Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระราชกรณียกิจด้านการศึกษากลุ่ม20

พระราชกรณียกิจด้านการศึกษากลุ่ม20

Published by Palita Suankan, 2017-11-16 13:25:43

Description: พระราชกรณียกิจด้านการศึกษากลุ่ม20

Search

Read the Text Version

พระราชกรณียกจิ ดา้ นการศกึ ษา ผจู้ ดั ทานายอดศิ กั ดิ์ แกว้ หลา้ 60243469นางสาวอตพิ ร อนุ่ เป็นนิจย์ 60243476นายอภวิ ฒั น์ ตนั สงิ ห์ 60243520นางสาวอาทติ ยา เนตรคายวง 60243674นางสาวอศิ ราภรณ์ ยะหวั ฝาย 60243704นายกติ ตชิ าติ มาแดง 60243759นางสาวฉตั รลดา พดั เพง็ 60243766นายบวร เหลย่ี มไทย 60243773นางสาวปาลติ า สวนกนั 60243797นางสาวลภสั รดา ทองขาว 60243803รายงานน้ีเป็นสว่ นหน่ึงของรายวชิ าสารสนเทศศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษาคน้ ควา้ (001221)ปีการศกึ ษา 2560

ก คำนำ รายงานฉบบั น้เี ป็นส่วนหน่งึ ของวชิ า สารสนเทศศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษา 001221 โดยมจี ดุ ประสงค์เพ่อื การศกึ ษาพระราชกรณยี กจิ ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ในดา้ นการศกึ ษาซง่ึ พระองคท์ รงตระหนักถงึ ความสาคญั ของ การศกึ ษาเป็นอย่างมาก เพราะทรงถอื ว่า “การศกึ ษาเป็นกระบวนการพฒั นาชวี ติ มนุษย์” พระราชดารทิ ่เี ลง็ เหน็ ความสาคญั ของ การศกึ ษา ทงั้ ยงั พระราชทานพระราชดารใิ ห้เหน็ ว่าประเทศชาตจิ ะพฒั นาให้เจรญิ ก้าวหน้าได้ ก็ด้วยการพฒั นาบุคคลของชาติให้มีคณุ ภาพโดยการใหก้ ารศกึ ษา ผจู้ ดั ทาไดเ้ ลอื ก หวั ขอ้ น้ีในการทารายงาน เน่อื งมาจากเป็นเรอ่ื งทน่ี ่าสนใจ รวมถงึ เป็นการน้อมราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลเดช ผู้จดั ทาจะต้องขอขอบคุณผู้ให้ความรู้ และแนวทางการศึกษา เพ่อื น ๆ ทุกคนท่ใี ห้ ความช่วยเหลอื มาโดยตลอดผจู้ ดั ทาหวงั วา่ รายงานฉบบั น้ีจะใหค้ วามรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผอู้ ่านทกุ ๆ ทา่ น

สำรบญั ขเรอ่ื ง หน้าคานา ก.สารบญั ข.1.บทท1่ี 1 -บทคดั ยอ่ 2-162.บทท2่ี -การศกึ ษาในระบบโรงเรยี น 17-18 -การศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น 18 -โครงการพระดาบส 19 -มลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม -พธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รแก่ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา ค. ง.3.บทท3่ี จ. -วธิ กี ารดาเนนิ งาน4.บทท4่ี-ผลการศกึ ษาคน้ ควา้5.บทท5่ี-สรปุ ประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากโครงงาน6.บรรณานุกรม7.ภาคผนวก8.ประวตั ผิ ดู้ าเนินงาน

1 บทที่1ชอ่ื : นายอดศิ กั ดิ ์ แกว้ หลา้ 60243469 นางสาวอตพิ ร อุ่นเป็นนจิ ย์ 60243476 นายอภวิ ฒั น์ ตนั สงิ ห์ 60243520 นางสาวอาทติ ยา เนตรคายวง 60243674 นางสาวอศิ ราภรณ์ ยะหวั ฝาย 60243704 นายกติ ตชิ าติ มาแดง 60243759 นางสาวฉตั รลดา พดั เพง็ 60243766 นายบวร เหลย่ี มไทย 60243773นางสาวปาลติ า สวนกนั 60243797นางสาวลภสั รดา ทองขาว 60243803ช่อื เรอ่ื ง : พระราชกรณยี กจิ ดา้ นการศกึ ษารายงานวชิ า : รายวชิ าสารสนเทศศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษาคน้ ควา้ครทู ป่ี รกึ ษา : สุชาติ แยม้ เมน่ปีการศกึ ษา : 2560 บทคดั ยอ่ โครงงาน เรอ่ื งพระราชกรณียกจิ ดา้ นการศกึ ษา มจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ศกึ ษาและนาเสนอพระราชกรณียกจิ ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชในดา้ นการศกึ ษา ซง่ึ โครงงานน้ีจะแสดงใหเ้ หน็ว่าพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดชทรงใหค้ วามสาคญั แก่ดา้ นการศกึ ษาของประชาชนเป็นอยา่ งมากเน่ืองจากการศกึ ษาเป็นสง่ิ สาคญั ทช่ี ่วยพฒั นาชวี ติ มนุษยใ์ หด้ ขี น้ึ ได้ โดยการนาความรแู้ ละสตปิ ัญญามารว่ มกนั พฒั นาประเทศใหเ้ ดนิ ไปขา้ งหน้าอยา่ งถูกตอ้ ง ดงั นนั้ จงึ มโี ครงการในพระราชดารทิ ่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษาเป็นจานวนมาก เช่น โรงเรยี นในพระราชปู ถมั ภ์ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ มลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี มวตั ปุ ระสงค์1. เพ่อื น้อมราลกึ ถงึ พระมหากรุณาธคิ ุณของพระบาทสมเดจ็ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิ พลอดุลเดช2. เพ่อื เผยแพรค่ วามรเู้ รอ่ื งพระราชกรณยี กจิ ดา้ นการศกึ ษาใหผ้ ทู้ ส่ี นใจไดศ้ กึ ษา 3. เพ่อื ศกึ ษาพระราชกรณยี กจิ ดา้ นการศกึ ษาผลที่คำดว่ำจะได้รบั1.ไดร้ บั ความรเู้ กย่ี วกบั พระราชกรณยี กจิ ดา้ นการศกึ ษาของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วัรชั กาลท9่ี2.ไดร้ จู้ กั โรงเรยี นหรอื โครงการในพระบรมราชปู ถมั ภข์ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วัรชั กาลท9่ี

2 บทที่2พระรำชกรณียกิจด้ำนกำรศึกษำ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของ การศกึ ษาเป็นอย่างมาก เพราะทรงถือว่า “การศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาชีวิตมนุษย์” ดังจะเห็นได้จากพระบรมราโชวาทท่ีพระราชทานแก่คณะครูและนักเรยี น ณ ศาลาดุสดิ าลยั เม่อื วนั ท่ี ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ และเม่อืวันท่ี ๑๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๘ รวมทัง้ ท่ีพระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น เมอ่ื วนั ท่ี ๑๙ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๑๙ มคี วามตามลาดบั ดงั น้ี “…การศกึ ษาเป็นปัจจยั ในการสรา้ งและพฒั นาความรู้ ความคดิ ความประพฤติ และคุณธรรมของบคุ คล…“ “…ปัจจยั ทส่ี าคญั ประการหน่งึ ของทงั้ ชวี ติ และส่วนรวม คอื การศกึ ษาซง่ึ เป็นรากฐานส่งเสรมิความเจรญิ มนั่ คงเกอื บทกุ อยา่ งในบุคคล และประเทศชาต…ิ “ “…การศกึ ษาเป็นเครอ่ื งมอื ทส่ี าคญั ในการพฒั นาบคุ คลใหม้ คี ุณภาพ ใหเ้ ป็นทรพั ยากรทางปัญญาทม่ี คี า่ ของชาต…ิ “ “…งานดา้ นการศกึ ษาเป็นงาน สาคญั ทส่ี ุดอยา่ งหน่ึงของชาติ เพราะความเจรญิ และความเส่อื มของชาตนิ นั้ ขน้ึ อยกู่ บั การศกึ ษาของชาตเิ ป็นขอ้ ใหญ่ ตามขอ้ เทจ็ จรงิ ทท่ี ราบกนั ดแี ลว้ ระยะน้ีบา้ นเมอื งของเรามพี ลเมอื งเพม่ิ ขน้ึ อย่างรวดเรว็ ทงั้ มสี ญั ญาณบางอย่างเกดิ ขน้ึ ด้วยว่า พลเมอื งของเราบางส่วนเสอ่ื มทรามลงไปในความประพฤตแิ ละจติ ใจ ซง่ึ เป็นอาการทน่ี ่าวติ ก ถา้ หากยงั คงเป็นอยตู่ ่อไป เราอาจจะเอาตวั ไม่รอด ปรากฏการณ์เช่นน้ี นอกจากเหตุอ่นื แลว้ ต้องมเี หตุมาจากการจดั การศกึ ษาด้วยอย่างแน่นอน เราต้องจดั งานดา้ นการศกึ ษาใหเ้ ขม้ แขง็ ยง่ิ ขน้ึ …” พระบรมราโชวาททอ่ี ญั เชญิ มาน้ีแสดงใหเ้ หน็ถึงพระราชดาริท่ีเล็งเห็นความสาคัญของ การศึกษา ทัง้ ยังพระราชทานพระราชดาริให้เห็นว่า

3ประเทศชาติจะพฒั นาให้เจรญิ ก้าวหน้าได้ ก็ด้วยการพฒั นาบุคคลของชาติให้มคี ุณภาพโดยการให้การศกึ ษากำรศึกษำในระบบโรงเรียน พระราชกรณียกจิ ใน ส่วนท่เี ก่ยี วกบั การศกึ ษาในระบบโรงเรยี นนัน้ เรม่ิ จากใน พ.ศ.๒๔๘๙ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ งั้ โรงเรยี นขน้ึ สาหรบั พระราชโอรสและพระราชธดิ า บุตรขา้ ราชบรพิ ารในพระราชวงั ตลอดจนเปิดโอกาสใหบ้ ุคคลทวั่ ไปได้ร่วมเรยี นดว้ ยและเม่อื พระองค์ได้เสด็จพระราชดาเนินเยย่ี มราษฎรและหน่วยปฏิบตั กิ ารทหาร ตารวจตามบรเิ วณชายแดนทุรกนั ดารอย่เู นืองๆ ทาให้ทรงทราบถงึ ปัญหาการขาดแคลนทเ่ี รยี นของเดก็ และเยาวชน อนัเน่ืองมาจากการใหบ้ รกิ ารของรฐั ไม่ทวั่ ถงึ และมปี ัญหาเร่อื งการแตกแยกในอุดมการณ์ทางการเมอื ง ทาใหเ้ ยาวชนบางส่วนขาดโอกาสทางการศกึ ษา พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั จงึ มพี ระราชดารใิ หท้ หารช่วยก่อสรา้ งโรงเรยี น เพอ่ื ใหท้ หารมสี ว่ นช่วยเหลอื ประชาชนดา้ นการศกึ ษา ตามโอกาสอนั ควร โดยใหแ้ ม่ทพัภาคเป็นแกนนาในการก่อสร้างโรงเรยี นในเขตพ้นื ท่ที ่รี บั ผดิ ชอบ และพระราชทานพระราชทรพั ย์ส่วนพระองค์ สนับสนุนการก่อสร้างโรงเรยี น พระราชทานนามว่า “โรงเรยี นร่มเกล้าฯ” นอกจากนัน้ ยงั ได้พระราชทานพระราชทรพั ยเ์ พ่อื รว่ มสรา้ งโรงเรยี นตารวจตระเวน ชายแดน สาหรบั ชาวไทยภูเขาทอ่ี าศยัอยู่ในดนิ แดนทุรกนั ดารห่างไกลการคมนาคม ซ่งึ มชี ่อื เรยี กว่า “โรงเรยี นเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์” อน่ึงพระองค์ยงั ทรงเลง็ เหน็ ถงึ ปัญหาของเยาวชนทค่ี รอบครวั ประสบปัญหาเดอื ด รอ้ นจากสาธารณภยั ภยัธรรมชาติ จงึ ทรงพระเมตตารบั อุปถมั ภ์ ใหก้ าลงั ใจแก่เยาวชนทข่ี าดแคลนเหล่าน้ี อนั ไดแ้ ก่ โรงเรยี นราชประชานุเคราะหแ์ ละโรงเรยี นสงเคราะหเ์ ดก็ ยากจน

4โรงเรียนในพระบรมรำชปู ถมั ภ์โรงเรยี นในพระบรมราชูปถมั ภ์ หมายถงึ โรงเรยี นท่พี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ทรงรบั ไวใ้ นพระบรมราชปู ถมั ภ์ ดว้ ยการพระราชทานพระราชทรพั ยช์ ่วยเหลอื และใหค้ วามอุปถมั ภ์ หรอื ทรงใหค้ าแนะนา ทงั้ยงั ได้เสด็จพระราชดาเนินไปเย่ยี มเยยี นและพระราชทานพระบรมราโชวาทเพ่อื สนับสนุนและเป็นกาลงั ใจแก่ครแู ละนักเรยี นเป็นประจา จงึ เรยี กโรงเรยี นประเภทน้ีว่า “โรงเรยี นในพระบรมราชูปถมั ภ์”โรงเรยี นในพระบรมราชูปถมั ภ์มที งั้ โรงเรยี นของรฐั บาลและโรงเรยี นเอกชน เช่น โรงเรยี นจติ รลดาโรงเรยี นราชวินิต โรงเรยี นวงั ไกลกังวล โรงเรยี นราชประชาสมาสยั โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวิทยาลยัโรงเรยี นเพอ่ื ลกู หลานชนบท โรงเรยี นรม่ เกลา้ ฯลฯประวตั ิโรงเรยี นจิตรลดำวนั ท่ี 10 มกราคม พ.ศ. 2498 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ภูมพิ ลอดุลยเดชฯ ไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั การศกึ ษาในระดบั อนุบาลขน้ึ ณ พระทน่ี งั่ อุดร ในพระทน่ี งั่ อมั พรสถาน พระราชวงั ดุสติ ซง่ึในขณะนนั้ เป็นทป่ี ระทบั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ และ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ ์ พระบรมราชนิ ีรงเรยี นจติ รลดา ตงั้ ขน้ึ เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๐๑ โดยพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ไดพ้ ระราชทานพระราชทรพั ย์ส่วนพระองค์ก่อสร้างข้นึ ในบรเิ วณพระตาหนักจติ รลดารโหฐาน พระราชวงั ดุสติ ทงั้ น้ีเพ่อื เป็นสถานศกึ ษาของพระราชโอรส พระราชธดิ า บุตรหลานของพระบรมวงศานุวงศ์ มหาดเลก็ ขา้ ราชการบรหิ ารและบุคคลทวั่ ไป ทงั้ น้ีทรงเหน็ ว่าการส่งพระราชโอรส พระราชธดิ าไปเรยี นโรงเรยี นขา้ งนอก อาจไมเ่ หมาะสมและเป็นภาระแก่โรงเรยี นและครู โรงเรยี นจติ รลดาไดร้ บั พระราชทานทนุ ทรพั ยเ์ ป็นค่าใช้จ่ายนักเรียนไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียนและได้พระราชทานเล้ียงอาหารกลางวันและอาหารว่างตอนบ่ายนอกจากน้ีนักเรยี นท่เี รยี นดกี จ็ ะได้รบั พระราชทานรางวลั อกี ดว้ ย โรงเรยี นจติ รลดาไดเ้ จรญิ กา้ วหน้ามา

5เป็นลาดบั จนถึงปัจจุบนั นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั อย่างล้นพ้นเพราะเป็นการแบง่ เบาภาระของรฐั บาลและแกป้ ัญหาการขาดแคลนสถานทเ่ี รยี นไดอ้ กี ส่วนหน่งึ ดว้ ยนักเรยี นจติ รลดารุ่นท่ี 1 เน่ืองด้วยขณะนัน้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจา้ ฟ้าอุบลรตั นราชกญั ญาฯ เจรญิพระชนมายุพรอ้ มท่จี ะทรงพระอกั ษรได้ จงึ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปิดโรงเรยี น โดยมพี ระอาจารยค์ นแรกทถ่ี วายฯการสอนเพยี งคนเดยี ว คอื ดร.ทศั นีย์ อศิ รเสนา ณ อยุธยา (ท่านผหู้ ญงิ ทศั นีย์บุณยคุปต์) และโปรดเกลา้ ฯ ให้มพี ระสหายร่วมศกึ ษาอกี 7คน นับเป็นนักเรยี นรุ่นแรกของโรงเรยี นจติลดา

6กำรศึกษำนอกระบบโรงเรียน สาหรบั การศกึ ษาของประชาชนชาวไทยทอ่ี ย่นู อกระบบโรงเรยี น พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วัทรงเหน็ ความสาคญั ของการศกึ ษาสาหรบั ประชาชนท่ี อยใู่ นชนบทเป็นอยา่ งมาก ทรงรเิ รม่ิ ตงั้ “ศาลารวมใจ” ตามหมบู่ า้ นชนบทเพ่อื ใหป้ ระชาชนไดใ้ ชเ้ ป็นทอ่ี ่านหนังสอื โดยพระราชทานหนังสอื ประเภทต่างๆแก่หอ้ งสมดุ “ศาลารวมใจ” นอกจากนนั้ มพี ระราชดาริ จดั ทาโครงการพระดาบส เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๙

7โครงกำรพระดำบส เป็นโครงการตามแนวพระราชดารซิ ง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั พระราชทานพระบรมราชานุญาตใิ ห้จดั ตงั้ ขน้ึ เม่อื ๑๕ ม.ิ ย. ๒๕๔๑ ตงั้ อย่เู ลขท่ี ๘๙ หมู่ ๑๔ ต.บางปลา อ.บางพลี จ.สมุทรปราการบนทด่ี นิ ราชพสั ดุและทด่ี นิ พระราชทาน จานวนทงั้ หมด ๔๗๕ ไร่ ซง่ึ ไดด้ าเนินกจิ กรรมการเกษตรแบบผสมผสานในลกั ษณะทพ่ี ง่ึ พาตวั เองและพอเพยี ง ตามแนวพระราชดารเิ พ่อื พฒั นาใหเ้ ป็นศูนยก์ ลางการเรยี นรแู้ ละการถ่ายทอดเทคโนโลยดี า้ นการเกษตร การเพมิ่ มลู ค่าสนิ คา้ เกษตร สมนุ ไพร การใชพ้ ลงั งานทดแทนอ่นื ๆ เพอ่ื สนบั สนุ นการเรยี นการสอนของศษิ ยพ์ ระดาบสหลกั สตู รการเกษตรพอเพียงและช่างไม้เคร่อื งเรอื น ของโรงเรยี นพระดาบส การศกึ ษาค้นควา้ วจิ ยั และพฒั นาการถ่ายทอดเทคโนโลยสี ู่ชุมชนการท่องเท่ยี วเชิงเกษตร ตลอดจนใช้เป็นสถานท่ฝี ึกอบรม ปฏบิ ตั ิงานและศึกษาดูงานของนักเรยี นนกั ศกึ ษา เกษตรกร และประชาชนทวั่ ไป โดยใหอ้ ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ของสานักพระราชวงั และมลู นิธพิ ระดาบสทรงเคยมพี ระราชดารเิ กย่ี วกบั โครงการลกู พระดาบสไวว้ า่ “…ใหค้ งวธิ กี ารศกึ ษานอกระบบเกย่ี วกบั โครงการ พระดาบสเป็นแม่แบบตลอดไป ควรสารวจทด่ี นิ ไวเ้ พอ่ื การเกษตรดาเนินการควบค่ไู ปกบั โรงเรยี นช่างเครอ่ื งยนตก์ ารเกษตร…” “…ลูกพระดาบส ท่เี ข้ารบั การศึกษาท่ีโครงการลูกพระดาบสจะต้องมชี วั่ โมงเรยี น บงั คบัเก่ียวกับวิชาเกษตรนอกเหนือจากหลกั สูตรเตรยี มช่างเพ่อื ทดสอบ ความศรทั ธา อดทน หลกั สูตรศลี ธรรม จรรยาและหลกั สตู รวชิ าชพี เฉพาะ เพ่อื ใหล้ กู พระดาบสสามารถเพาะปลกู พชื ผลทางการเกษตรควายเป็นอาหารแก่พระดาบส และเป็นอาหารเลย้ี งตนเอง..” โดยปรชั ญาของโครงการคอื สนองพระราชดาริ ใหโ้ อกาสทส่ี อง สรา้ งคนดี มวี ชิ าชพี กลบั คนื สู่สงั คม และมกี ารนาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ โดยดาเนินงานภายใตห้ ลกั การพง่ึ พาตนเองแบบค่อยเป็นค่อยไป

8สอดคลอ้ งกบั แนวคดิ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดงั น้ี -หลกั ความพอประมาณ คานึงถึงศักยภาพของตนเอง ยดึ หลกั ประหยดั เรยี บง่ายและได้ประโยชน์สงู สุด -หลกั ความมเี หตุผล ยดึ หลกั วชิ าการ มกี ารศกึ ษาวจิ ยั แต่ไมล่ ะเลยภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ -หลกั มภี ูมคิ ุม้ กนั มกี ารวางแผนระยะยาว มเี งนิ ออมไวล้ งทุน ไมท่ าลายสง่ิ แวดลอ้ ม ส่งเสรมิ ให้เจา้ หน้าทร่ี รู้ กั สามคั คี หลกั สตู รโครงกำรลกู พระดำบส 1.หลกั สตู รวชิ าช่างยนต์ 2.หลกั สตู รวชิ าช่างอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 3.หลกั สตู รวชิ าชพี ชา่ งไฟฟ้า 4.หลกั สตู รวชิ าชพี การเกษตรพอเพยี ง 5.หลกั สตู รวชิ าชพี ชา่ งซอ่ มบารงุ 6.หลกั สตู รวชิ าชพี เคหะบรบิ าล 7.หลกั สตู รวชิ าชพี ช่างไมเ้ ครอ่ื งเรอื น 8.หลกั สตู รวชิ าชพี ชา่ งเชอ่ื มนอกเหนอื จากงานชา่ งไม้ และงานการเกษตรแบบพอเพยี งแลว้ ทางโครงการกย็ งั มกี ารเรยี นการสอนหลกั สตู รเพ่อื วชิ าชพี ระยะสนั้ ใหก้ บั ประชาชนทวั่ ไป รวมไปถงึ เกษตรกรต่างๆ อกี ดว้ ย และทงั้ หมดน้ี “เป็นการเรยี นการสอนทฟ่ี รที งั้ หมด ไมต่ อ้ งเสยี ค่าใชจ้ า่ ยใดๆ” เป็นพระราชประสงคข์ องในหลวง ทอ่ี ยากจะใหพ้ วกเราชาวไทย ไดท้ ากนิ เองเป็น ช่วยเหลอื ตวั เอง และประกอบอาชพี อยา่ งสุจรติ และพอเพยี งเองได้ “อาศรมของพระดาบส” เป็นพระราชกรณียกิจท่พี ระองค์ทรงห่วงใยประชาชนนอกระบบโรงเรยี นทพ่ี ลาดโอกาส ในการศกึ ษา เป็นพระมหากรุณาธคิ ุณทพ่ี ระราชทานแก่ประชาชนท่มี คี วามรกัวชิ าการ ใฝ่ หาความรใู้ ส่ตนเองแต่ไม่สามารถหาทเ่ี รยี นได้อาจเน่ืองจากการขาดแคลนทุน ทรพั ย์ จงึ มี

9พระราชดารใิ ห้การศกึ ษาแก่ประชาชนประเภทน้ี ให้มลี กั ษณะเดยี วกบั การศึกษาในสมยั โบราณ ท่ผี ู้ตอ้ งการหาวชิ าต้องดนั้ ดน้ ไปหาพระอาจารย์ ซง่ึ เป็นพระดาบสมสี านักอยใู่ นป่ า แลว้ ฝากฝังตวั เป็นศษิ ย์สาหรบั อาศรมของพระดาบสหรอื ส่วนใหญ่เรยี ก “โรงเรยี นพระดาบส” ใชส้ ถานทข่ี องสานกั พระราชวงั ณ๓๘๔–๓๘๙ ถนนสามเสน รบั สมคั รผเู้ รยี นไม่จากดั เพศ วยั วุฒิ ความรหู้ รอื ฐานะ เปิดสอนครงั้ แรกเม่อืเดอื นสงิ หาคม ๒๕๑๙ นักศกึ ษาทเ่ี รยี นสาเรจ็ การโรงเรยี นพระดาบส มคี วามรคู้ วามสามารถประกอบอาชพี ได้ตามวชิ าท่ตี ้องการ ผู้ท่สี นใจเขา้ ศกึ ษาในโรงเรยี นพระดาบสมที งั้ ตารวจ ทหาร พลเรอื น และทหารผ่านศึกท่ที ุพพลภาพ ครูผู้สอนส่วนมากเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ อาสาสมคั ร โดยถือว่าการสอนวิชาความรใู้ หศ้ ษิ ยเ์ ป็นวทิ ยาทาน ไมค่ ดิ ค่าตอบแทนใดๆ ทงั้ สน้ิ สาหรบั การศกึ ษาทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั พระราชทานแก่ประชาชนนอกระบบโรงเรยี นนัน้ ได้แก่ ในขณะท่พี ระองค์เสด็จแปรพระราชฐานไปยงั ต่างจงั หวดั ทุกภาค เฉล่ยี ภาคละ ๑เดอื นครง่ึ ระหว่างทท่ี รงเยย่ี มเยยี นราษฎร ไต่ถามถงึ ทุกขส์ ุข และปัญหาต่างๆ ในการดารงชพี แนวทางทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ทรงใช้ คอื พระราชทานพระราชดารใิ นลกั ษณะของการแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาในพน้ื ทท่ี ป่ี ระสบกบั ปัญหานัน้ ๆ ในขณะเดยี วกนั ก็ใชพ้ ้นื ท่นี ัน้ ๆ เป็นแหล่งศกึ ษาค้นควา้ และให้ความรู้แก่ประชาชนผู้สนใจทุกหมู่เหล่า ไม่ว่าจะเป็นในลกั ษณะทงั้ ในระบบ นอกระบบโรงเรยี นและการศึกษาตามอัธยาศยั ทงั้ น้ีสบื เน่ืองมาจากพระราชประสงค์ท่ที รงมุ่งหวงั พฒั นาความเป็นอยู่ของราษฎร ให้สามารถช่วยเหลือพ่ึงตนเองได้ ทรงพิจารณาเห็นว่าการได้เรียนรู้และพบเห็นด้วยประสบการณ์ของตนเองนนั้ เป็น วธิ กี ารหน่ึงของการสรา้ งการเรยี นรใู้ นการพฒั นาชนบท ดว้ ยเหตุน้ีจงึ มีพระราชดาริให้จัดตัง้ “ศูนย์ศึกษำกำรพฒั นำอันเนื่ องมำจำกพระรำชดำริ” โดยให้ทาหน้าท่ีเสมอื น “พพิ ธิ ภณั ฑธ์ รรมชาตทิ ม่ี ชี วี ติ ” เพ่อื เป็นศูนยร์ วมของการศกึ ษาคน้ ควา้ ทดลองวจิ ยั และแสวงหาแนวทางและวธิ กี ารพฒั นาดา้ นต่างๆ ทเ่ี หมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพแวดล้อม และการประกอบอาชพีของราษฎรทอ่ี าศยั อย่ใู นภูมปิ ระเทศนัน้ ๆ และเม่อื ค้นพบพสิ จู น์ไดผ้ ลแลว้ ก็จะนาผลทไ่ี ดไ้ ป “พฒั นา” สู่ราษฎรในหมบู่ า้ นใกลเ้ คยี งจนกระทงั่ ขยายผลแผ่กระจายวงกวา้ งออกไปตามลาดบั ในปัจจุบนั ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นาอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ มอี ยทู่ งั้ หมด ๖ ศนู ย์ กระจายอยใู่ นภาคต่าง ๆ ทงั้ ๔ ภาค ดงั น้ีคอื๑. ศนู ยศ์ ึกษำกำรพฒั นำพิกลุ ทองอนั เน่ืองมำจำกพระรำชดำริ ตงั้ อยทู่ อ่ี าเภอเมอื งนราธวิ าส จงั หวดั นราธวิ าส เป็นศนู ยท์ ม่ี เี ป้าหมายในดา้ นการศกึ ษาวจิ ยั ดนิพรใุ นภาคใต้ ใหส้ ามารถนามาใชป้ ระโยชน์ในดา้ นเกษตรกรรมใหไ้ ดม้ ากทส่ี ดุ

10๒. ศนู ยศ์ ึกษำกำรพฒั นำภพู ำนอนั เนื่องมำจำกพระรำชดำริ ตงั้ อยทู่ อ่ี าเภอเมอื งสกลนคร จงั หวดั สกลนคร เป็นศูนยท์ ม่ี เี ป้าหมายในดา้ นพฒั นาอาชพี ต่าง ๆทงั้ ทางเกษตร อุตสาหกรรมในครวั เรอื นและการพฒั นาหมบู่ า้ นตวั อยา่ ง๓. ศนู ยศ์ ึกษำกำรพฒั นำอ่ำวค้งุ กระเบนอนั เนื่องมำจำกพระรำชดำริ ตงั้ อยทู่ อ่ี าเภอท่าใหม่ จงั หวดั จนั ทบุรี เป็นศูนยท์ ม่ี เี ป้าหมายในการศกึ ษา คน้ ควา้ เพ่อื พฒั นาปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มดา้ นประมงชายฝัง่ เพอ่ื ใหเ้ กษตรกรสามารถเพม่ิ ผลผลติ เพอ่ื การพง่ึ ตนเองในระยะยาว

11๔. ศนู ยศ์ ึกษำกำรพฒั นำห้วยฮ่องไครอ้ นั เนื่องมำจำกพระรำชดำริ ตงั้ อยทู่ อ่ี าเภอดอยสะเกด็ จงั หวดั เชยี งใหม่ งานหลกั ของศนู ยค์ อื การศกึ ษา คน้ ควา้ เกย่ี วกบัรปู แบบทเ่ี หมาะสมของการพฒั นาพน้ื ทต่ี น้ น้าลาธาร เพอ่ื ประโยชน์ทางเศรษฐกจิ รวมทงั้ รปู แบบการพฒั นาต่าง ๆ ทท่ี าใหเ้ กษตรกรพง่ึ ตนเองไดโ้ ดยไมท่ าลายสภาพแวดลอ้ ม๕. ศนู ยศ์ ึกษำกำรพฒั นำห้วยทรำยอนั เนื่องมำจำกพระรำชดำริ ตงั้ อย่ทู ่อี าเภอชะอา จงั หวดั เพชรบุรี ศูนยน์ ้ีมุ่งเน้นการศกึ ษาแนวทาง วธิ กี ารทจ่ี ะพฒั นาฟ้ืนฟูสภาพป่าเส่อื มโทรม โดยพยายามหาวธิ กี ารจะใหเ้ กษตรกรมสี ่วนในการปลกู ปรบั ปรงุ และรกั ษาสภาพป่าพรอ้ มกบั มรี ายได้ และผลประโยชน์จากป่าดว้ ยในขณะเดยี วกนั

12๖. ศนู ยศ์ ึกษำกำรพฒั นำเขำหินซ้อนอนั เนื่องมำจำกพระรำชดำริ ตงั้ อยทู่ อ่ี าเภอพนมสารคาม จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา งานหลกั คอื การคน้ ควา้ ทดลอง สาธติ เกย่ี วกบัการพฒั นาทท่ี ากนิ ของราษฎรใหม้ คี วามอุดมสมบรู ณ์ โดยมวี ตั ถุประสงคห์ ลกั ในการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ของพชื หลายชนิดมลู นิธิกำรศึกษำทำงไกลผำ่ นดำวเทียม มลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี มก่อตงั้ เมอ่ื พ.ศ.2538 และไดถ้ ่ายทอดสดออกอากาศเป็นปฐมฤกษ์ ในวนั ท่ี 5 ธนั วาคม 2538 ในหลกั สูตรมธั ยมศกึ ษา 6 ชนั้ 6 ช่อง และเม่อื วนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน2545 ได้ออกอากาศการเรยี นการสอนในระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 – 6 ทงั้ น้ีก็เพ่อื เฉลมิ พระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั เน่ืองในมหามงคลวโรกาสทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงครองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ 50 ปี ในปีกาญจนาภเิ ษกพ.ศ.2539 โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่อื แก้ปัญหาการขาดแคลนครู โดยพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ไดพ้ ระราชทานทุนประเดมิ 50 ลา้ นบาท ทบ่ี รษิ ทั ทโี อที จากดั (มหาชน)หรอื องคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทยในขณะนนั้ ทูลเกลา้ ฯ ถวายเพ่อื ตงั้ มลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผ่าน

13ดาวเทยี ม และทรงพระกรุณาพระราชทานตรงสญั ลกั ษณ์เฉลมิ ฉลองสริ ริ าชสมบตั ิ 50 ปี ใหเ้ ป็นตราของมลู นิธฯิ เป็นการพระราชทานการศกึ ษาไปสู่ปวงชนนอกจากน้ียงั มกี ารออกอากาศช่องการอาชพี ช่องอุดมศกึ ษา และรายการนานาชาตอิ กี อย่างละ 1 ช่อง รวมทงั้ ส้นิ 15 ช่อง ออกอากาศตลอด 24 ชวั่ โมงเป็นประจาทุกวนั ซ่งึ นอกจากการถ่ายทอดและเทปการเรยี นการสอนหลกั สูตรขัน้ พ้นื ฐานแล้ว ยงั มีรายการสอนภาษาต่างประเทศ อาทิ ภาษาองั กฤษ จนี ญ่ปี ุ่น ฝรงั่ เศส เยอรมนั รายการสารคดีพระราชทาน “ศกึ ษาทศั น์” และสารคดตี ่างประเทศ ทาให้สถานีวทิ ยุโทรทศั น์การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม สามารถใหบ้ รกิ ารทางการศกึ ษาครบวงจรโดยไมค่ ดิ มลู ค่าถงึ 15 สถานี จากทงั้ โรงเรยี นวงัไกลกงั วล วทิ ยาลยั การอาชพี วงั ไกลกงั วล ซง่ึ เปิดสอนวชิ าชพี อาทิ ทากบั ขา้ ว ตดั เยบ็ เสอ้ื ผา้ เสรมิสวย คอมพวิ เตอร์ ซ่อมเคร่อื งยนต์ ฯลฯ และมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ วทิ ยาเขตวงั ไกลกงั วล ทงั้ 3 สถาบนั ใหบ้ รกิ ารการศกึ ษาครบวงจร ทงั้ การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน การศกึ ษาชุมชนและอุดมศกึ ษา การออกอากาศผ่านดาวเทยี ม ผู้ทม่ี จี าน KU Band หรอื เป็นสมาชกิ True Vision จะสามารถชมไดท้ งั้ 15 ชอ่ ง ตงั้ แต่ชอ่ ง True 186 ถงึ 199 ซง่ึ เป็นระบบ DTH (Direct To Home)ระบบ eLearning ของมลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี มเพ่อื เป็นการเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นสามารถเขา้ ถงึ การเรยี นการสอนไดก้ ว้างขวางและง่ายดายขน้ึ มลู นิธฯิไดเ้ พม่ิ ช่องทางใหส้ ามารถรบั ชมการเรยี นการเรยี นการสอนไดอ้ กี 2 ช่องทาง คอื 1) ระบบ e-Learningผ่านเวบ็ ไซต์ www.dlf.ac.th ซง่ึ ถ่ายทอดการเรยี นการสอนจากโรงเรยี นวงั ไกลกงั วลทุกชนั้ เรยี นผา่ นทางอินเทอร์เน็ต (Internet) โดยเลือกเข้าชมได้ทัง้ การถ่ายทอดสด(Live Broadcast) เช่นเดียวกับท่ีออกอากาศทางโทรทศั น์ในชว่ งเปิดภาคการศกึ ษา หรอื เลอื กชมรายการยอ้ นหลงั (On Demand) ไดต้ ามอธั ยาศยั โดยบรษิ ทั ทโี อที จากดั (มหาชน) เป็นผู้สนับสนุนหลกั ในโครงการ DLF eLearning เฉลมิพระเกยี รติ 2) Application “DLTV on Mobile” โดยสามารถดาวน์โหลดแอพพลเิ คชนั่ เพอ่ื รบั ชมบนมอืถอื หรอื อุปกรณ์พกพาอ่นื ๆ ไดท้ งั้ ระบบปฏบิ ตั กิ าร Android หรอื IOS และ 3) eDLTV

14นอกจาก eLearning บนเวบ็ ไซตข์ องมลู นธิ ฯิ และ Application บนอุปกรณ์พกพา แลว้ มลู นิธฯิ ยงั มรี ะบบระบบ eDLTV ซ่งึ เป็นผลงานความร่วมมอื ระหว่างมูลนิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม โครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชดารสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สานกั พฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ โดยในปี พ.ศ. 2550 จดั ทาโครงการระบบ eLearning ของการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมเพ่ือร่วมเฉลิมพระเกียรติ เน่ืองในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธนั วาคม 2550 นาเน้ือหาการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมและคู่มอื ครูปลายทางทม่ี ูลนิธฯิ จดั ทา เช่น วดี ทิ ศั น์ สไลดบ์ รรยาย ใบความรู้ ใบงาน เป็นต้นมา แปลงเป็นเน้ือหาeLearning เรยี กว่า “eDLTV ระดบั มธั ยมศกึ ษา” สามารถเรยี น online ไดท้ ่ี http://edltv.thai.net ต่อมาในปี พ.ศ. 2552 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารสนับสนุนงบประมาณให้จดั ทาโครงการระบบ eLearning เพ่อื พฒั นาอาชพี ตามพระราชดารสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเรยี กวา่ “eDLTV เพ่อื พฒั นาอาชพี ” ทน่ี าเน้อื หาทส่ี อนออกอากาศจากวทิ ยาลยั การอาชพี วงั ไกลกงั วล มาแปลงเป็น eLearningมูลนิธิฯ ได้ดาเนินการด้านการส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพครู ทัง้ ครูภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เพราะครนู อกจากจะเป็นผถู้ ่ายทอดวชิ าความรแู้ ก่นกั เรยี นซง่ึ เป็นเยาวชนของชาตโิ ดยตรงแล้ว ยงั เป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏบิ ตั ิของนักเรยี นอีกด้วย ซ่งึ อุปสรรค์สาคญั ของครูสอนภาษาองั กฤษในพน้ื ทช่ี นบทห่างไกลทุรกนั ดารคอื ขอ้ จากดั ในเร่อื งของงบประมาณ เวลา และการเดนิทางเขา้ รบั การอบรมพฒั นาตนเอง ดงั นนั้ เพ่อื เป็นการขจดั อุปสรรคแ์ ละขอ้ จากดั ต่าง ๆ ในการพฒั นาครูมลู นิธฯิ จงึ ไดจ้ ดั โครงการฝึกอบรมครผู ่านระบบวีดทิ ศั น์ (Videoconference) และถ่ายทอดออกอากาศสดทางสถานีวทิ ยโุ ทรทศั น์การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มขน้ึ อยา่ งต่อเน่ืองหลายโครงการ นับตงั้ แต่ปีพ.ศ. 2546 เป็นตน้ มา ความสาเรจ็ ของการดาเนนิ งาน ผลสัมฤทธิท์ างการศึกษา ท่ีเป็นผลจากการเรียนกับระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม หรอื “ครูตู้” เป็นท่นี ่าพอใจอย่างยงิ่ และมสี ถติ ิสูงข้นึ ทุกปี ขณะน้ีมผี ู้สาเร็จการศึกษาจากการศกึ ษาด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทยี ม จากทุกภาคของประเทศไทย และสามารถเขา้ ศกึ ษาต่อในระดบั อุดมศกึ ษาและประสบความสาเรจ็ เป็นจานวนมาก และมแี นวโน้มเพม่ิ ขน้ึ ในทุกๆ ปี ผลทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ กบั การศกึ ษาทางไกลน้ี ในเชงิ ปรมิ าณจะมผี ลทาใหส้ ถานศกึ ษาทุกสงั กดั จดั การศกึ ษาในระบบชนั้ เรยี นมโี อกาสขยายการดาเนินงานไดก้ วา้ งขวางมากขน้ึ ในดา้ นคุณภาพทาให้นักเรียนชนบทห่างไกลมโี อกาสได้รบั ความรู้และศึกษาเล่าเรียนกับนักเรียนในเมอื ง รวมทงั้ประชาชนผู้สนใจใฝ่ หาความรเู้ พม่ิ เตมิ ไดด้ ว้ ย (เป็นการบรหิ ารงานวชิ าการในดา้ นการจดั การเรยี นการสอน การใชส้ ่อื และเทคโนโลยที างการศกึ ษา และการขยายโอกาสทางการศกึ ษา ๖-๑o ปีได้ ๓ ลา้ นคนตามแผนพฒั นาการศกึ ษาฉบบั ท่ี ๘)

15พิธีพระรำชทำนปริญญำบตั รแก่ผสู้ ำเรจ็ กำรศึกษำ ในทุกๆ ปี พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์จะเสร็จพระราชดาเนินไปยงั สถาบนั อุดมศึกษาของรฐั เพ่อื พระราชทานปรญิ ญาบตั รแก่ผู้สาเร็จการศึกษา แม้ พระราชกรณียกิจน้ีจะเป็นภาระแก่พระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์มาก แต่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั กม็ พี ระราชกระแสรบั สงั่ ใหค้ งพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รไว้ ในปัจจบุ นั มีมหาวทิ ยาลยั เพมิ่ ขน้ึ เป็นจานวนมาก จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมใหพ้ ระบรมวงศานุวงศ์เสดจ็ พระราชทานแทนพระองค์

16 บทที่3 วิธีดำเนิ นกำรทำโครงงำน1.การคดั เลอื กหวั ขอ้ โครงงานทส่ี นใจทาโดยทวั่ ไปเรอ่ื งทจ่ี ะนามาพฒั นาเป็นโครงงาน มกั จะไดม้ าจากปัญหา คาถาม หรอื ความสนใจในเรอ่ื งต่างๆ และจากการสงั เกตสง่ิ ต่างๆ หรอื สงิ่ ต่างๆ ทอ่ี ยรู่ อบตวั เรา จากแหล่งขอ้ มลู ทเ่ี ชอ่ื ถอื ได้ในการตดั สนิ ใจเลอื กหวั ขอ้ ทจ่ี ะนามาพฒั นาโครงงานคอมพวิ เตอร์ ควรพจิ ารณาองคป์ ระกอบสาคญัดงั น้ี 1. ตอ้ งมคี วามรแู้ ละทกั ษะพน้ื ฐานอยา่ งเพยี งพอในหวั ขอ้ เรอ่ื งทจ่ี ะศกึ ษา 2.สามารถจดั หาเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ซอฟตแ์ วร์ และวสั ดอุ ุปกรณ์ทเ่ี กย่ี วขอ้ งได้ 3. มแี หล่งความรเู้ พยี งพอทจ่ี ะคน้ ควา้ หรอื ขอคาปรกึ ษา 4. มเี วลาเพยี งพอ 5. มคี วามปลอดภยั2. ศกึ ษาคน้ ควา้ จากเอกสารและแหลง่ ขอ้ มลู การศกึ ษาคน้ ควา้ จากเอกสารและแหลง่ ขอ้ มลู ซง่ึ รวมถงึ การขอคาปรกึ ษาจากผทู้ รงคณุ วุฒิ จะชว่ ยใหน้ กั เรยี นไดแ้ นวคดิ ทใ่ี ชใ้ นการกาหนด ขอบเขตของเร่อื งทจ่ี ะศกึ ษาไดเ้ ฉพาะเจาะจงมากยง่ิ ขน้ึ รวมทงั้ไดค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ ในเรอ่ื งทจ่ี ะศกึ ษา จนสามารถใชอ้ อกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนนั้ ได้3. จดั ทาเคา้ โครงของโครงงานทจ่ี ะทา มรี ายละเอยี ดดงั น้ี 1. ศกึ ษาคน้ ควา้ เอกสารอา้ งองิ และรวบรวมขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 2. วเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอ่ื กาหนดขอบเขตและลกั ษณะของโครงการทจ่ี ะพฒั นา 3. ออกแบบการพฒั นา มกี ารกาหนดลกั ษณะของเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ซอฟตแ์ วรแ์ ละ ตวัแปลภาษา โปรแกรม และวสั ดตุ ่างๆ ทต่ี อ้ งใช้ 4. กาหนดตารางการปฏบิ ตั งิ านของการจดั ทาเคา้ โครงของโครงงาน ลงมอื ทาโครงงานและสรปุรายงานโครงงาน โดยกาหนดชว่ งเวลา อยา่ งกวา้ งๆ 5. ทาการพฒั นาโครงงานขนั้ ต้น เพอ่ื ศกึ ษาความเป็นไปไดเ้ บอ้ื งตน้ โดยอาจจะทาการพฒั นาส่วนยอ่ ย ๆ บางสว่ นตามทไ่ี ดอ้ อกแบบไวแ้ ลว้ นาผลจากการศกึ ษาในชว่ งน้ไี ปปรบั ปรงุ แผนการทดลองทอ่ี อกแบบไวใ้ นครงั้ แรกใหเ้ หมาะสมมากยงิ่ ขน้ึ 6. เสนอเคา้ โครงของโครงงานคอมพวิ เตอรต์ ่ออาจารยท์ ป่ี รกึ ษา เพอ่ื ขอคาแนะนาและปรบั ปรงุแกไ้ ข เพอ่ื ใหก้ ารวางแผนและดาเนินการ ทาโครงงานเป็นไปอยา่ งเหมาะสมเป็นขนั้ ตอน ตงั้ แต่เรมิ่ ตน้ จนสน้ิ สุด

174. การลงมอื ทาโครงงาน เมอ่ื เคา้ โครงของโครงงานไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาแลว้ กเ็ สมอื นวา่ การจดั ทาโครงงานไดผ้ ่านพน้ ไปแลว้ มากกว่าครง่ึ ขนั้ ตอนต่อไปจะเป็นการลงมอื พฒั นาตามขนั้ ตอนทว่ี างแผนไว้เช่น จดั เตรยี มวสั ดุ - อุปกรณ์ ใหพ้ รอ้ ม รวมทงั้ การกาหนดหน้าท่ี ความรบั ผดิ ชอบของสมาชกิ ในกลมุ่ ให้ชดั เจน แลว้ จงึ ดาเนินการทาโครงงาน ขณะเดยี วกนั ตอ้ งมกี ารทดสอบ ตรวจสอบ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข เพ่อืพฒั นาโครงงานเป็นระยะ ๆ เพอ่ื ใหแ้ น่ใจว่าผลงานทพ่ี ฒั นาขน้ึ นัน้ ทางานได้ถูกตอ้ งตรงกบั ความตอ้ งการทร่ี ะบไุ วใ้ นเป้าหมาย และเกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู ดว้ ย5. การเขยี นรายงานและจดั ทาคมู่ อื การใช้ การเขยี นรายงาน เป็นวธิ กี ารสอ่ื ความหมายเพ่อื ใหผ้ อู้ ่นื ไดเ้ ขา้ ใจแนวคดิ วธิ ดี าเนินการศกึ ษาคน้ ควา้ หาขอ้ มลู ทไ่ี ด้ ตลอดจนขอ้ สรปุ และ ขอ้ เสนอแนะต่างๆ เกย่ี วกบั โครงงานนัน้ ในการเขยี นรายงาน นกั เรยี นควรใชภ้ าษาทอ่ี ่านง่าย ชดั เจน กระชบั และตรงไปตรงมา

18 บทท่ี4ผลกำรศึกษำค้นคว้ำ จากการศกึ ษาคน้ ควา้ พระราชกรณยี กจิ ทางดา้ นการศกึ ษาเพ่อื ทาโครงงาน และหลงั จากการทไ่ี ด้ศกึ ษาขอ้ มลู แลว้ คณะผจู้ ดั ทาไดเ้ หน็ วา่ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลเดชทรงตระหนกั ถงึความสาคญั ของการศกึ ษาในประเทศไทยเป็นอยา่ งมาก การศกึ ษาเป็นปัจจยั ในการสรา้ งและพฒั นาความรู้ ความคดิ ความประพฤติ และคุณธรรมของบคุ คล ปัจจยั ทส่ี าคญั ประการหน่ึงของทงั้ ชวี ติ และสว่ นรวม คอื การศกึ ษาซง่ึ เป็นรากฐานส่งเสรมิ ความเจรญิ มนั่ คงเกอื บทุกอยา่ งในบุคคล และประเทศชาติการศกึ ษาเป็นเครอ่ื งมอื ทส่ี าคญั ในการพฒั นาบุคคลใหม้ คี ุณภาพ ใหเ้ ป็นทรพั ยากรทางปัญญาทม่ี คี ่าของชาติ ประเทศชาตจิ ะพฒั นาใหเ้ จรญิ กา้ วหน้าได้ กด็ ว้ ยการพฒั นาบุคคลของชาตใิ หม้ คี ุณภาพโดยการให้การศกึ ษา

19 บทท่ี5 สรปุ ประโยชน์ที่ได้จำกโครงงำน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรชั การท่ี 9 ทรงตระหนักเห็นว่าการพัฒนาการศึกษาและการศึกษาของเยาวชนนัน้ เป็นพ้ืนฐานอันสาคญั ของประเทศชาติ เพราะทรงถือว่า“การศกึ ษาเป็นกระบวนการพฒั นาชวี ติ มนุษย์”พระองคท์ รงพฒั นาดา้ นการศกึ ษามากมายทงั้ การศกึ ษาในระบบโรงเรยี น เช่น โรงเรยี นสวนจติ ลดา โรงเรยี นร่มเกล้า ฯลฯ, การศึกษาในระบบโรงเรยี น เช่นโครงการพระราชดารติ ่างๆ, โครงการพระดาบส เป็นโครงการท่เี ปิดการเรยี นการสอนทฟ่ี รที งั้ หมด ไม่ตอ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยใดๆ” เป็นพระราชประสงคข์ องในหลวง ทอ่ี ยากจะใหพ้ วกเราชาวไทย ไดท้ ากนิ เองเป็นช่วยเหลอื ตัวเอง และประกอบอาชีพอย่างสุจริตและพอเพียงเองได้, มูลนิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม เพ่อื พฒั นาคุณภาพทาใหน้ กั เรยี นชนบทห่างไกลมโี อกาสไดร้ บั ความรแู้ ละศกึ ษาเล่าเรยี นกบันักเรยี นในเมอื ง รวมทงั้ ประชาชนผูส้ นใจใฝ่ หาความรเู้ พมิ่ เตมิ ได้ด้วย ประเทศชาตจิ ะดาเนินต่อไปนัน้ตอ้ งมเี ยาวชนและประชาชนชาวไทยมคี วามรกู้ ารศกึ ษาและความสามารถมากพอมากพอจะและพระองค์ท่านยงั ช่วยเหลือประชาชนด้านการศึกษาตามโอกาสอนั ควรโดยพระราชทานพระราชทรพั ย์ส่วนพระองค์ให้ทหารจัดสร้างโรงเรียนข้ึน มีทุนการศึกษาให้กับเด็กเรียนดี และ เด็กด้อยโอกาสพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ได้พระราชทานแนวพระราชดารเิ ก่ยี วกบั การศกึ ษาท่จี ะช่วยให้บรรลุถงึจดุ หมายในอกี มติ หิ น่ึงว่า \"... ผทู้ ม่ี งุ่ หวงั ความดแี ละความเจรญิ มนั่ คงในชวี ติ จะตอ้ งไมล่ ะเลยการศกึ ษา ความรทู้ จ่ี ะศกึ ษามี 3ส่วน คอื ความรวู้ ชิ าการ ความรปู้ ฏบิ ตั กิ าร และความรคู้ ดิ อ่านตามเหตุผลความเป็นจรงิ อกี ประการหน่ึงจะตอ้ งมคี วามจรงิ ใจและบรสิ ุทธใ์ จไมว่ ่าในงานในผรู้ ว่ มงานหรอื ในการรกั ษา ระเบียบแบบแผนความดงี าม ความถูกต้องทุกอย่าง ประการท่สี ามต้องฝึกฝนให้มคี วามหนักแน่นทงั้ ภายในใจ ในคาพูด...\" (๒๔ มกราคม ๒๕๓๐)

ค บรรณานุกรมสวุ ฒั น์ ธรรมสุนทร. 2560. ศาลารวมใจ. (ออนไลน์). แหล่งทม่ี า :http://mediathailand.blogspot.com/2012/05/blog-post_2584.html. 9 กนั ยายน 2560โรงเรยี นจริ ลดา. 2560. ประวตั โิ รงเรยี นจริ ลดา. (ออนไลน์). แหล่งทม่ี า :http://www.chitraladaschool.ac.th/cd1_01.php. 9 กนั ยายน 2560Admin. 2560. พระราชกรณียกจิ ดา้ นการศกึ ษา. (ออนไลน์). แหลง่ ทม่ี า: http://www.chaoprayanews.com. 25 สงิ หาคม 2560

งภำคผนวก



จ ประวตั ิผดู้ ำเนินงำน1.นายอดศิ กั ดิ ์แกว้ หลา้ 60243469- บา้ นเลขท่ี 53 หมู่ 13 ต.นาบ่อคา อ.เมอื ง จ.กาแพงเพชร- ม.ตน้ - ม.ปลาย จบจาก รร. วชั รวทิ ยา- ปัจจบุ นั ปรญิ ญาตรี ปีท่ี 1 สาขาพฒั นาสงั คม คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร2.นางสาวฉตั รลดา พดั เพง็ 60243766ภมู ลิ าเนา 26/1 หม2ู่ ต.วงั หมนั อ.สามเงา จ.ตากประวตั กิ ารศกึ ษา- จบระดบั มธั ยมศกึ ษาจากโรงเรยี นตากพทิ ยาคม- ปัจจบุ นั กาลงั ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรชี นั้ ปีท1่ี สาขาพฒั นาสงั คม คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยันเรศวร3.นางสาวลภสั รดา ทองขาว 60243803ภมู ลิ าเนา 44/1 หม1ู่ ต.นครสวรรคอ์ อก อ.เมอื ง จ.นครสวรรค์ประวตั กิ ารศกึ ษา- จบระดบั มธั ยมศกึ ษาจากโรงเรยี นนครสวรรค์- ปัจจุบนั กาลงั ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรชี นั้ ปีท1่ี สาขาพฒั นาสงั คม คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยันเรศวร

4.นางสาวปาลติ า สวนกนั 60243797ภมู ลิ าเนา 36/1 หม6ู่ ต.บา้ นนา อ.วชริ บารมี จ.พจิ ติ รประวตั กิ ารศกึ ษา- จบระดบั มธั ยมศกึ ษาจากโรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษา ภาคเหนือ- ปัจจบุ นั กาลงั ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรชี นั้ ปีท1่ี สาขาพฒั นาสงั คม คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยันเรศวร5.นางสาวอาทติ ยา เนตรคายวง 60243674- 71 หม3ู่ ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลาพนู- จบระดบั มธั ยมศกึ ษาจากโรงเรยี นส่วนบุญโญปถมั ภ์ ลาพนู- ปัจจบุ นั กาลงั ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรชี นั้ ปีท1่ี สาขาพฒั นาสงั คม คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยันเรศวร6.นางสาวอตพิ ร อุ่นเป็นนิจย์ 60243476-790/2 หม่6ู ต.ลาดยาว อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์-จบมธั ยมศกึ ษาจากโรงเรยี นนครสวรรค์-ปัจจบุ นั ศกึ ษาปรญิ ญาตรชี นั้ ปีท่1ี สาขาพฒั นาสงั คม คณะสงั คมศาสตร์7.นางสาวอศิ ราภรณ์ ยะหวั ฝาย 60243704-1หม่1ู ต.เสรมิ ซา้ ย อ.เสรมิ งาม จ.ลาปาง-จบจากโรงเรยี นเสรมิ งามวทิ ยาคม-ปัจจบุ นั ศกึ ษาปรญิ ญาตรชี นั้ ปีท่1ี สาขาพฒั นาสงั คม คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร

8.นายอภวิ ฒั น์ ตนั สงิ ห์ 60243520-166 ม.17 ต.นาบอ่ คา อ.เมอื ง จ.กาแพงเพชร-จบมธั ยมศกึ ษาจากโรงเรยี นกาแพงเพชรพทิ ยาคม-ปัจจบุ นั กาลงั ศกึ ในระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาพฒั นาสงั คม คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร9.นาย กติ ตชิ าติ มาแดง 60243759-459/482 หมุ่ 7 ต.สมอแข อ.เมอื ง จ.พษิ ณุโลก-จบมธั ยมศกึ ษาจากโรงเรยี นพษิ ณุโลกพทิ ยาคม-ปัจจบุ นั กาลงั ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรชี นั้ ปีท1่ี สาขาพฒั นาสงั คม คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยันเรศวร10.นายบวร เหลย่ี มไทย 60243773- บา้ นเลขท่ี 234 หม่6ู ต.บา้ นสวน อ.เมอื ง จ.สโุ ขทยั- จบจากโรงเรยี นสโุ ขทยั วทิ ยาคม- ปัจจุบนั ปรญิ ญาตรี ปีท่ี 1 สาขาพฒั นาสงั คม คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook