Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือรู้สื่อรู้สิทธิ สานพลังผู้บริโภค

หนังสือรู้สื่อรู้สิทธิ สานพลังผู้บริโภค

Published by LOUKPA Rizme, 2020-08-07 23:17:24

Description: คู่มือเล่มนี้มีจุดมุ่งหมายให้เครือข่ายผู้บริโภคสื่อวิทุย - โทรทัศน์ ได้รับรู้และเข้าใจในข้อมูลพื้นฐานแง่มุมต่าง ๆ ของกสทช. และสำนักงาน กสทช. ในเรื่องของการส่งเสริมกระบวนความคิด วิเคราะห์ และสร้างความตระหนักในสิทธิของความเป็นพลเมือง

Keywords: เครือข่ายผู้บริโภค รู้สื่อรู้สิทธิ สื่อวิทยุ-โทรทัศน์ กสทช.

Search

Read the Text Version

กฎหมายด้านอาหารส�ำหรับทารกและ เด็กเลก็ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ พระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาด อาหารสาํ หรับทารกและเดก็ เล็ก พ.ศ. 2560 มาตรา 14 ห้ามผู้ใดโฆษณาอาหารสําหรับทารก ห้ามผู้ใดโฆษณาอาหารสําหรับเด็กเล็กโดยใช้ข้อความ เก่ียวกับทารกหรือเด็กเล็กในสื่อโฆษณาท่ีมีลักษณะ เชอื่ มโยงหรอื ทาํ ใหเ้ ขา้ ใจไดว้ า่ เปน็ อาหารสาํ หรบั ทารกหรอื เหมาะสมสําหรับใช้เลี้ยงทารก มาตรา 25 หา้ มผใู้ ดโฆษณาอาหารเสรมิ สาํ หรบั ทารก พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ มาตรา 30 ก�ำหนดห้ามผู้ใดโฆษณาหรือทําการ สอื่ สารการตลาดผลติ ภณั ฑย์ าสบู มาตรา 31 กำ� หนดหา้ มผใู้ ดแสดงชอื่ หรอื เครอื่ งหมาย ของผลิตภัณฑ์ยาสูบ แสดงช่ือหรือเคร่ืองหมายของผู้ผลิต หรือ ผู้นําเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบ หรือแสดงสัญลักษณ์หรือ 44

ส่ิงอ่ืนใดโดยทําให้สาธารณชน เข้าใจว่าเป็นช่ือหรือ เคร่ืองหมายของผลิตภัณฑ์ยาสูบ หรือชื่อหรือเคร่ืองหมาย ของผู้ผลิตหรือผู้นําเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบ ท้ังนี้ เพ่ือการ โฆษณาผลติ ภณั ฑย์ าสบู ในวทิ ยกุ ระจายเสยี ง วทิ ยโุ ทรทศั น์ พระราชบัญญัติควบคุมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ มาตรา 32 ก�ำหนดห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ หรือแสดงชื่อหรือเคร่ืองหมายของเคร่ืองดื่ม แอลกอฮอล์ อันเป็นการอวดอ้างสรรพคุณ หรือชักจูงใจ ให้ผู้อื่นดื่มโดยตรงหรือโดยอ้อม การโฆษณาหรือ ประชาสัมพันธ์ใด ๆ โดยผู้ผลิตเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ทุก ประเภท ใหก้ ระทำ� ไดเ้ ฉพาะการใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารและความ รู้เชิงสร้างสรรค์สังคม โดยไม่มีการปรากฏภาพของสินค้า หรอื บรรจภุ ณั ฑข์ องเครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอลน์ นั้ เวน้ แตเ่ ปน็ การ ปรากฏของภาพสัญลักษณ์ของเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์หรือ สญั ลกั ษณข์ องบรษิ ทั ผผู้ ลติ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลน์ น้ั เทา่ นนั้ นอกจากนี้ ข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการโฆษณาหรือ ประชาสัมพันธ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นไปตามกฎ กระทรวงก�ำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการแสดงภาพ 45

สัญลักษณ์เพื่อประกอบการโฆษณาหรือประชาสัมพันธ์ เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ พ.ศ.2553 ประกอบประกาศ คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เรอ่ื ง รูปแบบ ของขอ้ ความคำ� เตอื นประกอบภาพสญั ลกั ษณข์ องเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ หรอื ภาพสญั ลกั ษณข์ องบรษิ ทั ผผู้ ลติ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ พ.ศ.2557 พระราชบัญญัติการพนัน พ.ศ.2478 กระทรวงมหาดไทย มาตรา 8 กำ� หนดใหก้ ารจดั ใหม้ กี ารแถมพกหรอื รางวลั ดว้ ยการเสย่ี งโชคโดยวธิ ใี ด ๆ ในการประกอบกจิ การคา้ หรอื อาชพี จะตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ พนกั งานผอู้ อกใบอนญุ าต กอ่ นจงึ จะ ทำ� ได้ อน่ึง ยังมีกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการโฆษณาสินค้า หรอื บริการท่ีเป็นการเฉพาะอกี เชน่ • พระราชบญั ญตั ปิ ุย๋ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 • พระราชบัญญัตธิ ุรกจิ น�ำเทีย่ วและมคั คเุ ทศก์ พ.ศ. 2551 • พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 และที่ แกไ้ ขเพ่ิมเติม ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2554 • พระราชบญั ญตั คิ วบคมุ คณุ ภาพอาหารสตั ว์ พ.ศ. 2558 ฯลฯ 46

การเข้าถงึ ส่ือวิทยุ-โทรทศั น์ วทิ ยุ – โทรทศั น์ เปน็ การใชค้ ลน่ื ความถนี่ ำ� ภาพ เสยี ง มายงั เครื่องรับท่ีเรามีอยู่ ท�ำให้สามารถรบั ชมรายการ การ โฆษณา เนื้อหาต่างๆ ได้ ทง้ั นก้ี ารเขา้ ถงึ สือ่ วทิ ยุ – โทรทัศน์ มีทั้งมิติด้านเทคโนโลยีที่ก�ำหนดรูปแบบการรับสัญญาณ และมิติด้านประเภทของกิจการ ซ่ึงท�ำให้เรามีโอกาสและ ทางเลอื กหลากหลายในการรบั สอื่ รับข้อมลู ข่าวสาร วทิ ยพุ ฒั นามาจากอะไร วิทยุไทยพัฒนามาจากเมื่อเกิดวิทยุโทรเลข จนถึง การทดลองสง่ กระจายเสยี ง และสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งได้ เกิดข้ึนอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2472 โดยใช้ช่ือว่า “สถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท” (Radio Bangkok at Payathai) ตั้งอยู่ท่ี “ทุ่งพญาไท” (ปัจจุบันคือโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า) และได้มีการ เปลีย่ นแปลงเรอื่ ยมาในหลาย ๆ ยุค 47

วิวฒั นาการของวิทยกุ ระจายเสียง ในประเทศไทย แบง่ ออกเป็น 6 ยุค ยคุ วทิ ยุ กบั การเรียกร้อง ประชาธปิ ไตย ยคุ วิทยุกับการ ยุคขยายตัว โฆษณาชวนเชือ่ ทางธรุ กจิ และ ของรัฐบาลทหาร เสรภี าพวิทยุ ยุควทิ ยกุ ับการ ยุควิทยโุ ทรเลข เปลย่ี นแปลงการ ปกครอง ยคุ ทดลองส่ง กระจายเสยี ง ทม่ี า: สำ� นกั คุม้ ครองผู้บริโภคในกจิ การกระจายเสยี ง และโทรทศั น์, 2560: น.11) 48

วทิ ยกุ ระจายเสยี ง สถานวี ิทยกุ ระจายเสยี ง คือ สถานีวทิ ยทุ หี่ นว่ ยงาน ของรฐั เปน็ เจา้ ของ เชน่ กรมประชาสมั พนั ธ์ อสมท. กองทพั บก ฯลฯ ซงึ่ ในจำ� นวนทงั้ หมด 525 สถานี มรี ะบบ เอฟ.เอม็ . (FM) จ�ำนวน 314 สถานี และ เอ.เอม็ . (AM) จำ� นวน 211 สถานี ซึ่งมีท้ังท่ีหน่วยงานของรัฐต่าง ๆ ด�ำเนินการเอง หรือร่วม ด�ำเนินการกับบริษัทเอกชน ไม่ว่าจะเป็นการท�ำสัญญา สัมปทาน การร่วมผลิต การแบ่งเวลาให้เช่า ฯลฯ ซึ่งก็มี เนื้อหารายการที่หลากหลาย แล้วแต่วัตถุประสงค์และ กลุ่มเปา้ หมายทแ่ี ต่ละหนว่ ยงานก�ำหนด วิทยรุ ายใหม่คอื อะไร สถานีวทิ ยุทเ่ี กิดข้ึนใหม่ เดิมเรียกรวม ๆ วา่ “วทิ ยุ ชุมชน” แต่เนื่องจากทุกสถานีไม่ได้ด�ำเนินการในลักษณะ “ของชมุ ชน โดยชมุ ชน เพอ่ื ชมุ ชน” ตามแนวทางของวิทยุ ชมุ ชน จงึ เรยี กใหม่ว่า “วทิ ยรุ ายใหม”่ ซ่งึ มกี ารออกอากาศ ในระดบั ท้องถ่ิน ส่งสัญญาณ ในระบบ เอฟ.เอม็ . (FM) วทิ ยรุ ายใหมม่ ที ง้ั จดั ตง้ั และดำ� เนนิ การโดยหนว่ ยงาน องคก์ ร ชมุ ชน กลมุ่ บคุ คลในลกั ษณะตา่ งกนั มที งั้ วทิ ยขุ อง 49

สถาบนั การศกึ ษา วดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ กลมุ่ ดเี จ รา้ นขายยา ฯลฯ ดงั นน้ั จงึ มกี ารจดั รายการทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป ตามแตว่ ตั ถปุ ระสงคท์ กี่ ำ� หนด ทง้ั ทมี่ งุ่ การบรกิ ารสาธารณะ และมุ่งท�ำธุรกิจแต่ก็ยังมีวิทยุรายใหม่บางแห่งท่ียึดถือหลัก การวทิ ยชุ ุมชนอยา่ งเครง่ ครัด วิธีการ/เทคโนโลยีการเข้าถึงสื่อ วทิ ยุ-โทรทัศน์ ประเทศไทยมีสถานโี ทรทัศน์ในระบบแอนะล็อกมา ยาวนานต้ังแต่ยุคโทรทัศน์ขาวด�ำ (ช่อง 4 บางขุนพรหม) ออกอากาศในปี พ.ศ. 2498 และต่อมาในปี พ.ศ. 2510 จึงมีสถานีโทรทัศน์สีแห่งแรกของประเทศไทย (ช่อง 7) นบั เปน็ เวลาหลายทศวรรษทโ่ี ทรทศั น์ (แอนะลอ็ ก) อยคู่ กู่ บั ประชาชนคนไทย จากจดุ เรมิ่ ตน้ เป็นเวลาเกือบ 60 ปี เรามี สถานีโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกซ่ึงขยายพ้ืนที่บริการ ครอบคลมุ เกอื บทั่วประเทศทง้ั สิ้น6 สถานี ได้แก่ ชอ่ ง 3, 5, 7, 9, 11 และไทยพีบเี อส จนกระทั่งเกดิ การเปลย่ี นแปลง ทางเทคโนโลยขี น้ึ ครงั้ สำ� คญั ในอตุ สาหกรรมโทรทศั นบ์ า้ นเรา ซ่ึงถือว่าเปล่ียนแปลงไปในทิศทางเดียวกับประเทศต่าง ๆ 50

ทวั่ โลก จนวนั นก้ี ารเปลยี่ นผา่ นจากโทรทศั นร์ ะบบแอนะลอ็ ก ไปสู่ระบบดิจิทัลของประเทศไทยเดินทางมาถึงโค้งสุดท้าย นน่ั คอื การยตุ กิ ารรบั สง่ สญั ญาณโทรทศั นใ์ นระบบแอนะลอ็ ก กันแล้ว โดยสถานีโทรทัศน์แห่งแรกท่ียุติการให้บริการ โทรทัศน์ในระบบแอนะล็อกก็คือ ไทยพีบีเอส ซ่ึงเริ่มยุติ 2 สถานีแรกในเดือนธันวาคม พ.ศ.2558 (สถานีโทรทัศน์ เกาะสมยุ และไชยปราการ) เรารับโทรทัศน์ไดอ้ ย่างไรบา้ ง ยุคนี้เป็นยุคท่ีเทคโนโลยีมีความทันสมัย ท�ำให้เรา สามารถเลือกท่ีจะรับสัญญาณโทรทัศน์ได้ด้วยส่ือกลางท่ี หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการใช้เสาหนวดกุ้งหรือก้างปลา ทส่ี ถานโี ทรทศั นส์ ง่ คลน่ื มาทางเสาภาคพนื้ ดนิ หรอื ลากสาย เคเบิล เพ่อื รับชมเคเบลิ ทวี ีท่ีมหี ลายชอ่ งใหช้ ม หรือซอ้ื จาน และกล่องเพื่อรับภาพและเสียงท่ีส่งมาทางดาวเทียม ซึ่งแต่ละกล่องก็สามารถรับชมช่องรายการที่หลากหลาย หรอื ทา้ ยสดุ หลายบา้ นรบั ชมโทรทศั นผ์ า่ นสายอนิ เทอรเ์ นต็ ทย่ี ังไม่แพร่หลายมากนกั ในประเทศไทย 1. โทรทศั นภ์ าคพนื้ ดนิ (Terrestrial TV) เปน็ การออก 51

อากาศผา่ นเสาสญั ญาณภาคพนื้ ดนิ โดยอาศยั คลนื่ ความถแี่ ละ รบั ชมผา่ นสายอากาศแบบกา้ งปลาหรอื หนวดกงุ้ ตามบา้ นเรอื น 2. โทรทศั นผ์ า่ นสายเคเบลิ หรอื เคเบลิ ทวี ี (Cable TV) เป็นการส่งสัญญาณผ่านสายเคเบิลจากต้นทางหรือ ผใู้ หบ้ ริการไปยงั กล่องรบั สัญญาณตามบา้ น 3. โทรทศั นผ์ ่านดาวเทยี ม (Satellite TV) เปน็ การ ส่งสัญญาณจากสถานีภาคพื้นดินไปยังดาวเทียมและ ถา่ ยทอดสญั ญาณตอ่ ลงมายงั จานรบั สญั ญาณและกลอ่ งรบั สญั ญาณตามบ้าน 12 34 ที่มา: ส�ำนักคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและ โทรทัศน์, 2560: น.13 52

4. โทรทัศน์ผ่านระบบบรอดแบรนด์อินเทอร์เน็ต (Internet Protocal TV) เปน็ การสง่ สญั ญาณภาพและเสยี ง ผ่านเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงและเครือข่าย บรอดแบรนดท์ ค่ี รอบคลุมอยทู่ ่ัวประเทศ โดยการรบั ข้อมลู จากแหลง่ ขอ้ มลู หลกั (Source) หรอื จะเรยี กวา่ เปน็ แชนแนล (Channel) ท้ังนี้ IPTV ไม่ใช่การรับชมรายการผ่านทาง อนิ เทอรเ์ นต็ ดว้ ยโปรแกรมรบั ชมเวบ็ ไซต์ หรอื แอปพลเิ คชนั ทว่ั ไป แตเ่ ปน็ การตดิ ตง้ั สายและอปุ กรณร์ บั สญั ญาณเพม่ิ เตมิ 5. OTT หรอื Over-The-Top คอื การให้บริการใด ๆ ผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ เปดิ โดยทผี่ ทู้ ใ่ี หบ้ รกิ าร OTT ไมไ่ ดล้ งทนุ หรอื เปน็ เจา้ ของโครงขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ เอง เชน่ Facebook, Uber, AirBnd เปน็ ตน้ เมอ่ื นำ� คำ� นม้ี ารวมกบั คำ� วา่ โทรทศั น์ หรอื TV เปน็ OTT TV (Over The Top TV) แลว้ ในที่นี้ จะหมายความรวมถึงบริการสื่อวีดิโอและโทรทัศน์ผ่าน อนิ เทอรเ์ นต็ ซง่ึ ผใู้ หบ้ รกิ ารเหลา่ นนั้ ไมไ่ ดล้ งทนุ ในโครงขา่ ย อินเทอร์เนต็ เอง จะหมายถงึ บรกิ ารตา่ ง ๆ เชน่ YouTube, Line TV และ Netflix เปน็ ต้น ซ่งึ ผชู้ ม OTT TV สามารถ เลือกเวลาการรับชมเอง และสามารถเลือกชมท่ีใดก็ได้ท่ี สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ อย่างไรก็ตามการให้บริการ 53

OTT TV จ�ำเป็นต้องพ่ึงพาองค์ประกอบ 5 ส่วนท่ีส�ำคัญ ไดแ้ ก่ (1) เน้อื หา (Content) (2) ผูใ้ หบ้ ริการแพลตฟอรม์ (Service Platform) (3) ผผู้ ลติ อปุ กรณท์ ร่ี องรบั การใชบ้ รกิ าร (OTT Device) (4) ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต และ (5) ผู้ใช้ บรกิ าร (End User) (TIME Consulting, 2562) 54

5 ป ร า ก ฏ ก า ร ณ ์ ธ ร ร ม ช า ติ ท่ี มี ผลกระทบต่อการสื่อสารและการรับ สญั ญาณโทรทศั นผ์ า่ นดาวเทยี ม ปรากฏการณ์บางปรากฏการณ์อาจเกิดเป็นระยะ เวลาสนั้ ๆ ไมเ่ กดิ ผลกระทบมาก บางปรากฏการณอ์ าจเกดิ นานหนอ่ ย เราอาจตอ้ งเตรยี มพรอ้ ม เขา้ ใจ และอาจหาทาง ลดผลกระทบ เพราะเป็นที่แน่นอนว่าสิ่งเหล่าน้ีเกิด โดยธรรมชาตแิ ละหลกี เลยี่ งไมไ่ ด้ ทมี่ า : Karen, 2013 55

1. Sun Outage เปน็ ปรากฏการณ์ทเี่ กิดจากการท่ี โลก ดาวเทียม และดวงอาทิตย์ (ซ่ึงเป็นแหล่งก�ำเนิด คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าขนาดใหญ่) โคจรมาอยู่ในแนวระนาบ เดียวกัน ท�ำใหจ้ านสายอากาศรับสญั ญาณจากดวงอาทิตย์ โดยตรง เกิดสัญญาณรบกวนในขณะที่มีการใช้งานสื่อสาร ผ่านดาวเทียม ท�ำให้คุณภาพของสัญญาณท่ีได้รับต�่ำลง ในชว่ งเวลาดงั กล่าว ปรากฏการณ์ Sun Outage น้ี จะเกดิ ขนึ้ ปลี ะ 2 ครง้ั (ช่วงเดือนมีนาคม และกนั ยายน - ตุลาคม) เปน็ ชว่ งระยะ เวลาสน้ั ๆ โดยจะเกดิ ในเวลาทตี่ า่ งกนั ไป ตามตำ� แหนง่ ของ ดาวเทยี ม และตำ� แหนง่ ทร่ี บั สญั ญาณ และสามารถพยากรณ์ การเกิดข้ึนได้ล่วงหน้า จึงไม่ค่อยมีผลกระทบต่อผู้ใช้งาน ดาวเทียมมากเท่าใดนัก (Satellite TV Engineering, 2019) (ตรวจสอบวันเวลาที่เกิด Sun Outage ของดาวเทียมไทยคมได้ท่ี http://tcns.thaicom.net/ sunoutage.asp) 2. Eclipse Season เกดิ ข้นึ เม่อื โลกอยใู่ นต�ำแหน่ง ทบ่ี งั ดาวเทยี ม ทำ� ใหด้ าวเทยี มไมไ่ ดร้ บั พลงั งานแสงอาทติ ย์ จึงใช้พลังงานจากแบตเตอรี่แทนในช่วงเวลาท่ีเกิด 56

สุริยะคราส ปรากฏการณ์ดังกล่าว จะเกิดข้ึนปีละ 2 ช่วง คือ ช่วงระหว่างส้ินเดือนกุมภาพันธ์ – ช่วงกลางเดือน เมษายน และชว่ งระหวา่ งสน้ิ เดอื นสงิ หาคม – ชว่ งกลางเดอื น ตุลาคม รวมประมาณ 90 วันต่อปี ช่วงเวลาของการเกิด ปรากฏการณท์ ่นี านทส่ี ุดจะเกดิ ขน้ึ 2 คร้ัง ครงั้ ละประมาณ 72 นาที (Obrero, 2019) 3. Solar Flare พายุสุริยะเป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิด จากการท่ีผิวดวงอาทิตย์ระเบิดข้ึนมา ซ่ึงท�ำให้อนุภาค ประจไุ ฟฟา้ พงุ่ ออกมาจำ� นวนมหาศาล ประจไุ ฟฟา้ ทพี่ งุ่ ออก มานี้ปกติจะไม่ส่งผลโดยตรงต่อโลกและส่ิงมีชีวิตบนโลก แต่จะรบกวนระบบการส่ือสารมีผลท�ำให้การสื่อสารระยะ ไกลเป็นอัมพาต ท�ำให้เคร่ืองบิน ไม่สามารถติดต่อกับหอ บงั คบั การได้ โทรศพั ทม์ อื ถอื ใชง้ านไมไ่ ด้ รวมไปถงึ ดาวเทยี ม เสียหาย นอกจากนี้พายุอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าอาจพุ่งชน ดาวเทียมท่ีก�ำลังโคจรอยู่รอบโลกจนท�ำให้ดาวเทียม หลุดออกจากวงโคจรได้ (วที ิต วรรณเลศิ ลกั ษณ์, 2560) 4. Leonids พายอุ กุ าบาตรลโี อนดิ หรอื ทร่ี จู้ กั ในนาม “ฝนดาวตกกลมุ่ ดาวสงิ โต” เปน็ ปรากฏการณต์ ามธรรมชาติ 57

โดยเกิดจากดาวหางที่ชอื่ 55 พี เท็มเพล - ทตั เทลิ (55P/ Tempel-Tuttle) ดาวหางน้ีโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 33 ปี โดยขณะท่ีดาวหางโคจรใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด จะเกดิ ปฏกิ ริ ยิ ารนุ แรง ระเบดิ ออกมาเกดิ เปน็ เศษวตั ถคุ ลา้ ย ห่าฝนจ�ำนวนมากแพร่กระจายตามวงโคจรของดาวหาง โดยปกตวิ งโคจรของโลกจะตดั กบั กลมุ่ ลโี อนดิ ทกุ ปี แตไ่ มเ่ กดิ พายุอุกาบาตรลีโอนิด จะเกิดเฉพาะทุก 33 ปี แต่ละครั้ง กนิ เวลาประมาณ 5 ชวั่ โมง จงึ ไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ การสอ่ื สาร ผา่ นดาวเทยี มมากนกั ซงึ่ ในกรณรี า้ ยแรงทสี่ ดุ คอื ดาวเทยี ม จะถกู ชนโดยพายอุ กุ าบาต แตม่ โี อกาสเกดิ ขน้ึ เพยี ง 0.02% เท่าน้นั (Alex Pratt, 2017) 5. Scintillation ปรากฏการณน์ เี้ กดิ จากการที่คลืน่ ความถี่ รวมถึงสัญญาณดาวเทียมขาลงเดินทางผ่านช้ัน บรรยากาศไอโอโนสเฟยี รท์ ม่ี คี วามหนาแนน่ ของอเิ ลก็ ตรอน เปลย่ี นแปลงไป ทำ� ใหเ้ กดิ การหกั เห (Refraction) การดดู กลนื (Absorption) และการกระเจิง (Scattering) เปน็ ผลท�ำให้ สญั ญาณดาวเทยี มขาลง มกี ารกระเพอ่ื มอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั โดย เฉพาะเมื่อตรวจสอบด้วยเครื่องมือวิเคราะห์สเปกตรัม (Spectrum Analyzer) 58

โทรทัศนแ์ บบไมฟ่ รมี หี รอื ไม่ โทรทัศน์มีทั้งแบบชมฟรีและมีเงื่อนไขในการเข้าถึง ซง่ึ โดยทวั่ ไปใหเ้ ขา้ ใจวา่ ถา้ เปน็ การรบั สญั ญาณทางภาคพนื้ ดนิ ใช้เสาภาคพื้นดิน หรือเรียกว่า เสาหนวดกุ้ง เสาก้างปลา รบั ชมชอ่ ง 3, 5, 7, 9, 11 และไอทีวี (ไทยพีบเี อส ปัจจุบัน) เมอ่ื กอ่ นในระบบ แอนะลอ็ ก หรือตดิ กลอ่ งแปลงสัญญาณ เปลี่ยนเครื่องเป็นรุ่นใหม่ หันมารับดิจิทัลทีวี รับชมช่อง ตา่ งๆ ไดเ้ พมิ่ มากขน้ึ ตา่ งกเ็ ปน็ การรบั ชมแบบฟรี ไมม่ คี า่ ใช้ จ่าย ซ่ึงหมายถึง การไม่มีค่าใช้จ่ายเพ่ิมเติมจากการ ตดิ ตงั้ อปุ กรณโ์ ดยผบู้ รโิ ภครบั สญั ญาณโดยตรงผา่ นทางการ สง่ สญั ญาณของชอ่ งรายการดว้ ยเสาภาคพน้ื ดนิ นน่ั เอง สว่ น การรับสัญญาณด้วยระบบอื่น ไม่ว่าจะเป็นผ่านดาวเทียม ผ่านสายเคเบิล (เคเบิลใยแก้วน�ำแสงหรือเคเบิลทองแดง) ผ่านไอพี (Internet Protocal) ซ่ึงเป็นระบบที่สามารถ จ�ำกัดการเข้าถึงได้ มีเงื่อนไขการเข้าถึงได้ โดยให้อนุญาต เฉพาะสมาชิกที่ติดต้ังอุปกรณ์และได้รับสิทธิการเข้าถึงจึง เข้าชมรายการได้เท่านั้น โดยแต่เดิมส่วนใหญ่มีการเก็บ 59

ค่าบริการสมาชิก ไม่ว่าจะเป็นหลักพัน (กิจการระดับ ประเทศ) หรือหลักร้อย (กิจการในพื้นที่) แต่ในปัจจุบัน มีท้ังแบบขายขาด ไม่ต้องเสียเงิน และแบบเก็บค่าบริการ สมาชิก ซึ่งสังเกตได้ว่า กิจการแบบมีเงื่อนไขการรับชมน้ี จะมชี อ่ งรายการมากกวา่ การรบั ชมโดยตรงดว้ ยเสาภาคพน้ื ดนิ เพราะกิจการประเภทนี้ มีผู้ประกอบกิจการโครงข่าย ทำ� หนา้ ทใี่ นการรวมชอ่ งรายการ และสง่ สญั ญาณใหบ้ รกิ าร เราผ่านดาวเทียม ผ่านสาย และผา่ นไอพนี ั่นเอง สรปุ วา่ เราในฐานะผบู้ รโิ ภคกต็ อ้ งรแู้ ละเขา้ ใจในเรอ่ื ง การเก็บค่าสมาชิก เพื่อให้สามารถเลือกรับบริการได้อย่าง เหมาะสมกับความต้องการ คือ 1) ฟรีทีวี คือ โทรทัศน์ที่ ตดิ ตง้ั อปุ กรณแ์ ลว้ กส็ ามารถรบั ชมไดฟ้ รี ไมม่ รี ายเดอื น โดย อาจติดเสาหนวดกุ้ง/ก้างปลา ก็สามารถรับชมช่อง เช่น 3,5,7,9,11 ไทยพีบีเอส เป็นต้น ได้ฟรี หรือเราซื้อ จานดาวเทยี มและกล่องแบบขายขาด ก็รับชมชอ่ งรายการ ท้ังของไทยและเทศได้ฟรีเช่นกัน และ 2) แบบบอกรับ สมาชิก มีค่าใช้จ่าย จ่ายแล้วจึงได้ดู หรือท�ำสัญญาผูกพัน จา่ ยกนั เปน็ รายเดอื น/รายปี หรอื เปน็ แบบสง่ั ซอ้ื เฉพาะชอ่ ง หรอื เฉพาะรายการกม็ ี 60

วิทยุ-โทรทศั น์มปี ระเภทอะไร ใหเ้ ลือกบา้ ง ผู้บริโภคจะได้รับสื่อวิทยุ-โทรทัศน์ ท่ีมีความ หลากหลายของเนื้อหาท่ีจะตอบสนองต่อความต้องการท่ี แตกตา่ งได้ ไมว่ า่ จะเปน็ สาระประโยชนห์ รอื ความบนั เทงิ ซง่ึ กฎหมายระบใุ ห้ กสทช. แบง่ ประเภทของวทิ ย-ุ โทรทศั น์ ดงั น้ี บรกิ ารสาธารณะ เน้นการมีข้อมูลข่าวสารท่ีเป็นสาระประโยชน์ ท้ังทางด้าน การศกึ ษา การเกษตร การสง่ เสรมิ ความมนั่ คง การสรา้ ง ความเขา้ ใจระหวา่ งรฐั บาลกบั ประชาชน ฯลฯ บริการทางธรุ กจิ สามารถให้ความบันเทิง ไม่ว่าจะเป็นรายการละคร วาไรตี้ เกมโชว์ ฯลฯ ไดอ้ ยา่ งหลากหลายและสามารถมโี ฆษณาได้ บริการชุมชน เป็นการให้ข้อมูลข่าวสาร บริการสาธารณะ มีหลักการว่า “ของชมุ ชน โดยชุมชน เพ่ือชุมชน“ 61

เราจะต้องคิดถึงอะไรบ้าง ถ้าจะเลอื กชมโทรทัศน์ การเลอื กรับชมโทรทัศน์ตอ้ งดทู ่คี วามต้องการ และ ข้อดี ข้อด้อยของโทรทัศน์แต่ละประเภท เพราะปัจจุบันมี บรกิ ารใหเ้ ลือกมากมาย โดยอาจตง้ั ค�ำถามกับตวั เองว่า 1. ต้องการให้มีช่องรายการอะไรบ้าง ชอบดูละคร กีฬา สารคดี หรอื รายการประเภทใด กเ็ ลอื กรบั บรกิ ารทมี่ ี ชอ่ งรายการตา่ ง ๆ นน้ั 2. ในพน้ื ทม่ี บี รกิ ารอะไรใหเ้ ลอื กบา้ ง เพราะในบางพน้ื ที่ กม็ ขี อ้ จำ� กดั ของสญั ญาณภาคพน้ื ดนิ ไมส่ ามารถใชเ้ สาหนวดกงุ้ หรอื กา้ งปลาไดค้ มชดั 3. เต็มใจจะเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมได้หรือไม่ และ สะดวกจ่ายเงินแบบไหนเพราะบริการของเคเบิลทีวีหรือ 62

กล่องรบั สัญญาณดาวเทียมบางราย ดไู ดฟ้ รีไมก่ ี่ชอ่ ง ถ้าจะ ดเู พิ่มก็เสียค่าใชจ้ ่าย คนทุกคนควรเข้าถึงส่ือ วิทย-ุ โทรทัศน์ได้ ใชห่ รือไม่ ผู้บริโภคทุกคนในฐานะผู้รับสื่อวิทยุ-โทรทัศน์ ควรได้รับชมโทรทัศน์ ฟังวิทยุได้โดยมีข้อจ�ำกัดที่น้อยท่ีสุด ไมว่ า่ จะอยใู่ นพน้ื ทใี่ ดของประเทศไทย ประกอบอาชพี อะไร มีรายได้เท่าไร มีเชื้อชาติ นับถือศาสนาหรือมีความสนใจ ในเร่ืองใด ก็ควรรับชมโทรทัศน์ ฟังวิทยุ ท่ีมีความ หลากหลายตรงกับความต้องการ ไม่โน้มเอียง หรือชักจูง โดยกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เพราะเราเชื่อว่าการได้รับข้อมูล ขา่ วสารผา่ นทางสอ่ื วทิ ย-ุ โทรทศั น์ อยา่ งเขา้ ใจและรเู้ ทา่ ทนั จะช่วยให้เรามีความรู้และมีทักษะในการด�ำเนินชีวิตท่ีดีได้ หรือหากต้องการ ก็ควรจะสามารถเข้าถึงส่ือท่ีสร้าง ความบนั เทิงท่เี หมาะสมได้ด้วย 63

โทรทัศน์ในระบบดิจิทัล (ทีวีดิจิทัล) ทำ� อยา่ งไรถึงจะดไู ด้ 1. ใชก้ ลอ่ งรบั สญั ญาณทวี ดี จิ ทิ ลั หรอื Set Top Box ทสี่ ามารถรบั สญั ญาณได้ ไมว่ า่ จะใชท้ วี รี นุ่ ไหนกต็ าม จะเกา่ จะใหม่กส็ ามารถดไู ด้หมด 2. ใช้ทีวีท่ีรองรับระบบดิจิทัล ทั้งน้ีปัจจุบันทีวีใหม่ ทุกรุ่นจะรองรับระบบดิจิทัลอยู่แล้ว แต่หากต้องการใช้ทีวี เคร่ืองเก่าท่ีบ้านที่ไม่ใช่ทีวีดิจิทัลและยังไม่มีกล่องรับ สัญญาณ Set Top Box ก็ยังสามารถรับชมฟรีทีวีเหมือน เดิมได้ โดยผ่านการส่งสัญญาณแบบแอนะล็อกที่ใช้อยู่ ณ ปจั จบุ นั ซง่ึ ประชาชนสามารถรบั ชมรายการโทรทศั นภ์ าค พ้ืนดินในระบบแอนะล็อกและดิจิทัลควบคู่กันไปจนถึงปี 2563 3. ถา้ ทบี่ า้ นใชจ้ านรบั สญั ญาณดาวเทยี มในระบบใด ก็ตามจะสามารถรับชมทวี ีดจิ ทิ ัลได้ตามปกติ 64

65

ระบบผังรายการทวี ดี จิ ทิ ลั ขณะน้รี ะบบผังรายการทวี ีดิจิทัลหรอื DTV Guide สามารถแสดงชอื่ รายการพรอ้ มท้งั บริการพเิ ศษต่าง ๆ และ เรายงั สามารถคน้ หารายการจากบรกิ ารพเิ ศษทเี่ ราตอ้ งการ ดูได้แล้ว ซึ่งเหมาะกับคนทั่วไปและคนพิการที่ต้องการ ค้นหารายการทีเ่ หมาะกับตวั เอง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 ท่ีผ่านมา ส�ำนักงาน กสทช. ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลของผังรายการสำ� หรับทวี ี ดิจิทัล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกรอกผังรายการของ ผใู้ หบ้ รกิ ารชอ่ งทวี ดี จิ ทิ ลั รวมทง้ั รองรบั ขอ้ มลู ทเ่ี พมิ่ เตมิ หรอื รองรับการใช้งานในอนาคต โดยก�ำหนดให้เพิ่มข้อมูลระบุ ว่าแต่ละรายการมีบริการพิเศษอะไรบ้าง ซ่ึงจะเป็น ประโยชนก์ บั ผรู้ บั ชมอยา่ งมาก จะทำ� ใหร้ หู้ รอื คน้ หารายการ ที่ตวั เองอยากดูได้สะดวกขนึ้ บรกิ ารพเิ ศษ ไดแ้ ก่ 1. เสยี งบรรยายภาพ (Audio Description) สำ� หรบั คนตาบอด 66

2. คำ� บรรยายแทนเสยี ง (Closed Caption) สำ� หรบั คนหูหนวก 3. ล่ามภาษามือ (Sign Language) ส�ำหรับ คนหูหนวก 4. ค�ำบรรยายใตภ้ าพ (Subtitles) 5. ระบบเสยี งหลายภาษา (Multi-language Audio) ระบบผงั รายการทวี ดี จิ ิทัล (DTV GUIDE) ทำ� อะไรไดบ้ ้าง? 1. ตรวจสอบผงั รายการทวี ีดจิ ทิ ัลไดท้ กุ แพลตฟอรม์ ทัง้ บนเว็บไซต์ และบนมอื ถอื (Android/iOS) 2. ค้นหารายการโทรทัศน์ จากชื่อรายการ ช่องรายการ วัน เวลา หรือคียเ์ วิร์ดอ่นื ๆ 3. ตง้ั คา่ ชอ่ งโปรด เพอ่ื ตดิ ตามผงั รายการอยา่ งใกลช้ ดิ 4. ตง้ั เตอื นกอ่ นถงึ เวลารายการโปรด ทำ� ใหไ้ มพ่ ลาด รายการส�ำคัญ ๆ ท่านสามารถใช้งานระบบผ่านทาง http:// dtvguide. nbtc.go.th หรอื สามารถดาวนโ์ หลด Mobile Application ได้จาก Google Play และ Play Store 67

การหลอมรวมสือ่ การหลอมรวมสอื่ (Media Convergence) เกดิ จาก ความก้าวหน้าของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการส่ือสาร โทรคมนาคม ทำ� ใหเ้ กดิ สงั คมสารสนเทศ เกดิ การผสมผสาน กลมกลืน หรือการหลอมรวมกันของส่ือต่าง ๆ โดยหลอม รวมเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยีส่ือสารมวลชน ทั้งวิทยุ-โทรทัศน์ ส่ิงพิมพ์ ภาพยนตร์ เนอื้ หาทงั้ สาระและบนั เทงิ เขา้ ดว้ ยกนั กลายเปน็ ส่อื ใหม่ (New Media) เพอ่ื ก้าวข้ามข้อจำ� กัดเร่ืองเวลาและ 68

ระยะทาง และผใู้ ชส้ ามารถมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั เนอ้ื หา สามารถ ก�ำหนดเนื้อหา รูปแบบการใช้ประโยชน์ด้วยตนเอง ท�ำให้สอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ และสอื่ สงั คมออนไลนไ์ ดร้ บั ความนยิ ม ใชเ้ ปน็ ชอ่ งทางในการบรโิ ภคขา่ วสารของคนในสงั คมมากขนึ้ สอื่ วทิ ย-ุ โทรทศั นต์ อ้ งปรบั ตวั เองเขา้ สยู่ คุ ของการหลอมรวมสอื่ ผบู้ รโิ ภคจากสอ่ื ใหมม่ กั ใชช้ วี ติ อยกู่ บั หนา้ จอเปน็ หลกั ทั้งในการท�ำงานและการใช้ชีวิต ปล่อยตัวตนให้อยู่ใน โลกโซเชียลมากกว่าชีวิตจริง ท�ำให้โปรแกรมท่ีเข้าถึงโลก โซเชยี ล เชน่ เฟซบกุ๊ ทวติ เตอร์ อนิ สตาแกรม มบี ทบาทมาก ในการสร้างตัวตนใหม่ ภาพลักษณ์ใหม่ หรือแม้แต่ การหลบลตี้ วั เองออกไปจากโลกแหง่ ความเปน็ จรงิ เขา้ สโู่ ลก ของภาพลวงตาที่คิดไปเองว่าจริง ผู้รับสารในยุคนี้จึงให้ ความส�ำคัญกับอารมณ์ ความรู้สึกและภาพลักษณ์ของ ตนเองมากเป็นพเิ ศษ การส่ือสารผ่านเทคโนโลยีในปัจจุบันท่ีส่งผลให้ ผบู้ รโิ ภค เขา้ ไปอยใู่ นโลกเสมอื นจรงิ มากขน้ึ นที้ ำ� ใหโ้ ซเชยี ล มีเดียทุกรูปแบบในสังคมปัจจุบันมีพลังมากข้ึน การเข้าถึง ผู้รับสารในโลกยุคนี้ จงึ จำ� เป็นตอ้ งไร้ลำ� ดบั ข้นั ไรพ้ รมแดน และล่ืนไหลตามไปด้วย ดังนั้นการหลอมรวมเทคโนโลยี 69

สื่อจึงเป็นการพัฒนาเข้ามาใกล้กันของเทคโนโลยีที่มี ลักษณะเป็นการวิวัฒนาการมาพบกันของเทคโนโลยี หลัก 3 ประเภท คือ เทคโนโลยีการแพร่ภาพ เทคโนโลยี การพิมพ์ และเทคโนโลยีส่ือสารโทรคมนาคมเพื่อเข้าถึง ผู้บริโภค โดยมี การปรับแต่งเน้ือหาเพื่อให้เข้ากับรสนิยม ด้วยพื้นฐานจากพฤติกรรมผู้บริโภค ปรับให้เป็นไปตาม วัฒนธรรมและความหลากหลายของผู้บริโภค โดยใช้ เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์คือเผยแพร่สื่อแบบดิจิทัลเพ่ือ ขยายเน้อื หาไปสู่ผบู้ ริโภค การผลิตส่ือเพ่อื สง่ สารจึงจำ� เป็น ต้องมีความรู้ด้านดิจิทัล และทันสมัยอยู่ตลอดเวลาจาก ช่องทางเทคโนโลยใี หม่ ๆ 70

สิทธิการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ของผู้บริโภคสอื่ วิทยุ – โทรทัศน์ สิทธิการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ของผู้บริโภคส่ือวทิ ย-ุ โทรทศั น์ ประชาชนทุกคนในฐานะผู้รับส่ือควรได้รับส่ือ วิทยุ-โทรทัศน์ท่ีเป็นส่ือหลักในการน�ำเสนอข้อมูลข่าวสาร และความบันเทงิ ตา่ ง ๆ อยา่ งเท่าเทยี มกนั การไดร้ ับขอ้ มูล ขา่ วสารผา่ นทางสอื่ หลกั อยา่ งเขา้ ใจ และรเู้ ทา่ ทนั จะชว่ ยให้ ประชาชนมีความรู้ และมีทักษะใน การด�ำเนินชีวิตที่ดีได้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 หมวดท่ี 3 ได้กล่าวถึงสิทธิเสรีภาพของคนไทยท่ีเก่ียวข้องกับ การสื่อสารมวลชนไว้ดงั นี้ มาตรา 34 บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความ คิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา และ การสอ่ื ความหมายโดยวธิ อี น่ื การจำ� กดั เสรภี าพดงั กลา่ วจะ กระท�ำมิได้เว้นแต่โดยอาศัยอ�ำนาจตามบทบัญญัติแห่ง กฎหมายทตี่ ราขึ้นเฉพาะเพ่ือรักษา ความม่นั คงของรฐั เพ่ือ 71

คมุ้ ครองสทิ ธหิ รอื เสรภี าพของบคุ คลอนื่ เพอ่ื รกั ษาความสงบ เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือเพื่อป้องกัน สขุ ภาพของประชาชน มาตรา 35 บคุ คลซงึ่ ประกอบวชิ าชพี สอื่ มวลชนยอ่ ม มีเสรีภาพในการเสนอข่าวสารหรือการแสดงความคิดเห็น ตามจรยิ ธรรมแหง่ วิชาชพี มาตรา 41 บคุ คลและชมุ ชนย่อมมีสิทธิได้รบั ทราบ และเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของ หน่วยงาน ของรัฐตามท่ีกฎหมายบัญญัติ เสนอเร่ืองราว รอ้ งทกุ ขต์ อ่ หนว่ ยงานของรฐั และไดร้ บั แจง้ ผลการพจิ ารณา โดยรวดเร็ว ฟ้องหน่วยงาน ของรัฐให้รับผิด เนื่องจาก การกระท�ำหรือการละเว้นการกระท�ำของข้าราชการ พนักงาน หรือลกู จา้ งของหนว่ ยงานของรัฐ ดังนัน้ ผ้บู ริโภคมีสทิ ธทิ ่จี ะได้รับข้อมูลขา่ วสารอยา่ ง เท่าเทียมกันตามท่ีได้มีการรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ มีเสรีภาพใน การแสดงความคิดเห็นภายใต้กรอบ รัฐธรรมนูญ และประชาชนมีสิทธิท่ีได้รับทราบและเข้าถึง ส่ือและข้อมูลขา่ วสาร 72

สิทธิการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของผู้บริโภคส่ือ วิทยุ-โทรทัศน์ เป็นสิทธิด้านการส่ือสารของประชาชน ผู้บริโภคสื่อวทิ ยุ – โทรทศั น์ทมี่ ุง่ เนน้ ใหเ้ กิดการเขา้ ถงึ หรอื รับรู้ข้อมูลข่าวสารอย่างท่ัวถึงและเสมอภาค มีข้อมูล ข่าวสารท่ีหลากหลาย โดยปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารและโทรคมนาคมได้ก้าวเข้าสู่ “ยุคหลอมรวม เทคโนโลยี” (Convergence Technology Media Era) มีการหลอมรวมเทคโนโลยี และส่ือในรูปแบบต่าง ๆ ที่เข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจ�ำวันของผู้คนในสังคม หลากหลายด้าน โดยเฉพะอย่างยิ่งบทบาทในด้าน การส่ือสาร จากคุณสมบัติดังกล่าวเป็นผลให้จ�ำนวนผู้ใช้ ส่ือใหม่ในยุคหลอมรวมเทคโนโลยีเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว รวมทง้ั ผใู้ ชก้ ม็ เี สรภี าพสงู ในการกำ� หนดเนอื้ หาและรปู แบบ การใช้ประโยชน์จากสื่อใหม่ดังกล่าว ผ่านช่องทาง การสอื่ สาร และการโทรคมนาคมทหี่ ลากหลาย แต่อย่างไร ก็ตาม แม้บุคคลท่ัวไปจะสามารถเข้าถึง และใช้ประโยชน์ จากสื่อใหม่ในยุคหลอมรวมเทคโนโลยี แต่ยังมีบุคคล อีกกลุ่ม คือ คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาสท่ียังไม่ สามารถเขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชนจ์ ากสอื่ ใหมใ่ น ยคุ หลอมรวม 73

เทคโนโลยีได้อย่างเต็มท่ีหรือไม่สามารถเข้าถึงได้เลย เนื่องจากข้อจ�ำกัดทางด้านเศรษฐกิจและโอกาส ท�ำให้ บุคคลเหล่านี้ขาดโอกาสในการพัฒนาตนเอง และใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยี ต่าง ๆ ในการยกระดับคุณภาพ ชีวิตของตนเองให้ดีขึ้น ซ่ึงถือเป็นปัญหาความเหล่ือมล�้ำ ทางดิจิทัล (Digital Divide) อนั เปน็ ปญั หาสำ� คญั ในหลาย ประเทศ รวมทง้ั ประเทศไทยดว้ ย รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 หมวดที่ 3 มาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา 41 ผบู้ รโิ ภคมสี ทิ ธท์ิ จ่ี ะไดร้ บั ขอ้ มลู ขา่ วสารอยา่ งเทา่ เทยี มกนั มเี สรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ ภายใตก้ รอบรฐั ธรรมนญู 74

การคุ้มครองสิทธิในการเข้าถึง ขอ้ มลู ขา่ วสารของคนทุกกล่มุ สทิ ธกิ ารเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสารผา่ นสอื่ วทิ ยุ – โทรทศั น์ เป็นสทิ ธทิ ี่จะทำ� ให้ประชาชน ผูบ้ รโิ ภคส่ือฯ สามารถเข้าถึง หรือรับรู้ และใช้ประโยชน์จากส่ือวิทยุ – โทรทัศน์ ซ่ึง ส่วนหน่ึงเป็นการใช้คลื่นความถ่ีท่ีถือเป็นทรัพยากรส่ือสาร ของชาติ โดยผบู้ รโิ ภคสอื่ ฯ จำ� เปน็ ตอ้ งมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความตระหนกั และคมุ้ ครองสทิ ธกิ ารเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสารของตนเอง ทงั้ นสี้ ทิ ธดิ งั กลา่ ว ประกอบดว้ ย 5 มติ ิ คอื สทิ ธกิ ารเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสารโดยไมม่ ขี อ้ จำ� กดั ดา้ นพน้ื ที่ การท�ำให้ส่ือวิทยุ – โทรทัศน์ มีความครอบคลุมพ้ืนท่ีให้ มากทสี่ ดุ เกิดความทว่ั ถึงของสือ่ ทหี่ ลากหลาย กลา่ วคือ ในพ้นื ที่ ต่าง ๆ ผู้บริโภคส่ือฯ ต้องสามารถเข้าถึงส่ือวิทยุ–โทรทัศน์ด้วย ชอ่ งทางใดชอ่ งทางหนง่ึ เปน็ อยา่ งนอ้ ย ซง่ึ ปจั จบุ นั การมเี ทคโนโลยี ช่วยให้การส่งสัญญาณแพร่ภาพกระจายเสียงมีรูปแบบท่ี หลากหลาย ประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้บริการได้ในพื้นที่ ต่าง ๆ ได้อย่างครอบคลุม อย่างไรก็ตาม สื่อโทรทัศน์ใน 75

ระบบดิจิทัลถือเป็นกิจการพ้ืนฐานท่ีประชาชนในทุกพื้นที่สมควร เข้าถึงได้ด้วยอุปกรณ์พ้ืนฐาน ซ่ึงสะท้อนให้เห็นว่าภาครัฐมี การก�ำหนดนโยบายสนับสนุนประชาชนในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ การรบั ชมโทรทศั นภ์ าคพนื้ ดนิ ในระบบดจิ ทิ ลั ดำ� เนนิ การสนบั สนนุ สิทธิคูปองให้ครัวเรือนทั่วประเทศเพื่อแลกซื้ออุปกรณ์กล่อง Set Top Box กรณที อ่ี ยอู่ าศยั แนวราบ ติดเสาอากาศแยกอสิ ระ ได้เอง กรณีที่อยู่อาศัยแนวสูง ส่วนใหญ่รับชมท้ังตึก ผ่านระบบ สายเคเบิลภายในท่ีจัดการด้วยระบบทีวีรวมแอนะล็อก เม่ือมี การยุติระบบแอนะล็อก เปลี่ยนระบบออกอากาศทีวีเป็นระบบ ดจิ ทิ ลั สามารถตอบโจทย์ได้ สิทธิการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร โดยไมม่ ขี อ้ จำ� กดั ทางกายภาพ สอ่ื วทิ ยุ – โทรทศั น์ ใชก้ ารเขา้ ถงึ ข้อมูลข่าวสารด้วยการเห็นและ การไดย้ นิ เชน่ คนพกิ ารดา้ นการเหน็ คนตาบอด คนสายตาเลือนราง) คนพิการด้านการได้ยิน หรือส่ือ ความหมาย (คนหูหนวก คนหูตึง) หรือคนท่ีมีภาวการณ์ไม่สามารถ 76

เขา้ ถงึ ได้ เชน่ ผสู้ งู อายุ ผทู้ อ่ี ยใู่ นพนื้ ทสี่ าธารณะ เปน็ ตน้ ทงั้ น้ี การมีข้อจ�ำกัดทางกายภาพเป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึง หรือรับรู้และใช้ประโยชน์จากส่ือวิทยุ – โทรทัศน์ โดยการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิจึงเป็นการก�ำหนด นโยบายใน 2 มิติ คอื 2.1 การพัฒนาเทคโนโลยีการบริการ ในรายการ ทวั่ ไปเพอ่ื ใหค้ นทมี่ ขี อ้ จำ� กดั ดา้ นการเหน็ การไดย้ นิ สามารถ เข้าถึงข้อมูลขา่ วสารได้อย่างเทา่ เทยี ม เปน็ การลดข้อจำ� กัด จากความพิการ การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของกลุ่มเฉพาะ โดยมีเทคโนโลยีที่จะช่วยส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ของคนพิการ แบง่ ออกเปน็ 3 ลักษณะ ไดแ้ ก่ AD = Audio Description (เสยี งบรรยายภาพ) CC = Closed Captions (ค�ำบรรยายแทนเสียงแบบเปิด-ปิดได้) และ SL = Sign Language Interpretation (การลา่ มภาษามอื ) คนพกิ ารไดร้ บั การสง่ เสรมิ จากหนว่ ยงานภาครฐั และ เอกชนในหลาย ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นการส่งเสริมด้าน การศึกษา บริการสาธารณะ การคมนาคมขนสง่ ท่ีสามารถ เดนิ ทางไดส้ ะดวก รวมไปถงึ การสง่ เสรมิ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 77

ในด้านต่าง ๆ ด้วยเช่นกัน เช่นเดียวกับการเข้าถึงสื่อท่ีถือ เป็นสิทธิข้ันพ้ืนฐานของประชาชน ทุกคนที่จะต้องได้รับ และเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอย่างครบถ้วน โดยเฉพาะสื่อ โทรทศั น์ การเขา้ ถงึ และเพ่มิ ทางเลือกส�ำหรบั คนพิการจึงมี มากข้ึนตามมาด้วย โดยเฉพาะคนพิการทางการได้ยินและ การมองเหน็ จงึ ไดเ้ กิดบริการเสยี งบรรยายภาพ (AD) และ บริการ ค�ำบรรยายแทนเสียง (CC) ข้ึน ท�ำให้คนพิการ ทางการมองเหน็ และการไดย้ นิ สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสาร และไดร้ บั การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ไดด้ ยี ง่ิ ขน้ึ กสทช. ในฐานะ หน่วยงานที่ก�ำกับดูแลกิจการกระจายเสียงและกิจการ โทรทัศน์โดยตรง ได้ออกประกาศเกี่ยวกับมาตรการ พื้นฐานเพ่ือส่งเสริมการคุ้มครองสิทธิของคนพิการใน การเขา้ ถงึ โทรทศั นร์ ะบบดจิ ทิ ลั เพอื่ ใหค้ นพกิ ารสามารถเขา้ ถึงส่ือโทรทัศน์ได้ โดยก�ำหนดให้ช่องดิจิทัลทีวีต่าง ๆ ท่ีได้ รับใบอนุญาตประกอบกิจการ จะต้องจัดให้มีบริการล่าม ภาษามือ (SL) เสียงบรรยายภาพ (AD) และค�ำบรรยาย แทนเสียง (CC) ในรายการข่าวสาร สาระ ความบันเทิง ท่ีเผยแพร่ออกสู่สาธารณะซึ่งจะต้องมีการน�ำเสนอเน้ือหา ตา่ ง ๆ 78

2.2 การพฒั นารายการเพอื่ ลดขอ้ จำ� กดั ทางกายภาพ หรือการออกแบบรายการส�ำหรับทุกคน ท้ังนี้ มีลักษณะ การด�ำเนินการเชิงการส่งเสริมให้เกิดการคุ้มครองสิทธิการ 79

เขา้ ถงึ ลดขอ้ จำ� กัด ทางกายภาพ เช่น การพฒั นารายการ โดยปรับปรุงบทพูดให้มี การบรรยายภาพ ใช้เสียงร่วมกับ ภาพให้มากที่สุด หรือการผลิตรายการท่ีมีภาษามือเต็มจอ โดยมีเสยี งบรรยายในชว่ งท่มี ีภาษามือนน้ั ประกอบไปด้วย สทิ ธกิ ารเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสารทเ่ี ปน็ ประโยชน์ และหลากหลาย กลุ่มคนทุกกลุ่มในสังคมมีสิทธิท่ีจะได้รับข้อมูล ข่าวสารที่หลากหลายตามความสนใจ และเชื่อมโยงกับ ตนเองไดอ้ ยา่ งเทา่ เทยี มกนั ไมว่ า่ จะมลี กั ษณะประชากรเปน็ อย่างไร อาศัยอยภู่ ูมิล�ำเนาไหนก็ตาม ซึง่ สะทอ้ นใหเ้ ห็นใน รูปแบบของนโยบายเชิงโครงสร้างสื่อที่ก�ำหนดเป็นระดับ CC SL คำ� บรรยายแทนเสียง 80

ของพื้นท่ีคือ ระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น เพื่อตอบสนองสิทธิของประชาชนตามลักษณะภูมิศาสตร์ นอกจากน้ีกลุ่มคนที่มีลักษณะเฉพาะใด ๆ ก็มีสิทธิที่จะได้ รบั ขอ้ มลู ขา่ วสารเพอื่ การสอ่ื สารเฉพาะกลมุ่ หรอื การสอ่ื สาร ขอ้ มูลขา่ วสารของกลุม่ ไปยังสังคมท่วั ไป เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ และการเคารพซงึ่ ความแตกตา่ งหลากหลายใน สงั คมประชาธิปไตย เช่น กลุ่มคนพิการ กลมุ่ ชาติพันธุ์และ ชนเผ่าพื้นเมือง กลุ่มคนท่ีมีความหลากหลายทางเพศ กลมุ่ เด็กและเยาวชน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ใช้แรงงาน ฯลฯ ซ่ึง สะทอ้ นออกมาในรปู แบบของการกำ� หนดใหร้ ายการมคี วาม แตกตา่ งหลากหลาย เชน่ รายการสง่ เสรมิ อาชพี รายการให้ ความรู้ทางการเกษตร รายการท่ีมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์และวฒั นธรรม เปน็ ตน้ ด้วยสิทธิในการส่ือสารยังคงจ�ำกัดอยู่ท่ีคนบางกลุ่ม ทำ� ใหผ้ บู้ รโิ ภคสอ่ื จำ� นวนหนง่ึ อาทิ คนพกิ าร คนสงู อายุ เดก็ และเยาวชน สตรี กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ แรงงาน ความหลากหลาย ทางเพศ ฯลฯ ซึ่งส่งผลให้ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ได้ ท้ังจากความพิการ ประสิทธิภาพทางด้านร่างกาย และความดอ้ ยโอกาสทางสังคม ซ่งึ ถือว่าเปน็ การถูกละเลย 81

สทิ ธใิ นฐานะผบู้ รโิ ภคสอ่ื วทิ ย-ุ โทรทศั น์ ดงั นนั้ การเปดิ พน้ื ที่ ให้คนกลุ่มนี้เข้าถึงได้มากข้ึนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ หรือ การมีเน้ือหาที่หลากหลายตอบสนองต่อความต้องการของ กลุ่มต่าง ๆ ให้มีพื้นที่ในการแสดงถึงเน้ือหาในอัตลักษณ์ ของตน หรือมีสิทธิที่จะได้รับความรู้จากเนื้อหาอย่าง เท่าเทียมและเป็นประโยชน์ต่อการด�ำรงชีพ เช่น รายการ สง่ เสริมอาชีพ รายการใหค้ วามรูท้ างการเกษตร รายการที่ มีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เป็นต้น จึงเป็นสิทธิท่ีส�ำคัญท่ีส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ประการหนึ่ง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนซง่ึ ถอื เปน อนาคต ที่สําคัญของชาติ และยิ่งในปัจจุบันการส่ือสารเข้ามามี บทบาทอยา่ งมาก การศกึ ษาเรยี นรจู้ ากสอื่ ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะ วิทยุ-โทรทัศน ถือเปนอีกปจจัยสําคัญและเปนแรง ขับเคล่ือนท่ีจะน�ำพาใหคนท้ังชาติไดพัฒนา อยางไรก็ตาม การจะผลกั ดนั ใหเ กดิ การเรยี นรไู ดด จี าํ เปน ตอ งพงึ่ พาอาศยั ความรว่ มมอื ของทกุ ภาคสว นหรอื หมายรวมพวกเราทกุ คน ทจ่ี ะชว ยกนั สรา งสรรคส งั คมทด่ี งี ามใหอ้ ยคู่ กู่ บั สงั คมไทยไป อกี ยาวนาน ดา้ นชอ งทางการสอื่ สาร มหี ลกั เกณฑส าํ คญั ใน เร่ืองสัดสวนรายการสําหรับเด็กใหมีความเพียงพอ 82

ตอ่ เยาวชน และตอบสนองการเขา ถงึ ของเดก็ ไดม ากขน้ึ จดั ผังรายการที่เน้นประโยชน์ต่อเด็กแต่ต้องมีการน�ำเสนอที่ นา่ สนใจ รวมทงั้ จดั สรรพนื้ ที่ คลนื่ วทิ ยใุ นระดบั ภมู ภิ าค และ ก�ำหนดเนื้อหาให้สอดคล้องกบั บรบิ ทต่าง ๆ สทิ ธกิ ารเขา้ ถงึ สอ่ื วทิ ย-ุ โทรทศั น์พ้ืนฐานและ ไมเ่ ปน็ ภาระ การสง่ เสรมิ การเขา้ ถงึ สอื่ วทิ ย–ุ โทรทศั นพ์ น้ื ฐานเปน็ การส่งเสริมให้ประชาชน ผู้บริโภคส่ือฯ สามารถรับขอ้ มลู ข่าวสารท่ีเป็นประโยชน์สาธารณะ โดยไม่เป็นภาระด้าน คา่ ใชจ้ า่ ยและดา้ นอนื่ ๆ ซ่งึ มแี นวนโยบายท่ีเกย่ี วขอ้ ง เช่น 4.1 หลักเกณฑ์การเผยแพร่กิจการโทรทัศนท์ที่ให้ บริการเป็นการท่ัวไป ก�ำหนดให้รายการใน “ฟรีทีวี” ซ่ึง หมายถึงกิจการโทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบดิจิทัล ที่เมื่อ 83

ติดต้ังอุปกรณ์แล้วจะไม่มีเงื่อนไข หรือภาระค่าใช้จ่ายใน การรับชม เน่ืองจากถือเป็นกิจการที่สาธารณชนต้อง สามารถเข้าถึงได้ในฐานะเป็นบริการพื้นฐานที่ใช้คลื่น ความถี่ที่เป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติ จึงต้องสามารถ รับชมได้ผ่านทุกช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นภาคพื้นดินเองหรือ ระบบผ่านดาวเทียม หรือเคเบลิ ทีวี 4.2 การออกอากาศรายการท่ีเป็นรายการส�ำคัญ โดยผบู้ รโิ ภคส่อื ฯ จะตอ้ งสามารถรบั ชมได้โดยไม่เป็นภาระ เพิ่มเติม หรือกฎ Must have นั่นคือการก�ำหนดให้ เหตุการณ์หรือกีฬาส�ำคัญ เช่น รายการถ่ายทอดสด การแข่งขันกีฬาต่างประเทศ ได้แก่ 1) การแข่งขันกีฬา ระหว่างประเทศในกลุ่มเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือกีฬา ซีเกมส์ (South-East Asian Games, SEA Games) 2) การแขง่ ขนั กฬี าสำ� หรบั นกั กฬี าคนพกิ ารอาเซยี นพาราเกมส์ (ASEAN Para Games) 3) การแขง่ ขนั กฬี าระหวา่ งประเทศ ในทวีปเอเชีย หรือเอเชียนเกมส์ (Asian Games) 4) การแข่งขันกีฬาส�ำหรับนักกีฬาคนพิการเอเชียนพารา เกมส์ (Asian Para Games) 5) การแขง่ ขันกฬี าโอลิมปกิ (Olympic Games) 6) การแข่งขันกีฬาส�ำหรับคนพิการ 84

หลายประเภทจากทว่ั โลก หรอื กฬี าพาราลมิ ปกิ (Paralympic Games) 7) การแข่งขันฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย (FIFA World Cup Final) จะต้องถ่ายทอดผ่านฟรที วี ี เพื่อไมใ่ ห้ เป็นภาระแก่ผู้บริโภคในการต้องสมัครสมาชิกและ เสียคา่ ใชจ้ า่ ยเพิ่มเตมิ ในการเขา้ ถงึ ข้อมูลขา่ วสารส�ำคัญนน้ั นอกจากนี้ ความไม่เป็นภาระยังเก่ียวข้องกับ การเปล่ียนแปลงระบบเทคโนโลยีการออกอากาศ เม่ือภาครัฐมีนโยบายให้เกิดการเปลี่ยนผ่าน ก็จ�ำเป็นท่ีจะ ต้องสนับสนุนให้ประชาชนสามารถเปล่ียนผ่านการรับชม โทรทัศน์ในระบบดิจิทัลได้ โดยไม่เป็นภาระเกินสมควร ดงั เชน่ การดำ� เนนิ การเกย่ี วกบั การมคี ปู องเพอ่ื นำ� ไปแลกซอ้ื หรือเป็นส่วนลดส�ำหรับอุปกรณ์การรับโทรทัศน์ในระบบ ดิจิทลั 85

สทิ ธิในการมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการเขา้ ถงึ สอื่ ประชาชน ผูบ้ ริโภคส่อื วิทยุ – โทรทัศน์ มสี ทิ ธิท่จี ะ มีความรู้ ความเข้าใจในการเข้าถึงสื่อ เพ่ือที่จะสามารถใช้ ประโยชนจ์ ากสือ่ น้ันได้ ซ่งึ ภาครฐั จำ� เปน็ ต้องมีการสง่ เสริม ความรคู้ วามเขา้ ใจดงั กลา่ ว เชน่ การรณรงคส์ รา้ งความเขา้ ใจ แก่ประชาชนในการเปลี่ยนผ่านจากระบบการรับชม โทรทัศน์แบบแอนะล็อกไปสู่ระบบดิจิทัล ซ่ึงเป็นการ เปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี หากผู้บริโภคสื่อฯ ไม่ทราบ ไม่เข้าใจการยุตกิ ารส่งสัญญาณในระบบเดมิ แลว้ รบั สื่อได้ นอกจากน้ี การสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการเขา้ ถงึ สอื่ วทิ ยุ – โทรทศั น์ อาจรวมไปถงึ การเขา้ ถงึ หรอื รบั รแู้ ละ ใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ โดยการมที กั ษะการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื และสารสนเทศ กล่าวคือทุกคนมีความสามารถท่ีจะเข้าใจ วิธีการท�ำงานของส่ือสารมวลชนว่ามีความหมายอย่างไร บริหารจัดการอย่างไร และจะใช้ส่ือให้เท่าทันอย่างไร คนทรี่ เู้ ทา่ ทนั สอ่ื จะสามารถอธบิ ายถงึ บทบาทของสอ่ื ทม่ี ตี อ่ ชีวิตของพวกเขาได้ คนท่ีรู้เท่าทันสื่อจะเข้าใจธรรมเนียม 86

ปฏบิ ตั ขิ องสอ่ื หลากหลายประเภท ดงั นน้ั ส่อื มวลชนจะตอ้ ง ยึดถือประโยชน์ของประชาชนเป็นส�ำคัญ โดยมุ่งน�ำเสนอ เนื้อหาที่มีประโยชน์แก่ประชาชนทุกกลุ่ม โดยมีความเป็น อิสระและสร้างเสริมความเข้มแข็งให้แก่สังคม นอกจากนี้ ยงั ตอ้ งมหี ลกั การสำ� คญั คอื ประชาชนทกุ คนสามารถเขา้ ถงึ และมสี ว่ นรว่ มได้ โดยไมเ่ ปน็ เพยี งผู้บรโิ ภค ดานการรับสารควรมีการสงเสริมการเรียนรู้ของ ผู้บริโภคส่ือวิทยุ – โทรทัศน์ โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ดวยการสนับสนุนมาตรการต่าง ๆ ทั้งการสร้างหลักสูตร กระบวนการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ และเรตตง้ิ รว่ มกบั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในทุกระดับชั้น มีแนวทางในการให้ข้อมูลความรู้ มีส่วน รบั ผดิ ชอบในการเข้าถึงสอื่ เทา่ ทนั สอื่ และปกปอ้ งคุ้มครอง ตนเองได้มากข้ึน รวมถึงการสร้างความเข้มแข็งของ เครือข่ายผู้บริโภคส่ือฯ ให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน นอกจากนีย้ ังมกี ารสรา งกลไกตาง ๆ ในการทาํ งานรวมกนั ของทกุ ภาคส่วน 87

สิทธิต่อเนื่องจากสิทธิในการเข้าถึง ข ้ อ มู ล ข ่ า ว ส า ร ข อ ง ผู ้ บ ริ โ ภ ค ส่ื อ วิทย-ุ โทรทัศน์ ประชาชนทุกคนเป็นผู้บริโภคเริ่มจากสื่อ วิทยุ-โทรทัศน์ เมื่อฟังหรือชมรายการต่าง ๆ ท้ังจาก วิทยุโทรทัศน์ หรือสมัครเป็นสมาชิกของสถานี วิทยุ-โทรทัศน์ที่มีการบอกรับสมาชิก หรือรับบริการอื่น ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง นอกจากน้ี ยงั มผี ทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งทแ่ี มว้ า่ จะไมไ่ ดเ้ ปน็ ผู้บริโภคสื่อวิทยุ-โทรทัศน์โดยตรง แต่ก็ถือว่าผู้ท่ีไม่ได้ ฟังหรือชม สื่อวิทยุ-โทรทัศน์ แต่ได้รับผลกระทบจาก วิทย-ุ โทรทศั น์ เปน็ ผ้มู ีส่วนไดส้ ว่ นเสียกบั สื่อวทิ ย-ุ โทรทศั น์ เช่นกัน เช่น การไปออกรายการ เป็นต้น ซ่ึงจะเห็นได้ว่า ส่ือมวลชนเองก็จ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของ ประชาชนเป็นส�ำคัญ และในขณะเดียวกัน ผู้บริโภคเอง จ�ำเป็นต้องพึงรู้ถึงสิทธิของตนเองในการบริโภคหรือเข้าถึง ขอ้ มลู ขา่ วสารดว้ ยเชน่ กนั เพราะในแงห่ นง่ึ ผบู้ รโิ ภคสอื่ ยอ่ ม มสี ทิ ธเิ ชน่ เดยี วกบั ผบู้ รโิ ภคสนิ คา้ และบรกิ ารอน่ื ๆ เนอื่ งจาก 88

“ผู้บริโภค” ในความหมายทั่วไปหมายถึง บุคคลทั่วไป ที่อุปโภค - บริโภคสินค้า หรือเป็นผู้ใช้บริการของร้านค้า หรือสถานบริการ ซ่ึงสิทธิของผู้บริโภคได้รับการรับรองใน กฎหมายย่อมได้รับความคุ้มครองในการได้รับข้อมูลที่เป็น ความจรงิ และมสี ทิ ธริ อ้ งเรยี นเพอ่ื ใหไ้ ดร้ บั การแกไ้ ขเยยี วยา ความเสียหาย รวมท้ังมีสิทธิรวมตัวกันเพ่ือพิทักษ์สิทธิ ของผ้บู ริโภคไดเ้ ชน่ กนั 89

การคมุ้ ครองผู้ใช้บรกิ าร ก า ร คุ ้ ม ค ร อ ง ผู ้ ใ ช ้ บ ริ ก า ร สื่อวิทยุและโทรทัศน์ คืออะไร เมอ่ื เรารบั ชมรบั ฟงั รายการตา่ ง ๆ ผา่ นทางสอ่ื วทิ ยหุ รอื โทรทศั น์ ไมว่ า่ จะเปน็ แบบเสยี คา่ ใชจ้ า่ ย หรอื ไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ย เราถอื เปน็ ผใู้ ชบ้ รกิ ารของผใู้ หบ้ รกิ ารสอ่ื วทิ ยแุ ละโทรทศั น์ และ มีโอกาสถูกเอาเปรียบจากผู้ให้บริการสื่อเหล่าน้ัน เช่น การท�ำผิดสัญญาท่ีได้ตกลงกันไว้ในการรับชมรับฟัง สัญญาทไี่ มเ่ ปน็ ธรรม การเอาเปรยี บใหต้ อ้ งผกู พนั ใชบ้ รกิ าร กับผู้ให้บริการเพียงบางราย การท�ำให้มีภาระต้องเสีย คา่ ใชจ้ า่ ยเพม่ิ เปน็ ตน้ ดังนั้น เพ่ือเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคจาก การใช้บริการสื่อวิทยุและโทรทัศน์ กสทช. จึงได้ออก ประกาศ กสทช. เรื่องการกระท�ำที่เป็นการเอาเปรียบ ผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2555 ซงึ่ ไดก้ ำ� หนดลกั ษณะทเี่ ปน็ การเอาเปรยี บผบู้ รโิ ภค 90

ไวค้ รอบคลมุ การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคทงั้ ดา้ นของการใชบ้ รกิ าร และด้านของเนื้อหารายการและการโฆษณา หากพบ พฤติกรรมการเอาเปรียบดังกล่าว ผู้ใช้บริการสามารถ ร้องเรียน และถอื เปน็ ความผดิ ที่มีโทษตามกฎหมาย นอกจากน้ี ยังมี ประกาศ กสทช. เรื่อง มาตรฐาน ของสัญญาการให้บริการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก พ.ศ. 2556 เพ่ือคุ้มครองผู้ใช้บริการโทรทัศน์แบบบอกรับ สมาชิกมิให้ถูกเอาเปรียบจากผู้ประกอบกิจการ และให้ได้ รบั บรกิ ารที่มคี ุณภาพ ประสทิ ธิภาพ รวดเร็ว ถกู ต้อง และ เป็นธรรม ลกั ษณะใดที่เรียกวา่ การ เอาเปรียบผู้ใช้บรกิ าร พฤติกรรมของผู้ให้บริการส่ือวิทยุและสื่อโทรทัศน์ ทเ่ี รยี กไดว้ า่ เปน็ การเอาเปรยี บผใู้ ชบ้ รกิ ารตามประกาศของ กสทช. เรื่อง การกระท�ำท่ีเป็นการเอาเปรียบผู้บริโภคใน กจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น์ พ.ศ. 2555 ไดแ้ ก่ 91

การให้บริการท่ีไม่เป็นธรรมตามข้อกฎหมาย หรือสัญญา การกำ� หนดเงอื่ นไขในการใหบ้ รกิ ารทม่ี ลี กั ษณะเปน็ ขอ้ สญั ญาทไ่ี มเ่ ปน็ ธรรมตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยขอ้ สญั ญาทไี่ ม่ เปน็ ธรรม หรอื ขดั ตอ่ ขอ้ กำ� หนดดา้ นสญั ญาตามกฎหมายวา่ ด้วยการคุ้มครองผู้บริโภคหรือไม่เป็นไปตามเงื่อนไขในการ ให้บริการตามท่ีคณะกรรมการประกาศก�ำหนด (ประกาศ เอาเปรียบฯ ข้อ 5 (3)) กระทำ� การฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามเงอื่ นไขในการให้ บรกิ าร หรอื ระงบั หรอื หยดุ การใหบ้ รกิ ารโดยไมแ่ จง้ ใหผ้ บู้ รโิ ภค ทราบเปน็ การลว่ งหนา้ โดยปราศจากเหตผุ ลอนั สมควร(ประกาศ เอาเปรยี บฯ ขอ้ 5 (7)) พฤตกิ รรมทเี่ ขา้ ขา่ ยกดี กนั การเขา้ ถงึ บรกิ ารทมี่ คี ณุ ภาพ การกระทำ� โดยอาศยั อำ� นาจทางการตลาดเพอ่ื บงั คบั ใหผ้ บู้ รโิ ภคเลอื กใชบ้ รกิ ารของตนหรอื ของผปู้ ระกอบกจิ การ กระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศน์รายหน่ึงรายใดหรือ หลายรายอยา่ งไมเ่ ปน็ ธรรม (ประกาศเอาเปรยี บฯ ขอ้ 5 (4)) 92

การกระท�ำใด ๆ ท่ีมีลักษณะกีดกันมิให้ผู้บริโภค สามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารทมี่ คี ณุ ภาพไดต้ ามปกติ อนั เปน็ เหตใุ ห้ ผบู้ รโิ ภคตอ้ งรบั ภาระเพมิ่ ขน้ึ ในการเขา้ ถงึ บรกิ ารกระจายเสยี ง หรอื บรกิ ารโทรทศั นด์ งั กลา่ ว (ประกาศเอาเปรยี บฯ ขอ้ 5 (5)) การด�ำเนินการของผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงหรือ กิจการโทรทศั นม์ ากกวา่ หนง่ึ รายขนึ้ ไป ซงึ่ รว่ มกนั กำ� หนดเงอื่ นไข การเขา้ ถงึ บรกิ ารอนั มลี กั ษณะบงั คบั ใหผ้ บู้ รโิ ภคตอ้ งเลอื กใชบ้ รกิ าร ของผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศน์ นนั้ รายใดรายหนง่ึ หรอื สรา้ งภาระเกนิ สมควรในการเขา้ ถงึ บรกิ ารนน้ั (ประกาศเอาเปรียบฯ ขอ้ 5 (6)) พฤตกิ รรมทท่ี ำ� ให้ผบู้ รโิ ภคเดอื ดร้อนร�ำคาญ การกระทำ� ของผรู้ บั ใบอนญุ าตซง่ึ ใหบ้ รกิ ารโทรทศั น์ โดยดำ� เนนิ การใหป้ รากฏภาพประกอบบนแถบแสดงขอ้ มลู ขณะเปลย่ี นชอ่ งรายการโทรทศั น์ ในลกั ษณะเปน็ การบงั คบั ให้ผู้ชมต้องรับข้อมูลที่น�ำเสนอโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้และ ภาพประกอบดังกล่าวได้บดบังพ้ืนท่ีหน้าจอโทรทัศน์ บางส่วน อันเป็นการขัดขวางการรับชมรายการอย่างปกติ ท่ัวไปที่ผู้บริโภคพึงคาดหมายได้จากการให้บริการของ ผปู้ ระกอบกจิ การโดยทว่ั ไปพงึ กระทำ� ในการใหบ้ รกิ าร โดย 93


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook