Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore logbook_Manaul

logbook_Manaul

Published by kowit2551, 2018-03-22 22:07:55

Description: คู่มือการใช้ Logbook สำหรับการเลื่อนวิทยะฐานครู

Search

Read the Text Version

คู่มือการใช้งาน Logbookสําหรับข้าราชการครู สายงานการสอน เพอื่ ขอประเมนิ วทิ ยฐานะสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

คํานํา คูมือบันทึกประวัติการปฏิบัติงาน (Logbook) เปนเอกสารท่ีสํานักงาน ก.ค.ศ. จัดทําข้ึนสําหรับขาราชการครู สายงานการสอน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ใชในการบันทึกช่ัวโมงการปฏิบตั ิงาน ชวั่ โมงการอบรมและพัฒนา เพอื่ ประกอบการเสนอขอใหม หี รือเล่ือนวทิ ยฐานะ ในการบันทึกประวัติการปฏิบัติงาน (Logbook) สําหรับขาราชการครู สายงานการสอนตามคูมือน้ี สํานักงาน ก.ค.ศ. ไดใชการบันทึกลงในโปรแกรมไฟล ที่ช่ือวา “LogbookTeacher”ซึ่งตองเปดผานโปรแกรม Microsoft Excel For Windows โดยทานสามารถ Download ไดท่ีเว็บไซต http://www.otepc.go.th/LogbookTeacher หรือติดตอขอไฟลไดท ี่สวนราชการท่ที านสงั กดั หวังเปน อยางย่ิงวา คูมอื การบนั ทกึ ประวัติการปฏิบตั ิงาน (Logbook) เลมนี้ จะเปนเครอื่ งมือที่ชวยใหทานมีความเขาใจในการใชโปรแกรม ซึ่งจะทําใหทานนําไปใชใหเกิดประโยชนตอการปฏิบัติงานและประกอบการขอใหม ีหรอื เล่อื นวิทยฐานะตอไป สํานักงาน ก.ค.ศ. กันยายน 2560

สารบัญ หนาคาํ นํา............................................................................................................................................................... 11. แนวคิดและหลกั การ ................................................................................................................................... 2 1.1 ความสําคัญ .......................................................................................................................................... 2 1.2 วตั ถปุ ระสงค......................................................................................................................................... 32. หลักเกณฑและวธิ กี ารใหข าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตําแหนงครู มวี ทิ ยฐานะและเล่อื นวทิ ยฐานะ.................................................................................................................. 4 2.1. หลกั เกณฑ........................................................................................................................................... 4 2.2 วิธีการ ................................................................................................................................................ 103. หลกั เกณฑและวธิ กี ารพฒั นาขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาสายงานการสอน............................14 3.1 หลกั เกณฑ.......................................................................................................................................... 14 3.2 วธิ ีการ ................................................................................................................................................ 154. โปรแกรมบนั ทกึ ประวตั ิการปฏบิ ัตงิ าน (Logbook) ...................................................................................16 4.1 องคป ระกอบของโปรแกรม LogbookTeacher .................................................................................16 4.2 ความหมายรายการในแผนงาน (sheet) ในโปรแกรม LogbookTeacher..........................................17 4.3 การใชงานโปรแกรม LogbookTeacher............................................................................................18 1) กระบวนการบรหิ ารจดั การ Logbook ..............................................................................................18 2) การบนั ทึกขอมลู ในโปรแกรม LogbookTeacher ............................................................................20บรรณานกุ รม................................................................................................................................................. 47คณะผจู ัดทาํ .................................................................................................................................................. 48

-2- 1. แนวคดิ และหลกั การ1.1 ความสาํ คญั จากพระราชกระแสฯ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เม่ือวันที่5 กรกฎาคม พ.ศ.2555 “ปญหาปจจุบัน คือ ครูมุงเขียนงานวิทยานิพนธ เขียนตําราสงผูบริหารเพื่อใหไดตําแหนงและเงนิ เดือนสูงขึ้น แลวบางทีก็ยา ยไปที่ใหม สวนครทู ี่มุงการสอนหนังสอื กลับไมไดอะไรตอบแทน ระบบไมยุติธรรม เราตองเปล่ียนระเบียบตรงจุดน้ี การสอนหนังสือตองถือวาเปนความดีความชอบ หากคนใดสอนดี ซ่ึงสวนมากคือมีคุณภาพและปริมาณ ตองมี Reward”“ครูบางสวนเวลาสอนนักเรียนจะสอนไมหมดแตเก็บไวบางสวน หากนักเรียนตองการรูทั้งหมดวิชาก็ตองเสียเงินไปสมัครเรียนพิเศษกับครูทานน้ัน จะเปนการสอนในโรเรียนหรือสวนตัวก็ตาม”กระทรวงศึกษาธิการไดตระหนักถึงความสําคัญและมุงม่ันที่จะสืบสานพระราชปณิธาน เพ่ือพัฒนาคุณภาพครูและคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะในสวนที่เกี่ยวของกับครู ซ่ึงถือเปนบุคคลสําคัญในการพัฒนาเยาวชนของชาติใหเปนผูท่ีมีคุณภาพสมบูรณพรอมในทุกดาน เพ่ือเปนกาํ ลังสาํ คญั ในการพฒั นาประเทศตอ ไป ประธาน ก.ค.ศ. ไดมอบหมายใหสํานักงาน ก.ค.ศ. ดําเนินการศึกษา วิเคราะห เพื่อพัฒนาระบบการประเมนิ วิทยฐานะและการพัฒนาครูแนวใหม โดยนอมนาํ พระราชกระแสฯ มาเปน แนวทางในการพัฒนาการปรับระบบการประเมินวิทยฐานะและการพัฒนาครูแนวใหมนี้ จึงเปนกระบวนทัศนใหมของการพัฒนาครูท้ังระบบ ซึ่งจะเสริมสรางความเขมแข็งใหกับวิชาชีพครู เพ่ือใหครูมีศักยภาพในอันที่จะพัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะท่ีสําคัญ และเปนครูผูมีศรัทธาอยางแรงกลา เพ่ือทําใหศิษยเปนคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค และคานิยมท่ีดีงามสมดังเจตนารมณของการปฏริ ปู การศกึ ษา และเพอ่ื ใหก ารปรับระบบการประเมินวิทยฐานะและการพฒั นาครแู นวใหมน้ีใหสอดคลองกับการศึกษาไทย 4.0 การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 และลดการใชเอกสารในการขอประเมินวทิ ยฐานะ สําหรับในระยะเร่ิมตน เพื่อใหขาราชการครูไดมีเวลาศึกษาทําความเขาใจกับระบบประเมินวิทยฐานะและการพัฒนาครูแนวใหม สํานักงาน ก.ค.ศ. จึงไดพัฒนาระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงาน (Logbook) เพื่อใชในการจัดเก็บขอมูลประวัติการปฏิบัติงาน โดยไดจัดทําระบบการจัดเก็บขอมูลดวยโปรแกรมอยางงายคือ ใชจัดเก็บในแฟมขอมูล (File) Microsoft Excel โดยใชช่ือวา “LogbookTeacher” ซ่ึงขาราชการครูสวนใหญมีความคุนเคยและไมกระทบกับขาราชการครูท่ีอยูในสถานศึกษาพ้ืนที่หางไกลและไมมีเทคโนโลยีเครือขาย Internet รองรับการบริการ การพัฒนาการจัดเก็บขอมูลประวัติการปฏิบัติงาน สํานักงาน ก.ค.ศ. ไดจัดทําคูมือบันทึกประวัติการปฏิบัติงาน(Logbook) ใหกับขา ราชการครไู ดนํามาศึกษาและสามารถใชง านไดสะดวกย่ิงข้ึน

-3-1.2 วัตถุประสงค เพื่อใชเปนคูมือในการอธิบายและแนะนําการบันทึกจัดเก็บขอมูลการปฏิบัติงาน (Logbook)ในโปรแกรม LogbookTeacher แกขาราชการครูสายงานการสอน ตามหลักเกณฑและวิธีการใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาํ แหนงครู มวี ทิ ยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ (ว21/2560)

-4- 2. หลกั เกณฑและวิธีการใหข า ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาํ แหนง ครู มวี ทิ ยฐานะและเลื่อนวทิ ยฐานะ2.1. หลกั เกณฑ 1) หลักเกณฑและวิธีการใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงครูมวี ทิ ยฐานะและเลอื่ นวิทยฐานะ ใหใชบงั คบั ตัง้ แตวันท่ี 5 กรกฎาคม 2560 เปน ตน ไป 2) ผูข อมีวทิ ยฐานะและเลือ่ นวทิ ยฐานะ ตอ งมคี ณุ สมบตั ดิ งั ตอ ไปน้ี 2.1) ระยะเวลาการดํารงตาํ แหนงครู (1) วิทยฐานะครูชํานาญการ ตองดํารงตําแหนงครู มาแลวไมนอยกวา 5 ป นับถึงวันทีย่ น่ื คําขอหรอื ดาํ รงตาํ แหนงอ่ืนท่ี ก.ค.ศ. เทยี บเทา (2) วิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ ตองดํารงตําแหนงครูที่มีวิทยฐานะครูชํานาญการมาแลวไมน อยกวา 5 ป นับถึงวันท่ียน่ื คําขอ หรือดาํ รงตําแหนงอ่นื ที่ ก.ค.ศ. เทียบเทา (3) วิทยฐานะครูเช่ียวชาญ ตองดํารงตําแหนงครูท่ีมีวิทยฐานะครูชาํ นาญการพิเศษมาแลวไมน อยกวา 5 ป นบั ถึงวนั ทยี่ นื่ คาํ ขอ หรอื ดํารงตาํ แหนงอื่นที่ ก.ค.ศ. เทียบเทา (4) วิทยฐานะครูเช่ียวชาญพิเศษ ตองดํารงตําแหนงครูที่มีวิทยฐานะครูเช่ียวชาญมาแลว ไมนอยกวา 5 ป นับถงึ วนั ทยี่ นื่ คาํ ขอ หรือดาํ รงตําแหนง อืน่ ท่ี ก.ค.ศ. เทียบเทา 2.2) มีชั่วโมงการปฏิบัติงานในตําแหนงครู หรือตําแหนงครูในวิทยฐานะที่ดํารงอยูปจจุบัน ในชวงระยะเวลายอ นหลงั 5 ป นบั ถึงวันที่ยื่นคําขอ ดงั น้ี (1) การขอมีวทิ ยฐานะครูชํานาญการหรือเล่ือนเปนวิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษตองมีช่ัวโมงการปฏิบัติงาน ในแตละปไมนอยกวา 800 ชั่วโมง โดยในช่ัวโมงการปฏิบัติงานตองมีชั่วโมงการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ ในแตละปไมนอยกวา 50 ชั่วโมง ทั้งน้ี ตองมีชั่วโมงสอนข้ันตา่ํ ตามที่ ก.ค.ศ. กาํ หนดดวย (2) การขอเล่ือนเปนวิทยฐานะครูเชี่ยวชาญหรือวิทยฐานะครูเช่ียวชาญพิเศษตองมีชั่วโมงการปฏิบัติงาน ในแตละปไมนอยกวา 900 ช่ัวโมง โดยในช่ัวโมงการปฏิบัติงานตองมีช่ัวโมงการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ ในแตละปไมนอยกวา 50 ชั่วโมง ท้ังน้ี ตองมีช่ัวโมงสอนข้ันตํ่าตามท่ี ก.ค.ศ. กําหนดดวย โดยในชวงระยะเวลายอนหลัง 5 ป ผูขอจะตองมีช่ัวโมงสอนในวชิ า/สาขา/กลมุ สาระการเรียนรู ท่เี สนอผลงานทางวิชาการน้ัน 2.3) มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยไมเคยถูกลงโทษทางวินัยหรือจรรยาบรรณวิชาชีพ ในชวงระยะเวลายอนหลัง 5 ป นับถึงวันที่ยื่นคําขอ โดยพิจารณาจากสาํ เนาแฟมประวัติขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ. 16) หรือสําเนาทะเบียนประวัติขา ราชการ (ก.พ. 7) 2.4) ผานการพัฒนา ตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี ก.ค.ศ. กําหนด ในชวงระยะเวลายอนหลัง 5 ป นบั ถึงวันทีย่ ืน่ คาํ ขอ 2.5) มีผลงานท่ีเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ สายงานการสอน ในชวงระยะเวลายอนหลัง5 ปการศึกษาตดิ ตอกนั นับถึงวนั ส้ินปก ารศกึ ษากอนวนั ท่ยี ื่นคําขอ ซึ่งไดมีการประเมินตามหลักเกณฑ

-5-ขอ 5 และมีผลการประเมินผานเกณฑตามหลักเกณฑ ขอ 6 ไมนอยกวา 3 ปการศึกษา โดยพิจารณาจากขอ มูลที่บันทึกไวใ นแบบประเมนิ ผลงานท่ีเกิดจากการปฏบิ ัตหิ นา ท่ี ตําแหนง ครู รายปการศกึ ษา (วฐ.2) ทั้งนี้ ใหผูขอและผูอํานวยการสถานศึกษาเปนผูรับรองขอมูล เอกสาร และหลักฐานเกี่ยวกับคุณสมบัติของผูขอดวย หากภายหลังตรวจสอบแลวพบวามีคุณสมบัติไมเปนไปตามหลักเกณฑนี้ ใหถ อื วา เปนผูขาดคุณสมบตั ิ 3) ผูข อมีวิทยฐานะหรือเลือ่ นวิทยฐานะตอ งผา นการประเมนิ ดังน้ี 3.1) ทุกวิทยฐานะ ตองผานการประเมินผลงานท่ีเกิดจากการปฏิบัติหนาท่ี โดยพิจารณาจากดานการจัดการเรียนการสอน ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน และดานการพัฒนาตนเองและพฒั นาวิชาชีพ 3.2) วิทยฐานะครูเช่ียวชาญและวิทยฐานะครูเชี่ยวชาญพิเศษ นอกจากตองผานการประเมินตามขอ 3.1 แลว ตองผานการประเมินผลงานทางวิชาการท่ีแสดงใหเห็นถึงสมรรถนะในการวิจยั เพ่ือพฒั นากระบวนการเรียนรูแ ละการพัฒนาวชิ าชพี ดงั น้ี (1) วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ ตองมีผลงานทางวิชาการ ซึ่งเปนงานวิจัยในชั้นเรียน หรือรายงานผลการพัฒนาการจัดการเรียนรูที่เกิดจากชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอ่ืน ที่มีจุดมุงหมายในการแกปญหาดานการเรียนรูของผูเรียนและสอดคลองกับแผนการจัดการเรียนรู มีการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และองคความรูตาง ๆเพื่อแกปญหาและนําไปสูการสรุปองคความรูเพ่ือพัฒนาคุณภาพของผูเรียน จํานวนไมนอยกวา2 รายการ โดยตองเปน งานวจิ ัยในช้ันเรียน อยางนอย 1 รายการ (2) วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญพิเศษ ตองมีผลงานทางวิชาการ ซึ่งเปนงานวิจัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน หรือรายงานผลการพัฒนาการจัดการเรียนรูท่ีเกิดจากชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ หรอื ผลงานทางวิชาการในลักษณะอ่ืน ที่มีจุดมงุ หมายในการแกปญหาดานการเรยี นรูของผูเรียนและสอดคลองกับแผนการจดั การเรียนรู มีการศึกษาแนวคิด ทฤษฎแี ละองคค วามรูตา ง ๆเพ่ือแกปญหาและนําไปสูการสรุปองคความรูเพ่ือพัฒนาคุณภาพของผูเรียน จํานวนไมนอยกวา2 รายการ โดยตอ งเปนงานวจิ ัยเกยี่ วกบั การจัดการเรยี นการสอน อยา งนอ ย 1 รายการ ทั้งนี้ ผลงานทางวิชาการที่ผูขอเสนอ ตองเปนผลงานในชวงระยะเวลายอนหลัง 5 ปนับถึงวันที่ย่ืนคําขอ และตองไมเปนผลงานทางวิชาการที่ใชเปนสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา หรือประกาศนียบัตรใด ๆ หรือเปนผลงานทางวิชาการท่ีเคยใชเพ่ือเลื่อนตําแหนงหรือเพื่อใหม ีวทิ ยฐานะหรือเลือ่ นวิทยฐานะมาแลว 4) ใหมีผปู ระเมนิ ดงั นี้ 4.1) ผูอํานวยการสถานศึกษา ในฐานะผูบงั คับบัญชาเปนผูประเมินผลงานท่ีเกดิ จากการปฏิบัติหนาที่ทุกวิทยฐานะ โดยใหผูอํานวยการสถานศึกษาตั้งคณะกรรมการจากขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาน้ันหรือนอกสถานศึกษา เพื่อตรวจสอบและกล่ันกรองขอมูลท่ีผูดํารงตําแหนงครูรายงาน และเสนอความเห็นเพ่ือประกอบการพิจารณาประเมินผลงานที่เกิดจากการปฏิบัตหิ นาท่ี ในแตละปก ารศกึ ษา กรณีการประเมินในปการศึกษาใด หากผูอํานวยการสถานศึกษาไมอาจประเมินผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหนาที่ของผูดํารงตําแหนงครูดวยเหตุใด ๆ ใหเสนอ กศจ. แตงต้ัง

-6-ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในจังหวัดน้ันที่มีความรู ความสามารถเหมาะสมเปนผปู ระเมนิ ผลงานที่เกิดจากการปฏิบตั หิ นาทแ่ี ทน กรณที ี่ผดู ํารงตําแหนงครูไดยน่ื คําขอมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะ หากผอู ํานวยการสถานศกึ ษามีวทิ ยฐานะต่ํากวาวทิ ยฐานะท่ขี อ ใหเสนอ กศจ. แตงต้ังขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในจังหวัดน้ัน ท่ีมีวิทยฐานะไมต่ํากวาวิทยฐานะที่ขอเปนผูรว มประเมนิ สรุปผลการตรวจสอบและประเมนิ ตําแหนง ครู 5 ปก ารศึกษา (วฐ.3) 4.2) คณะกรรมการที่ ก.ค.ศ. ต้ัง เปนผูประเมินผลงานทางวิชาการของผูขอเลื่อนเปน วิทยฐานะครูเช่ียวชาญและครูเช่ยี วชาญพเิ ศษ 5) การประเมนิ ผลงานทีเ่ กิดจากการปฏิบตั ิหนาท่ี ผูดํารงตําแหนงครูตองไดรับการประเมินผลงานท่ีเกิดจากการปฏิบัติหนาท่ี ดานการจัดการเรียนการสอน ดานการบริหารจัดการช้ันเรียน และดานการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพอยางตอ เนื่องทุกป ดังน้ี 5.1) ใหผูดํารงตําแหนงครูจัดทํารายงานผลงานท่ีเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ ตามแบบรายงานผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหนาท่ี สายงานการสอน รายปการศึกษา (วฐ.2) เสนอผูประเมินปก ารศกึ ษาละ 1 ครง้ั 5.2) ใหผูประเมิน ประเมินผลงานท่ีเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ของผูดํารงตําแหนงครูเปนระยะเวลา 5 ปก ารศึกษา ภาคเรียนละ 1 คร้ัง โดยในการประเมนิ ภาคเรียนท่ี 1 เปน การประเมินเพ่ือใหคําแนะนําและพัฒนา และการประเมินภาคเรียนที่ 2 ใหประเมินในภาพรวมทั้งป ถามีการประเมินทุกตัวช้ีวัดและผลการประเมินผานเกณฑตามที่กําหนดในขอ 6 สามารถนําผลการประเมินดงั กลา วไปขอมีวิทยฐานะหรือเล่ือนวิทยฐานะได 5.3) ใหผูประเมินสรุปผลการประเมินใหผูดํารงตําแหนงครูทราบ ปการศึกษาละ 1 ครั้งกรณีท่ีผูดํารงตําแหนงครูไมเห็นดวยกับผลการประเมินนั้น ใหเปดโอกาสใหไดปรึกษาและชี้แจง หากผูประเมินพิจารณาแลวเห็นวา ผลการประเมินถูกตองตรงตามความเปนจริงแลว แตผูนั้นมีความเห็นไมสอดคลองกับผูประเมิน ใหผูประเมินแจงไปยังสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเพ่ือแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบผลการประเมินของปการศึกษานั้น และเมื่อไดขอยุติเปนประการใดใหถือเปน อันส้นิ สดุ 6) เกณฑการตดั สนิ ผูที่จะมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะตามหลักเกณฑและวิธีการน้ี จะตองมีผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหนาที่ ยอนหลัง 5 ปการศึกษาติดตอกัน นับถึงวันสิ้นปการศึกษา กอนวันท่ียื่นคําขอ โดยตองผานเกณฑการประเมิน ไมนอยกวา 3 ปการศึกษา และผลงานทางวิชาการผานเกณฑตามท่ี ก.ค.ศ. กาํ หนด ดังตอ ไปนี้ 6.1) วทิ ยฐานะครชู ํานาญการและครชู ํานาญการพิเศษ วิทยฐานะครชู ํานาญการ ตองไดรับการประเมินทุกตัวช้ีวดั และมรี ะดับคุณภาพผลงานท่เี กดิ จากการปฏิบัติหนาท่ี ดงั นี้ (1) ดา นท่ี 1 ดานการจดั การเรียนการสอน ทกุ ตัวช้วี ัด ตอ งมผี ลการประเมินไมตํ่ากวาระดบั 2 และ

-7- (2) ดานท่ี 2 ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน และดาน ที่ 3 ดานการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ แตละดาน ตองมีผลการประเมินไมต่ํากวาระดับ 2 ไมนอ ยกวา 1 ตวั ชี้วดั วิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ ตองไดรับการประเมินทุกตัวชี้วัดและมีระดับคุณภาพผลงานทเี่ กิดจากการปฏิบตั หิ นา ท่ี ดังนี้ (1) ดานท่ี 1 ดานการจัดการเรียนการสอน ทุกตัวช้ีวัดตองมี ผลการประเมินไมต่ํากวา ระดับ 3 และ (2) ดา นท่ี 2 ดานการบริหารจัดการชัน้ เรียน และดานที่ 3 ดานการพฒั นาตนเองและพฒั นาวชิ าชพี ตอ งมผี ลการ ประเมนิ ทั้ง 2 ดาน ไมตา่ํ กวา ระดับ 2 และรวมกันแลว ไมนอ ยกวา 3 ตวั ชีว้ ัด

-8- 6.2) วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญและครเู ชี่ยวชาญพิเศษ วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ ตองไดรับการประเมินทุกตัวชี้วัดและมีระดับคุณภาพผลงานท่ีเกดิ จากการปฏิบัติหนาท่ี ดงั น้ี (1) ดานท่ี 1 ดานการจัดการเรียนการสอน ทุกตัวชี้วัดตองมี ผลการประเมินไมต ํา่ กวาระดับ 4 และ (2) ดานท่ี 2 ดา นการบรหิ ารจัดการชัน้ เรียน และดานที่ 3 ดานการพัฒนาตนเองและพฒั นาวิชาชีพ ตองมผี ลการ ประเมนิ ทง้ั 2 ดา น ไมตาํ่ กวา ระดบั 3 และรวมกันแลว ไมนอยกวา 3 ตัวชีว้ ดั และ (3) ผลงานทางวิชาการ ตองไดคะแนนจากกรรมการ แตล ะคน ไมต ่ํากวารอ ยละ 75 วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญพิเศษ ตองไดรับการประเมินทุกตัวชี้วัดและมีระดับคุณภาพผลงานท่เี กดิ จากการปฏบิ ตั หิ นาท่ี ดงั น้ี (1) ดานท่ี 1 ดา นการจัดการเรยี นการสอน ทุกตวั ชีว้ ัด ตองมีผลการประเมินไมต ่ํากวาระดบั 5 และ (2) ดานท่ี 2 ดานการบริหารจัดการชัน้ เรยี น และดานที่ 3 ดานการพัฒนาตนเองและพัฒนาวชิ าชีพ ตองมผี ลการ ประเมิน ทง้ั 2 ดา น ไมต ่าํ กวา ระดบั 4 และรวมกันแลว ไมนอ ยกวา 3 ตัวชวี้ ดั และ (3) ผลงานทางวิชาการ ตองไดคะแนนจากกรรมการ แตล ะคน ไมต ่าํ กวา รอ ยละ 80 7) การพิจารณาอนมุ ัตผิ ลการประเมิน 7.1) วทิ ยฐานะครชู ํานาญการและครูชํานาญการพิเศษ ให กศจ. เปนผูอนุมัติ โดยใหมีผลไมกอนวันท่ีสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดไดรับคําขอมวี ิทยฐานะหรือเลอื่ นวิทยฐานะ และผลการประเมินผลงานท่เี กดิ จากการปฏิบัตหิ นาท่ี พรอมทั้งเอกสารหลกั ฐานท่ีเกีย่ วขอ งครบถวนสมบูรณ 7.2) วทิ ยฐานะครูเช่ยี วชาญและครเู ช่ยี วชาญพิเศษ ให ก.ค.ศ. เปนผูอนุมัติ โดยใหมีผลไมกอนวันท่ีสํานักงาน ก.ค.ศ. ไดรับคําขอเลื่อนวิทยฐานะผลการประเมินผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหนาท่ี และผลงานทางวิชาการ ซึ่งมีเอกสารหลกั ฐานท่ีเก่ียวของครบถวนสมบรู ณ กรณีท่ีมีการปรับปรุงผลงานทางวิชาการ หาก ก.ค.ศ. อนุมัติ ใหมีผลไมกอนวันที่สํานกั งาน ก.ค.ศ. ไดร ับผลงานทางวิชาการทป่ี รับปรุงครบถว นสมบูรณค รั้งหลงั สุด 8) เมื่อ กศจ. หรือ ก.ค.ศ. แลวแตกรณี พิจารณาผลการประเมินและมีมติเปนประการใดแลวใหถือเปนอนั สนิ้ สุด 9) ใหดําเนินการพิจารณาตามหลักเกณฑและวิธีการนี้โดยเครงครัด หากภายหลังตรวจสอบพบวามีการดําเนินการโดยจงใจหรอื ประมาทเลนิ เลอไมป ฏิบตั ิใหเ ปนไปตามหลักเกณฑแ ละ

-9-วธิ กี ารนี้ หรอื มกี ารดําเนนิ การทม่ี ชิ อบใดๆ ใหถือวา เปน ความรบั ผดิ ชอบของผขู อมวี ิทยฐานะหรอื เลอ่ื นวทิ ยฐานะและผูท ่เี ก่ียวของ และเปน ความผิดทางวินัย แลวแตก รณี 10) ตามหลกั เกณฑและวธิ ีการน้ี “สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด” ใหหมายความรวมถึง สวนราชการ ดวย “สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา” ใหหมายความรวมถึง สํานักงาน กศน.จังหวัด/กรงุ เทพมหานคร ดวย “กศจ.” ใหหมายความรวมถึง อ.ก.ค.ศ.ท่ี ก.ค.ศ. ตงั้ ดว ย “ชั่วโมงการปฏิบัติงาน” หมายถึง จํานวนชวั่ โมงสอนตามตารางสอน งานสนับสนุนการจัดการเรียนรู และงานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน “ผูอํานวยการสถานศึกษา” หมายความรวมถึง ผูอํานวยการสถาบันพัฒนาครูคณาจารยและบุคลากรทางการศกึ ษา ดว ย

-10-2.2 วิธีการ 1) ใหผูประเมิน ดําเนินการประเมินผลงานท่ีเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ของผูดํารงตําแหนงครูทุกปการศึกษา เมื่อส้ินปการศึกษา โดยแตงตั้งคณะกรรมการตามความเหมาะสม เพ่ือตรวจสอบและกล่ันกรองขอมูลของผูดํารงตําแหนงครู และบันทึกผลการประเมินในแบบรายงานผลงานที่เกิดจากการปฏบิ ัติหนาที่ สายงานการสอน รายปก ารศกึ ษา (วฐ.2) 2) ผูขอมีวิทยฐานะหรือเล่ือนวิทยฐานะ ตองมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑขอ 2 โดยใหยื่นคําขอตอสถานศึกษา ไดต ลอดป รอบปละ 1 คร้ัง พรอมเอกสารหลักฐานเพือ่ ประกอบการพจิ ารณา ดังน้ี 2.1) วิทยฐานะครูชํานาญการและวิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ ใหย่ืนเอกสารจํานวน2 ชุด ดงั นี้ (1) คาํ ขอมีวทิ ยฐานะหรอื เลอื่ นวทิ ยฐานะ ตําแหนงครู (วฐ.1) (2) รายงานผลงานท่ีเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ ตําแหนงครู รายปการศึกษา (วฐ.2)จาํ นวน 5 ปการศกึ ษา (3) บันทึกประวัติการปฏิบัติงาน (Logbook) โดยมีช่ัวโมงการปฏิบัติงาน ช่ัวโมงการอบรมและพัฒนา และผา นการรับรองจากผูอํานวยการสถานศกึ ษา พรอมแนบไฟล Logbook (4) เอกสารหลักฐานอื่นที่เกี่ยวของ เชน ตารางสอน คําส่ังมอบหมายงาน วุฒิบัตรผานการพัฒนา เปนตน 2.2) วิทยฐานะครเู ช่ยี วชาญและวทิ ยฐานะครูเช่ียวชาญพิเศษ ใหยนื่ เอกสารจาํ นวน 4 ชดุ ดังนี้ (1) คําขอมวี ทิ ยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะ ตําแหนง ครู (วฐ.1) (2) รายงานผลงานท่ีเกิดจากการปฏิบัติหนาท่ี ตําแหนงครู รายปการศึกษา (วฐ.2)จํานวน 5 ปการศึกษา (3) บันทึกประวัติการปฏิบัติงาน (Logbook) โดยมีชั่วโมงการปฏิบัตงิ าน ช่ัวโมงการอบรมและพัฒนา และผา นการรบั รองจากผอู าํ นวยการสถานศกึ ษา พรอ มแนบไฟล Logbook (4) ผลงานทางวชิ าการตามทีห่ ลักเกณฑกําหนด (5) เอกสารหลักฐานอ่ืนที่เกี่ยวของ เชน ตารางสอน คําส่ังมอบหมายงาน วุฒิบัตรผา นการพฒั นา เปน ตน ทั้งนี้ เอกสารหลักฐาน ตามขอ (2) และ (3) ตองมีการบันทึกขอมูลเปนระยะ ๆ ใหครบถวนและเปน ปจจบุ ัน 3) การขอมีวิทยฐานะหรือเลอื่ นวทิ ยฐานะ สําหรับผูท่ีจะเกษียณอายุราชการ 3.1) ผูขอมีวิทยฐานะครูชํานาญการและขอเล่ือนเปนวิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษใหยื่นคําขอ พรอมเอกสารหลักฐาน ตามวิธีการขอ 2.1 ตอสถานศึกษาเพ่ือตรวจสอบและรับรองแลวเสนอผูบังคับบัญชาตามลําดับ ถึงสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด กอนวันท่ีจะเกษียณอายุราชการไมน อ ยกวา 6 เดือน 3.2) ผูขอเลื่อนเปนวิทยฐานะครูเชี่ยวชาญและวิทยฐานะครูเชี่ยวชาญพิเศษใหยื่นคําขอพรอมเอกสารหลักฐาน ตามวิธีการขอ 2.2 ตอสถานศึกษาเพ่ือตรวจสอบและรับรอง

-11-แลวเสนอผูบังคับบัญชาตามลําดับและสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด ถึงสํานักงาน ก.ค.ศ. กอนวันที่จะเกษยี ณอายรุ าชการไมน อ ยกวา 6 เดอื น 4) ใหผ ูอํานวยการสถานศกึ ษาดาํ เนินการ ดังน้ี 4.1) ตรวจสอบคุณสมบัติของผูขอมีวิทยฐานะหรือเล่ือนวิทยฐานะใหเปนไปตามหลักเกณฑ ขอ 2 4.2) ใหสรุปผลการประเมินผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหนาท่ีของผูขอในแตละปการศึกษารวม 5 ปการศึกษา ตามท่ผี ูขอรายงานตามแบบรายงานผลงานท่ีเกดิ จากการปฏิบัติหนาที่ ตําแหนงครูรายปการศึกษา (วฐ.2) และบันทึกลงในแบบสรุปผลการตรวจสอบและประเมิน ตําแหนงครู รวม5 ปก ารศกึ ษา (วฐ.3) 4.3) สงเอกสารหลักฐานตามที่กําหนดไวในวิธีการ ขอ 2.1 (1) (3) และ (4) ขอ 2.2 (1)(3) (4) และ (5) และแบบสรุปผลการประเมินตามวิธีการขอ 4.2 พรอมทง้ั เอกสารหลักฐานทเ่ี ก่ียวของใหส าํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาหรอื สว นราชการ แลว แตก รณี 5) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตรวจสอบคุณสมบัติ ผลการประเมิน และเอกสารหลักฐานตามท่ีสถานศึกษาสงมา และใหความเห็นในแบบคําขอมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะ ตําแหนงครู (วฐ.1)แลว จัดสงเอกสารหลกั ฐานดังกลาวใหส ํานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั 6) สาํ นักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด ตรวจสอบคุณสมบตั ิ ผลการประเมนิ และเอกสารหลักฐานตามที่สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาสงมาใหถูกตอง ครบถวนตามหลักเกณฑและวิธีการน้ี แลวเสนออกศจ. และ กศจ. พจิ ารณา 7) การพจิ ารณาดําเนินการของ กศจ. 7.1) วทิ ยฐานะครชู าํ นาญการและวทิ ยฐานะครูชํานาญการพิเศษ (1) กรณีท่ี กศจ. มีมติอนุมัติ ใหผูมีอํานาจตามมาตรา 53 ส่ังแตงตั้งใหมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะ และแจงสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพ่ือแจงผูขอมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะทราบ (2) กรณีที่ กศจ. มมี ติไมอ นุมตั ิ ใหสํานักงานศึกษาธิการจังหวดั แจง ผลการพิจารณาพรอมท้ังขอสังเกตการประเมินไปยังสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา เพื่อแจงผูขอมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะทราบ

-12- 7.2) วิทยฐานะครเู ชี่ยวชาญและวทิ ยฐานะครเู ช่ยี วชาญพเิ ศษ (1) กรณีที่ กศจ. มีมติวาเปนผูมีคุณสมบัติตามท่ี ก.ค.ศ. กําหนด ใหสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดสงเอกสารหลักฐาน จํานวน 4 ชุด ไปยังสํานักงาน ก.ค.ศ. ภายใน 30 วัน นับแตวนั ท่ี กศจ. มมี ติ เพือ่ เสนอ ก.ค.ศ. พจิ ารณา ดงั นี้ - คาํ ขอมวี ิทยฐานะหรือเล่อื นวทิ ยฐานะ ตาํ แหนง ครู (วฐ.1) - สรปุ ผลการตรวจสอบและประเมนิ ตาํ แหนงครู 5 ปการศึกษา (วฐ.3) - มติ กศจ. คร้งั ทเ่ี ก่ียวของและมกี ารรบั รองสาํ เนาถูกตอง - ผลงานทางวชิ าการตามทหี่ ลักเกณฑกําหนด ทั้งนี้ ก.ค.ศ. อาจเรียกใหจัดสงเอกสารหลักฐานอ่ืนเพ่ิมเติม เพื่อประกอบการพจิ ารณาก็ได (2) กรณีที่ กศจ. มีมติวาเปนผูไมมีคุณสมบัติหรือไมผานเกณฑตามที่ ก.ค.ศ.กําหนดใหสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดแจงผลการพิจารณาพรอมท้ังขอสังเกตการประเมิน และเอกสารหลักฐานท่ีเก่ียวของ จํานวน 3 ชุด ไปยังสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา เพ่ือแจงผูขอมีวิทยฐานะหรอื เลอื่ นวทิ ยฐานะทราบ 8) การพิจารณาผลงานทางวิชาการ สําหรับวิทยฐานะครูเชี่ยวชาญและวิทยฐานะครูเชย่ี วชาญพิเศษ 8.1) ก.ค.ศ. แตงตั้งคณะกรรมการประเมินผลงานทางวิชาการ จากผูทรงคุณวุฒิที่มีความรู ความสามารถ และเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่จะตรวจและประเมิน จํานวน 3 คนเปนคณะกรรมการประเมนิ ตอผูขอเล่ือนวทิ ยฐานะ จาํ นวน 1 ราย 8.2) กรณีคณะกรรมการประเมินผลงานทางวิชาการ พิจารณาแลวเห็นควรใหปรับปรุงผลงานทางวิชาการ ผูขอเลื่อนวิทยฐานะตองมีผลการประเมินผานเกณฑตามที่ ก.ค.ศ. กําหนดจากคณะกรรมการ ไมนอยกวา 2 ใน 3 คน ท้ังนี้ ผลงานทางวิชาการตองอยูในวิสัยท่ีสามารถปรับปรุงไดและ ก.ค.ศ. มีมติใหปรับปรุง ก็ใหปรับปรุงตามขอสังเกตของกรรมการได ไมเกิน 2 คร้ัง ครั้งแรกภายใน 6 เดือน และคร้ังที่ 2 ภายใน 3 เดือน นับแตวันที่สํานักงาน ก.ค.ศ. แจงมติใหสํานักงานศึกษาธิการจงั หวัดทราบ เม่ือผูขอเลื่อนวิทยฐานะปรับปรุงผลงานทางวิชาการแลว ใหสํานักงาน ก.ค.ศ.เสนอคณะกรรมการประเมินผลงานทางวิชาการชุดเดิม ตรวจและประเมินตอ ไป 8.3) กรณีผูขอเลื่อนวิทยฐานะไมสงผลงานทางวิชาการท่ีปรับปรุงตามขอสังเกตภายในระยะเวลาที่กําหนด หรือสง พน ระยะเวลาท่กี าํ หนด ใหถ อื วาสละสิทธิ์ 8.4) กรณีคณะกรรมการประเมินผลงานทางวิชาการ พิจารณาแลวเห็นวาผลงานทางวิชาการมีคุณภาพและเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตอผูเรียน อาจใหผูขอเล่ือนวิทยฐานะมานําเสนอกระบวนการและวิธีการดําเนินการในเรื่องดังกลาว และคณะกรรมการอาจไปประเมิน ณ สถานท่ปี ฏบิ ัตงิ านจริงดว ยกไ็ ด 8.5) กรณีที่ ก.ค.ศ. มีมติอนุมัติ ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. แจงมติไปยังสํานักงานศึกษาธิการจงั หวดั เพ่อื ดําเนนิ การตอ ไป

-13- 8.6) กรณีท่ี ก.ค.ศ. มีมติไมอนุมัติ ใหสํานักงาน ก.ค.ศ. แจงมติพรอมท้ังขอสังเกตไปยังสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด เพ่ือดําเนินการแจงสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพื่อแจงผูขอเล่ือนวทิ ยฐานะทราบตอ ไป 9) การแตง ตั้ง 9.1) วทิ ยฐานะครูชาํ นาญการ กรณีท่ี กศจ. มีมติอนุมัติและผูขอมีวิทยฐานะผานการพัฒนาตามที่ ก.ค.ศ. กําหนดใหผูมีอํานาจตามมาตรา 53 ส่ังแตงตั้งใหมีวิทยฐานะครูชํานาญการ และใหไดรับเงินเดือนอันดับ คศ. 2ในข้ันหรืออัตราเงินเดือนเทาเดิม ถาไมมีขั้นหรืออัตราเงินเดือนเทาเดิม ใหไดรับในข้ันหรืออัตราเงินเดอื นใกลเคียงทีส่ งู กวา 9.2) วิทยฐานะครูชํานาญการพเิ ศษ กรณีท่ี กศจ. มีมติอนุมัติและผูขอเลื่อนวิทยฐานะผานการพัฒนาตามที่ ก.ค.ศ.กําหนด ใหผูมีอํานาจตามมาตรา 53 สั่งแตงต้ังใหเล่ือนเปนวิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ และใหไดรับเงินเดือนอันดับ คศ. 3 ในข้ันหรืออัตราเงินเดือนเทาเดิม ถาไมมีข้ันหรืออัตราเงินเดือนเทาเดิมใหไดร ับในขัน้ หรืออัตราเงินเดือนใกลเ คียงทีส่ ูงกวา 9.3) วทิ ยฐานะครเู ชี่ยวชาญ กรณีท่ี ก.ค.ศ. มีมติอนุมัติและผูขอเลื่อนวิทยฐานะผานการพัฒนาตามท่ี ก.ค.ศ.กําหนด ใหผูมีอํานาจตามมาตรา 53 ส่ังแตงตั้งใหเลื่อนเปนวิทยฐานะครูเช่ียวชาญ และใหไดรับเงินเดือนอันดับ คศ. 4 ในข้ันหรืออัตราเงินเดือนเทาเดิม ถาไมมีขั้นหรืออัตราเงินเดือนเทาเดิมใหไ ดรับในขนั้ หรอื อตั ราเงนิ เดือนใกลเคยี งที่สูงกวา 9.4) วิทยฐานะครเู ชีย่ วชาญพิเศษ กรณีที่ ก.ค.ศ. มีมติอนุมัติและผูขอเล่ือนวิทยฐานะผานการพัฒนาตามท่ี ก.ค.ศ.กาํ หนดใหผูบังคบั บัญชาสูงสุดของสวนราชการที่ผูน้ันสังกัดอยูเปนผูสั่งบรรจุและใหรัฐมนตรีเจาสังกัดนําเสนอนายกรัฐมนตรี เพ่อื นําความกราบบังคมทูลเพ่อื ทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ แตงตั้งใหเ ลือ่ นเปนวิทยฐานะครูเช่ียวชาญพิเศษ และใหไดรับเงินเดือนอันดับ คศ. 5 ในข้ันหรืออัตราเงินเดือนเทาเดิมถาไมม ีขั้นหรืออัตราเงนิ เดอื นเทา เดิม ใหไดร บั ในขั้นหรอื อัตราเงนิ เดือนใกลเคียงทีส่ ูงกวา ท้ังนี้ เม่ือออกคําสั่งบรรจุและแตงต้ังในแตละวิทยฐานะตาม ขอ 9.1 – 9.4 ใหสงสําเนาคําส่ังและเอกสารหลกั ฐานท่ีเกย่ี วขอ ง จาํ นวน 1 ชุด ใหส ํานกั งาน ก.ค.ศ. ภายใน 7 วนั นับแตว นั ออกคาํ ส่งั 10) การดําเนนิ การตามหลกั เกณฑและวิธกี ารนี้ ใหเรงรดั การดาํ เนินการใหแ ลวเสรจ็ โดยเรว็ 11) กรณที ี่ไมเปน ไปตามหลักเกณฑและวธิ ีการนี้ ใหเสนอ ก.ค.ศ. พจิ ารณา

-14-3. หลักเกณฑและวธิ ีการพฒั นาขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสายงานการ สอน3.1 หลักเกณฑ 1) ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตองไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่องทุกป โดยใหประเมินตนเองตามแบบท่ี ก.ค.ศ. กําหนด พรอมทั้งจัดทําแผนการพัฒนาตนเองเปนรายป ตามแบบทสี่ วนราชการกาํ หนด และเขารับการพัฒนาตามแผนอยางเปน ระบบและตอเนื่อง 2) ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีผานการพัฒนาตามหลักเกณฑนี้ สามารถนําผลที่ผานการพัฒนาไปใชเปนคุณสมบัติเพ่ือขอมีและเล่ือนวิทยฐานะไดทุกวิทยฐานะ และใหถือวาการพัฒนาตามหลักเกณฑนี้เปนการพัฒนากอนแตงตั้งใหมีและเล่ือนวิทยฐานะ ตามมาตรา ๘๐ แหงพระราชบญั ญตั ิระเบยี บขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ 3) หลักสูตรการพัฒนาตองมีองคประกอบดานความรู ดานทักษะ ดานความเปนครู และคณุ ลกั ษณะท่คี าดหวัง โดยมเี ง่อื นไข ดงั ตอไปนี้ 3.1) หลักสตู รทส่ี ถาบนั คุรุพัฒนารับรองตามมาตรฐานวทิ ยฐานะ หรอื ตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด 3.2) พัฒนาอยางตอเนื่องทุกป ในแตละป ไมนอยกวา ๑๒ ชั่วโมง แตไมเกิน ๒๐ ชั่วโมงและภายในระยะเวลา ๕ ป ตองมีช่ัวโมงการพัฒนา จํานวน ๑๐๐ ช่ัวโมง หากภายในระยะเวลา ๕ ปมีจํานวนชั่วโมงการพัฒนาไมครบ ๑๐๐ ชั่วโมง สามารถนําจํานวนชั่วโมงการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) สวนที่เกิน ๕๐ ช่ัวโมงในแตละปมานับรวมเปน จาํ นวนชั่วโมงการพัฒนาได

-15-3.2 วธิ ีการ 1) ใหสวนราชการและผูบังคับบัญชามีหนาท่ีสงเสริม สนับสนุน และประสานใหขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาเขารับการพฒั นาอยางเปน ระบบและตอเนื่อง 2) ใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประเมินตนเองตามแบบที่ ก.ค.ศ. กําหนด และจดั ทําแผนการพัฒนาตนเองเปนรายป ตามแบบท่ีสวนราชการกําหนด เสนอผูอํานวยการสถานศึกษาพรอ มแนบเอกสารหลักฐานที่เกีย่ วของ 3) ใหผูอํานวยการสถานศึกษาตรวจสอบและพิจารณาอนุญาตใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาเขารบั การพัฒนา 4) ใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเขารับการพัฒนา แลวนําผลสําเร็จของการพัฒนาตามหลักสูตรท่ีสถาบันคุรุพัฒนารับรอง หรือตามที่ ก.ค.ศ. กาํ หนด พรอมเอกสารหลักฐานลงในบนั ทึกประวตั กิ ารปฏิบตั งิ าน เสนอตอ ผอู ํานวยการสถานศึกษาทกุ ครั้ง 5) ใหผูอํานวยการสถานศึกษาตรวจสอบเอกสารหลักฐานเก่ียวกับหลักสูตรท่ีสถาบันคุรุพัฒนารับรองตามมาตรฐานวิทยฐานะ หรือตามท่ี ก.ค.ศ. กําหนด แลวรับรองผลสําเร็จการพัฒนานั้นในบันทึกประวตั กิ ารปฏิบตั ิงาน กรณีที่มีจํานวนช่ัวโมงการพัฒนาไมครบ ๑๐๐ ชั่วโมง ภายในระยะเวลา ๕ ป ใหนําจํานวนชั่วโมงการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)สวนท่ีเกิน ๕๐ ชั่วโมงในแตละป มานับรวมเปนจํานวนช่ัวโมงการพัฒนาใหครบ จํานวน ๑๐๐ ช่ัวโมงไดโดยใหผูอํานวยการสถานศึกษาตรวจสอบจากบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และเอกสารหลกั ฐานทเ่ี กย่ี วขอ ง แลว รบั รองผลไวเ ปนหลักฐาน 6) กรณีทีไ่ มเ ปน ไปตามหลักเกณฑและวิธกี ารน้ี ใหเ สนอ ก.ค.ศ. พิจารณา

-16- 4. โปรแกรมบนั ทกึ ประวตั ิการปฏิบตั งิ าน (Logbook)4.1 องคประกอบของโปรแกรม LogbookTeacher 1) แผนภาพของโปรแกรม LogbookTeacher

-17-4.2 ความหมายรายการในแผนงาน (sheet) ในโปรแกรม LogbookTeacher 1) ขอมูลสวนบุคคล เปนแผนงานที่ใชสําหรับบันทึกขอมูลสวนตัวผูขอรบั การประเมินวิทยฐานะเชน ช่ือ นามสกุล เลขที่บัตรประชาชน ตําแหนงเลขท่ี ตําแหนง วิทยฐานะ และเงินเดือนในปจจุบันวันที่เรมิ่ ดํารงตําแหนงวิทยฐานะ ฯลฯ 2) การมอบหมายงานสอน เปนแผนงานที่ใชสําหรับบันทึกการมอบหมายงานสอนตามตารางสอน หรอื การสอนตามโครงการ แผนงานตางๆ ซ่ึงผูขอรับการประเมนิ จะตอ งบันทึกดวยตนเองทุกคร้งั ทไ่ี ดรบั มอบหมายจากผูบงั คับบญั ชา 3) ชว่ั โมงสอนตามตารางสอน เปนแผนงานที่ใชส ําหรบั บนั ทกึ ชว่ั โมงทีส่ อนจรงิ ท่ีผูรบั การประเมนิ จะตอ งบนั ทึกทกุ สปั ดาห หลงั จากทไ่ี ดปฏบิ ัติหนา ท่ีสอนเรียบรอ ยแลว 4) งานสนับสนุนการเรียนรู เปนแผนงานที่ใชสําหรับบันทึกช่ัวโมงการปฏิบัติงานเก่ียวกับงานสนับสนุนการเรียนรตู างๆ ทผี่ รู ับการประเมินจะตองบันทึกหลังจากไดด ําเนินการแลว เสร็จ 5) งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน เปนแผนงานที่ใชสําหรับบันทึกช่ัวโมงการปฏิบัติงานเก่ียวกับงานตอบสนองนโยบายและจุดเนน ท่ีผูรับการประเมินจะตองบันทึกตามท่ีไดรับมอบหมายและดําเนินการแลว เสร็จ 6) การพัฒนาตนเอง เปนแผนงานที่ใชสําหรับบันทึกการพัฒนาตนเองตามหลักสูตรที่ ก.ค.ศ.กําหนด ซ่ึงตองเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสายงานการสอน (ว21/2560) โดยที่ผูรับการประเมินนําผลการพัฒนามาบันทึกดวยตนเองหลังจากท่ีไดผา นการพฒั นาแลว 7) PLC เปนแผนงานที่ใชสําหรับบันทึกการจัดกิจกรรมชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)โดยผูรบั การประเมนิ นาํ ผลจากการทํากิจกรรม PLC ในแตละครงั้ มาบนั ทกึ ลงตามรายการท่ีกําหนด 8) ผลการประเมิน 5 ป เปนแผนงานที่ใชสําหรับบันทึกการประเมินผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหนาที่ ท้ัง 3 ดาน ไดแก ดานการจัดการเรียนการสอน ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน และดานการพฒั นาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ ซึ่งผูบริหารเปนผูนําผลการประเมินในแตละปการศึกษาของผูรบั การประเมนิ มาบนั ทกึ ลงในตารางตามรายการท่ีกําหนด 9) สรปุ Logbook เปนแผนงานท่ีใชสาํ หรับสรปุ ผลการตรวจสอบคุณสมบัติสําหรบั การขอมีหรือเลอื่ นวทิ ยฐานะในเบือ้ งตน ผูรับการประเมินสามารถดูผลการสรุปเบอ้ื งตน ทัง้ ในรายปแ ละภาพรวมวามีคุณสมบัติตาม ว21/2560 หรอื ไม

-18-4.3 การใชงานโปรแกรม LogbookTeacher 1) กระบวนการบรหิ ารจดั การ Logbook จะแบงออกเปน 2 ระยะ 1.1) ระยะที่ 1 เปนการใชโปรแกรมในระยะท่ีเริ่มประกาศใชเกณฑฯ ซ่ึงสํานักงานก.ค.ศ. ยังไมไดพัฒนาระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงาน (Logbook) ผาน Server จึงกําหนดกระบวนการบรหิ ารจัดการระบบการบันทกึ ประวตั กิ ารปฏบิ ตั งิ าน (Logbook) ดังนี้ ภาคเรียนที่ 1 ผูขอรับการประเมินขอแฟมขอมูล (File) LogbookTeacher จากหนวยงานตนสังกัด แลวเปลย่ี นช่อื แฟมขอมูลใหม รี ปู แบบของชื่อแฟมขอมูลดงั นี้ “LTeacher -เลข 13หลัก-ช่ือ-นามสกุล” ตัวอยางเชน “LTeacher-1234567891234-สมชาย-ใจดี” มีหนาที่บันทึกขอมูลลงในระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงาน (Logbook) อยางนอยสัปดาหละ 1 ครั้ง พรอมกับจัดเก็บหลกั ฐานตา งๆ ไวใหเปน ระบบ เพอ่ื ใหผูบรหิ ารสถานศึกษาไดตรวจสอบและรับรองขอมูล เม่ือครบภาคเรียนท่ี 1 แลว ใหผูขอรับการประเมินนําแฟมขอมูลท่ีไดบันทึกพรอมหลักฐานเสนอผูบริหารสถานศึกษาท่ีสังกัดอยูในปจจุบันเพ่ือทําการตรวจสอบเมื่อผูบริหารสถานศึกษาตรวจสอบพบวา รายการเอกสารหลักฐานตรงกับรายการที่บันทึก ผูบริหารสถานศึกษาคลิกรับรองขอมูลในแฟมขอมูลแลวทําการสําเนาแฟมขอมูลไวท่ีสถานศึกษาที่ผูขอรับการประเมินสังกัดอยูและใหอยูในความดูแลของผูบริหารสถานศึกษา โดยตั้งชื่อแฟมขอมูลดังนี้“LTeacher -เลข 13 หลัก-ช่ือ-นามสกุล-ปการศึกษา-ภาคเรียน” ตัวอยางเชน “LTeacher-1234567891234-สมชาย-ใจดี-2560-1” และสงคืนไฟลท่ีรับรองแลวใหกับผูขอรับการประเมินเพื่อใหผูขอรับการประเมินใชแฟมขอมูลน้ันในการบันทึกภาคเรียนท่ี 2 ตอไป โดยดําเนินการเหมือนกับภาคเรียนท่ี 1 และเม่ือส้ินสุดภาคเรียนท่ี 2 ใหนําแฟมขอมูลและหลักฐานในภาคเรียนท่ี 2น้ีเสนอผูบริหารสถานศึกษา เพื่อทําการตรวจสอบอีกคร้ัง เม่ือตรวจสอบแลวพบวารายการเอกสารหลักฐานตรงกับรายการที่บันทึก ผูบริหารสถานศึกษาจะทําการสําเนาแฟมขอมูลไวเปนแฟมขอมูลท่ี 2 เก็บไวในสถานศึกษา โดยต้งั ชื่อใหมวา “LTeacher-1234567891234-สมชาย-ใจดี-2560-2” ซ่ึงจะทําแบบน้ีไปเร่ือยๆ ภาคเรียนละ 1 แฟมขอมูล เมื่อครบ 5 ปจะมีทั้งหมด 10 แฟมขอมูล หากการพัฒนาระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงาน (Logbook) ผาน Server ยังไมแลวเสร็จ หากผูขอรับการประเมินประสงคจะขอรับการประเมินเพื่อมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ ใหผูบริหารสถานศึกษานําแฟมขอมูลพรอมหลักฐานทั้งหมดนี้ไปประกอบการพิจารณาขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะตาม ว21/2560ตอไป อน่ึงหากผูขอรับการประเมินมีการยายสถานศึกษาใหผูบริหารสถานศึกษาตนทางสําเนาแฟม ขอมลู ท่สี ถานศึกษาจัดเก็บไวทัง้ หมดสง ใหผบู รหิ ารสถานศกึ ษาปลายทาง ตามแผนภาพ

-19- 1.2) ระยะท่ี 2 เม่ือมีการพัฒนาระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงาน (Logbook) ผานServer แลว จะมีวธิ ีการใชง าน ดงั น้ี 1) กลุมสถานศึกษาที่ระบบสารสนเทศไมพรอม ใหทําการบันทึกประวัติการปฏิบัติงาน(Logbook) เหมือนในระยะท่ี 1 และเมื่อผูรับการประเมินจะขอรับการประเมินวิทยฐานะใหผูบริหารสถานศึกษาสําเนาแฟมขอมูลพรอมหลักฐานท้ังหมด จัดสงใหสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาในสังกัดเพ่ือใหสาํ นกั งานเขตพืน้ ทที่ ําการอัพโหลดเขา สูระบบตอไป 2) กลุมสถานศึกษาท่ีระบบสารสนเทศพรอม ใหผูบริหารสถานศึกษาดําเนินการนําสําเนาแฟมขอมูลพรอมหลักฐานทั้งหมดของขาราชการครูในสถานศึกษาอัพโหลดเขาสูระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงาน (Logbook) ผาน Server หลังจากนั้นผูขอรับการประเมินบันทึกขอมูลการปฏิบัติงานลงในระบบการบันทึกประวตั ิการปฏิบตั ิงาน (Logbook) ผา น Server ไดโ ดยตรง โดยบันทึกสัปดาหล ะไมนอยกวา 1 ครั้ง สําหรับการตรวจสอบรับรองการบันทึกขอมูลการปฏิบัติงานของผูขอรับการประเมินใหผูขอรับการประเมินทําบันทึกพรอมหลักฐานเสนอผูบริหารสถานศึกษาท่ีผูขอรับการประเมินสังกัดอยู ใหดําเนินการตรวจสอบขอมูลการบันทึกประวัติการปฏิบัติงาน (Logbook)ผาน Server ของผขู อรบั การประเมินในสังกดั ภาคเรียนละ 1 ครัง้ ตามแผนภาพ

-20- 2) การบนั ทึกขอมูลในแฟม ขอมลู LogbookTeacher ใหท า นตรวจสอบแฟม ขอมลู LogbookTeacher ในแผนงานท่ีช่อื วา “สรปุ Logbook” วามีรูปแบบดงั ภาพท่ี 1 หรือภาพที่ 2 หากเปนดังภาพที่ 1 ใหขามไปศึกษาในขอ 2.2) หากเปนดงั ภาพท่ี 2ใหแ กไ ขตามขอ 2.1) แลวจงึ จะบนั ทึกขอ มลู ในแฟมขอมูลน้ี ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 2 2.1) การต้ังคาในระบบปฏบิ ัติการ กอนการใชงานโปรแกรม LogbookTeacher กอนท่ีผูขอรับการประเมินจะใชงานโปรแกรม LogbookTeacher จะตองต้ังคาใน ระบบปฏบิ ตั ิการ ดงั น้ี (1) กรณีท่ีเครื่องของทานใชระบบปฏิบัติการ Windows 7 ใหปรบั คาภูมิภาคและภาษา(Region and Language) ดงั นี้

-21- 33 22 11- คลกิ ปุมเริม่ ตน (Start) ตามรูปหมายเลข 1- พมิ พคําวา ภูมิภาค (region) ตามรปู ในหมายเลข 2- คลกิ เมาสที่ปุมภูมิภาคและภาษา (Region and Language) ตามรปู หมายเลข 3

-22- 11 2 2 3 43 5 4 6 5 6 77- ตง้ั คา ในเมนภู ูมิภาคและภาษา (Region and Language) ดงั น้ี • รูปแบบ (Format) เลือก “ไทย (ประเทศไทย) หรอื Thai (Thailand)” ตามรูปหมายเลข 1 • รปู แบบวันที่และเวลา (Date and time formats) วนั ทแ่ี บบสนั้ (Short date): เลอื ก “d/M/yyyy” ตามรูปหมายเลข 2 วันทแี่ บบยาว (Long date): เลือก “d MMMM yyyy” ตามรูป หมายเลข 3 เวลาแบบส้ัน (Short time): เลอื ก “H:mm” ตามรูปหมายเลข 4 เวลาแบบยาว (Long time): เลอื ก “H:mm:ss” ตามรูปหมายเลข 5 วันแรกของสัปดาห (First day of week): เลือก “จันทร” ตามรูป หมายเลข 6 และคลิกปุม ตกลง (OK) ตามรูปหมายเลข 7

-23- (2) กรณีที่เคร่ืองของทานใชระบบปฏิบัติการ Windows 10 ใหปรับคาภูมิภาคและภาษา (Region and Language) ดังน้ี 2 1 - คลกิ ปุมเร่มิ ตน (Start) ตามรปู หมายเลข 1 - คลกิ ปุมต้งั คา (Settings) ตามรูปในหมายเลข 2

-24- - เมอ่ื ปรากฏหนาตาง Windows Settings ใหค ลกิ เมาสท ่ี “Time & language” - เม่ือคลิก Icon Time & language จะปรากฏหนาตาง Date & time ใหเลื่อนเมาสลงมาทลี่ า งสุด และคลิกเมาสที่ “Change date and time formats\"

-25- 1 2 3 4 5- เมื่อปรากฏหนา ตาง Change date and time formats ใหต ง้ั คา ดังนี้ • First day of week: เลือก “Sunday” ตามรปู หมายเลข 1 • Short date: เลือก “dd-MMM-yy” ตามรูปหมายเลข 2 • Long date: เลอื ก “dddd, MMMM d, yyyy” ตามรูปหมายเลข 3 • Short time: เลอื ก “H:mm tt” ตามรูปหมายเลข 4 • Long time: เลือก “h:mm:ss tt” ตามรูปหมายเลข 5

-26- 2.2) การบันทึกขอมูลในแผนงานที่ 1 ผูขอรับการประเมินตองบันทึกขอมูลสวนบุคคลของตนเองในแตละรายการดังนี้ (1) รายการชื่อ-นามสกุล บันทึกขอมูลลงในชองสีเหลือง ซ่ึงเปนขอมูลเกี่ยวกับชื่อนามสกุล เลขที่บัตรประชาชน ของผูขอรับการประเมิน โดยคลิกเมาสดานซายในชองสีเหลืองแลวพมิ พข อ ความลงในชอง ดงั ภาพ (2) รายการตําแหนง วิทยฐานะและเงินเดือนของผูขอรับการประเมินบันทึกขอมูลลงในชองสีเหลืองซึ่งเปนขอมูลเก่ียวกับ ตําแหนงปจจุบัน เลขท่ีตําแหนง วิทยฐานะ วันท่ีไดรับวิทยฐานะ และเงนิ เดือน โดยคลกิ เมาสด า นซา ยในชอ งสเี หลอื งแลวพมิ พขอความลงในชอง ดงั ภาพ - รายการวิทยฐานะ จะเปน ในรปู แบบของรายการใหเลอื ก โดยคลกิ เมาสด านซายท่ีปุม จะปรากฏรายการใหเ ลอื ก ใหค ลิกเมาสดา นซา ยเลือกรายการ ดังภาพ (3) รายการชื่อสถานศึกษาท่ีผูขอรับการประเมินปฏิบัติหนาท่ีอยูในปจจุบัน ผูขอรับการประเมินบันทึกขอมูลลงในชองสีเหลืองซ่ึงเปนขอมูลเก่ียวกับช่ือสถานศึกษา ตําบล อําเภอ จังหวัดและรหัสไปรษณีย ของผูขอรับการประเมินปฏิบัติหนาที่อยูในปจจุบัน (กรณีในปถัดไปมีการยายสถานศึกษาใหแกไขขอมูลในสวนน้ี) โดยคลิกเมาสดานซายในชองสีเหลืองแลวพิมพขอความลงในชองดงั ภาพ

-27- (4) รายการสังกดั หนวยงาน ผูขอรับการประเมินบันทึกสงั กัด/หนว ยงานในชองสีเหลืองตามที่ผขู อรบั การประเมนิ สงั กัดอยู ดังภาพ - รายการสังกัด จะเปนในรูปแบบของรายการใหเลือก โดยคลิกเมาสดานซายท่ีปุม จะปรากฏรายการใหเลือก ใหค ลิกเมาสด า นซา ยเลอื กรายการ ดงั ภาพ - รายการหนวยงาน จะเปน ในรูปแบบของรายการใหเ ลือก โดยคลกิ เมาสดานซายที่ปุม จะปรากฏรายการใหเ ลอื ก ใหคลิกเมาสด านซา ยเลือกรายการ ดังภาพ (5) ในรายการโปรแกรมจะทําการประมวลผลอัตโนมัติ โดยจะอางอิงจากวิทยฐานะปจจุบัน (6) รายการสังกัด ระดับการศึกษา กลุมสาระที่สอน/สาขาวิชาที่สอน/วิชาท่ีสอนชั่วโมงสอนขั้นตํ่า ผูขอรับการประเมินบันทึกขอมูลของสังกัดลงในชองสีฟา และบันทึกขอมูลระดับการศึกษา กลุมสาระท่ีสอน/สาขาวิชาที่สอน/วิชาท่ีสอน ลงในชองสีเหลือง สวนของช่ัวโมงสอนขั้นตํ่าโปรแกรมจะประมวลผลอัตโนมัติโดยอางอิงจากหลักเกณฑและวิธีการใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาํ แหนงครูมวี ิทยฐานะและเลอ่ื นวทิ ยฐานะ

-28- - รายการสงั กัด จะเปน ในรปู แบบของรายการใหเลอื ก โดยคลิกเมาสดา นซายทป่ี ุม จะปรากฏรายการใหเลอื ก ใหคลกิ เมาสด านซายเลือกรายการ ดงั ภาพ - รายการระดบั การศึกษา จะเปนในรปู แบบของรายการใหเลอื ก โดยคลกิ เมาสดา นซายท่ปี ุม จะปรากฏรายการใหเลอื ก ใหค ลิกเมาสด า นซายเลอื กรายการ ดงั ภาพ - รายการกลมุ สาระท่ีสอน/สาขาวิชาท่ีสอน/วิชาที่สอน จะเปนในรูปแบบของรายการใหเลอื ก โดยคลิกเมาสด า นซา ยทป่ี ุม จะปรากฏรายการใหเ ลือก ใหคลิกเมาสดา นซายเลือกรายการ ดังภาพ

-29- (7) รายการการลงนามเพื่อรับรองขอมูล เปนการลงนามเพื่อรับรองขอมูล โดยมี2 รายการคอื การรบั รองของตนเองและการรบั รองของ ผอ.สถานศกึ ษา - รายการการรับรองของตนเอง ใหผูขอรับการประเมินบันทึกในสวนของวัน/เดือน/ปท่ีลงนาม โดยคลิกเมาสดานซายในชองสเี หลืองแลวพมิ พข อ ความลงในชอ ง ดังภาพ

-30- - รายการการรับรองของ ผอ.สถานศกึ ษา ใหผูบ รหิ ารสถานศกึ ษาบันทกึ ช่ือและนามสกลุ ตามรูปหมายเลข 1 และบนั ทึกวนั /เดอื น/ป ท่ีลงนาม ตามรปู หมายเลข 2 กรณีที่ในปใดมีการปรับปรงุ หรือแกไขขอมลู ในหนาน้ี ใหผ ูบรหิ ารสถานศึกษาท่เี ปนผบู งั คับบญั ชาในขณะนั้นรับรองใหม ตามรปู หมายเลข 3 ดังภาพ 12 3

-31- 2.3) แผนงานท่ี 2 ผูขอรับการประเมินตองบันทึกการมอบหมายงานสอนดวยตนเองในแตละรายการดงั นี้ (1) บันทึกในชองสีเหลืองเพื่อบันทึกขอมูลเกี่ยวกับ NO (ลําดับที่) ปการศึกษา/ปงบประมาณ ภาคเรียน และหนวยงานการศึกษาในภาคเรียนปจจุบัน โดยคลิกเมาสดานซายในชอ งสเี หลอื งแลว พมิ พขอ ความลงในชอ ง ดงั ภาพ - รายการหนวยงานการศึกษาจะเปนในรูปแบบของรายการใหเลือก โดยคลิกเมาสดานซา ยที่ปุม จะปรากฏรายการใหเ ลือก ใหคลกิ เมาสด า นซา ยเลือกรายการ ดังภาพ (2) บันทึกในชองสีเหลืองตอจากขอ (1) เพื่อบันทึกขอมูลเก่ียวกับ ชื่อสถานศึกษา ระดับการศึกษาที่สอน กลุมสาระที่สอน/สาขาวิชาที่สอน/วิชาท่ีสอน วิชา/กลุมวิชาที่สอน และจํานวนคาบตอ สัปดาห/ หลักสตู ร โดยคลกิ เมาสดานซา ยในชองสเี หลืองแลว พิมพขอความลงในชอ ง ดังภาพ

-32- - รายการระดับการศึกษาท่ีสอนจะเปนในรูปแบบของรายการใหเลือก โดยคลิกเมาสดานซา ยทป่ี ุม จะปรากฏรายการใหเ ลอื ก ใหค ลกิ เมาสด า นซายเลอื กรายการ ดังภาพ - รายการกลุมสาระทส่ี อน/สาขาวิชาที่สอน/วิชาท่ีสอนจะเปนในรูปแบบของรายการใหเลือก โดยคลิกเมาสดานซายที่ปุม จะปรากฏรายการใหเลือก ใหคลิกเมาสดานซายเลอื กรายการ ดังภาพ

-33- (3) ในกรณีท่ีไดรับมอบหมายใหสอนมากกวา 1 รายวิชาใหบันทึกในบรรทัดตอไปเพ่ิมเติม ในขอ (1) และ (2) ไปจนกวาจะครบทุกรายวิชา เชนไดรับมอบหมายใหสอน 3 รายวิชา จะตองบันทกึ ขอมลู 3 บรรทัด ดงั ภาพ (4) รายการการลงนามเพื่อรับรองขอมูล เปนการลงนามเพ่ือรับรองขอมูล โดยมี2 รายการคอื การรบั รองของตนเองและการรับรองของ ผอ.สถานศกึ ษา - รายการการรับรองของตนเอง ใหผูขอรับการประเมินบันทึกในสวนของวัน/เดือน/ปทล่ี งนาม โดยคลิกเมาสดา นซายในชอ งสีเหลอื งแลว พิมพข อความลงในชอง ดงั ภาพ

-34- - รายการการรับรองของ ผอ.สถานศกึ ษา ใหผูบ รหิ ารสถานศกึ ษาบันทกึ ช่ือและนามสกลุ ตามรูปหมายเลข 1 และบนั ทึกวนั /เดอื น/ป ท่ีลงนาม ตามรปู หมายเลข 2 กรณีที่ในปใดมีการปรับปรงุ หรือแกไขขอมลู ในหนาน้ี ใหผ ูบรหิ ารสถานศึกษาท่เี ปนผบู งั คับบญั ชาในขณะนั้นรับรองใหม ตามรปู หมายเลข 3 ดังภาพ 12 3

-35- 2.4) แผน งานท่ี 3 ผขู อรับการประเมนิ ตองบันทกึ ภาระงานสอน (ช่ัวโมงสอนในชนั้ เรยี น) เปนประจําทกุ สัปดาหดวยตนเองในแตละรายการดงั นี้ (1) บันทึกในชองสีเหลืองเพ่ือบันทึกขอมูลเกี่ยวกับ ปการศึกษา/ปงบประมาณ ภาคเรียนท่ีสัปดาหที่ และวัน เดือน ป ของสัปดาห (วันแรก/วันสุดทาย) โดยคลิกเมาสดานซายในชองสีเหลืองแลวพมิ พข อความลงในชอง ดงั ภาพ (2) บันทึกในชองสีเหลืองตอจากขอ (1) เพื่อบันทึกขอมูลเก่ียวกับ กลุมสาระท่ีสอน/สาขาวิชาท่ีสอน/วิชาท่ีสอน ช่ือวิชาท่ีสอน รหัสวิชา ใชสําหรับประเมินวิทยฐานะ จํานวนคาบ และลกั ษณะการสอน โดยคลิกเมาสดานซายในชองสเี หลืองแลวพมิ พข อ ความลงในชอ ง ดังภาพ - รายการกลมุ สาระท่ีสอน/สาขาวิชาที่สอน/วิชาท่ีสอนจะเปนในรปู แบบของรายการใหเลือก โดยคลิกเมาสดานซายท่ีปุม จะปรากฏรายการใหเลือก ใหคลิกเมาสดานซายเลอื กรายการ ดงั ภาพ

-36- - รายการเกี่ยวของกับการขอวิทยฐานะเช่ียวชาญ/เช่ียวชาญพิเศษ หากเปนการขอวิทยฐานะเช่ียวชาญและเชี่ยวชาญพิเศษ ระบบจะตรวจสอบวามีการสอนในรายวิชาท่ีขอผลงานทางวชิ าการ ดงั ภาพ - รายการลักษณะการสอนจะเปนในรูปแบบของรายการใหเลือก โดยคลิกเมาสดา นซายท่ปี ุม จะปรากฏรายการใหเลอื ก ใหค ลิกเมาสด า นซายเลอื กรายการ ดังภาพ (3) ในกรณีท่ีไดรับมอบหมายใหสอนมากกวา 1 รายวิชาใหบันทึกในบรรทัดตอไปเพ่ิมเติม ในขอ (1) และ (2) ไปจนกวาจะครบทุกรายวิชา เชนไดรับมอบหมายใหสอน 3 รายวิชา จะตองบันทึกขอมูล 3 บรรทัด ดังภาพ

-37- (4) จากการบันทึกขอมูลจะปรากฏรหัสเอกสารสําหรับตรวจสอบ ซึ่งเปนรหัสสําหรับใหผูขอรับการประเมินใชกําหนดช่ือในเอกสารท่ีจะตองใหผูบริหารสถานศึกษาตรวจสอบเม่ือครบ1 ภาคเรียน โดยผูขอรับการประเมินสามารถนําช่ือ (รหัส) เอกสารน้ีไปทําเปนสลิปติดแนบเอกสารตนฉบับที่ใหผูบรหิ ารสถานศกึ ษาไวต รวจสอบ (5) ในสวนของผูบริหารสถานศึกษา หลังจากที่ครบ 1 ภาคเรียนแลว ใหผูบริหารสถานศึกษาทําการตรวจสอบวาขอมูลมีความถูกตอง จึงดําเนินการเลือกจาก “ไมถูกตอง”เปน “ถกู ตอ ง” ดงั ภาพ

-38- 2.5) แผนงานท่ี 4 ผูขอรับการประเมินตองบันทึกภาระงานสอน (จํานวนช่ัวโมงสนับสนุนการเรียนร)ู ดว ยตนเองในแตละรายการดงั น้ี (1) บันทึกในชองสีเหลืองเพื่อบันทึกขอมูลเกี่ยวกับ ปการศึกษา ภาคเรียนที่ สัปดาหท่ี วันเดือน ป ของสัปดาห (วันแรก/วันสุดทาย) รายการงานสนับสนุน และจํานวนชั่วโมง โดยคลิกเมาสดานซายในชองสเี หลืองแลวพิมพข อ ความลงในชอง ดังภาพ (2) จากการบันทึกขอมูลจะปรากฏรหัสในชองแนบไฟล ซ่ึงเปนรหัสสําหรับใหผูขอรับการประเมินใชกําหนดช่ือในเอกสารท่ีจะตองใหผูบริหารสถานศึกษาตรวจสอบเม่ือครบ 1 ภาคเรียนโดยผูขอรับการประเมินสามารถนําชื่อ (รหัส) เอกสารนี้ไปทําเปนสลิปติดแนบเอกสารตนฉบับท่ีใหผูบรหิ ารสถานศกึ ษาไวตรวจสอบ (3) ในสวนของผูบริหารสถานศึกษา หลังจากที่ครบ 1 ภาคเรียนแลว ใหผูบริหารสถานศึกษาทําการตรวจสอบวาขอมูลมีความถูกตอง จึงดําเนินการเลือกจาก “ไมถูกตอง”เปน “ถกู ตอง” ดงั ภาพ

-39- 2.6) แผนงานที่ 5 ผูขอรับการประเมินตองบันทึกภาระงานสอน (งานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน ) ดวยตนเองในแตละรายการดงั นี้ (1) บันทึกในชองสีเหลืองเพ่ือบันทึกขอมูลเก่ียวกับ ปการศึกษา ภาคเรียนท่ี สัปดาหที่ วันเดือน ป ของสัปดาห (วันแรก/วันสุดทาย) รายการงานตอบสนองนโยบายและจุดเนน และจํานวนชว่ั โมง โดยคลกิ เมาสดา นซายในชองสเี หลอื งแลว พิมพข อความลงในชอ ง ดงั ภาพ (2) จากการบันทึกขอมูลจะปรากฏรหัสเอกสารสําหรับตรวจสอบ ซึ่งเปนรหัสสําหรับใหผูขอรับการประเมินใชกําหนดชื่อในเอกสารท่ีจะตองใหผูบริหารสถานศึกษาตรวจสอบเมื่อครบ1 ภาคเรียน โดยผูขอรับการประเมินสามารถนําช่ือ (รหัส) เอกสารน้ีไปทําเปนสลิปติดแนบเอกสารตน ฉบับทใ่ี หผ บู ริหารสถานศึกษาไวตรวจสอบ (3) ในสวนของผูบริหารสถานศึกษา หลังจากที่ครบ 1 ภาคเรียนแลว ใหผูบริหารสถานศึกษาทําการตรวจสอบวาขอมูลมีความถูกตอง จึงดําเนินการเลือกจาก “ไมถูกตอง”เปน “ถกู ตอง” ดังภาพ

-40- 2.7) แผน งานท่ี 6 ผูขอรับการประเมินตองบนั ทึกการพัฒนาตามที่ ก.ค.ศ. กําหนดของตนเองในทกุ รายการดงั น้ี (1) บันทึกในชองสีเหลืองเพ่ือบันทึกขอมูลเกี่ยวกับ วัน เดือน ป ท่ีบันทึก หลักสูตร (ช่ือหลักสูตร/รหัสหลักสูตร) องคประกอบการพัฒนา (ความรู/ทักษะ/ความเปนครู) โดยคลิกเมาสดานซายในชอ งสเี หลืองแลว พมิ พขอความลงในชอ ง ดงั ภาพ - รายการองคประกอบการพัฒนา (ความรู/ทักษะ/ความเปนครู) จะเปนในรูปแบบของรายการใหเลือก โดยคลิกเมาสดานซายที่ปุม จะปรากฏรายการใหเลือก ใหคลิกเมาสดานซายเลอื กรายการ ดังภาพ (2) บันทึกในชองสีเหลืองตอ จากขอ (1) เพ่ือบนั ทึกขอมูลเก่ยี วกับ จํานวนช่ัวโมงที่อบรมในหลักสูตร วัน เดือน ป ที่เร่ิมพัฒนา ระยะเวลาท่ีเขารับการอบรม (จํานวนวัน) และผลการพัฒนาโดยคลิกเมาสดานซา ยในชองสีเหลืองแลวพิมพข อความลงในชอง ดงั ภาพ - รายการผลการพัฒนา จะเปนในรูปแบบของรายการใหเลือก โดยคลิกเมาสดานซายทป่ี มุ จะปรากฏรายการใหเ ลือก ใหค ลกิ เมาสด านซา ยเลือกรายการ ดังภาพ

-41- (3) จากการบันทึกขอมูลจะปรากฏรหัสเอกสารสําหรับตรวจสอบ ซึ่งเปนรหัสสําหรับให ผู ข อ รั บ ก า ร ป ร ะ เมิ น ใช กํ า ห น ด ชื่ อ ใ น เอ ก ส า ร ท่ี จ ะ ต อ ง ให ผู บ ริ ห า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า ต ร ว จ ส อ บเม่ือครบ 1 ภาคเรียน โดยผูขอรับการประเมินสามารถนําช่ือ (รหัส) เอกสารนี้ไปทําเปนสลิปติดแนบเอกสารตนฉบบั ที่ใหผูบ รหิ ารสถานศึกษาไวต รวจสอบ (4) ในสวนของผูบริหารสถานศึกษา หลังจากที่ครบ 1 ภาคเรียนแลว ใหผูบริหารสถานศึกษาทําการตรวจสอบวาใชเปนคุณสมบัติตาม ว21/2560 เรียบรอยแลว ใหเลือกจาก “ไมได”เปน “ได” ดังภาพ

-42- 2.8) แผนงานท่ี 7 ผูขอรับการประเมินตองบันทึกชุมชนแหงการเรียนรูวิชาชีพ (PLC) ดวยตนเองในแตละรายการดงั นี้ (1) บันทึกในชองสีเหลืองเพื่อบันทึกขอมูลเกี่ยวกับ ชื่อกลุมกิจกรรม จํานวนสมาชิก ช่ือกิจกรรม ครัง้ ท่ี วนั เดอื น ป ท่จี ดั กิจกรรม ภาคเรยี นที่ และปการศกึ ษา ดงั ภาพ (2) บันทึกในชองสีเหลืองตอจากขอ (1) เพื่อบันทึกขอมูลเกี่ยวกับ จํานวนช่ัวโมง บทบาทจํานวนสมาชกิ ทเ่ี ขารวมกิจกรรมในคร้ังนี้ ประเดน็ และสาเหตุ ดังภาพ (3) บันทึกในชองสีเหลืองตอจากขอ (2) เพ่ือบันทึกขอมูลเก่ียวกับ ความรู/หลักการที่นํามาใช กิจกรรมทีท่ ํา ผลที่ไดจ ากกจิ กรรม การนําผลที่ไดไ ปใช และอ่นื ๆ ดังภาพ (4) จากการบันทึกขอมูลจะปรากฏรหัสเอกสารสําหรับตรวจสอบ ซ่ึงเปนรหัสสําหรับให ผู ข อ รั บ ก า ร ป ร ะ เมิ น ใช กํ า ห น ด ช่ื อ ใ น เอ ก ส า ร ที่ จ ะ ต อ ง ให ผู บ ริ ห า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า ต ร ว จ ส อ บเม่ือครบ 1 ภาคเรียน โดยผูขอรับการประเมินสามารถนําช่ือ (รหัส) เอกสารน้ีไปทําเปนสลิปติดแนบเอกสารตนฉบับทใ่ี หผ บู รหิ ารสถานศึกษาไวตรวจสอบ

-43- (5) ในสวนของผูบริหารสถานศึกษา หลังจากท่ีครบ 1 ภาคเรียนแลว ใหผูบริหารสถานศึกษาทําการตรวจสอบวาขอมูลมีความถูกตอง จึงดําเนินการเลือกจาก “ไมถูกตอง”เปน “ถูกตอ ง” ดงั ภาพ

-44- 2.9) แผนงานท่ี 8 เม่ือสิ้นสุดปการศกึ ษา ผูบ รหิ ารสถานศึกษาจะมีการบนั ทึกการประเมินตามว21/2560 ผูบ รหิ ารจะเปน ผบู นั ทึกการสรปุ ผลรายปก ารศกึ ษาในชอ งสีนํา้ เงนิ (1) รายการผลการประเมิน จะเปนในรูปแบบของรายการใหเลือก โดยคลิกเมาสดานซา ยทปี่ มุ จะปรากฏรายการใหเ ลอื ก ใหค ลิกเมาสด า นซายเลือกรายการ ดังภาพ

-45- 2.10) แผนงานท่ี 9 สําหรับกรณีที่ 5 ปแลวไดผลการประเมินไมผาน 3 คร้ัง ใหดําเนินการบนั ทึกตอในแผนงานที่ 9 ถามีการประเมินครบ 3 คร้ัง แผนงานท่ี 9 ก็ไมตองมีการบันทึก ในสวนของการบนั ทกึ จะมีลกั ษณะเดยี วกับแผนงานท่ี 8 (1) รายการผลการประเมิน จะเปนในรูปแบบของรายการใหเลือก โดยคลิกเมาสดา นซายที่ปมุ จะปรากฏรายการใหเ ลือก ใหคลิกเมาสด านซายเลอื กรายการ ดังภาพ

-46- 2.11) แผนงานท่ี 10 แผนงานสรุป Logbook เปนการตรวจสอบดวยโปรแกรมเบื้องตนวาเม่ือผูขอรับการประเมนิ บนั ทึกขอมลู ลงในรายการ Logbook และผบู รหิ ารสถานศึกษาไดรบั รองขอมูลแลว ผูขอรับการประเมินจะมีคุณสมบัติครบในการขอรับการประเมินการขอมีหรือเล่ือนวิทยฐานะหรอื ไม อกี ทงั้ มีการแสดงผลขอมลู ในแตละปการศึกษา/ปง บประมาณ ดังน้ี       แสดงผลสรปุ ผลการตรวจสอบคุณสมบตั ิฯ  แสดงผลตรวจสอบระยะเวลาการดาํ รงตาํ แหนง  แสดงผลตรวจสอบระยะเวลาการปฏบิ ตั งิ าน  แสดงผลตรวจสอบการอบรมและพัฒนาตนเอง(ดา นองคประกอบ)  แสดงผลตรวจสอบการอบรมและพัฒนาตนเอง(ดา นชวั่ โมงอบรมและพัฒนาตนเอง)  แสดงผลตรวจสอบเวลาท่ใี ชใ นการพัฒนา PLC  แสดงผลตรวจสอบผลการประเมินผลการปฏบิ ัติงาน  แสดงผลตรวจสอบความเกี่ยวของกับวิชาท่ีขอประเมินกับวิชาท่ีสอน (กรณีวิทยฐานเช่ยี วชาญ/เช่ยี วชาญพิเศษ)

-47- บรรณานกุ รมสํานักงาน ก.ค.ศ. (2560). จากพระราชกระแสฯ... สูการพัฒนาครูทั้งระบบ. กรงุ เทพฯสํานักงาน ก.ค.ศ. (2560). การปรับปรุงมาตรฐานตําแหนงและมาตรฐานวทิ ยฐานะของขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาสายงานการสอน, หนังสือ ท่ี ศธ 0206.4 ว20/2560. หนงั สอื เวียน.กรุงเทพฯสาํ นักงาน ก.ค.ศ. (2560). หลักเกณฑและวธิ กี ารใหขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงครูมวี ทิ ยฐานะและเลื่อนวทิ ยฐานะ, หนังสือ ท่ี ศธ 0206.4 ว21/2560. หนังสอื เวยี น. กรุงเทพฯสํานักงาน ก.ค.ศ. (2560). หลักเกณฑและวิธีการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน, หนงั สอื ที่ ศธ 0206.4 ว22/2560. หนงั สอื เวยี น. กรงุ เทพฯ

-48- คณะผูจ ัดทําท่ีปรึกษา สวุ รรณรังค (เลขาธกิ าร ก.ค.ศ.) นายพนิ จิ ศักด์ิ เวณุโกเศศ (ผูเช่ียวชาญเฉพาะดานพฒั นาระบบบริหารงานบุคคล) นายยศพล ลีส้ นิ้ ภยั (ผูเชย่ี วชาญเฉพาะดา นพัฒนาระบบบริหารงานบคุ คล) นายทศพรคณะทํางาน เบญจกลุ (ผูอาํ นวยการภารกจิ ตรวจตดิ ตามและประเมินผลการ นายนพิ นธ ปา ไม (หวั หนา กลมุ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร) ชัยสภุ า (นกั วิชาการคอมพวิ เตอรชํานาญการ)บริหารงานบคุ คล) เทยี มวนั (นักวชิ าการคอมพวิ เตอรชํานาญการ) นายกรใจเลศิ ดวงแกว (นักวชิ าการคอมพิวเตอรป ฏิบัติการ) นายพิภพ โยชมุ (นกั วชิ าการคอมพวิ เตอรป ฏบิ ัตกิ าร) นางปยดา นายวรณฎั ฐ นางสาวพัชญพชิ าผเู รียบเรียง ดวงแกว (นักวชิ าการคอมพวิ เตอรป ฏิบัตกิ าร) นายวรณฎั ฐ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook