลของคณะทาํ งาน ดา้ นตา่ งๆ มากข้ึน ข้อบงั คับทนี่ ่าสนใจ คือ การใหม้ ีองคก์ รสิทธิมนุษยชนอาเซียน ซ่ึงปัจจุบนั อยรู่ ะหวา่ ง การร่างขอ้ บงั คบั โดยคณะทาํ งานระดบั สูงขณะที่ บทบาทของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนใน ประเทศสมาชิก ทาํ ใหส้ ามารถคาดหวงั องคก์ รน้ีในฐานะเวทีของการเรียกร้องสิทธิและสร้างพ้ืนที่ ตอ่ การรับรู้จากสาธารณะ
23 ใบงานที่ 1 เรื่อง ธงอาเซียน สัญลกั ษณ์อาเซียนและกฎบัตรอาเซียน คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอธิบายความหมายของธงอาเซียนและสญั ลกั ษณ์ของอาเซียนวา่ มีความหมาย อยา่ งไร ธงอาเซียน คือ .................................................................................................................. ......................................................................................................................................... สีน้าํ เงิน หมายถึง ............................................................................................................. สีแดง หมายถึง ............................................................................................................. สีขาว หมายถึง ............................................................................................................. สีเหลือง หมายถึง ............................................................................................................. รวงขา้ ว 10 ตน้ หมายถึง ................................................................................................... ......................................................................................................................................... วงกลมลอ้ มรอบรวงขา้ ว หมายถึง .................................................................................... .........................................................................................................................................
24 ใบงานที่ 2 เรื่อง กฎบตั รอาเซียน คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขียนอธิบายเกี่ยวกบั กฎบตั รอาเซียนมาพอสงั เขปวา่ กฎบตั รอาเซียนคืออะไร 1. กฎบตั รอาเซียนคืออะไร ............................................................................................................. .................................................................................................................................................... 2. ปฏิญญาอาเซียนหรือเป็ นที่รู้จกั อีกช่ือหน่ึงวา่ ............................................................................. 3. การเลี่ยงการอา้ งสิทธิและหนา้ ท่ีการแทรกแซงทางการเมืองระหวา่ งสมาชิกมีแนวทางปฏิบตั ิ เราเรียกแนวทางน้ีวา่ ................................................................................................................... .................................................................................................................................................... 4. กาํ หนดใหม้ ีการประชุมสุดยอดปี ละกี่คร้ัง .................................................................................. 5. อธิบายดา้ นเศรษฐกิจ .................................................................................................................. .................................................................................................................................................... 6. ดา้ นความมน่ั คงของมนุษย์ ......................................................................................................... .................................................................................................................................................... 7. ดา้ นสงั คม ................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... 8. ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม .......................................................................................................................... .................................................................................................................................................... 9. ดา้ นวฒั นธรรม ........................................................................................................................... .................................................................................................................................................... 10. ดา้ นการเมืองความมนั่ คง ....................................................................................................... ....................................................................................................................................................
25 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ประชาคมอาเซียน รายวชิ า อาเซียนศึกษา 1 เวลา 4 ชั่วโมง 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ช่ือหน่วยการเรียนรู้ ประชาคมอาเซียน 2. ผลการเรียนรู้ 2.1 อธิบายถึงเสาหลกั ของประชาคมอาเซียนได้ 2.2 บอกวถิ ีชีวติ สงั คมอาเซียนได้ 2.3 วเิ คราะห์และเปรียบเทียบวฒั นธรรมของประเทศสมาชิกได้ 2.4 อธิบายการดาํ เนินชีวติ ท่ีตอ้ งเก่ียวขอ้ งกบั อาเซียนได้ 3. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด ในยคุ โลกาภิวฒั น์ที่สถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว ประเทศต่างๆ ใหค้ วามสาํ คญั กบั การรวมตวั กนั ในภูมิภาค เพ่ือเพ่มิ อาํ นาจตอ่ รองและเพ่มิ ขีดความสามารถ ในการแข่งขนั ในเวทีระหวา่ งประเทศ นบั เป็ นปัญหาที่เคยเป็นปัญหาในประเทศและขยายกวา้ ง เป็นปัญหาระหวา่ งประเทศซ่ึงกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนควรไดผ้ นึกกาํ ลงั ความเขม้ แขง็ เพ่อื ให้ กลุ่มประเทศสมาชิกสามารถเผชิญกบั การเปล่ียนแปลง สร้างความเหนียวแน่น เขม้ แขง็ และมน่ั คง ยง่ิ ข้ึน จึงกาํ หนดใหม้ ีการสร้างประชาคมอาเซียนประกอบดว้ ย 3 เสาหลกั ไดแ้ ก่ ประชาคมการเมือง ความมนั่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและประชาคมสงั คมและวฒั นธรรม 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เสาหลกั ประชาคมอาเซียน 4.2 วถิ ีชีวติ สังคมอาเซียน 4.3 การเปรียบเทียบวฒั นธรรมของประเทศสมาชิก 4.4 อาเซียนในชีวติ ประจาํ วนั 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 2) ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์ 3) ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ 5.2 ความสามารถในการส่ือสาร 5.3 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ กระบวนการทาํ งานกลุ่ม
26 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 6.1 มีความรับผดิ ชอบ 6.2 ใฝ่ เรียนรู้ 6.3 มุ่งมนั่ ในการทาํ งาน 6.4 มีความภูมิใจในความเป็ นไทย/ความเป็นอาเซียน 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน 7.1 ชิ้นงาน/ภาระงานระหว่างจัดกจิ กรรมเรียนรู้ 7.1.1 ศึกษาจากวดี ิทศั น์ 7.1.2 ศึกษาจากใบความรู้ 7.1.3 ทาํ ใบงาน 7.2 ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด 7.2.1 ศึกษาคน้ ควา้ เพ่ิมเติมนอกเวลาเรียน 8. การวดั และประเมินผล การวดั ผลประเมินผลระหวา่ งจดั การเรียนรู้ 8.1 ใบงานที่ 1 เรื่อง ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลกั 8.2 ใบงานที่ 2 เรื่อง สัญลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมในกลุ่มประเทศอาเซียน (ไทย ลาว กมั พชู า ประเทศเมียนมาร์ เวยี ดนาม) 8.3 ใบงานที่ 3 เรื่อง วฒั นธรรมดา้ นภาษาของกลุ่มประเทศอาเซียน 8.4 ใบงานท่ี 4 เร่ือง สัญลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมในกลุ่มประเทศอาเซียน (สิงคโปร์ มาเลเซีย บรูไน ฟิ ลิปปิ นส์ อินโดนีเซีย) 8.5 สังเกตพฤติกรรมการเรียนของนกั เรียน 8.6 สังเกตพฤติกรรมการทาํ งานกลุ่ม
27 ใบความรู้ท่ี 1 เร่ือง การสร้างประชาคมอาเซียน ในยคุ โลกาภิวฒั น์ที่สถานการณ์โลกเปล่ียนแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว ประเทศต่างๆ ใหค้ วามสาํ คญั กบั การรวมตวั กนั ในภูมิภาคเพื่อเพ่ิมอาํ นาจตอ่ รองและเพิม่ ขีดความสามารถ ในการแขง่ ขนั ในเวทีระหวา่ งประเทศ ขณะที่ปัญหาหลายอยา่ งซ่ึงเคยเป็นปัญหาในประเทศกลบั ขยายวงกวา้ งข้ึนเป็นปัญหาระหวา่ งประเทศ อาทิ ปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ โรคติดตอ่ อาชญากรรมขา้ มชาติ หรือแมแ้ ต่ปัญหายาเสพติด อาเซียนจึงตอ้ งปรับตวั ใหเ้ ท่าทนั สถานการณ์เพ่อื ใหส้ ามารถรับมือกบั ความเปล่ียนแปลงต่างๆ ที่เกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งทนั ท่วงที ในปี 2546 ผนู้ าํ อาเซียนตา่ งเห็นพอ้ งกนั วา่ ถึงเวลาแลว้ ท่ีอาเซียนควรจะร่วมมือกนั ใหเ้ หนียวแน่น เขม้ แขง็ และมนั่ คงยงิ่ ข้ึน จึงกาํ หนดใหม้ ีการสร้างประชาคมอาเซียนท่ีประกอบ ไปดว้ ย 3 เสาหลกั ไดแ้ ก่ ประชาคมการเมืองความมนั่ คงอาเซียน (ASEAN Political Security Community) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) และประชาคมสงั คม และวฒั นธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community) ภายในปี 2563 ซ่ึงตอ่ มาไดเ้ ลื่อน กาํ หนดเวลาสาํ หรับ การรวมตวั กนั ใหเ้ ร็วข้ึนเป็นปี 2558
28 ใบความรู้ท่ี 2 เร่ือง ประชาคมการเมอื งความมน่ั คงอาเซียน คอื อะไรและเป้ าหมายอย่างไร อาเซียนตระหนกั วา่ สันติภาพ ความมน่ั คง และเสถียรภาพทางการเมืองเป็นพ้นื ฐานสาํ คญั ตอ่ การพฒั นาในดา้ นอื่นๆ ประชาคมการเมืองความมนั่ คงอาเซียนจึงเป็ นเสาหลกั ความร่วมมือ หน่ึงในสามเสาหลกั ของประชาคมอาเซียนท่ีเนน้ การรวมตวั ของอาเซียนเพอ่ื สร้างความมน่ั ใจ (confidence building) เสถียรภาพ (stability) และสันติภาพ (peace) ในภมู ิภาค ท้งั น้ีเพ่ือให้ ประชาชนในอาเซียนอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันติสุขและปราศจากภยั คุกคามจากดา้ นการทหารและ ภยั คุกคามในรูปแบบใหม่ เช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาอาชญากรรมขา้ มชาติ ประชาคมการเมืองความมนั่ คงอาเซียน มีเป้ าหมาย 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1) สร้างประชาคมใหม้ ีค่านิยมร่วมกนั ในเร่ืองของการเคารพความหลากหลาย ของแนวความคิดและส่งเสริมใหป้ ระชาชนเป็นศูนยก์ ลางของนโยบายและกิจกรรม ภายใตเ้ สาการเมืองและความมนั่ คง 2) ใหอ้ าเซียนสามารถเผชิญกบั ภยั คุกคามความมนั่ คงในรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ และส่งเสริมความมน่ั คงของมนุษย์ 3) ใหม้ ีปฏิสมั พนั ธ์ท่ีแน่นแฟ้ นและสร้างสรรคก์ บั ประชาคมโลก โดยอาเซียนมีบทบาท นาํ ในภมู ิภาคจะช่วยส่งเสริมเสถียรภาพและความมน่ั คงั่ ของภูมิภาค ท้งั น้ี อาเซียน กาํ ลงั จดั ทาํ แผนงานสาํ หรับการจดั ต้งั ประชาคมการเมืองความมน่ั คงอาเซียน (ASEAN Political Security Community Blueprint – APSC Blueprint) ซ่ึงมีความคาดหวงั ใหเ้ สร็จภายในปลายปี 2551
29 ใบความรู้ที่ 3 เร่ือง ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนคอื อะไร มเี ป้ าหมายและไทยได้ประโยชน์อย่างไร ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นเป้ าหมายดา้ นเศรษฐกิจหลกั ที่สาํ คญั ในการขบั เคล่ือน ความร่วมมือระหวา่ งประเทศอาเซียน ภายหลงั การลงนามจดั ต้งั เขตการคา้ เสรีอาเซียนกม็ ี ความคืบหนา้ ที่ดีในความร่วมมือต่างๆ เป็น ลาํ ดบั และในท่ีสุดอาเซียนไดม้ ุง่ หวงั ท่ีจะจดั ต้งั ประชาคมเศรษฐกิจในปี 2558 ซ่ึงมี องคป์ ระกอบสาํ คญั คือการเป็ นตลาดและเป็น ฐานการผลิตร่วมกนั โดยมีการเคลื่อนยา้ ยสินคา้ บริการ การลงทุน แรงงาน ฝี มืออยา่ งเสรีและ เงินลงทุนที่เสรีมากข้ึน มีความสามารถ ในการแข่งขนั สูง มุง่ สร้างความเทา่ เทียม ในการพฒั นาเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศอาเซียน และการส่งเสริมการรวมกลุ่มอาเซียนเขา้ กบั ประชาคมโลก ขนาดของตลาดอาเซียนที่ใหญ่ข้ึนทาํ ให้อาเซียนมีอาํ นาจซ้ือสูงข้ึนตามมา เช่นเดียวกบั ความสามารถในการแข่งกบั ภมู ิภาคอื่นท่ีเพมิ่ ข้ึน ซ่ึงช่วยใหส้ มาชิกสามารถปรับตวั เพือ่ ตอบสนองการเปล่ียนแปลงในยคุ โลกาภิวฒั นไ์ ดเ้ ป็นอยา่ งดี ขณะท่ีการเจรจาเพ่ือเปิ ดตลาดระดบั พหุภาคีภายใตอ้ งคก์ ารการคา้ โลกยงั มีท่าทีวา่ จะไม่สามารถสรุปผลไดใ้ นอนาคตอนั ใกล้ ประเทศต่างๆ จึงไดพ้ ยายามท่ีจะทาํ ขอ้ ตกตงการคา้ เสรี ไม่วา่ จะในระดบั ทวภิ าคีหรือระดบั ภมู ิภาคในส่วนของอาเซียนมีการรวมตวั กนั เป็นกลุ่มเศรษฐกิจ ในระดบั ภูมิภาคโดยการจดั ทาํ เขตการคา้ เสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area – AFTA หรือ อาฟตา้ ) มาแลว้ 15 ปี และเร่ิมรวมตวั กบั ประเทศหรือกลุ่มคู่คา้ สาํ คญั เช่น ญ่ีป่ ุน จีน เกาหลี สหภาพยโุ รป ฯลฯ หากอาเซียนสามารถสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไดส้ ําเร็จ ไทยจะไดป้ ระโยชน์จาก การขยายการส่งออกและโอกาสทางการคา้ และเปิ ดโอกาสการคา้ บริการในสาขาที่ไทยมี ความเขม้ แขง็ เช่น ท่องเท่ียว โรงแรมและภตั ตาคาร สุขภาพ ฯลฯ ซ่ึงอาเซียนยงั มีความตอ้ งการดา้ น การบริการเหล่าน้ีอีกมาก นอกจากน้ียงั จะช่วยเสริมสร้างโอกาสในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจาก ตา่ งประเทศมายงั อาเซียนซ่ึงจะเพิม่ อาํ นาจการต่อรองของอาเซียนในเวทีการคา้ โลก และยกระดบั ความเป็นอยขู่ องประชาชนในอาเซียนโดยรวม
30 ใบความรู้ท่ี 4 เร่ือง ประชาคมสังคมและวฒั นธรรมอาเซียน คอื อะไรและมเี ป้ าหมายอย่างไร อาเซียนมุง่ หวงั ประโยชนจ์ ากการรวมตวั เป็นประชาคมสังคมและวฒั นธรรมอาเซียน เพือ่ ใหป้ ระชาชนมีความอยดู่ ีกินดี ปราศจากโรคภยั ไขเ้ จบ็ มีส่ิงแวดลอ้ มท่ีดีและมีความรู้สึก เป็นหน่ึงเดียวกนั โดยเนน้ การส่งเสริมความรู้ ความเขา้ ใจระหวา่ งประเทศสมาชิกในดา้ น ความเช่ือมโยงทางประวตั ิศาสตร์ มรดกทางวฒั นธรรมและอตั ลกั ษณ์ระดบั ภูมิภาคร่วมกนั ท้งั น้ี การเสริมสร้างรากฐานและความเช่ือมโยงระหวา่ งกนั ที่แขง็ แกร่งนาํ ไปสู่ความเขา้ ใจ ของการเป็ นเพ่ือนบา้ นท่ีดี การรู้เขารู้เรา และความรับผดิ ชอบร่วมกนั ระหวา่ งประเทศสมาชิกภายใต้ สงั คมที่เอ้ืออาทร โดยแผนปฏิบตั ิการเพ่อื นาํ ไปสู่การจดั ต้งั ประชาคมสังคมและวฒั นธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Coomunity - ASCC) ไดก้ าํ หนดกิจกรรมความร่วมมือที่มีประชาชนเป็น ศูนยก์ ลางโดยเนน้ ความร่วมมือในดา้ นต่างๆ ไดแ้ ก่ 1.การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ (Human Development) 2.การคุม้ ครองและสวสั ดิการสงั คม (Social Welfare and Protection) 3.สิทธิและความยตุ ิธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights) 4.ความยงั่ ยนื ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม (Ensuring Environmental Sustainability) 5.การสร้างอตั ลกั ษณ์อาเซียน (Building ASEAN Identity) 6.การลดช่องวา่ งทางการพฒั นา (Narrowing the Development Gap) และเนน้ ใหม้ ีการส่งเสริม ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งนกั เขียน นกั คิดและศิลปิ นในภูมิภาค ตลอดจนการเสริมสร้าง ความตระหนกั รู้เกี่ยวกบั อาเซียนในภูมิภาคโดยเฉพาะในระดบั ประชาชน ท้งั น้ี ไทยจะไดป้ ระโยชน์อยา่ งมากจากการที่รากฐานสาํ คญั ของประชาคมอาเซียนท่ีประชาชน มีความเขา้ ใจซ่ึงกนั และกนั และเขา้ ใจถึงผลประโยชนท์ ี่มีร่วมกนั ซ่ึงจะมีส่วนช่วยใหก้ ารสร้าง ประชาคมอาเซียนสามารถประสบความสาํ เร็จดว้ ย
31 ใบงานที่ 1 เร่ือง ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลกั คาชี้แจง จงตอบคาํ ถามต่อไปน้ีใหไ้ ดใ้ จความสมบรู ณ์ 1. ประชาคมอาเซียนเกิดจากอะไร ..................................................... 2. เสาหลกั ของประชาคมประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง 1. ..................................................................................................................... 2. ..................................................................................................................... 3. ..................................................................................................................... 3. อาเซียนมีการส่งเสริมความร่วมมือในดา้ นการเมืองและความมน่ั คงอยา่ งไร 1. ......................................................................................................................................................... 2. ......................................................................................................................................................... 3. ......................................................................................................................................................... 4. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนใหค้ วามร่วมมือในการพฒั นาภูมิภาคอยา่ งไร 1. ......................................................................................................................................................... 2. ......................................................................................................................................................... 3. ......................................................................................................................................................... 5. ประชาคมสังคม วฒั นธรรมอาเซียนใหค้ วามร่วมมือดา้ นใดบา้ ง 1. ......................................................................................................................................................... 2. ......................................................................................................................................................... 3. ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. 6. ประเทศไทยไดผ้ ลประโยชน์จากการเขา้ ร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอยา่ งไร 1. ......................................................................................................................................................... 2. ......................................................................................................................................................... 3. .........................................................................................................................................................
32 ใบความรู้ท่ี 5 เร่ือง การเปรียบเทยี บสัญลกั ษณ์วฒั นธรรมของประเทศสมาชิกอาเซียน ชื่อประเทศ สัญลกั ษณ์ทางวฒั นธรรม 1. ประเทศไทย –ศาสนาพุทธ ประเทศไทยเป็ นเมืองพุทธศาสนา มีศาสนาพทุ ธเป็นศาสนา ประจาํ ชาติ –ดอกราชพฤกษ์ (ดอกคูน) เป็นดอกไมป้ ระจาํ ชาติไทย ดอกมีสีเหลืองสด พบเห็นโดยทวั่ ไปในประเทศไทย – การไหว้ คือธรรมเนียมการเคารพและการทกั ทายของคนไทย – วดั พระศรีรัตนศาสดาราม เป็นพระราชวงั เก่าที่มีความวจิ ิตรสวยงาม ปัจจุบนั ใชใ้ น การประกอบพิธีทางศาสนาสาํ คญั ๆ และเป็นท่ีประดิษฐส์ ถาน พระแกว้ มรกต ซ่ึงเป็นพระคูบ่ า้ นคู่เมืองของประเทศไทย – โขน คือนาฏศิลป์ ที่วจิ ิตรงดงามเป็นแบบฉบบั ของไทยโดยแท้ – เครื่องเบญจรงค์ เป็ นงานประณีตศิลป์ ท่ีงดงามใชค้ วามประณีตในการวาด ลวดลาย – มวยไทย เป็นศิลปะการป้ องกนั ตวั ที่มีเอกลกั ษณ์ของชาติและมีชื่อเสียง ไปทว่ั โลก – ชุดประจาชาติ ผหู้ ญิงนุ่มผา้ ถุงห่มสไบเฉียง ส่วนผชู้ ายนุ่งโจงกระเบน เส้ือราชประแตน – อาหารไทย ตม้ ยาํ กงุ้ เป็นอาหารข้ึนชื่อของคนไทย 2. ประเทศลาว – ศาสนาพุทธ ชาวลาวนบั ถือศาสนาพทุ ธและเป็นศาสนาประจาํ ชาติ – ประเพณวี นั ขนึ้ ปี ใหม่หลวงพระบาง มีการฟ้ อนสิงโตกบั เทวดาหลวงเรียกวา่ “ป่ เู ยอ ยา่ เยอ” ชาวบา้ นจะสวมหนา้ กาก เตน้ ระบาํ ฟ้ อนในขบวนแห่กนั อยา่ ง สนุกสนาน – ดอกจาปาหรือลนั่ ทม ประเทศลาวถือวา่ ดอกลน่ั ทมเป็ นดอกไมป้ ระจาํ ชาติ พบเห็นดอกไมช้ นิดน้ีไดท้ วั่ ไปในประเทศลาว – พระธาตุหลวง เป็นพระเจดียท์ ่ีโดดเด่นที่สุดของลาว เป็ นท้งั สญั ลกั ษณ์ประจาํ ชาติและศาสนสถานสาํ คญั ของประเทศลาว
33 ช่ือประเทศ สัญลกั ษณ์ทางวฒั นธรรม 3. ประเทศกมั พชู า 4. ประเทศเมียนมาร์ – ประตูชัย คืออนุสรณ์ใหร้ ะลึกถึงผทู้ ี่ลม้ ตายในสงครามเป็นสถาปัตยกรรมที่มี เอกลกั ษณ์แบบลาวอยา่ งเด่นชดั – ชุดประจาชาตลิ าว ผหู้ ญิงนุ่งซ่ิน เกลา้ ผม ห่มสไบเฉียง สวมเส้ือแขนกระบอก ผชู้ ายลาวจะสวมเส้ือคอกลม นุ่งโจงกระเบนและผกู ผา้ ขาวมา้ ที่เอว การผกู ผา้ ขาวมา้ ที่เอวเป็นเอกลกั ษณ์อยา่ งหน่ึงท่ีหนุ่มๆ ชาวลาวนิยมผกู กนั มาก – ตาส้มลาว เป็นอาหารหลกั ของชาวลาว ซ่ึงมีลกั ษณะคลา้ ยส้มตาํ ของไทย – ศาสนาพทุ ธ กมั พชู ามีศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจาํ ชาติ พระในประเทศ กมั พชู าตอ้ งทาํ งานเช่นเดียวกนั กบั คนทวั่ ไปพร้อมกบั การปฏิบตั ิกิจของสงฆ์ เพราะรัฐบาลถือวา่ เป็นประชาชนส่วนหน่ึงของประเทศ – ดอกลาดวน (Rumdul) เป็นดอกไมป้ ระจาํ ชาติกมั พชู า – ปราสาทนครวดั นครธม เป็นศาสนสถานอนั ใหญ่โตวจิ ิตรพิสดารที่สุด โบราณสถานแห่งน้ีสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความเช่ือชาวกมั พชู า ซ่ึงเป็น ส่ิงก่อสร้างมหศั จรรย์ 1 ใน 7 ของโลก – ชุดประจาชาติกมั พชู า มีความคลา้ ยคลึงชุดประจาํ ชาติไทยท้งั ชายและหญิง – ศาสนาพทุ ธ ประเทศเมียนมาร์มีศาสนาพทุ ธเป็นศาสนาประจาํ ชาติ พระใน ประเทศเมียนมาร์ออกบิณฑบาต ตอน 9 โมงเชา้ และทาํ กบั ขา้ วเอง เพราะชาว ประเทศเมียนมาร์นิยมตกั บาตรดว้ ยขา้ วสวยเท่าน้นั – ดอกประดู่ (Paduak) เป็นดอกไมป้ ระจาํ ชาติประเทศเมียนมาร์ – สตรีประเทศเมียนมาร์ นิยมประทินผวิ ดว้ ย “ทานาคา” ซ่ึงเป็นแป้ งประเทศ เมียนมาร์ชนิดหน่ึงใช้ ทาบริเวณหนา้ ผากและแกม้ – เจดยี ์ชเวดากอง เป็นสถาปัตยกรรมทางศาสนา และเป็นสัญลกั ษณ์ของ ประเทศประเทศเมียนมาร์ – การฟ้ อนรา “ปะแว” (Pwe) มีเอกลกั ษณ์เป็นแบบฉบบั ของตวั เอง มีความอ่อน ชอ้ ย ใชท้ ุกสดั ส่วนในการฟ้ อนรํา – ชุดประจาชาตปิ ระเทศเมยี นมาร์ ชาวประเทศเมียนมาร์เนน้ ความเป็น เอกลกั ษณ์ของชาติดว้ ยเส้ือผา้ ที่เขาสวม การแตง่ กายตามประเพณี-โลงจี (Longyi) สวมคู่กบั เอ่งจี (Eingyi) คือเส้ือคอกลมแขนยาว เคร่ืองสวมศีรษะ ของผชู้ ายกาวนบ์ าวน์ (gaung-baung)
34 ชื่อประเทศ สัญลกั ษณ์ทางวฒั นธรรม 5. ประเทศเวยี ดนาม – ศาสนาพทุ ธ ชาวเวยี ดนามนบั ถือศาสนาพทุ ธและเป็นศาสนาประจาํ ชาติ 6. ประเทศสิงคโปร์ – งานเทศกาลเต๊ด (Tet) เป็นเทศกาลท่ีสาํ คญั ท่ีสุดของชาวเวียดนาม เป็น เทศกาลของการเริ่มตน้ ของปี ใหม่ 7. ประเทศมาเลเซีย – ดอกบวั (Lotus) เป็นดอกไมป้ ระจาํ ชาติของเวยี ดนาม – ละครหุ่นกระบอกนา้ เป็นการละเล่นที่มีในเวยี ดนามแห่งเดียว ผแู้ สดงหุ่น กระบอกน้าํ จะยนื อยหู่ ลงั ฉากในน้าํ ที่สูงถึงเอว เพื่อควบคุมการเคลื่อนไหว ของหุ่นกระบอกดว้ ยไม่ไผล่ าํ ยาว – ชุดประจาชาติชาวเวยี ดนาม หญิงชาวเวยี ดนามนิยมสวมกางเกงแพรขายาว มี เส้ือสวมช้นั ในยาวสีขาว สวมเส้ือช้นั นอกทบั ยาวมาถึงกลางน่อง สวมหมวก เรียกวา่ กุบหรือโนนลา มีผา้ รัดคางเพอื่ กนั ปลิว นิยมใส่ท้งั หญิงและชาย – เฝอ ก๋วยเต๋ียวเวยี ดนาม มีลกั ษณะคลา้ ยๆกบั ก๋วยเต๋ียว เป็นอาหารข้ึนชื่อใน หลายๆประเทศ – ความหลากหลายทางเชื้อชาติ แมจ้ ะมีความหลากหลายทางเช้ือชาติ แตช่ าว สิงคโปร์มีความภมู ิใจที่เรียกพวกเขาวา่ “คนสิงคโปร์” – Merlion ตวั สิงโตทะเลหรือท่ีรู้จกั ในช่ือของ Merlion ถือวา่ เป็นสญั ลกั ษณ์ ประจาํ ประเทศสิงคโปร์ มีลกั ษณะลาํ ตวั ทอ่ นบนเป็นสิงโตและทอ่ นล่างเป็น ปลา – การเล่นว่าวยกั ษ์ เป็นการละเล่นในยามวา่ ง มีลกั ษณะคลา้ ยการเล่นวา่ วยกั ษ์ ของมาเลเซีย ซ่ึงในเดือนกมุ ภาพนั ธ์จะมีการจดั เทศกาลการละเล่นวา่ วข้ึน – ชุดประจาชาติ ชุดประจาํ ชาติสิงคโปร์มีความหลากหลายแยกตามกลุ่ม ประชากรในประเทศ – ศาสนาอสิ ลาม ประเทศมาเลเซียมีศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจาํ ชาติ – ดอกไม้ประจาชาติ ดอกบุหงารายาหรือดอกชบาของไทย – ตกึ แฝด “เปโตรนาส ทาวเวอร์” (Petronas Towers) เป็นสัญลกั ษณ์ของ มาเลเซียยคุ ใหม่ ซ่ึงเป็นส่ิงก่อสร้างท่ีเชิดหนา้ ชูตาของประเทศ สร้างตาม ความเชื่อของชาวจีนและศาสนาอิสลาม – วายงั กลู ติ (Wayang Kulit) ศิลปะท่ีโดดเด่นของมาเลเซีย ลกั ษณะเหมือนกบั การเชิดหุ่นเงาของอินโดนีเซียและการละเล่นหนงั ใหญข่ องไทย
35 ช่ือประเทศ สัญลกั ษณ์ทางวฒั นธรรม – ศีลตั หรือปัญจะศีลตั (Pencak silat) เป็นศิลปะการป้ องกนั ตวั เป็ นการต่อสู้ ดว้ ยมือเปล่าของชาวมาเลเซีย – ชุดประจาชาติของมาเลเซีย ผชู้ ายจะมีเอกลกั ษณ์ท่ีการสวมหมวก โสร่งที่นุ่ง ทบั กางเกงอีกทีหน่ึงและการพกกริช ผหู้ ญิงจะนุ่งผา้ ถุงทอแบบมาเลย์ สวม เส้ือแขนยาวแบบพอดีตวั มีผา้ คลอ้ งคอ ดูหรูหราสวยงาม – อาหารมาเลเซีย “สะเต๊ะ” (Satay) เป็นอาหารจานเด่นของมาเลเซีย ปรุงจาก เน้ือหมกั เครื่องเทศ เสียบไมย้ า่ ง 8. ประเทศบรูไน – ศาสนาอสิ ลาม ชาวบรูไนนบั ถือศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจาํ ชาติ – ดอกซิมเพอร์ Simpor (Dillenia Suffruticosa) เป็นดอกไมป้ ระจาํ ชาติ – พระราชวงั อสิ ตานา นูอลั อมี าน (Istana Nural Iman) เป็ นพระราชวงั ที่ ใหญโ่ ตมโหฬารมาก ถือวา่ เป็นพระราชวงั แห่งศตวรรษ – มสั ยดิ โอมาร์ อาลี ไซฟัดดนิ (The Omar Ali Saifuddien Mosque) เป็นศูนย์ รวมของชาวมุสลิม ความโดดเด่นของมสั ยดิ อยทู่ ่ีโดมตรงกลางซ่ึงสร้างดว้ ย ทองคาํ สวยงามมาก ไดร้ ับการเรียกขานวา่ “มินิทชั มาฮาล” – ซิเลน (Silat) เป็นศิลปะการป้ องกนั ตวั สมยั โบราณของบรูไนคลา้ ยกบั “ศีลตั ” ของมาเลเซียและอินโดนีเซีย 9. ประเทศอนิ โดนีเซีย – ศาสนาอสิ ลาม ประเทศอินโดนีเซียมีศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจาํ ชาติ – ดอกกล้วยไม้ราตรี (Moon Orchid) เป็นดอกไมป้ ระจาํ ชาติ – พทุ ธสถานบุโรพทุ โธ (Borobudur) คือสถาปัตยกรรมท่ีสาํ คญั ของศาสนา พุทธลทั ธิมหายาน แสดงออกถึงความเป็ นอจั ฉริยะสูงสุดทางศิลปะสมยั ไศเลนทรา สร้างตามแบบศิลปะฮินดู-ชวา ที่ผสมผสานศิลปะอินเดียและ อินโดนีเซียเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั อยา่ งกลมกลืน และบุโรพุทโธยงั เป็นพทุ ธสถาน เก่าแก่แห่งหน่ึงของโลก – การแสดง “วายงั ” (Wayang) ศิลปะการแสดงท่ีเป็นเอกลกั ษณ์เด่นชดั ของ อินโดนีเซียและเป็นศิลปะประจาํ ชาติที่เก่าแก่ท่ีสุด – ระบา “บารอง” (Barong) เป็นศิลปะการแสดงของชาวบาหลี มีช่ือเรียกอีกชื่อ วา่ “กาอิน” (ผา้ นุ่งพนั แน่นรอบกาย) และ “คาบายา” (เส้ือตวั ฟิ ตแขนยาว) ผา้ นุ่งและเส้ือน้ีเป็ นเคร่ืองแต่งกายของสตรีอินโดนีเซียและใชผ้ า้ คลุมศีรษะ ตามธรรมเนียมทางศาสนาอิสลาม
36 ชื่อประเทศ สัญลกั ษณ์ทางวฒั นธรรม 10. ประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ – ศาสนาคริสต์ เป็ นศาสนาประจาํ ชาติฟิ ลิปปิ นส์ – ดอกซัมปากติ ้าหรือดอกมะลิ (Sampa-Guita) เป็นดอกไมป้ ระจาํ ชาติของ ฟิ ลิปปิ นส์ – การแสดงทนิ ิคลงิ (Tinikling) เป็นศิลปะการฟ้ อนราํ ประจาํ ชาติฟิ ลิปปิ นส์ คลา้ ยคลึงกบั ลาวกระทบไมข้ องไทย – การเต้นราบายานิฮาน มีชื่อเสียงเลื่องลือไปทว่ั โลก เป็นการละเล่นพ้ืนเมืองที่ ไดร้ ับอิทธิพลมาจากชาวมุสลิมทางภาคใตแ้ ละการเตน้ รําของชนเผา่ ด้งั เดิม – ชุดประจาชาติ ชาวฟิ ลิปปิ นส์แต่งกายแบบสากลเหมือนยโุ รปและอเมริกา ถา้ เป็นงานพิธีผชู้ ายจะใส่เส้ือบารองและผหู้ ญิงจะแต่งชุดประจาํ ชาติมีแขนยกสูง ท่ีเรียกวา่ บาลินตาวกั
37 ใบงานที่ 2 เร่ือง สัญลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมในกล่มุ ประเทศอาเซียน ไทย ลาว กมั พูชา ประเทศเมยี นมาร์ เวยี ดนาม คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเติมขอ้ ความเกี่ยวกบั สญั ลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมในกลุ่มประเทศอาเซียน ภาพสัญลกั ษณ์ ประเทศ ความหมายและ ภาพสัญลกั ษณ์ ประเทศ ความหมายและ ความสาคัญ ความสาคญั
38 ภาพสัญลกั ษณ์ ประเทศ ความหมายและ ภาพสัญลกั ษณ์ ประเทศ ความหมายและ ความสาคัญ ความสาคญั
39 ใบความรู้ที่ 6 คาทกั ทายในภาษาต่างๆ ของประเทศกล่มุ อาเซียน ภาษาเวยี ดนามประเทศเวยี ดนาม ภาษาไทย คาอ่านภาษาองั กฤษ คาอ่านภาษาไทย สวสั ดี Xin chao ซินจ่าว ขอบคุณ Com on ก่าม เอิน ขอโทษ Xin loi ซินโหลย กรุณา Xin moi ซินเหมย่ สบายดีไหม Ba co manh khoe khong? บา่ ก๊อ หมาญ ฆแคว คง กี่โมงแลว้ Bay gio may gio? เบย่ เส่อ เมย้ เส่อ ...อยทู่ ่ีไหน …o dau? ...เอ่อ เด่ว ลาก่อน Tam biet ตาม เบียด คุณพดู ภาษาองั กฤษไดไ้ หม? Ba co biet noi tieng Anh Khong? บา่ ก๋อ เบียต นอ้ ย เตี๋ยง แอ๋ง คง ภาษา ตากาลอก ประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ ภาษาไทย คาอ่านภาษาองั กฤษ คาอ่านภาษาไทย กมู ุสตา สวสั ดี Kumusta ซาลามตั ปะ อุมนั ฮิน ขอบคุณ Salamat ปากีซูโย่ กมู ุสตา กา ขอโทษ Paumanhin อานง ออราส นา นา ซาอนั องั ... กรุณา Pakisuyo ปาอาลมั มารูนง บากายง มกั ซาลิตานงั สบายดีไหม Kumusta ka? อิงเกลส ก่ีโมงแลว้ Anong oras na? ...อยทู่ ี่ไหน Nasaan ang…? ลาก่อน Paalam คุณพดู ภาษาองั กฤษไดไ้ หม? Marunong ba kayong magsalitang lngles?
40 ภาษา มาเลย์ ประเทศมาเลเชีย ประเทศสิงคโปร์ ประเทศบรูไน ภาษาไทย คาอ่านภาษาองั กฤษ คาอ่านภาษาไทย สวสั ดี Salamat Datang ซาลามตั ดาตงั ขอบคุณ Terima kasih เทริมา กาสิ ขอโทษ Maaf อาอาฟ กรุณา Sila ซิลา สบายดีไหม Apa Kha bar? อาปา กา บา ก่ีโมงแลว้ Pukul berepa? ปกู ลู เบอรปา ...อยทู่ ่ีไหน Di Mana…? ดี มานา……. ลาก่อน Salamat jalan ซาลามตั จาลนั คุณพดู ภาษาองั กฤษไดไ้ หม? Bolehka anda bercakap bahasa โบเลกา อนั ดา เบอรจากบั บาฮาซา inggeris อิงเกริส ภาษาเขมร ประเทศกมั พชู า ภาษาไทย คาอ่านภาษาองั กฤษ คาอ่านภาษาไทย ชวั สเดย์ สวสั ดี Sua s'dei ออกนุ ชม โต ขอบคุณ Aw gohn ชม โชก ชาบาย เตะ๊ ขอโทษ sohm toh โมง โปนมาน เฮย กรุณา Sohm ...เนอ อาย นา เลีย ซิน เฮย สบายดีไหม Sohk sabaay te? เนียก เจ เปี ยซา ออง เกล เตะ๊ กี่โมงแลว้ maong pohnmaan haoy? ...อยทู่ ี่ไหน …neuv ai naa? ลาก่อน Lia suhn haoy คุณพดู ภาษาองั กฤษไดไ้ หม? Niak jeh phiasaa awngle te?
41 ภาษา ลาว ประเทศลาว คาอ่านภาษาไทย สะบายดี ภาษาไทย ข่อบใจ สวสั ดี ข๋อโทด ขอบคุณ กะลุนา ขอโทษ สบายดีบ่ กรุณา เวลาจกั โมง สบายดีไหม ...อยไู่ ส ก่ีโมงแลว้ ลาก่อน ...อยทู่ ่ีไหน เจา้ เวา่ ภาษาองั กิดไดบ้ ่ ลาก่อน คุณพดู ภาษาองั กฤษไดไ้ หม? ภาษา อนิ โดนีเซีย ประเทศอนิ โดนีเซีย ภาษาไทย คาอ่านภาษาองั กฤษ คาอ่านภาษาไทย ซาลามตั เชียง สวสั ดี Salamat siang เตรีมา กะซิห์ มาอาฟ ขอบคุณ Terima kasih ซิลากนั อาปา กาบา ขอโทษ Maaf จาม เบเรปา ดิมานา... กรุณา Silakan ซาลามนั จาลนั บิซา เบอบิการา บาฮาซา สบายดีไหม Apa khabar? อิงกริส ก่ีโมงแลว้ Jam berepe? ...อยทู่ ่ีไหน Dimana…? ลาก่อน Salamat jalan คุณพดู ภาษาองั กฤษไดไ้ หม? Bisa berbicara bahasa lnggris?
42 ภาษาพม่า ประเทศเมยี นมาร์ ภาษาไทย คาอ่านภาษาไทย สวสั ดี มิงกะลาบา ขอบคุณ เจซูติน บาแด ขอโทษ ควนิ โละ บ่าหน่อ พอ่ /แม่ อะเผ่ / อะเหม่ เสียใจ กระเดา๊ ะ พีช่ าย/พส่ี าว อะโก / อะมะ หล่อมาก คา้ นเด่ สวยมาก/น่ารักมาก ล่ะเด่,ชอ้ เด่ ลาก่อน ตาตา
43 ใบงานที่ 3 เร่ือง วฒั นธรรมด้านภาษาของกล่มุ ประเทศสมาชิกอาเซียน คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนเติมขอ้ ความคาํ ทกั ทายภาษาต่างๆ ของกลุ่มประเทศอาเซียนท้งั 10 ประเทศ ใหถ้ ูกตอ้ งสมบูรณ์ คาทกั ทายทน่ี ิยมใช้กนั ในชีวติ ประจาวนั ประเทศ สวสั ดี ขอบคุณ ขอโทษ ลาก่อน ไทย เวยี ดนาม ฟิ ลิปปิ นส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน กมั พชู า ลาว อินโดนีเซีย เมียนมาร์
44 ใบงานท่ี 4 เรื่อง สัญลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมในกล่มุ ประเทศอาเซียน คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเติมขอ้ ความเก่ียวกบั สัญลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมในกลุ่มประเทศอาเซียน ภาพสัญลกั ษณ์ ประเทศ ความหมายและ ภาพสัญลกั ษณ์ ประเทศ ความหมายและ ความสาคัญ ความสาคญั
45 ภาพสัญลกั ษณ์ ประเทศ ความหมายและ ภาพสัญลกั ษณ์ ประเทศ ความหมายและ ความสาคญั ความสาคญั
46 ใบความรู้ ที่ 7 เรื่องอาเซียนในชีวติ ประจาวนั อาเซียนในชีวติ ประจาวนั ในอนาคตอาเซียนจะตอ้ งรวมกนั เป็นสงั คมเดียวกนั ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ การคา้ ขายท่ีสะดวกรวดเร็ว เพราะการคมนาคมที่ติดต่อกนั ไดต้ ลอดของภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เพ่ือเช่ือมโยงประเทศสมาชิกเขา้ ดว้ ยกนั ใหเ้ กิดเอกภาพและยงั ก่อใหเ้ กิดผลดีทางดา้ นการท่องเท่ียวและ การขนส่งสินคา้ ที่สะดวก จากการรวมสงั คมเขา้ เป็นหน่ึงเดียวจึงก่อใหเ้ กิดความร่วมมือกนั ในเรื่องการอนุรักษธ์ รรมชาติ ท้งั ทรัพยากรน้าํ , แร่ธาตุ 1. ด้านพลงั งานเพ่ือใชพ้ ลงั งานในภูมิภาคใหเ้ พียงพอกบั ความตอ้ งการ ส่วนส่ิงแวดลอ้ ม ในกล่มุ อาเซียนไดร้ ่วมมือสร้างระบบเตือนภยั เช่นเมื่อเกิดหมอกควนั ศนู ยอ์ ุตุนิยมวิทยาอาเซียนจะแจง้ เตือนภยั ให้ประเทศสมาชิกอ่ืนๆรับทราบ นอกจากน้ียงั ส่งเสริม การปลกู ตน้ ไมเ้ พ่ือบรรเทาภาวะ โลกร้อนจนเกิดโครงการอนุรักษป์ ่ าไม้ “อทุ ยานมรดกแห่งอาเซียน ASEAN Heritage Parks ” สิ่งแวดลอ้ มที่ดีประชาชนกม็ ีความสุข 2. ด้านสวสั ดภิ าพความปลอดภัย อาชญากรขา้ มชาติ ปัญหายาเสพยต์ ิด กลมุ่ อาเซียนได้ มีความร่วมมือกนั อยา่ งเขม้ แขง็ 3. ด้านวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาการเทคโนโลยี อาเซียนมีกองทุนวิทยาศาสตร์ ( ASEAN Science Fund ) ใหก้ ารสนบั สนุนการพฒั นาคน้ ควา้ วิจยั ที่มีประโยชนต์ ่อการคิดคน้ ส่ิงประดิษฐต์ ่างๆ 4. ด้านวฒั นธรรม อาเซียนมีกองทุนวฒั นธรรมอาเซียน ( ASEAN Cultural Fund ) ทางกองทุนมีเงินสนบั สนุนในการจดั กิจกรรมบนั เทิงส่งเสริมการแลกเปลี่ยนทางวฒั นธรรมของประชาชน ทาํ ใหร้ ู้จกั และเขา้ ใจขนบธรรมเนียมประเพณีของแต่ละทอ้ งถ่ินมากข้ึน 5. กองทุนอาเซียนเพอื่ การพฒั นา ใหก้ ารสนบั สนุนโครงการสร้างส่ิงอาํ นวยความสะดวก และโครงสร้างพ้ืนฐาน เช่น สะพาน ถนน 6. อาเซียนมี “ มูลนธิ ิอาเซียน ” ใหก้ ารสนบั สนุนโครงการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาหมู่บา้ นส่งเสริม ใหค้ นรู้จกั อาเซียน 7. ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติ อาเซียนมีการร่วมมือกนั ใหค้ วามช่วยเหลือประเทศสมาชิก เช่น ในกรณีเกิดแผ่นดินไหว และสึนามิที่อินโดนีเชีย โดยมีศนู ยป์ ระสานงานอาเซียน ในการใหค้ วามช่วยเหลือดา้ นมนุษยธรรมท่ีเรียกวา่ “ อาฮา้ เซ็นเตอร์ : AHA CENTER ” และ “ ศนู ยส์ ารสนเทศดา้ นแผน่ ดินไหว : AIEC : ASEAN Information Earthquake Center ” ตลอดเชา้ จรดค่าํ ชีวิตประจาํ วนั ของเราลว้ นเก่ียวขอ้ งกบั อาเซียน อาเซียน จึงมีความสาํ คญั และ เป็นเรื่องท่ีใกลต้ วั
47 ใบงานที่ 5 เร่ืองอาเซียนในชีวติ ประจาวนั คาชี้แจง จงตอบคาํ ถามลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง 1. ในการรวมตวั กนั ของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตน้ ้นั ส่งผลดีมากที่สุดใน เร่ืองใด ...................................................................................................................................... 2. โครงการบรรเทาภาวะโลกร้อนของอาเซียน คือ ....................................................................... 3. ศนู ยอ์ ุตุนิยมวทิ ยาอาเซียนน้นั ทาํ หนา้ ที่ในเรื่องใด .................................................................. .................................................................................................................................................. 4. กองทุนวทิ ยาศาสตร์อาเซียนมีข้ึนเพ่อื จุดประสงคใ์ ด................................................................. .................................................................................................................................................. 5. องคก์ รใดใหก้ ารสนบั สนุนโครงการวิจยั เพื่อพฒั นาหมูบ่ า้ นส่งเสริมใหค้ นรู้จกั อาเซียนเพิม่ ข้ึน .................................................................................................................................................. 6. อาฮา้ เซ็นเตอร์ : AHA CENTER ของอาเซียนมีหนา้ ที่ใด ......................................................... .................................................................................................................................................. 7. ศนู ยส์ ารสนเทศดา้ นแผน่ ดินไหว : AIEC : ASEAN Information Earthquake Center มีประโยชนใ์ นดา้ นใดต่อประเทศไทยและประเทศสมาชิกอาเซียนอ่ืนๆ .................................. ..................................................................................................................................................
Search