ไม่มีเหตุผลอันสมควรเป็นการกระท�ำท่ีเป็นการเอาเปรียบ ผบู้ รโิ ภคโดยการกอ่ ใหเ้ กดิ ความเดอื ดรอ้ นรำ� คาญ (ประกาศ เอาเปรียบฯ ข้อ 5 (12)) การโฆษณาทผี่ ใู้ หบ้ รกิ ารใหส้ ทิ ธกิ ารใชบ้ รกิ ารตา่ ง ๆ เป็นพิเศษแก่ผสู้ มคั รใชบ้ รกิ ารเพอื่ เปน็ การสง่ เสรมิ การขาย ในหว้ งเวลาใด โดยผใู้ หบ้ รกิ ารคงสทิ ธกิ ารใชบ้ รกิ ารเปน็ พเิ ศษ ตามท่ีโฆษณาน้ันไว้น้อยกว่า 30 วนั นบั ตง้ั แตว่ นั ทโ่ี ฆษณา (ประกาศเอาเปรยี บฯ ขอ้ 5 (12) ฉบบั ท่ี 2) การโฆษณาด้วยข้อมูลท่ีเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อมูล ที่ส�ำคัญ หรือให้ข้อมูลที่ไม่ชัดเจนไม่อาจเข้าใจได้ ก�ำกวม หรอื ละเวน้ การนำ� เสนอขอ้ มลู ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การตดั สนิ ใจเลอื ก ใชบ้ รกิ าร หรอื ปกปดิ ขอ้ ความจรงิ ทคี่ วรบอกใหแ้ จง้ ทท่ี ำ� ให้ ผู้ใช้บริการเข้าใจผิดในข้อเท็จจริง คุณสมบัติ หรือ คุณลักษณะของบริการซ่ึงมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้ บรกิ าร (ประกาศเอาเปรียบฯ ขอ้ 5 (12) ฉบับที่ 2) การให้บริการโดยใช้วิธีการทางเทคนิค หรือการ กระท�ำในลักษณะพิเศษ เพื่อให้ผู้บริโภคต้องรับสัญญาณ ช่องรายการใดรายการหน่ึงเป็นการเฉพาะทุกคร้ังที่มีการ 94
เปิดเครื่องรับสัญญาณโทรทัศน์ หรืออุปกรณ์รับสัญญาณ ดังกล่าว อันมีลักษณะเป็นการบังคับให้ผู้บริโภคต้อง รบั บรกิ ารตามทผ่ี รู้ บั ใบอนญุ าตกำ� หนดโดย ไมอ่ าจหลกี เลยี่ ง ได้ และไมม่ เี หตผุ ลอนั สมควร ซึ่งกอ่ ให้เกิดความเดอื ดรอ้ น ร�ำคาญ และจ�ำกัดสิทธิผู้บริโภคในการเลือกรับสัญญาณ ช่องรายการโทรทัศน์อย่างเสรีภาพ (ประกาศเอาเปรียบฯ ข้อ 5 (12) ฉบบั ท่ี 4) สัญญาการใหบ้ ริการโทรทัศน์แบบ บอกรบั สมาชิกทผ่ี ู้ใชบ้ รกิ ารควรรู้ จากประกาศของ กสทช. เรอ่ื ง การกระทำ� ทเี่ ปน็ การ เอาเปรียบผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและกิจการ โทรทัศน์ พ.ศ. 2555 ข้อ 5 (7) กระท�ำการฝ่าฝืนหรือ ไม่ปฏิบัติตามเง่ือนไข การให้บริการ หรือระงับหรือหยุด การใหบ้ รกิ ารโดยไมแ่ จง้ ใหผ้ บู้ รโิ ภคทราบเป็นการลว่ งหนา้ โดยปราศจากเหตุผลอันสมควร ได้ขยายไปสู่การ ออกประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐานของสัญญาการให้ บริการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก พ.ศ. 2556 เพ่ือให้ 95
การคมุ้ ครองผใู้ ชบ้ รกิ ารโทรทศั นแ์ บบบอกรบั สมาชกิ เปน็ ไป อย่างมีประสิทธิภาพในหมวด 1 ได้ระบุเก่ียวกับสิ่งท่ีผู้ให้ บริการต้องก�ำหนดไว้ในสัญญาอย่างน้อยจะต้องมี สาระส�ำคัญ ดงั นี้ สิทธิหน้าที่ระหว่างผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ (ประกาศมาตรฐานของสญั ญาฯ ขอ้ 12) (1) ข้อก�ำหนดเก่ียวกับลักษณะและประเภทของ การใหบ้ รกิ าร เชน่ การบรกิ ารชอ่ งรายการปกติ การบรกิ าร ช่องรายการตามค�ำส่ังซ้ือนอกเหนือจากรายการปกติ การบรกิ ารวดี ทิ ศั นต์ าม คำ� ขอ หรอื บรกิ ารสง่ เสรมิ การขายอน่ื (2) ข้อก�ำหนดเก่ียวกับเคร่ืองอุปกรณ์หรือส่ิงอื่นที่ เกี่ยวข้องเพ่ือประโยชน์ในการใช้บริการ เช่น กล่องรับ สญั ญาณ สมาร์ทการด์ รโี มทคอนโทรล สายสัญญาณภาพ และเสียง เปน็ ตน้ (3) ขอ้ กำ� หนดเกย่ี วกบั มาตรฐานและคณุ ภาพการให้ บรกิ ารของผ้ใู ห้บรกิ าร (4) ข้อก�ำหนดเกี่ยวกับหน้าที่และความรับผิดชอบ ของ ผ้ใู ห้บริการและผใู้ ชบ้ รกิ ารทช่ี ัดเจนและเปน็ ธรรม 96
(5) ขอ้ กำ� หนดเกีย่ วกบั ค่าบริการ ค่าเครื่องอปุ กรณ์ หรือสิ่งอื่นที่เก่ียวข้อง เพ่ือประโยชน์ในการใช้บริการอย่าง ครบถ้วน เป็นธรรม และจะต้องมีข้อก�ำหนดรับรองการ ไมเ่ รียกเก็บคา่ บริการนอกเหนือจากท่ีกำ� หนดไว้ (6) ข้อก�ำหนดเก่ียวกับการระงับการให้บริการและ การใช้บริการโทรทัศนแ์ บบบอกรับสมาชิก (7) ขอ้ กำ� หนดเกีย่ วกบั การเลิกสัญญาการให้บรกิ าร โทรทศั นแ์ บบบอกรบั สมาชกิ (8) ข้อก�ำหนดรับรองการให้บริการตามท่ีก�ำหนด ในสญั ญาหรอื ตามทโี่ ฆษณา หรอื ตามทแี่ จง้ ใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารทราบ ทั้งน้ี สัญญาดังกล่าวจะต้องไม่มีข้อก�ำหนดที่มี ลักษณะเป็นการเลือกปฏบิ ัติ แบง่ แยก กีดกัน ไม่เปน็ ธรรม แก่ผู้ใช้บริการ หรือยกเว้น หรือจ�ำกัดความรับผิดของ ผใู้ หบ้ รกิ าร ในการท�ำสัญญา ผู้ให้บริการจะขอให้ผู้ใช้บริการให้ ข้อมูลส่วนบุคคลเกินกว่าความจ�ำเป็นเพ่ือการปฏิบัติตาม สญั ญามไิ ด้ เวน้ แตผ่ ใู้ ชบ้ รกิ ารไดใ้ หค้ วามยนิ ยอมโดยชดั แจง้ และผู้ให้บริการได้แจ้งวัตถุประสงค์ของการขอข้อมูล 97
ดังกล่าวให้แก่ผู้ใช้บริการทราบล่วงหน้าแล้ว (ประกาศ มาตรฐานของสญั ญาฯ ขอ้ 13) ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลทจ่ี ำ� เปน็ เพอ่ื การปฏบิ ตั ติ ามสญั ญา ได้แก่ ช่ือ นามสกุล เลขประจ�ำตัวประชาชน สัญชาติ วนั เดือนปเี กิด ที่อยู่ และเบอรโ์ ทรศัพท์เพื่อใชใ้ นการตดิ ต่อ ผู้ให้บริการจะน�ำข้อมูลที่ได้มาจากการให้บริการแก่ ผใู้ ชบ้ รกิ ารนน้ั ไปใชเ้ พอ่ื ประโยชนอ์ ยา่ งอนื่ โดยมไิ ดร้ บั ความ ยินยอมโดยชัดแจ้งจากผู้ใช้บริการมิได้ เว้นแต่เป็นการใช้ เพ่อื ประโยชน์ ในการปฏิบัติตามกฎหมาย สิง่ ใดคอื การใหบ้ รกิ ารไมเ่ ปน็ ไป ธรรมตามกฎหมาย ปัญหาความไม่เป็นธรรมท่ีได้รับแจ้งร้องเรียนมา โดยตลอดในพื้นที่ที่มีการให้บริการติดต้ังโทรทัศน์แบบ บอกรับสมาชิกหรือเคเบิลทีวี คือ การรับชมรายการไม่ได้ ครบทกุ ชอ่ งตามทโี่ ฆษณาหรอื ตกลงไวข้ องผใู้ หบ้ รกิ ารเคเบลิ ทวี ี หรอื แจง้ ในตอนแรกวา่ ไมต่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยเพม่ิ ในการรบั ชม แตภ่ ายหลงั มกี ารเรยี กเกบ็ คา่ บรกิ ารเพมิ่ หากรบั ชมชอ่ งนนั้ ๆ 98
สว่ นปญั หาอน่ื ๆ จากการรบั ชมโทรทศั นภ์ าคพนื้ ดนิ ในระบบดิจิทัล และจากเคเบิลทีวี ได้แก่ รับชมภาพ ไมช่ ัดเจน สัญญาณรบกวน จอดำ� รบั ชมไมไ่ ด้ อันเกิดจาก การให้บริการที่ไม่มีมาตรฐานของตัวผู้ประกอบการเอง นอกจากนี้ ยังมีกรณีที่ ผู้ให้บริการยกเลิกการให้บริการ แพ็คเกจหรอื ชอ่ งรายการหน่ึง ๆ ทีเ่ คยอย่ใู นแพ็คเกจกอ่ น หมดระยะเวลาตามสัญญา ซึ่งผู้ใช้บริการสมัครไว้ รวมถึง การหลอกให้สมัครสมาชิกเคเบิลทีวี ทั้งหมดถือเป็น การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขในการให้บริการ ผู้ให้ บรกิ ารมหี นา้ ทต่ี อ้ งเยยี วยาชดเชยตามประกาศของ กสทช. เรื่อง การกระท�ำท่ีเป็นการเอาเปรียบผู้บริโภคในกิจการ กระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ พ.ศ. 2555 อะไรที่เข้าข่ายท�ำให้ผู้ใช้บริการ รบั ภาระเกนิ ควร ในด้านการเอาเปรียบผู้บริโภคให้รับภาระเกินควร เรื่องที่ผู้บริโภคมักประสบ ได้แก่ การกีดกันไม่ให้ผู้บริโภค เข้าถงึ รายการทมี่ คี ณุ ภาพได้ตามปกติ และต้องมีภาระเพมิ่ 99
ถึงจะเข้าถึงได้ เช่น การถูกเอาเปรียบจากการซ้ือกล่อง เคเบิลทีวี ซ่ึงผู้ให้บริการยกเลิกการให้บริการในภายหลัง แต่ไม่สามารถน�ำไปเรียกร้องการชดเชยได้ และผู้บริโภค มีภาระต้องซือ้ กล่องรบั สัญญาณใหม่ อะไรท่ีท�ำให้ผู้ใช้บริการไม่สามารถ เขา้ ถงึ บริการทีม่ คี ุณภาพ ตวั อยา่ งของการกระทำ� ทเ่ี ขา้ ขา่ ยกดี กนั มใิ หผ้ บู้ รโิ ภค สามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารทมี่ คี ณุ ภาพไดต้ ามปกติ ทำ� ใหผ้ บู้ รโิ ภค ต้องรับภาระเพิม่ ข้ึนในการเข้าถงึ บริการ เชน่ มผี ูร้ ้องเรียน ให้ตรวจสอบการส่งสัญญาณของบริษัทให้บริการโทรทัศน์ แบบบอกรบั สมาชกิ ทไี่ ปรบกวนและปดิ กนั้ การสง่ สญั ญาณ ของผู้ให้บริการรายอื่นในหมู่บ้าน ท�ำให้ผู้ใช้บริการ ไม่สามารถรับชมรายการของบริษัทรายอื่นได้ และ ถือเป็นการเพ่ิมภาระหากต้องเปล่ียนไปใช้บริการของ ท่ีสัญญาณไม่โดนรบกวน และมีความผิดตามประกาศ กสทช. เรอ่ื ง การกระทำ� ทเ่ี ปน็ การเอาเปรยี บผบู้ รโิ ภคในกจิ การ กระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ พ.ศ. 2555 ขอ้ 5 (5) 100
เปดิ โทรทศั นแ์ ลว้ กลอ่ งสญั ญาณบงั คบั ให้ข้ึนเป็นช่องรายการใดรายการหนึ่ง ก่อนเสมอถือเป็นการเอาเปรียบผู้ใช้ บรกิ ารหรอื ไม่ หากโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกใดมีการให้บริการ โดยใช้วิธีการทางเทคนิค หรือการกระท�ำในลักษณะพิเศษ เพอ่ื ใหผ้ ชู้ มตอ้ งรบั สญั ญาณชอ่ งรายการใดชอ่ งรายการหนงึ่ เปน็ การเฉพาะกอ่ น ในทกุ ครงั้ ทมี่ กี ารเปดิ เครอื่ งรบั สญั ญาณ โทรทศั น์ หรอื อปุ กรณร์ บั สญั ญาณดงั กลา่ ว ลกั ษณะเหมอื น เป็นการบังคับให้ผู้ชมต้องรับบริการตามที่ผู้ให้บริการ ก�ำหนดแบบหลีกเล่ียงไม่ได้ ซ่ึงก่อให้เกิดความเดือดร้อน ร� ำ ค า ญ แ ล ะ จ� ำ กั ด สิ ท ธิ ผู ้ บ ริ โ ภ ค ใ น ก า ร เ ลื อ ก รับชมช่องรายการโทรทัศน์อย่างเสรีภาพ การกระท�ำ ดังกล่าวถือว่าเป็นการเอาเปรียบผู้ใช้บริการมีความผิด ตามประกาศ กสทช. ว่าด้วยเรื่องการกระท�ำที่ เป็นการเอาเปรียบผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและ กิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2555 ขอ้ 5 (12) ฉบบั ที่ 4 101
ท�ำอย่างไรกับแถบข้อมูลบนหน้าจอ รบกวนขณะรับชม มีผู้ร้องเรียนมาว่ากล่องรับสัญญาณดาวเทียมของ บริษัทแห่งหนึ่ง แสดงโฆษณาผลิตภัณฑ์บนแถบแสดง รายการขณะเปลี่ยนช่องรายการ ก่อเกิดความร�ำคาญ ในการรับชม และเหมือนบังคับให้ต้องรับชมโฆษณา เหล่าน้ันโดยหลีกเลี่ยงไม่ได้ การกระท�ำแบบน้ีถือว่ามี ลักษณะเป็นการบังคับให้ผู้ชมต้องรับข้อมูลท่ีน�ำเสนอโดย มิอาจหลีกเล่ียงได้และภาพประกอบดังกล่าวได้บดบัง พื้นที่หน้าจอโทรทัศน์บางส่วน อันเป็นการขัดขวางการ รับชมรายการปกติ จึงเป็นการเอาเปรียบผู้บริโภคตาม ข้อ 5 (12) ของประกาศ กสทช. เรื่อง การกระทำ� ที่เป็น การเอาเปรียบผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและกิจการ โทรทศั น์ พ.ศ. 2555 (ฉบับที่ 2) 102
ท�ำไมโปรโมชัน่ มีไมถ่ ึงเดอื น ผู้ให้บริการโทรทัศน์ที่มีการส่งเสริมการขายต่าง ๆ ให้แก่ผู้ใช้บริการในช่วงเวลาหน่ึง ๆ เช่น ชมช่องรายการ พิเศษได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย หรือมีค่าใช้จ่ายเป็นรายวัน ในราคาทถี่ กู กวา่ ราคาปกติ ฯลฯ ผใู้ หบ้ รกิ ารตอ้ งคงสทิ ธขิ อง การส่งเสริมการขายน้ันไว้ไม่น้อยกว่าสามสิบวันนับตั้งแต่ วนั ทโี่ ฆษณา หากใหส้ ทิ ธพิ เิ ศษไมถ่ งึ สามสบิ วนั เชน่ โฆษณา ว่ารับชมฟรีสองเดือน โฆษณาน้ันประกาศออกไปเพียงแค่ สองสัปดาห์แล้วหายไป ฯลฯ จะถือว่าเป็นการเอาเปรียบ ผู้บริโภคตามข้อ 5 (12) ของประกาศ กสทช. เร่ือง การกระทำ� ทีเ่ ปน็ การเอาเปรยี บผบู้ รโิ ภคในกิจการกระจาย เสียงและกิจการโทรทศั น์ พ.ศ. 2555 (ฉบับที่ 2) 103
เมอ่ื ผ้ใู หบ้ รกิ ารปกปดิ ขอ้ มลู และทำ� ให้ เขา้ ใจผดิ อาจมผี ใู้ ชบ้ รกิ ารเคยประสบกบั ผใู้ หบ้ รกิ ารโทรทศั น์ แบบบอกรบั สมาชกิ ไดโ้ ฆษณาเพอื่ สง่ เสรมิ การขาย แตไ่ มใ่ ห้ ข้อมูลท่ีครบถ้วน และท�ำให้ผู้ใช้บริการไม่สามารถได้รับ บรกิ ารไดอ้ ยา่ งทเี่ ขา้ ใจตามโฆษณา ตวั อยา่ งเชน่ ผใู้ ชบ้ รกิ าร ซื้อกล่องรับสัญญาณจากบริษัท ซึ่งโฆษณาว่าหากเสียค่า ใชจ้ า่ ยเพม่ิ จะรบั ชมชอ่ งเพมิ่ 6 ชอ่ ง เปน็ เวลา 1 ปี แตป่ รากฏ ว่ารับชมไปได้ 3 เดือน ไม่สามารถรับชมช่องเหล่าน้นั ตอ่ ได้ บริษัทอ้างว่าช่องดังกล่าวเป็นการทดลองออกอากาศ แต่ตอนโฆษณาไม่ได้ระบุข้อมูลน้ีไว้ การกระท�ำดังกล่าว ถอื วา่ เปน็ การเอาเปรยี บผใู้ ชบ้ ริการ และสามารถร้องเรยี น ไดต้ ามขอ้ 5 (12) ของประกาศ กสทช. เรื่อง การกระทำ� ที่ เป็นการเอาเปรียบผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและ กจิ การโทรทศั น์ พ.ศ. 2555 (ฉบบั ท่ี 2) 104
สงิ่ ทค่ี วรรเู้ บอื้ งตน้ กอ่ นและหลงั ทำ� สญั ญาสมคั รเปน็ สมาชกิ การรักษาสิทธิของผู้ใช้บริการ คือ ควรใส่ใจข้อมูล เบื้องต้นอย่างถี่ถ้วนทั้งก่อนตัดสินใจทำ� สัญญาและหลังท�ำ สญั ญา เพอื่ ปอ้ งกนั ตนเองจากการถกู ผดิ สญั ญา ไมเ่ สยี เวลา เสียเงิน และไม่เกิดปัญหาตามมาภายหลัง นอกจากน้ี การเก็บหลักฐานต่าง ๆ ในการท�ำสัญญาไว้เพื่อท่ีหากเกิด กรณีปัญหา หรือต้องการยกเลิกสัญญาจะสามารถใช้เป็น ขอ้ มลู หลกั ฐานการตรวจสอบยอ้ นกลบั และเพอื่ ดำ� เนนิ การ แก้ไขปัญหาให้ถูกต้องได้เป็นล�ำดับต่อไป ตลอดจนเป็น ประโยชนใ์ นการรอ้ งเรียนผใู้ หบ้ ริการ 105
สงิ่ ทค่ี วรรเู้ บอ้ื งตน้ กอ่ นและหลงั ทำ� สญั ญาสมคั รเปน็ สมาชกิ 1 2 ต ร ว จ ส อ บ ข ้ อ มู ล อ่านและท�ำความเข้าใจ ในสัญญาว่าครบถ้วน รายละเอยี ดใหร้ อบคอบ ตามทีก่ สทช.ก�ำหนด กอ่ นเซน็ สญั ญา 3 4 เม่ือเซ็นสัญญาแล้ว ห า ก ผู ้ ใ ห ้ บ ริ ก า ร ผิ ด ควรเกบ็ สำ� เนาสญั ญา สญั ญาสามารถเรยี กรอ้ ง เอาไวเ้ ปน็ อยา่ งดี หรอื บอกเลกิ สญั ญาได้ ท่ีมา : ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกจิ การโทรคมนาคมแห่งชาติ, 2562 106
สญั ญาแบบใดทีเ่ รยี กว่าดี ขอ้ มลู สำ� คญั ทตี่ อ้ งระบไุ วใ้ นสญั ญาอยา่ งชดั เจน ไดแ้ ก่ 1. ชอ่ื ทีต่ ง้ั สำ� นักงานใหญ่ และสาขาทีใ่ ช้บรกิ าร 2. ช่องรายการที่ให้บริการ รายการท่ีให้บริการ คณุ ภาพช่องรายการ 3. อุปกรณ์เสริม และส่ิงเก่ยี วข้องที่มี เชน่ กล่องรับ สัญญาณ รีโมทคอนโทรล สมาร์ทการด์ เปน็ ตน้ ตลอดจน คา่ อปุ กรณเ์ สรมิ (หากมคี ่าใช้จ่าย) 4. มาตรฐานและคุณภาพในการใหบ้ ริการ 5. อัตราคา่ บรกิ าร วธิ ีการเรยี กเก็บคา่ บรกิ าร (หาก มีคา่ บรกิ าร) 6. ขอ้ จำ� กดั และเงอื่ นไขในการใหบ้ รกิ ารหลงั การขาย เช่น วันท่ีเร่ิมต้นและสิ้นสุดการให้บริการ พื้นท่ีให้บริการ เหตุในการไม่ใหบ้ ริการ เปน็ ต้น 7. มีสําเนาสัญญาหรือหลักฐานอย่างอ่ืนส่งมอบให้ แกผ่ ูใ้ ช้บรกิ ารเก็บรกั ษา 107
ข้อมูลส�ำคัญในสญั ญาทีเ่ ป็นประโยชนและควรรู้ ตามขอ้ บงั คบั ของ กสทช. ในสญั ญาตอ้ งมรี ายละเอยี ดทช่ี ดั เจน ขอ้ มลู ท่วั ไปของบริการเพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ประกอบการตัดสนิ ใจ แพ็กเกจมาตรฐาน ชื่อบรษิ ัท และจ�ำนวนช่อง ผ้ใู ห้บริการท่ีตง้ั อุปกรณ์เสรมิ อตั ราคา่ บริการ หลงั ใหบ้ ริการหลัง การขาย มอี ะไรบา้ ง ระบวุ ันเร่ิมต้น/ สิน้ สดุ การให้บริการ เกบ็ ส�ำเนาสัญญา ไวเ้ ปน็ หลักฐาน ท่ีมา: ส�ำนักคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและ โทรทศั น์, 2560: น.55 108
เมื่อมีเหตุให้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง การใหบ้ รกิ ารตอ้ งทำ� อยา่ งไร บรกิ ารประเภทโทรทศั นบ์ อกรบั สมาชกิ ผใู้ หบ้ รกิ าร อาจมเี หตขุ ดั ขอ้ ง หรอื มกี ารปรบั ปรงุ เปลยี่ นแปลง ลกั ษณะ เงื่อนไข มาตรฐานคุณภาพการให้บริการตามที่ตกลง ในสญั ญา หรอื ในโฆษณาทเี่ คยแจง้ ไว้ สงิ่ ทผ่ี ใู้ หบ้ รกิ ารตอ้ งทำ� คอื 1. แจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบเป็นลายลักษณ์อักษร ไมน่ อ้ ยกว่าสามสบิ วันก่อนมีการเปล่ยี นแปลง 2. หากมกี ารเปลยี่ นแปลง ลกั ษณะ ประเภท เงอื่ นไข มาตรฐานและคุณภาพในการให้บริการต�่ำกว่าที่ก�ำหนดไว้ ในสัญญาเดิม ผู้ให้บริการต้องด�ำเนินการเยียวยา หรือ ลดค่าบริการหรือยกเว้นค่าบริการแก่ผู้ใช้บริการอย่าง เปน็ ธรรม หรือใหโ้ อกาสผูใ้ ช้บรกิ ารบอกเลกิ สัญญาน้ันกไ็ ด้ 3. หากเกิดเหตุขัดข้องข้ึนกับการให้บริการจนไม่ สามารถใช้บริการได้ตามปกติ ผู้ให้บริการมีหน้าที่ต้อง ด�ำเนินการแก้ไขโดยเร็วและไม่มีสิทธิเรียกเก็บค่าบริการใน ช่วงเวลาที่เกดิ เหตขุ ัดขอ้ ง 109
4. การใหบ้ รกิ ารโทรทศั นแ์ บบบอกรบั สมาชกิ ไมเ่ ปน็ ไปตามทเี่ งอื่ นไข มาตรฐาน หรอื คณุ ภาพในการใหบ้ รกิ ารท่ี ตกลงในสัญญา ผู้ใช้บริการมีสิทธิเรียกร้องได้ และผู้ให้ บรกิ ารมหี น้าทต่ี ้องพิสจู น์ และด�ำเนนิ การแกไ้ ขเยยี วยา 5. หากให้ผู้ใช้บริการยืมเครื่องอุปกรณ์ใดเพื่อ ประกอบการใช้บริการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกโดย ไม่คิดค่าใช้จ่ายหรือคิด ในราคาถูกกว่าตลาดท่ัวไป ผใู้ ห้บรกิ ารเอาเหตุดงั กล่าวมาเป็นเง่อื นไขอนั ให้ผใู้ ชบ้ รกิ าร ตอ้ งเสยี คา่ ปรบั หรอื คา่ เสยี หายจากการทผี่ ใู้ ชบ้ รกิ ารยกเลกิ สัญญาก่อนก�ำหนดไม่ได้ แต่ผู้ใช้บริการต้องส่งคืนอุปกรณ์ เมอื่ สัญญาสน้ิ สุด 6. หากให้ผู้ใช้บริการยืมเครื่องอุปกรณ์ใดเพ่ือ ประกอบการใช้บริการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกโดยมี การเกบ็ เงนิ ประกนั อปุ กรณ์ หากมกี ารยกเลกิ สญั ญาจะตอ้ ง คืนเงินประกันภายในสามสิบวัน นับจากวันที่มีการคืน อุปกรณเ์ รยี บร้อยแลว้ 7. ผู้ให้บริการต้องเรียกเก็บค่าบริการตามอัตราที่ ตกลงกนั ไว้ในสญั ญา โดยต้องเรียกเก็บจากผู้ใช้บริการของ ตนในอตั ราเดยี วกนั สำ� หรบั บรกิ ารทมี่ ลี กั ษณะเดยี วกนั หรอื 110
ประเภทเดยี วกนั 8. หากเรียกเก็บค่าบริการเกินกว่าจ�ำนวนที่เกิดขึ้น จากการใชบ้ รกิ ารจรงิ ผใู้ หบ้ รกิ ารจะตอ้ งคนื เงนิ สว่ นตา่ งของ คา่ บรกิ ารทเี่ รยี กเกบ็ เกนิ ใหแ้ กผ่ ใู้ ชบ้ รกิ ารภายในสามสบิ วนั นบั แตว่ นั ทข่ี อ้ เทจ็ จรงิ ยตุ ิ และผใู้ หบ้ รกิ ารตอ้ งชำ� ระดอกเบย้ี ในสว่ นตา่ งในอตั ราเทา่ กบั ท่ีไดก้ ำ� หนด 9. ผู้ใช้บริการมีสิทธิเลิกสัญญาเวลาใดก็ได้ด้วยการ บอกกล่าวเป็นหนังสือให้แก่ผู้ให้บริการทราบล่วงหน้า ไม่น้อยกวา่ 5 วันท�ำการ แต่ต้องช�ำระคา่ บรกิ ารจนถงึ วันที่ ยกเลกิ สัญญา มีผลบงั คบั 10. ผใู้ ชบ้ รกิ ารมสี ทิ ธขิ อระงบั การใชบ้ รกิ ารโทรทศั น์ แบบบอกรับสมาชิกเป็นการชั่วคราวได้ แต่ต้องแจ้งเป็น หนังสือหรือด้วยวิธีการอ่ืนๆ ท่ีผู้ให้บริการจัดท�ำข้ึนเพื่อ รบั แจง้ เป็นเวลาลว่ งหน้า ไมน่ อ้ ยกวา่ สามวัน 111
ท่ีมา: ส�ำนักคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและ โทรทัศน,์ 2560: น.55 112
ที่มา : ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์ และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาต,ิ 2562 113
เรียกเก็บค่าบริการเกินกว่า ท่ีใชจ้ ริงไดห้ รือ ในกรณที ผ่ี ใู้ ชบ้ รกิ ารเหน็ วา่ มกี ารเรยี กเกบ็ คา่ บรกิ าร สูงกว่าอัตราท่ีตกลงกันไว้ในสัญญา หรือสูงกว่าท่ีเรียกเก็บ จากผู้ใช้บริการรายอื่นท่ีใช้บริการโทรทัศน์แบบบอกรับ สมาชิกในลักษณะหรือประเภทเดียวกัน หรือเห็นว่า ผู้ให้บริการเรียกเก็บค่าบริการไม่ถูกต้อง ผู้ใช้บริการมีสิทธิ ขอข้อมลู เกย่ี วกับการใช้บริการของตนจากผูใ้ ห้บรกิ ารได้ หากผใู้ หบ้ รกิ ารเรยี กเกบ็ คา่ บรกิ ารเกนิ กวา่ จำ� นวนที่ เกิดข้ึนจากการใช้บริการจริง ผู้ให้บริการจะต้องคืนเงิน ส่วนต่างของค่าบริการที่เรียกเก็บเกินให้แก่ผู้ใช้บริการ ภายในสามสบิ วนั นบั แตว่ นั ทข่ี อ้ เทจ็ จรงิ ยตุ ิ และผใู้ หบ้ รกิ าร ตอ้ งชำ� ระดอกเบย้ี ในสว่ นตา่ งในอตั ราเทา่ กบั ทไ่ี ดก้ ำ� หนดไว้ ว่าจะเรียกเก็บจากผู้ใช้บริการในกรณีที่ผู้ใช้บริการผิดนัด เว้นแต่ผู้ใช้บริการจะได้ตกลงเลือกให้ด�ำเนินการในการ คืนเงินส่วนต่างท่ีเรียกเก็บเกินเป็นอย่างอ่ืน ทั้งนี้ การคนื เงนิ สว่ นตา่ งใหแ้ กผ่ ใู้ ชบ้ รกิ ารอาจคนื ดว้ ยเงนิ สด เชค็ หรือนำ� เขา้ บญั ชเี งนิ ฝากของผใู้ ชบ้ รกิ าร หรอื ตามวธิ กี ารทผ่ี ใู้ ช้ 114
บรกิ ารไดแ้ จง้ ความประสงคไ์ ว้ ซง่ึ เปน็ ไปตามประกาศ กสทช. วา่ ดว้ ยเรอื่ งมาตรฐานของสญั ญาการใหบ้ รกิ ารโทรทศั นแ์ บบ บอกรบั สมาชกิ พ.ศ. 2556 ใบแจง้ คา่ บรกิ ารมาลา่ ชา้ ทำ� ใหช้ ำ� ระ เงนิ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ความผดิ ของใคร ผู้ให้บริการโทรทัศน์บอกรับสมาชิกส่งใบแจ้ง ค่าบริการล่าช้า ไม่ตรงตามก�ำหนดรอบในการช�ำระ รายละเอียดค่าบริการไม่ถูกต้อง หรือไม่บอกช่องทางการ ชำ� ระ ทำ� ใหผ้ ู้ใช้บริการเสียเวลาและคา่ ใช้จ่ายในการติดต่อ กลับ ตลอดจนอาจถูกระงับสัญญาณเพราะจ่ายค่าบริการ ไมท่ นั เวลา การกระทำ� นเ้ี ขา้ ขา่ ยการมคี วามผดิ ตามประกาศ กสทช. ว่าด้วยเรื่องมาตรฐานของสัญญาการให้บริการ โทรทัศนแ์ บบบอกรบั สมาชิก พ.ศ. 2556 ข้อ 19 ต้องจดั สง่ ใบแจ้งรายการการใช้บริการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก เพ่ือเรียกเก็บค่าบริการให้ผู้ใช้บริการทราบล่วงหน้าเป็น ระยะเวลาไม่น้อยกว่า สิบห้าวันก่อนวันครบก�ำหนดช�ำระ โดยใบแจ้งรายการดังกล่าวจะต้องแสดงรายละเอียด 115
เกี่ยวกับอัตราค่าบริการ ค่าเคร่ืองอุปกรณ์หรือส่ิงอื่น ท่เี กย่ี วข้องเพอื่ ประโยชนใ์ นการใช้บรกิ าร และการคำ� นวณ ค่าบริการในลักษณะที่ชัดเจนเพียงพอเพื่อให้ผู้ใช้บริการ สามารถเข้าใจถึงที่มาของค่าใช้จ่ายท่ีปรากฏอยู่ในใบแจ้ง รายการนั้นได้ ใบแจ้งรายการการใช้บริการโทรทัศน์ แบบบอกรับสมาชิกของผู้ใช้บริการ จะต้องก�ำหนดวิธีการ ต่าง ๆ ในการรับช�ำระเงินของ ผู้ให้บริการไว้โดยชัดแจ้ง เพ่ือประโยชน์ในการชำ� ระเงินของผใู้ ชบ้ ริการ ผ้ใู หบ้ รกิ ารสง่ ใบแจง้ บรกิ ารลา่ ชา้ ไมต่ รงตามกำ� หนดรอบ ทำ� ใหผ้ ้ใู ชบ้ รกิ ารเสยี เวลาและคา่ ใชจ้ า่ ย ตลอดจนอาจถกู ระงบั สญั ญาณเพราะจา่ ยคา่ บรกิ ารไมท่ นั เวลา การกระทำ� นม้ี คี วามผดิ ตามประกาศ กสทช. วา่ ดว้ ยเรอ่ื ง มาตรฐานของสญั ญาการใหบ้ รกิ ารโทรทศั นแ์ บบ บอกรบั สมาชกิ พ.ศ. 2556 ขอ้ 19 116
ถามมา ตอบไป กับค�ำถามยอดนิยม ตัวอย่างค�ำถามท่ีพบจากผู้ใช้บริการว่า สามารถรอ้ งเรยี นผใู้ หบ้ รกิ ารทเ่ี ขา้ ขา่ ยการเอาเปรยี บ ผู้บริโภคหรอื ไม่ ถามมา ตอบไป การคนื เงนิ คา่ บรกิ ารหรอื เ ป ็ น ก า ร ก ร ะ ท� ำ ที่ เ ป ็ น ก า ร เ อ า เ ป รี ย บ ผู ้ บ ริ โ ภ ค ค่าประกันอุปกรณ์ล่าช้า ตามประกาศ กสทช. เกินกว่า ๓๐ วันนับจาก บริษัทฯจะต้องคืนเงินค่าบริการหรือเงินอื่นใดให้แก่ วันยกเลิกสัญญา ถือว่า ผ้ใู ชบ้ รกิ าร ภายใน ๓๐ วนั นบั จากเลกิ สญั ญา ซง่ึ เรมิ่ นบั มคี วามผิดหรอื ไม่ จากวนั ทบ่ี รษิ ทั ฯ มกี ารเกบ็ อปุ กรณค์ นื จากผู้ใชบ้ รกิ าร ครบถว้ นแลว้ อนั ถอื เปน็ วนั ทม่ี กี ารยกเลกิ สญั ญาการ โดยสมบรู ณ์ บริษัทฯ เรียกเก็บค่าปรับ เปน็ การกระทำ� ทเี่ ปน็ การเอาเปรยี บผบู้ รโิ ภค ตามประกาศ เ มื่ อ ผู ้ ใ ช ้ บ ริ ก า ร ย ก เ ลิ ก กสทช. สัญญาก่อนครบก�ำหนด ผู้ใชบ้ รกิ ารมสี ทิ ธขิ อยกเลกิ สญั ญาเมอ่ื ใดกไ็ ด้ เพยี งแต่ ได้หรอื ไม่ มหี นา้ ทต่ี อ้ งชำ� ระคา่ บรกิ ารจนถงึ วนั ทกี่ ารยกเลกิ สญั ญา มผี ลบงั คบั และบรษิ ทั ฯ ไมม่ สี ทิ ธเิ รยี กเกบ็ เงนิ คา่ ปรบั จาก ผ้ใู ชบ้ รกิ ารกรณยี กเลกิ สญั ญากอ่ นครบกำ� หนด พนักงานให้ข้อมูลไม่ถูก เปน็ การกระทำ� ทเ่ี ปน็ การเอาเปรยี บผบู้ รโิ ภค ตามประกาศ ตอ้ ง ครบถว้ น หรอื ไมแ่ จง้ กสทช. ข ้ อ มู ล ส� ำ คั ญ ใ ห ้ ผู ้ ใ ช ้ ผู้ให้บริการต้องไม่โฆษณาด้วยข้อมูลที่เป็นเท็จ หรือ บริการทราบ เช่น เรื่อง ปกปิดข้อมูลที่ส�ำคัญ หรือให้ข้อมูลที่ไม่ชัดเจน ไม่ เง่ือนไขระยะเวลาการใช้ สามารถเขา้ ใจได้ กำ� กวม หรอื ละเวน้ การนำ� เสนอขอ้ มลู 117
ถามมา ตอบไป บ ริ ก า ร สิ ท ธิ ใ น ก า ร ที่จ�ำเป็นต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ หรือปกปิด เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง แ พ็ ก เ ก จ ขอ้ ความจรงิ ทค่ี วรบอกใหแ้ จง้ ทท่ี ำ� ใหผ้ ู้ใชบ้ รกิ ารเขา้ ใจ ผู ้ ใ ช ้ บ ริ ก า ร ไ ด ้ รั บ ค ว า ม ผิดในข้อเท็จจริง คุณสมบัติ หรือคุณลักษณะของ เสียหาย ถอื วา่ มคี วามผดิ บรกิ ารซง่ึ มผี ลตอ่ การตดั สนิ ใจของผู้ใชบ้ รกิ าร หรือไม่ เปน็ การกระทำ� ทเี่ ปน็ การเอาเปรยี บผบู้ รโิ ภค ตามประกาศ บริษัทไม่ด�ำเนินการเก็บ กสทช. อุปกรณ์คืนจากผู้ ใช้ เนอ่ื งจากกรณนี ้ี บรษิ ทั ฯ เปน็ ฝา่ ยผดิ นดั กบั ผู้ใชบ้ รกิ าร บริการตามวันเวลาท่ีนัด อกี ทง้ั อปุ กรณด์ งั กลา่ วไมม่ กี ารสญู หาย/เสยี หายจรงิ หมาย และมกี ารสง่ ใบเรยี ก บริษัทฯ ย่อมไม่มีสิทธิเรียกเก็บเงินค่าปรับอุปกรณ์ เ ก็ บ ค ่ า ป รั บ อุ ป ก ร ณ ์ สญู หาย/เสยี หายจากผ้ใู ชบ้ รกิ ารได้ สูญหาย/เสียหายไปยังผู้ ใช้บริการแทน บรษิ ัททำ� ได้ หรอื ไม่ กรณศี ึกษาท่ี 1 ผู้ใช้บริการกล่องรับสัญญาณดาวเทียม ได้ยื่นร้อง เรียนต่อส�ำนักงาน กสทช. ให้ผู้ให้บริการด�ำเนินการ ถ่ายทอดสดฟุตบอลลีกต่างประเทศให้สามารถรับชมได้ ดังเดิม หลังจากผู้ร้องได้ติดต่อผู้ให้บริการเพ่ือสมัครใช้ บริการแพ็คเกจเดิมที่เพิ่งหมดอายุไป โดยเจ้าหน้าท่ียืนยัน วา่ สามารถรบั ชมการถา่ ยทอดฟตุ บอลลกี ไดเ้ ชน่ เดมิ แตก่ ลบั 118
ไม่สามารถรับชมได้ และมีช่องรายการกีฬาอื่นมาแทน เจา้ หนา้ ทไี่ ดแ้ จง้ วา่ ตอ้ งซอื้ แพค็ เกจเพมิ่ จงึ จะสามารถรบั ชม ชอ่ งรายการเดมิ ได้ ทง้ั นผ้ี ใู้ หบ้ รกิ ารไดช้ แี้ จงวา่ ชอ่ งรายการ กีฬาที่ผู้ร้องเคยรับชมนั้นเป็นช่องรายการใหม่ ซึ่งผู้ให้ บรกิ ารไดจ้ ดั ใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารหรอื ลกู คา้ รายอน่ื รบั ชมไดฟ้ รโี ดย ไม่คิดค่าบริการในทุกกล่องรับสัญญาณเป็นเวลา 1 เดือน หลงั จากนนั้ ผู้ให้บรกิ ารกไ็ ดน้ ำ� เขา้ ไปอยูใ่ นแพ็คเกจ ซงึ่ หาก ผู้ใช้บริการสนใจต้องการรับชมจะต้องซ้ือแพ็คเกจเพ่ิมเติม เปน็ เงนิ 299 บาท/เดอื น แตจ่ ากหลกั ฐานพบวา่ ชอ่ งรายการ ดังกล่าวเคยอยู่ในแพ็คเกจเดิมของผู้ใช้บริการมาก่อน แต่ผู้ให้บริการได้มีการเปลี่ยนชื่อช่องรายการและน�ำไปอยู่ ในแพ็คเกจใหม่ ดังน้นั การเปล่ยี นช่อื ช่องรายการของผู้ให้บรกิ ารจงึ ถือเป็นเทคนิคทางการตลาด ท�ำให้ผู้ร้องต้องจ่ายเงินเพ่ิม การที่ผู้ให้บริการไม่ด�ำเนินการให้ผู้ร้องรับชมได้ดังเดิม จึงเป็นการไม่ปฏิบัติตามสัญญา/เงื่อนไขในการให้บริการ ซึ่งถือเป็นการกระท�ำท่ีเอาเปรียบผู้บริโภค ตามประกาศ กสทช. เร่ืองการกระท�ำท่ีเป็นการเอาเปรียบผู้บริโภคใน กิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2555 119
อกี ทงั้ การแจง้ เปลย่ี นแปลงชอ่ งรายการของผใู้ หบ้ รกิ ารกไ็ ม่ ครบถ้วนตามประกาศ กสทช. เร่ือง มาตรฐานของสัญญา การให้บริการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก พ.ศ. 2556 ข้อ 15 เช่นเดียวกนั เน่อื งจากได้มกี ารแจง้ ล่วงหน้า 24 วนั แต่ตามประกาศฯ ดังกล่าว ต้องแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษร ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 วนั อยา่ งไรกต็ ามผใู้ หบ้ รกิ ารไดม้ กี ารเยยี วยา โดยการให้ผู้ร้องสามารถรับชมแพ็คเกจดังกล่าวได้นาน 30 วัน ไม่คิดค่าใช้จ่ายใด ๆ หลังจากแพ็คเกจเดิมสิ้นสุด ระยะเวลาตามสัญญา และผู้ร้องมีความพอใจและยินดี ยุตเิ รอ่ื งรอ้ งเรียนดังกล่าว กรณศี ึกษาท่ี 2 ผู้ใช้บริการจานรับสัญญาณดาวเทียมระบบ KU-Band ไดย้ น่ื รอ้ งเรยี นตอ่ สำ� นกั งาน กสทช. ใหผ้ ใู้ หบ้ รกิ าร คืนค่ามัดจ�ำและค่าปรับ กรณียกเลิกการใช้งานก่อนครบ ก�ำหนดสัญญา เนอ่ื งจากคุณภาพสัญญาณไมช่ ัดเจน อีกทง้ั ไม่ได้รับใบแจง้ ค่าใชบ้ รกิ าร รายเดือน และผ้ใู หบ้ รกิ ารแจ้ง รายละเอยี ดคา่ ใชจ้ า่ ยผดิ พลาด อยบู่ อ่ ยครงั้ ทำ� ใหต้ อ้ งตดิ ตอ่ 120
กลับไปชี้แจงหลายคร้ัง เสียค่าใช้จ่าย ในการติดต่อเป็น จำ� นวนมาก จึงตอ้ งการขอยกเลิกสัญญา ซึง่ ผรู้ ้องไดร้ บั แจง้ จากเจา้ หนา้ ทว่ี า่ ยงั ใชบ้ รกิ ารไมค่ รบ 10 เดอื น จะตอ้ งชำ� ระ คา่ ปรบั จำ� นวน 2,000 บาท และเมอ่ื ผรู้ อ้ งไดช้ ำ� ระคา่ บรกิ าร ต่าง ๆ เรียบร้อยแล้ว ผู้ให้บริการก็ได้ส่งเจ้าหน้าท่ีมาเก็บ อุปกรณ์ และให้รอรับเงินค่ามัดจ�ำอุปกรณ์ภายใน 90 วัน แตผ่ ู้ใช้บรกิ าร เหน็ ว่า มีการด�ำเนินการล่าชา้ โดยนับตัง้ แต่ วันท่ีผู้ร้องแจ้งยกเลิกการใช้บริการจนถึงวันท่ีเจ้าหน้าที่ มาเกบ็ อปุ กรณ์ เปน็ เวลา 72 วนั จงึ ขอใหผ้ ใู้ หบ้ รกิ ารคนื เงนิ ค่ามัดจ�ำกล่อง Set Top Box จ�ำนวน 1,800 บาท และ ค่าปรับ กรณียกเลิกการใช้บริการก่อนครบก�ำหนดสัญญา 2,000 บาท เน่ืองจากผู้ร้องได้ตรวจสอบสัญญาอีกครั้ง พบวา่ กรณที ใ่ี ชบ้ รกิ ารไมค่ รบ 6 เดอื น จงึ จะตอ้ งเสยี คา่ ปรบั ดังกล่าว และผู้ร้องยังได้เรียกร้องให้ผู้ให้บริการคืนเงิน ค่าเสียเวลาในการติดต่อทวงถามทางโทรศัพท์ด้วย เป็นเงนิ 2,000 บาท จากข้อเท็จจริงผู้ให้บริการและผู้ร้องมีการยกเลิก สัญญากันเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2557 ซ่ึงเป็นวันที่ผู้ร้อง ไดช้ �ำระค่าบริการท่ยี ังค้างชำ� ระทัง้ หมด ผใู้ หบ้ รกิ ารจะต้อง 121
คืนเงินค่ามัดจ�ำอุปกรณ์ให้แก่ผู้ร้องภายใน 30 วัน ตามประกาศ กสทช. เรอ่ื ง มาตรฐานสญั ญาในการใหบ้ รกิ าร โทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก พ.ศ. 2556 ข้อ 35 แต่ผู้ให้บริการไม่ได้ด�ำเนินการภายในก�ำหนด จึงถือได้ว่า ผู้ให้บริการมีการกระท�ำท่ีเป็นการเอาเปรียบผู้บริโภค ตามประกาศ กสทช. เร่ือง การกระทำ� ทเ่ี ป็นการเอาเปรยี บ ผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2555 ทงั้ นเ้ี รอื่ งคา่ ปรบั จำ� นวน 2,000 บาท ผใู้ หบ้ รกิ าร ไมม่ ีสิทธิทจี่ ะเรยี กเก็บจากผ้รู อ้ ง เพราะผู้ร้องไมไ่ ด้เป็นฝา่ ย ผิดสัญญาก่อน ผู้ให้บริการจงึ ตอ้ งคนื เงนิ ดงั กลา่ วใหผ้ รู้ อ้ ง สุดท้ายผู้ให้บริการได้ด�ำเนินการคืนเงินค่ามัดจ�ำอุปกรณ์ จ�ำนวน 1,800 บาท และเงินค่าปรับจ�ำนวน 2,000 บาท พรอ้ มดอกเบย้ี ใหก้ บั ผรู้ อ้ งจงึ ถอื วา่ ผใู้ หบ้ รกิ าร ไดด้ ำ� เนนิ การ แก้ไขปญั หาตามข้อรอ้ งเรยี นแลว้ 122
การคมุ้ ครองดา้ นรายการ และการโฆษณา พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551 มาตรา 33 ว่าด้วยการ จัดผงั รายการ และมาตรา 37 วา่ ด้วยเน้อื หารายการทีห่ ้าม ออกอากาศ รวมถึง ประกาศ กสทช. เร่ือง หลักเกณฑ์ การจดั ทำ� ผงั รายการสำ� หรบั การใหบ้ รกิ ารกระจายเสยี งหรอื โทรทัศน์ พ.ศ. 2556 ได้กล่าวถึงการคุ้มครองด้านเนื้อหา รายการ การจัดผังรายการ และประกาศ กสทช. เร่ือง การกระทำ� ทเี่ ปน็ การเอาเปรยี บผบู้ รโิ ภคในกจิ การ กระจาย เสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2555 ก�ำหนดห้ามการ กระทำ� ทเี่ ปน็ การเอาเปรยี บผบู้ รโิ ภคในกจิ การกระจายสยี ง และกิจการโทรทัศน์ไว้ ดังนี้ เนื้อหารายการ (CONTENT) รายการ คอื เนอื้ หาทผี่ ลติ ขน้ึ เองหรอื จดั หาจากผอู้ นื่ เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารกระจายเสยี งหรอื โทรทศั นท์ ไ่ี มใ่ ชก่ ารโฆษณา ไดแ้ ก่ รายการกฬี า รายการเพอื่ ความบันเทิง และรายการ 123
ข่าวสารและสาระ ซึ่งเน้ือหารายการจะเป็นส่ิงส�ำคัญ ทีส่ ามารถดึงดดู ผชู้ ม และสร้างความนยิ มและรายได้ใหแ้ ก่ ทางสถานีหรือช่องรายการได้ ประเภทเนือ้ หารายการ เนอื้ หาทค่ี วรมีการจ�ำกัด เนอื้ หาทคี่ วรมกี ารสง่ เสรมิ ปกป้องเด็กและเยาวชนจากเน้ือหาท่ี เนือ้ หาทีส่ นบั สนนุ ด้านการศึกษาและ ไ ม ่ เ ห ม า ะ ส ม ต ่ อ พั ฒ น า ก า ร แ ล ะ การพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและ การเรียนรู้ เยาวชน ก า ร พิ จ า ร ณ า จั ด เ ว ล า ใ น ก า ร ความรู้ในเรอ่ื งวิชาการ ระบบวธิ คี ดิ ออกอากาศใหเ้ หมาะสมกบั กลมุ่ ผชู้ ม ก า ร พั ฒ น า ด ้ า น คุ ณ ธ ร ร ม และจริยธรรม พฤตกิ รรมและความรนุ แรง > กระทบ การเรยี นร้เู ก่ยี วกบั ทกั ษะชวี ิต จิตใจ การใช้อาวุธ ยาเสพติด การเรียนรู้ ยอมรับ เข้าใจและชื่นชม สร้างทศั นคติ ความหลากหลายในสังคม เพศ > การแต่งกาย การแสดงออก การพัฒนาความสัมพันธ์ของคน ทางเพศ การแสดงทา่ ทางหรอื กริ ยิ า ใ น ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ ค ว า ม สั ม พั น ธ ์ ทไ่ี มเ่ หมาะสมทางเพศ ระหว่างบคุ คล ภาษา > ไวยากรณท์ างภาษา การใช้ ภาษาทลี่ อ่ แหลม หมนิ่ แหม่ สอื่ ความ หมายในเชิงลบ รวมถึงการใช้ภาษา ที่กา้ วร้าว 124
เนอ้ื หาทห่ี า้ มออกอากาศ เนื้อหาที่ส่งให้เกิดความสับสน ย่ัวยุ ปลุกปั่นให้เกิด ความขดั แยง้ หรอื สรา้ งใหเ้ กิดความแตกแยก เ น้ื อ ห า ที่ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต ่ อ ค ว า ม ส ง บ เ รี ย บ ร ้ อ ย ความมนั่ คง และสถาบนั เน้อื หาทม่ี ีผลกระทบต่อศลี ธรรมอันดี เนื้อหาที่มีเข้าลักษณะลามกอนาจารหรือมีผลกระทบ ตอ่ การใหเ้ กิดความเส่ือมทรามทางจติ ใจ กรณศี กึ ษาเนอื้ หารายการ ทห่ี า้ มออกอากาศ กรณเี นอ้ื หารายการเขา้ ขา่ ยสอ่ ใหเ้ กดิ ความสบั สน ย่ัวยุ ปลุกปั่นให้เกิดความขัดแย้งหรือสร้างให้เกิด ความแตกแยก เน้ือหารายการที่มีการวิพากษ์วิจารณ์ และมีการ กล่าวพาดพิงถงึ องค์กรระดบั ประเทศต่าง ๆ ดว้ ยถอ้ ยคำ� ท่ี ไม่สุภาพ หยาบคาย ซึ่งมีลักษณะเป็นการยุยงให้ผู้รับชม เกิดความรู้สึกในด้านลบต่อองค์กร โดยข้อมูลที่น�ำเสนอ ในรายการก็เป็นการกล่าวอา้ งโดยไมม่ หี ลกั ฐานทชี่ ดั เจนมา สนบั สนนุ แตอ่ ยา่ งใด แตเ่ ปน็ การใชเ้ ทคนคิ ยแุ ยงใหผ้ ชู้ มรสู้ กึ วา่ 125
ตอ้ งทำ� อะไรสกั อยา่ ง หากเปน็ คำ� กลา่ วหาทร่ี นุ แรง ซงึ่ แสดงให้ เห็นถึงเจตนาที่ต้องการลดทอนความน่าเช่ือถือและ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ ององคก์ รทก่ี ลา่ วถงึ การน�ำเสนอความคิดเห็นจากสื่อมวลชนต่าง ๆ ใน บทวิเคราะห์ต่อประเด็นข่าวการตรวจค้นพบอาวุธจำ� นวน หนงึ่ ในเขตพน้ื ทจ่ี งั หวดั ปทมุ ธานี โดยนำ� เสนอวา่ การคน้ พบ อาวุธดังกล่าว ไม่น่าที่จะเป็นเรื่องจริง แต่เป็นการจัดฉาก เพื่อหวังผลทางการเมืองของหน่วยงานภาครัฐเท่าน้ัน ซึ่งการน�ำเสนอเช่นนี้เป็นการส่อให้เกิดความสับสน แกป่ ระชาชนถงึ การดำ� เนนิ การของหนว่ ยงานและเจา้ หนา้ ท่ี รฐั วา่ เปน็ ไปโดยไมช่ อบธรรม เพอ่ื ตง้ั ขอ้ กลา่ วหาและดำ� เนนิ การ ตามกฎหมายกับอดตี แกนน�ำของกลุม่ บคุ คลเทา่ นั้น • การนำ� เสนอเนอื้ หารายการโดยผดู้ ำ� เนนิ รายการได้ กลา่ วในรายการเกยี่ วกบั เหตกุ ารณก์ ารวางระเบดิ ทเ่ี กาะสมยุ จังหวัดสุราษฎร์ธานี และกรณีเหตุเพลิงไหม้ท่ีจังหวัด สุราษฏร์ธานีในลักษณะที่ว่า เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นการ สรา้ งสถานการณข์ องฝา่ ยบา้ นเมอื งและนกั การเมอื งทอ้ งถนิ่ เพ่ือใส่ร้ายกลุ่มคนเสื้อแดง อันเป็นการให้ข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับเหตุการณ์ในสังคมที่เกิดข้ึนในลักษณะที่ส่อให้เกิด ความสับสน ยว่ั ยุ ปลกุ ปน่ั ให้เกดิ ความขดั แย้ง 126
กรณเี นอ้ื หาท่มี ีผลกระทบตอ่ ความสงบเรยี บรอ้ ย การใชค้ ำ� พดู ทห่ี ยาบคายหรอื การนำ� เทปบนั ทกึ ภาพ ท่ีมีการใช้ถ้อยค�ำที่หยาบคาย รุนแรง และมีการกล่าวถึง บคุ คลท่ี 3 ดว้ ยถอ้ ยคำ� ทห่ี ยาบคายตลอดเวลาและการแสดง ทา่ ทางทส่ี อ่ื ความหมายใหเ้ หน็ ถงึ อวยั วะเพศ ซง่ึ เปน็ ทเ่ี ขา้ ใจ กันโดยทั่วไปว่าเป็นการพูดถึงบุคคลท่ีกล่าวถึง จึงผิดตาม มาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกจิ การโทรทศั น์ พ.ศ. 2551 กรณเี นื้อหาทม่ี ีผลกระทบตอ่ ศีลธรรมอันดี การเชิญแขกรับเชิญท่ีมีความขัดแย้งกันมาร่วม รายการ ซงึ่ แขกรบั เชญิ มกี ารใชถ้ อ้ ยคำ� ทห่ี ยาบคาย และสอ่ ไปในทางเรอื่ งเพศทไ่ี มเ่ หมาะสมสำ� หรบั สงั คมไทย นอกจาก นี้ แขกรับเชิญยังแสดงกิริยาท่าทางท่ีไม่เหมาะสม เช่น การยกเท้าคล้ายจะถีบที่ใบหน้าของพิธีกรชายและแขก รับเชิญท่านอื่น ซ่ึงเนื้อหารายการดังกล่าวเป็นเน้ือหาท่ี ไม่เหมาะสมส�ำหรับสังคมไทย โดยเฉพาะอย่างย่ิงเด็ก และเยาวชน 127
การจดั ระดบั รายการไวท้ รี่ ะดบั ท (รายการทเ่ี หมาะ สมส�ำหรบั ผชู้ มทกุ วยั ) แตเ่ นอื้ หารายการโดยส่วนใหญก่ ว่า รอ้ ยละ 80 เปน็ การสมั ภาษณท์ มี่ เี นอื้ หาเกยี่ วกบั เรอื่ งเพศ เชน่ “การถกู หลอกไปขายตวั ” ...”การขอนำ้� อสจุ ผิ ชู้ าย” ... “การ ยอมโดนผชู้ ายขม่ ขืนในหอ้ งนำ้� ” ... “การหนพี อ่ แมไ่ ปเล่น หนังเอ๊กซ์” เนื้อหาและรูปแบบรายการจึงต้องมีการจัด ระดบั ใหมเ่ ปน็ ระดบั น (รายการทเี่ หมาะกบั ผชู้ มทมี่ อี ายุ 18 ปีขน้ึ ไป ผชู้ มทมี่ ีอายุนอ้ ยกวา่ 18 ปี ควรได้รบั ค�ำแนะนำ� ) การน�ำเสนอเรื่องราวในรายการโดยให้มารดาของ ผเู้ สยี หายในคดขี ม่ ขนื มาออกรายการ โดยผดู้ ำ� เนนิ รายการ เน้นการให้เล่ารายละเอียดของเหตุการณ์ท่ีเก่ียวกับ การกระท�ำล่วงละเมิดทางเพศท่ีผู้กระท�ำผิดได้กระท�ำ ต่อเด็ก โดยใช้ถ้อยค�ำท่ีมีลักษณะค�ำถาม โน้มน�ำผู้ตอบ และถ้อยค�ำที่ไม่เหมาะสม มีลักษณะแสดงพฤติกรรม ทางเพศอย่างโจ่งแจ้ง ซึ่งเป็นถ้อยค�ำที่มีลักษณะลามก อนาจาร ขัดต่อศีลธรรมอันดี ไม่สมควรท่ีจะมีการ ออกอากาศทางโทรทัศน์ แทนที่จะน�ำเสนอรายละเอียดท่ี เก่ียวกับปัญหาของการด�ำเนินคดีของเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ว่าเป็นไปโดยไม่เหมาะสมอย่างไร 128
กรณีเนื้อหาเขา้ ลกั ษณะลามกอนาจารหรอื มี ผลกระทบต่อการให้เกดิ ความเสอื่ มทรามทางจิตใจ การนำ� เสนอเนอื้ หาเกยี่ วกบั คดฆี า่ หน่ั ศพทม่ี กี ารเปดิ คลปิ เสยี งครางคลา้ ยการมเี พศสมั พนั ธข์ องผตู้ อ้ งหา ซง่ึ เปน็ เนื้อหาท่ไี ม่เหมาะสม แมผ้ ดู้ ำ� เนนิ รายการจะสง่ั ใหป้ ดิ เสียง ตอนทา้ ยแลว้ กต็ าม แตเ่ สยี งทน่ี ำ� เสนอไปกอ่ นหนา้ นน้ั ทำ� ให้ ผู้ชมโดยทั่วไปเข้าใจได้ว่า คือเสียงร้องในระหว่างการท�ำ กิจกรรมทางเพศ อีกท้ังยังมีการน�ำเสนอภาพผู้ต้องหา เปลือยกาย ซ่ึงเป็นการน�ำเน้ือหาจากส่ือต่างประเทศมา น�ำเสนอและได้มีการใช้เทคนิคลดความชัดเจนของภาพลง แลว้ (เบลอ) ซง่ึ การนำ� เสนอคลปิ เสยี งหรอื ภาพไมเ่ กย่ี วขอ้ ง และไม่สอดคล้องกับการรายงานข่าวถึงการกระท�ำท่ีไม่ เหมาะสมในการดำ� เนนิ คดตี ามกฎหมายกบั ผตู้ อ้ งหาแตอ่ ยา่ งใด การออกอากาศรายการการต์ นู ผา่ นทางจานสญั ญาณ ดาวเทยี มทมี่ กี ารนำ� เสนอภาพการต์ นู หญงิ เปลอื ยและฉากท่ี แสดงถงึ การรว่ มเพศ ซึ่งช่องรายการดังกล่าวเป็นรายการ การ์ตนู แต่กลบั มกี ารนำ� เสนอเนื้อหาทไ่ี มเ่ หมาะสม การน�ำเสนอรายการผ่านทางชอ่ งรายการแบบบอก รบั สมาชกิ ทมี่ เี นอื้ หาเกย่ี วกบั การขายอาหารเสรมิ สมรรถนะ ทางเพศ โดยผดู้ ำ� เนนิ รายการหญงิ มกี ารแตง่ กายทไี่ มส่ ภุ าพ 129
ขดั ตอ่ จารตี ประเพณแี ละวฒั นธรรมอนั ดงี ามของสงั คมไทย โดยสวมใสเ่ สอ้ื ผา้ คลา้ ยชดุ ชน้ั ใน และกางเกงขาสนั้ การจดั เรตต้งิ (RATING) การจัดเรตติ้งหรือการจัดระดับความเหมาะสมของ รายการโทรทัศน์ (Rating) คือ การจัดระดับความเหมาะ สมของรายการโทรทัศน์กับกลุ่มผู้ชม (Classification) เป็นมาตรการส�ำคัญในการสนับสนุนให้เกิดรายการ โทรทัศน์ท่ีส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับเด็ก เยาวชนมากข้ึน จึงถือเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการให้ ค�ำแนะน�ำส�ำหรับผู้ชม โดยเฉพาะพ่อแม่ผู้ปกครอง ในการเลอื กรับชมสอื่ ทางโทรทศั น์ให้เหมาะสมกับวัย เพื่อเป็นแนวทางและสร้างแรงจูงใจในการสร้างสรรค์ รายการโทรทัศน์ท่ีส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ ผ้ชู ม ส่งเสริมและพัฒนาระบบการก�ำกับดูแลตนเอง (Self- Regulation) ของกิจการวทิ ยุโทรทัศน์ รักษาไว้ซ่ึงสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกและการได้รับ ข้อมูลขา่ วสาร ค�ำนึงถึงผลประโยชน์สุข ความปลอดภัยและพัฒนาการ ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจอารมณแ์ ละศกั ดศิ์ รขี องเดก็ และเยาวชน สร้างมาตรฐานในการตรวจสอบเน้ือหาและเฝ้าระวังส่ือ บนหลักเกณฑแ์ ละความเข้าใจเดียวกัน 130
รายการทน่ี ำ� มา ออกอากาศซำ้� (Rerun) ตอ้ งมกี ารจดั เรตตง้ิ ใช.่ .. ใหมห่ รอื ไม่ ? ตอ้ งมกี ารจดั เรตตงิ้ ใหม่ ปรบั ปรงุ หรอื แกไ้ ขเนอื้ หารายการใหต้ รงกบั ระดบั ความเหมาะสมในช่วงเวลาท่ีจะออกอากาศซ้�ำ (Rerun) และระบุว่าเป็นการออกอากาศซ�้ำท้าย ช่อื รายการ ให้แสดงข้อความท่ีระบุว่า “รายการได้ปรับปรุง เน้ือหาให้มีระดับความเหมาะสมตามช่วงเวลาท่ี ดำ� เนินการออกอากาศแลว้ ” ห้ามน�ำรายการท่ีมีระดับความเหมาะสมของ รายการหรือในระดับ น13 น18 และ ฉ มา ออกอากาศซ้�ำในช่วงเวลาที่ก�ำหนดไว้ส�ำหรับ รายการท่ีมีเนื้อหาสร้างสรรค์สังคมหรือ รายการสำ� หรบั เดก็ และเยาวชน 131
เราตอ้ งระวงั การนำ� เสนอเนอ้ื หารายการอยา่ งไร กบั ระดบั “ป” “ด” และ “ท” ระดับ “ป” พฤตกิ รรมความรนุ แรง (ปฐมวยั อายุ 3-5 ปี) การใช้เทคนิคพิเศษ จินตนาการ ระดบั “ด” การลอกเลียนแบบ ผลกระทบทาง (เด็ก อายุ 6-12 ปี) จิตใจ ศลี ธรรมอันดขี องสงั คม ระดบั “ท” (ทกุ วยั ) การใชภ้ าษา การแตง่ กายของพธิ กี ร ไมค่ วรใช้ เทคนิคภาพซ้ำ� ภาพซำ้� เอฟเฟก็ ต์ เสียงเพ่ิมความตื่นเต้น ระทึกขวัญ สยองขวัญ 132
รจู้ กั สญั ลกั ษณร์ ะบรุ ะดบั ความเหมาะสม ของรายการโทรทศั น์ ตวั อกั ษร สญั ลกั ษณ์ เสยี งประกอบ รายการตอ่ ไปน้ี ป เปน็ รายการสำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั ผลติ ขน้ึ สำ� หรบั ผชู้ ม ด ในวยั 3-5 ปี ท รายการตอ่ ไปนี้ เป็นรายการ น ๑๓ ส�ำหรับเดก็ วยั 6-12 ปี รายการตอ่ ไปน้ี เปน็ รายการท่ัวไป สามารถรบั ชมไดท้ กุ วัย รายการต่อไปน้ี เหมาะสำ� หรบั ผู้ชมทมี่ อี ายุ 13 ปีข้ึนไป อาจมภี าพ เสยี ง หรอื เนื้อหาที่ ตอ้ งใชว้ จิ ารณญาณ ในการรบั ชม ผู้ชมทีม่ อี ายุ น้อยกว่า 13 ปี ควรไดร้ ับคำ� แนะนำ� 133
ตวั อกั ษร สญั ลกั ษณ์ เสยี งประกอบ รายการตอ่ ไปนี้ น ๑๘+ เหมาะสำ� หรบั ผชู้ มทมี่ ี อายุ 18 ปขี น้ึ ไป ฉ อาจมภี าพ เสยี ง หรอื เนอ้ื หา ทต่ี อ้ งใชว้ จิ ารณญาณ ในการรบั ชม ผชู้ มทม่ี อี ายุ นอ้ ยกวา่ 18 ปี ควรไดร้ บั คำ� แนะนำ� รายการตอ่ ไปน้ี อาจมภี าพ เสยี งหรอื เนอื้ หา ทไ่ี มเ่ หมาะสมดา้ นพฤตกิ รรม ความรนุ แรง เพศ และ การใชภ้ าษา เดก็ และเยาวชนไมค่ วรรบั ชม 134
รายการท่ีเป็นข่าวสารหรือสาระท่ีเป็น ประโยชนต์ อ่ สาธารณะเปน็ แบบไหน ผู้รับใบอนุญาตที่ใช้คลื่นความถ่ีต้องจัดผังรายการ ใหม้ สี ดั สว่ นรายการทเ่ี ปน็ ขา่ วสารหรอื สาระทเี่ ปน็ ประโยชน์ ต่อสาธารณะท่ีมีลักษณะข่าวสาร การส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ ในการปกครองในระบอบประชาธิปไตย การส่งเสริมการศึกษา จริยธรรม ศิลปะ วัฒนธรรม การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม คุณภาพชีวิตและส่ิงแวดล้อม โดยก�ำหนดสดั ส่วนใหถ้ ูกต้องตามประกาศ กสทช. ว่าดว้ ย หลกั เกณฑ์และวธิ กี ารอนุญาตการให้บรกิ าร กระจายเสยี ง หรือโทรทศั น์ รจู้ กั จรยิ ธรรมของผปู้ ระกอบการ วชิ าชพี ฯ หรอื ไม่ จริยธรรมของผู้ประกอบการวิชาชีพกระจายเสียง และโทรทัศน์ คือ การคุ้มครองการได้รับรู้ข้อมูลข่าวสาร สาธารณะของประชาชน และการคุ้มครองผู้บริโภคจาก 135
การประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ รวมถงึ คมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพของผปู้ ระกอบการวชิ าชพี อีกท้ังต้องไม่ท�ำให้เกิดความเสียหายแก่องค์กรวิชาชีพ ผู้รับใบอนุญาต ผู้ประกอบการ หรือนักวิชาชีพ สื่อสารมวลชน โดยมีหลักการจริยธรรมข้ันพ้ืนฐานในการ ประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ อยา่ งนอ้ ย 8 ประการ บคุ คลกลมุ่ ใดบา้ งทต่ี อ้ งปฏบิ ตั ติ ามแนวทาง ในการปฏิบัติงานหรือจริยธรรมของ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี กระจายเสยี งและโทรทศั น์ ผู้ประกอบวิชาชีพกระจายเสียงและ โทรทัศน์ และผู้ที่ท�ำงานเก่ียวข้องกับ การผลติ และการออกอากาศรายการ 136
หลกั การจรยิ ธรรมขนั้ พนื้ ฐานในการ ประกอบกิจการ กระจายเสียงและ กจิ การโทรทศั น์ การให้พื้นที่สาธารณะ สทิ ธมิ นษุ ยชน ปกป้องเด็กและเยาวชน ข่าวสารสาธารณะใน สทิ ธสิ ว่ นบคุ คล จากเนอ้ื หาทมี่ คี วามเสยี่ ง เหตุการณ์สาธารณะท่ี สทิ ธใิ นครอบครวั และเดก็ ที่ปรากฏในสือ่ สำ� คัญ เกยี รตยิ ศชอื่ เสยี ง ขอ้ มลู สว่ นตวั ความอสิ ระทาง ขอ้ มลู ขา่ วสารที่ วิชาชพี ถกู ตอ้ ง เทย่ี งตรง ความรับผิดชอบ ครบถว้ น สมดลุ ตอ่ สงั คม ผลกระทบ ตอ่ ผโู้ บรโิ ภค และเปน็ ธรรม ไม่สื่อสารท่ีสร้างความ เคารพในลขิ สทิ ธิ์ สง่ เสรมิ การทำ� นบุ ำ� รงุ ศลิ ปะ เกลยี ดชัง และทรพั ยส์ นิ และวฒั นธรรขนบธรรมเนยี ม ทางปญั ญา ป ร ะ เ พ ณี ข อ ง ช า ติ เ พ่ื อ สรา้ งสรรคส์ งั คม คา่ นยิ มอนั ดงี ามและภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ 137
“ การโฆษณา การน�ำเสนอข้อมูล ข้อความหรือเน้ือหา “ เก่ียวกับสินค้าหรือบริการ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รู้จักชื่อตรา รบั รู้ถงึ คุณประโยชน์ และวิธีการใช้งาน มีการนำ� เสนอผา่ น ทางสอื่ รปู แบบตา่ ง ๆ โดยมเี ปา้ หมาย เพอื่ แสวงหากำ� ไรทาง ธรุ กจิ และการน�ำเสนอภาพลกั ษณข์ ององค์กร สำ� หรบั การโฆษณาทางวทิ ยแุ ละโทรทศั นใ์ นปจั จบุ นั มรี ปู แบบการนำ� เสนอและชว่ งเวลาในการออกอากาศทตี่ า่ ง ไปจากเดิม เน่ืองจากผู้ประกอบการมีการใช้เทคนิคและ ยุทธวิธีต่าง ๆ ที่ต้องการเพ่ิมความถ่ีในการได้ยินและมอง เห็นหรือรับรู้ผลิตภัณฑ์ในรายการเพ่ิมขึ้น นอกเหนือจาก สปอตโฆษณา (Spot) ในช่วงพักโฆษณา ซึ่งผู้บริโภคอาจ หมนุ คลนื่ หรอื กดรโี มทเปลย่ี นไปชอ่ งอนื่ ดงั นน้ั รปู แบบการ โฆษณาจึงพยายามสร้างการรับรู้ในช่วงที่ผู้บริโภคไม่ สามารถกดรีโมทหนีได้ น่ันคือ การโฆษณาแทรกเข้าไปใน เนื้อหารายการ โดยไม่ท�ำให้รู้สึกว่าก�ำลังรับชมโฆษณา ด้วยการแทรกข้อมูลของสินค้าหรือบริการเข้าไปใน บทสนทนา ฉากในละคร การเป็นผู้สนับสนุนรายการ ภาพตราสญั ลกั ษณ์ หรอื กราฟกิ ตา่ ง ๆ 138
อย่างไรก็ตาม แม้ว่า รูปแบบและช่องทางใน การโฆษณาจะมหี ลากหลาย จนสรา้ งโอกาสในการกระจาย ข่าวสารและเป็นช่องทางสร้างรายได้ให้กับสถานีหรือ เจ้าของรายการ แต่สิ่งที่ส่งผลกระทบต่อผู้บริโภคคือ โฆษณาท่ีมีเน้ือหาไม่เหมาะสม เรื่องเกี่ยวกับเพศ เด็ก ความรนุ แรง รวมถงึ การสรา้ งความเชอ่ื ใหเ้ กดิ ความหลงเชอื่ งมงาย ดงั นน้ั ผบู้ รโิ ภคในฐานะผรู้ บั สอ่ื และเสพสอ่ื จงึ ตอ้ งเรยี น รู้และรเู้ ทา่ ทนั กลวธิ ขี องการโฆษณา เพอ่ื ไมใ่ หห้ ลงเปน็ เหยอื่ ของโฆษณา รูปแบบของการโฆษณาทางโทรทศั น์ โฆษณาโดยตรง โฆษณาแฝง ภาพยนตร์โฆษณา แทรกในเนือ้ หา (Tie in) รูปแบบ สปอต (Spot) ผู้สนับสนนุ รายการ 15-30 วนิ าที/เร่อื ง วางสินค้าในรายการ คิดเปน็ นาที เปดิ ป้ายเกมโชว์ **โฆษณาอาหารและยา หยบิ จบั ได้ บทพูดในละคร ต้องขออนุญาตกอ่ น **หมายเหตุ ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลท่ัวไป อาจมีการ เปลยี่ นแปลงตามแตข่ อ้ ตกลงระหวา่ งสถานกี บั ผลู้ งโฆษณา 139
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551 กิจการกระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศน์ท่ีใช้คลื่น ความถม่ี าตราท่ี 23 การโฆษณาและการบรกิ ารธรุ กจิ ไดไ้ มเ่ กนิ ชว่ั โมงละ “ 12 นาที 30 วินาที ” โดยเมือ่ รวมเวลาโฆษณาตลอดทั้ง วนั เฉลยี่ แล้วตอ้ งไม่เกนิ ช่วั โมงละ “10 นาที กิจการกระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศน์ที่ไม่ใช้ คลืน่ ความถ่มี าตราท่ี 28 การโฆษณาและการบรหิ ารธรุ กจิ ไดไ้ มเ่ กนิ ชวั่ โมงละ “6 นาที” โดยเมือ่ รวมเวลาโฆษณาการบริการธรุ กจิ ตลอด ทัง้ วันเฉล่ียแลว้ ต้องไม่เกนิ ชวั่ โมงละ “5 นาที“ 140
โฆษณาที่เอาเปรยี บผ้บู ริโภค “ รู้หรือไม่ว่า ทุกวันนี้การรับชมรายการโทรทัศน์ เราอาจ กำ� ลงั ถกู เอาเปรยี บจากการผปู้ ระกอบการจากหลากหลายรปู แบบ โดยท่ีเราไม่รู้ตัว ไม่ว่าจะเป็น การโฆษณาที่มากเกินไปจนสร้าง ความร�ำคาญและรับชมรายการไม่ต่อเน่ืองหรือรับชมเนื้อหา รายการได้ในเวลาจ�ำกัด การออกอากาศโฆษณาที่เกินจริง เป็นเท็จหรือไม่ครบถ้วน จนน�ำไปสู่ความเข้าใจผิด โดยขาด วิจารณญาณในตัดสินใจซ้ือสินค้าหรือบริการ กสทช. จึงต้อง เข้ามามีบทบาทในการก�ำกับดูแล โดยการออกประกาศ กสทช. เร่ือง การกระท�ำท่ีเป็นการเอาเปรียบผู้บริโภคในกิจการกระจาย เสียงและกิจการโทรทัศน์ โดยผู้ท่ีท�ำผิดจะมีโทษตามกฎหมาย ท้ังนี้ หากผู้บริโภคได้รับความเดือดร้อนหรือร�ำคาญสามารถ ร้องเรียนไดท้ ่ีส�ำนกั งาน กสทช. โทร. 1200 (โทร.ฟร)ี “ โทร 1200 (โทรฟร)ี หากผูบ้ รโิ ภคได้รบั ความเดือดรอ้ นหรอื ร�ำคาญ สามารถร้องเรียนได้ทีส่ �ำนักงาน กสทช. 141
รายการ/โฆษณาผลติ ภณั ฑ์สุขภาพทีไ่ ม่ชอบด้วยกฎหมาย รายการ/โฆษณาทมี่ เี นอื้ หาจงู ใจใหผ้ บู้ รโิ ภคเลอื กใชบ้ รกิ าร-สนิ คา้ โดยหลอกลวงหรือกระท�ำให้เข้าใจผดิ ในสาระสำ� คัญ การออกอากาศรายการโดยมีการโฆษณาบริการ-สนิ คา้ เกนิ ระยะเวลาท่กี ฎหมายกำ� หนด ข้อความ/ข้อมลู ท่มี ีขนาดพื้นทร่ี วมกันเกิน 1 ใน 8 ของ ขนาดพน้ื ที่หน้าจอโทรทศั น์ การเพม่ิ ระดบั เสยี งของโฆณาหรอื รายการ ที่สร้างความรำ� คาญใจ การเชญิ ชวนใหส้ ง่ ขอ้ ความหรอื เนน้ ยำ�้ โดยไมม่ เี หตผุ ลอนั สมควร การเชญิ ชวนหรือจงู ใจใหผ้ ู้ใช้บรกิ าร-สินค้าที่ผิดกฎหมาย หรอื หลอกลวงโดยอาศยั ความเช่ืออยา่ งงมงายหรอื ความศรัทธาของบุคคล 142
ออกอากาศรายการหรอื การโฆษณาอาจ ผดิ กฎหมายอน่ื ๆ นอกจากกฎหมายทก่ี ำ� หนดเฉพาะเกยี่ วกบั การออก อากาศรายการ ของส่ือวิทยุ - โทรทัศน์แล้ว ภายใต้ การกำ� กบั ดแู ลของ กสทช. แลว้ ยงั ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย อื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้องด้วย เช่น การโฆษณาอาหาร ยา และ ผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพ ผดิ กฎหมาย อย. การหา้ มไมใ่ หช้ กั จงู หรอื ใหม้ ีการพนัน ผิด พ.ร.บ.การพนัน การห้ามแสดงเร่ืองการ สูบบุหรี่ ผิด พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ การก�ำหนด ช่วงเวลาการโฆษณาเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ผิด พ.ร.บ. ควบคุมเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ เป็นต้น 143
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210